Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore VSPdJ5XrzXpRolFXBRTSNGFdrI

VSPdJ5XrzXpRolFXBRTSNGFdrI

Description: VSPdJ5XrzXpRolFXBRTSNGFdrI

Search

Read the Text Version

ผูร้ บั ผิดชอบในการดูแลผู้ปว่ ยทบ่ี ้าน ทมี สหวชิ าชีพ ไดแ้ ก่ แพทย์/จิตแพทย/์ พยาบาลวิชาชีพ/นกั วิชาการสาธารณสขุ /พยาบาลจติ เวช/นักจิตวทิ ยา คลินิก/นักจติ วิทยา/นกั สงั คมสงเคราะห/์ บุคลากรสาธารณสุขอ่ืนๆ ท�ำหนา้ ท่ปี ระสานการดแู ลให้ผูป้ ว่ ยและเชื่อมโยงกบั วชิ าชีพอ่นื ในการจัดการส่งต่อ ประสานงานการดูแลการวางแผนการดูแล/ฟ้นื ฟูสมรรถภาพ และปรกึ ษากบั ผู้เชี่ยวชาญ ในด้านตา่ งๆ อาสาสมคั รสาธารณสุขประจ�ำหม่บู ้าน (อสม.) ในชุมชนท�ำหนา้ ท่เี ฝ้าระวงั สังเกตอาการก�ำเรบิ และช่วยดแู ล ต่อเนอ่ื ง เช่ือมโยงกับครอบครัวและผู้ป่วย เพือ่ ลดพฤตกิ รรมท่เี ส่ียงต่ออาการก�ำเริบ ประสานการสง่ ต่อรวมถึงสนับสนนุ ให้ก�ำลงั ใจผูป้ ่วยและญาตใิ นการฟื้นฟกู ารใช้ชีวติ 42 คู่มอื การดูแลผ้ปู ่วยโรคจิตเภท ส�ำ หรับโรงพยาบาลในเขตสขุ ภาพ (ฉบับพยาบาล/นกั วิชาการสาธารณสขุ )

แผนภมู ทิ ี่ 6 การติดตามผปู้ ่วยโรคจติ เภทในชุมชน ระบบการติดตามผ้ปู ว่ ยโรคจติ เภทในชมุ ชนและบทบาทหน้าทีข่ องผ้เู กย่ี วข้อง บทบาทพยาบาลและทีมสุขภาพ ลงติดตามเยยี่ มผปู้ ว่ ย มีรายละเอียดดังนี้ (ดตู ามแผนภมู ิที่ 6)  แพทย์/จติ แพทย์ ประเมนิ การบ�ำบดั รักษาและอาการของผู้ป่วยก่อนจ�ำหน่าย และติดตามการดูแลรกั ษาอยา่ งตอ่ เนื่อง  ทีมจติ เวชและผ้รู ับผดิ ชอบงานสขุ ภาพจติ หมายถงึ แพทย/์ จติ แพทย/์ พยาบาลทรี่ บั ผดิ ชอบงานสขุ ภาพจติ และจติ เวชใน สถาบนั /โรงพยาบาลจติ เวช รพศ./รพท./ศูนย์บรกิ ารสาธารณสุข ให้การสนับสนุนการด�ำเนนิ งาน เป็นพ่เี ลีย้ ง และทปี่ รกึ ษา คู่มอื การดแู ลผ้ปู ่วยโรคจติ เภท สำ�หรับโรงพยาบาลในเขตสุขภาพ (ฉบบั พยาบาล/นักวิชาการสาธารณสขุ ) 43

 ทมี สุขภาพจิตชมุ ชน ประกอบด้วย ผู้รับผิดชอบงานสุขภาพจิตและจิตเวช รพช./รพ.สต./ศูนย์บริการสาธารณสุข ในสังกัด กรงุ เทพมหานคร - รวบรวมและจัดท�ำทะเบียนผปู้ ว่ ยโรคจติ เภทแยกตามพ้นื ที่ - ติดตามผู้ป่วยโรคจิตเภทในชุมชนตามแบบติดตามผู้ป่วยโรคจิตเภทในชุมชน ภายในระยะเวลา 1 ปี จากญาติ/ผดู้ แู ล/ผู้ป่วย/รพ.สต. - ติดตามดูแลผปู้ ่วยโรคจติ เภทตอ่ เนอื่ งในชุมชน - กรณพี บวา่ ผปู้ ว่ ยโรคจติ เภทมอี าการก�ำเรบิ ใหป้ รกึ ษา/สง่ ตอ่ ตามระบบในพนื้ ทต่ี ดิ ตามสรปุ รายงานตาม ทะเบยี นผูป้ ว่ ยโรคจติ เภท  อสม./อสส./Caregiver - เฝา้ ระวังสงั เกตอาการเพื่อป้องกนั การกลับเปน็ ซำ�้ /ความรุนแรง - การเย่ียมบ้านใหก้ �ำลงั ใจญาตแิ ละผปู้ ว่ ยโรคจิตเภท - สร้างการยอมรับผ้ปู ่วยโรคจติ เภทในชมุ ชน - ดแู ลการกนิ ยาต่อเน่อื ง - การสง่ เสรมิ อาชีพ/รายได้ 5.2 บทบาทพยาบาลในการตดิ ตามเยย่ี มผ้ปู ว่ ย (Home Health Care)31,32 ผู้ป่วยหลังจ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาล พยาบาลติดตามเยี่ยมผู้ป่วยจิตเภท 1 ปี โดยติดตามเยี่ยม ครง้ั แรกภายใน 1 เดือน ตามแผนภูมแิ นวทางการดูแลผ้ปู ว่ ยโรคจติ เภทเร้ือรังในชมุ ชน (แผนภูมิท่ี 7) บทบาทหน้าทข่ี อง บุคลากรตามแนวปฏิบัติการติดตามเย่ียมในชุมชน (ตารางที่ 14) และตามแนวปฏิบัติการติดตามเย่ียมในชุมชน (ตารางที่ 15) 44 คมู่ อื การดแู ลผูป้ ว่ ยโรคจติ เภท สำ�หรับโรงพยาบาลในเขตสขุ ภาพ (ฉบับพยาบาล/นักวชิ าการสาธารณสุข)

แผนภมู ิที่ 7 แนวทางดแู ลผู้ปว่ ยโรคจิตเภทเรือ้ รงั ในชมุ ชน32 คู่มอื การดแู ลผูป้ ว่ ยโรคจติ เภท สำ�หรบั โรงพยาบาลในเขตสุขภาพ (ฉบับพยาบาล/นกั วชิ าการสาธารณสขุ ) 45

รายละเอียดคะแนนจากแบบติดตามเยย่ี มในชมุ ชน 9 ดา้ น32 1. ดา้ นอาการทางจติ 1 คะแนน (ไมม่ ีอาการ) หมายถึง ผปู้ ว่ ยร้เู รอ่ื ง ชว่ ยตนเองได้ ด�ำรงชีวิตในชุมชนได้ 2 คะแนน (มบี า้ ง) หมายถงึ ผ้ปู ่วยมีพฤติกรรมทผี่ ดิ ปกติจากเดิม มอี ย่างนอ้ ย 10 วันใน 1 เดือน 3 คะแนน (มบี อ่ ย) หมายถึง ผปู้ ่วยมีพฤติกรรมทผ่ี ดิ ปกติจากเดิมมีมากกว่า 10 วัน ใน 1 เดือน 2. ดา้ นการกนิ ยา 1 คะแนน (สมำ่� เสมอ) หมายถึง การรับประทานยาครบทกุ วนั ตามทีแ่ พทย์ส่งั 2 คะแนน (ไม่สมำ�่ เสมอ) หมายถงึ รบั ประทานยาไม่ครบ ตามค�ำส่งั แพทย์ แตย่ ังมกี ารรับประทานยาเป็นบางเวลา 3 คะแนน (ไม่กนิ ยา) หมายถงึ ไมร่ บั ประทานยาเลยทุกม้อื 3. ดา้ นผู้ดแู ล/ ญาติ 1 คะแนน (ดี) คือ มีผูด้ ูแลหลัก เป็นคนในครอบครวั มีศักยภาพในการดูแล 2 คะแนน (ปานกลาง) คือ มีผดู้ แู ล เปน็ คนนอกครอบครวั 3 คะแนน (ปรับปรุง) คือ ไม่มผี ดู้ แู ล หรือ ผู้ดูแลไมม่ ศี กั ยภาพเพยี งพอ 4. ดา้ นการท�ำกจิ วัตรประจ�ำวัน 1 คะแนน (ท�ำได้) หมายถึง ผู้ปว่ ย สามารถท�ำกจิ วตั รประจ�ำวันได้ดว้ ยตนเอง 2 คะแนน (ท�ำไดบ้ า้ ง) หมายถงึ ผู้ป่วยสามารถท�ำกิจวตั รประจ�ำวันได้ แตต่ อ้ งมีคนคอยช่วยเหลอื 3 คะแนน (ท�ำไมไ่ ด้) หมายถงึ ผปู้ ว่ ยไม่สามารถท�ำกจิ วตั รประจ�ำวนั ได้ เลย 5. ด้านการประกอบอาชีพ 1 คะแนน (ท�ำได)้ หมายถงึ ผปู้ ว่ ยมรี ายไดจ้ ากอาชพี หรอื ความสามารถชว่ ยครอบครวั ในการประกอบ อาชพี ได้ทกุ ครงั้ 2 คะแนน (ท�ำไดบ้ า้ ง) หมายถึง ผปู้ ว่ ยสามารถชว่ ยครอบครวั ในการประกอบอาชพี ไดแ้ ตต่ อ้ งมคี นกระตนุ้ 3 คะแนน (ท�ำไมไ่ ด้) หมายถึง ผปู้ ว่ ยไมส่ ามารถชว่ ยครอบครัวในการประกอบอาชีพไดเ้ ลย 6. ด้านสมั พันธภาพในครอบครวั 1 คะแนน (ด)ี คือ ครอบครัวมกี ารชมเชย ใหก้ �ำลงั ใจ มองผูป้ ่วยในด้านบวก สว่ นใหญ่ 2 คะแนน (ปานกลาง) คือ ครอบครวั มกี ารชมเชยบ้าง แตย่ งั พบ การดุด่า ตกั เตอื น ด่าว่า บางคร้ัง 3 คะแนน (ปรับปรุง) คอื ครอบครวั มปี ฏสิ มั พนั ธด์ ้านลบ ไดแ้ ก่ การตเิ ตอื น ดถู กู ดา่ ว่า และบางครง้ั ผ้ปู ่วย รสู้ ึกไมเ่ ปน็ ตัวของตัวเองหลายคร้งั 7. ด้านส่งิ แวดล้อม 1 คะแนน (ดี) คอื มีที่อย่อู าศัยเปน็ หลกั แหลง่ 2 คะแนน (ปานกลาง) คือ มที อี่ ยูอ่ าศัย แตแ่ ยกออกจากครอบครัวอยคู่ นเดียวหรอื มที ่อี าศัยเปน็ คร้ังคราว 3 คะแนน (ปรับปรุง) คอื ไมม่ ีท่อี ยูอ่ าศัย เร่รอ่ น 46 คู่มือการดแู ลผ้ปู ่วยโรคจติ เภท สำ�หรบั โรงพยาบาลในเขตสขุ ภาพ (ฉบับพยาบาล/นกั วชิ าการสาธารณสขุ )

8. ด้านการสอ่ื สาร 1 คะแนน (ด)ี คอื สนทนาแลกเปลยี่ นความคิดเห็นกบั ผอู้ น่ื ได้ 2 คะแนน (ปานกลาง) คือ สนทนาแลกเปล่ียนความคิดเหน็ กบั ผอู้ ่ืนไดเ้ ปน็ ครงั้ คราว 3 คะแนน (ปรับปรงุ ) คือ ไม่พูดคุยกบั ใครเลย 9. ดา้ นความสามารถในการเรยี นรู้เบื้องต้น 1 คะแนน (ดี) คอื บอกคร้ังเดียวหรอื สองคร้งั สามารถท�ำตามได้ 2 คะแนน (ปานกลาง) คอื สอนซ้�ำๆจงึ สามารถท�ำตามได้ 3 คะแนน (ปรับปรงุ ) คือ สอนเท่าไรก็ จ�ำไม่ได้ ท�ำไม่ได้ หมายเหต ุ เดือนที่ 1 และ 6 ประเมนิ ด้านท่ี 1-9 (เพอ่ื พิจารณาสภาวะผูป้ ่วย) เดือนท่ี 6 หากพบวา่ เท่ากบั 9 คะแนน ควรประเมินซำ�้ ทกุ 6 เดอื น 9 คะแนน ใหส้ ง่ โรงพยาบาลชมุ ชนเพอื่ ประเมนิ ความพกิ ารด้วย แบบประเมนิ ตาม ICF เดอื นที่ 2, 3, 4 และ 5 ประเมนิ 1- 4 ดา้ น (เพอื่ ประเมนิ อาการและปจั จยั เสย่ี งตอ่ การก�ำเรบิ ) เดอื นที่ ด้านท่ี 1 ด้านที่ 2 ดา้ นที่ 3 ด้านท่ี 4 ด้านที่ 5 ดา้ นที่ 6 ด้านที่ 7 ดา้ นท่ี 8 ดา้ นที่ 9 1  2  3  4  5  6  ตารางท่ี 14 บทบาทหน้าทข่ี องบคุ ลากรตามแบบติดตามเย่ียมในชมุ ชน32 ผลการประเมิน ญาติด-ี ยาดี บทบาทหน้าที่ ญาตดิ ี ยาดี อสม. - ติดตามเยี่ยมให้ก�ำลงั ใจญาติผูป้ ว่ ย โดยการพดู คุย สอบถามการรบั ประทานยา การมารบั ยาตามนดั และฤทธิข์ ้างเคียงของยา รพ.สต. - สุขภาพจิตศึกษาญาติ โดยให้ความรู้เรื่อง ให้สุขภาพจิตศึกษาเพื่อให้ผู้ป่วยมีความรู้โดย โรคยา อาการเตือน โดยให้ความส�ำคัญกับ ให้ความรู้เร่ืองโรค ยา อาการเตือน เข้าใจและ การรบั ประทานยาต่อเน่ือง ตระหนกั ในการรบั ประทานยาตอ่ เนือ่ ง รพช. - สุขภาพจิตศกึ ษาผปู้ ว่ ยและญาติ โดยใหค้ วามรู้ การสร้างแรงจูงใจในการรับประทานยาเพื่อให้ เรอ่ื งโรค ยา อาการเตอื น เพอื่ ใหผ้ ปู้ ว่ ยมคี วามรู้ ผู้ป่วยมีก�ำลังใจและร่วมมือในการรับประทานยา เขา้ ใจ และตระหนกั ในการรบั ประทานยาตอ่ เนอื่ ง อยา่ งตอ่ เนือ่ ง - การจดั การความเครียดของญาติ คู่มอื การดแู ลผูป้ ่วยโรคจิตเภท ส�ำ หรับโรงพยาบาลในเขตสขุ ภาพ (ฉบับพยาบาล/นกั วิชาการสาธารณสขุ ) 47

ผลการประเมิน ญาติไมด่ ี - ยาดี และ ญาติดี - ยาไม่ดี บทบาทหน้าท่ี ญาติไมด่ ี - ยาดี ญาตดิ ี - ยาไม่ดี อสม. - ตดิ ตามเย่ยี มให้ก�ำลงั ใจญาตผิ ู้ปว่ ย - เฝ้าระวงั อาการก�ำเรบิ ของผู้ป่วย ประสานให้ข้อมูล รพ.สต. รพ.สต. - ให้การปรกึ ษารายบคุ คล/ กลมุ่ เนน้ การฝึกทกั ษะกิจวตั รประจ�ำวนั - สขุ ภาพจิตศกึ ษาในญาติ (ADL : Activity of daily living) - กิจกรรมคลายเครียด - สร้างแรงจงู ใจในการรับประทานยาตอ่ เนอ่ื ง - ชมรมญาตผิ ปู้ ว่ ยจิตเวช - ทกั ษะการดูแลตนเอง - หาแหลง่ สนบั สนุนทางสังคม - ทกั ษะการใชช้ วี ิตในบา้ น - กลมุ่ จติ สงั คมบ�ำบดั ประคบั ประคองส�ำหรบั ญาติ - ทักษะการใชช้ ีวิตในสังคม - ทักษะการสรา้ งสมั พันธภาพ - ทักษะการท�ำงาน รพช. - ให้การปรกึ ษารายบคุ คล/ กลุ่ม - สรา้ งแรงจงู ใจในการรับประทานยาตอ่ เนอ่ื ง - สุขภาพจิตศึกษาในญาติ - ทกั ษะการดแู ลตนเอง - กจิ กรรมคลายเครียด - ทักษะการใชช้ ีวิตในสังคม - ชมรมญาตผิ ปู้ ว่ ยจิตเวช - หาแหลง่ สนับสนนุ ทางสังคม - ลด stigma - กลมุ่ จติ สงั คมบ�ำบดั ประคบั ประคองส�ำหรบั ญาติ ผลการประเมิน ญาติไม่ดี - ยาไมด่ ี บทบาทหน้าที่ ญาติไมด่ ี ยาไมด่ ี อสม. - ตดิ ตามเยีย่ มใหก้ �ำลงั ใจญาตผิ ปู้ ่วย - ตดิ ตามเยย่ี มใหก้ �ำลังใจญาตผิ ้ปู ่วย รพ.สต. - ให้การปรึกษารายบคุ คล/ กลมุ่ - สร้างแรงจงู ใจในการรับประทานยา - กจิ กรรมคลายเครียด - ลงเยย่ี มบา้ นเพ่ือเตรียมความพรอ้ ม - ชมรมญาตผิ ปู้ ว่ ยจิตเวช - หาแหล่งสนบั สนุนทางสงั คม - หาแหลง่ สนับสนุนทางสงั คม - บรกิ ารจติ สงั คมบ�ำบดั ตามสภาพปัญหา - ลด stigma - ประสานเครือขา่ ยเพอ่ื ปรบั ทศั นคตแิ ละให้ - กลมุ่ จติ สงั คมบ�ำบดั ประคบั ประคองส�ำหรบั ญาติ การดูแลช่วยเหลอื ผูป้ ว่ ยและญาติในชุมชน รพช. - ใหก้ ารปรกึ ษารายบคุ คล/กลมุ่ แกแ่ ละครอบครวั - สรา้ งแรงจงู ใจในการรบั ประทานยา - กลุม่ จิตสังคมบ�ำบดั ประคับประคองญาติ - ใหก้ ารปรึกษารายบุคคล / กลุ่มแกผ่ ้ปู ว่ ย - หาแหลง่ สนับสนุนทางสังคม - บริการจติ สังคมบ�ำบัดตามสภาพปัญหา - ลด stigma - ตดิ ตามเยยี่ มบา้ น - ชมรมญาติผู้ปว่ ยจิตเวช - ประสานเครอื ข่ายเพื่อใหก้ ารดแู ลชว่ ยเหลอื ผู้ปว่ ยและญาติในชมุ ชนเพอื่ เตรยี มชุมชน - หาแหล่งสนบั สนุนทางสังคม - ลด stigma 48 คมู่ ือการดแู ลผ้ปู ่วยโรคจติ เภท สำ�หรับโรงพยาบาลในเขตสุขภาพ (ฉบับพยาบาล/นักวชิ าการสาธารณสุข)

ตารางท่ี 15 แนวปฏิบตั ิการติดตามเยีย่ มในชุมชน การตดิ ตามเย่ียมผูป้ ่วย ติดตามเยยี่ มผปู้ ่วยจติ เวชเร้ือรงั (F20) 1 ปี โดยติดตามเย่ียมคร้งั แรกภายใน 1 เดอื น ผูป้ ว่ ยหลกั ได้รบั การ รักษา ผลคะแนนจากแบบตดิ ตามฯ ดา้ นอาการหรอื การกนิ ยาหรือญาติท่ไี ด้ มกี ารปฏิบัติ ดงั น้ี ผลการประเมิน การปฏบิ ัติ หมายเหตุ ดา้ นท่ี 1 (อาการ) หรือ 1 คะแนน - ติดตามอยา่ งน้อยเดอื นละ 1 คร้ัง อสม./รพ.สต. ดา้ นท่ี 2 (การกินยา) หรอื ดา้ นท่ี 3 (ญาต)ิ 2 คะแนน - ใหก้ ารช่วยเหลือเบอื้ งต้นตามปญั หา รพ.สต./รพช. - เฝ้าระวังอาการก�ำเริบ และหากอาการไม่ดีข้นึ ให้ พบอยา่ งน้อย 2 ด้าน พบแพทยท์ ี่รพ.ในพืน้ ที่ (อาการ/การกนิ ยา/ญาติ) - ตดิ ตามเยย่ี มอยา่ งน้อยทุก 2 สัปดาห์และ ดา้ นท่ี 1-9 ในเดอื นท่ี 6 - หากอาการไมด่ ขี นึ้ สง่ ตอ่ หรอื สง่ ปรกึ ษากบั จติ แพทย์ 3 คะแนน - ใหก้ ารช่วยเหลอื ตามปญั หา รพ.สต./รพช./ - เฝา้ ระวงั อาการก�ำเริบอย่างใกลช้ ิด รพศ./รพจ. - ติดตามเยย่ี มอย่างนอ้ ยทกุ 1 - 2 สปั ดาห์และ - หากอาการไมด่ ขี น้ึ สง่ ตอ่ หรอื สง่ ปรกึ ษากบั จติ แพทย์ 3 คะแนน - ใหก้ ารชว่ ยเหลือตามปญั หา รพ.สต./รพช./ - เฝา้ ระวงั อาการก�ำเริบอย่างใกล้ชดิ และ รพศ./รพจ. - ส่งต่อหรอื ส่งปรึกษากับจิตแพทย์ - ตดิ ตามเย่ียมอย่างนอ้ ยทุก 1 - 2 สัปดาห์ ≤ 9 คะแนนควรประเมนิ ซ�้ำทกุ 6 เดือน รพ.สต. > 9 คะแนน ให้ส่ง รพช. เพือ่ ประเมนิ ICF รพช. หมายเหตุ : การประเมินด้านท่ี 1-4 ประเมนิ ทกุ เดอื น (โดยด้านที่ 4 เปน็ การประเมินสมรรถนะเพอ่ื วางแผนการฟืน้ ฟผู ปู้ ว่ ยเบ้ืองตน้ ) การชว่ ยเหลือสง่ เสรมิ หรอื กระตนุ้ การท�ำกิจวัตรประจ�ำวันของผู้ป่วยเบ้อื งตน้ 1. ประเมนิ สาเหตขุ องการไมส่ นใจทำ�กจิ วตั รประจำ�วนั ของผปู้ ว่ ยวา่ เกดิ จากอาการเรอื้ รงั ของผปู้ ว่ ยหรอื เกดิ จากฤทธขิ์ ้างเคียงของยา 2. กระตนุ้ หรอื ชว่ ยเหลอื การดแู ลสขุ อนามยั สว่ นบคุ คล ไดแ้ ก่ อาบนา้ํ แตง่ ตวั ตดั เลบ็ ลา้ งมอื รบั ประทานอาหาร 3. การอยอู่ าศยั ในครวั เรอื น ไดแ้ ก่ การจดั เกบ็ ทนี่ อน การกวาดและทำ�ความสะอาดพน้ื การทำ�ความสะอาด ถว้ ยชามหลงั กินขา้ ว การซกั ผา้ ทง้ิ ขยะ ซกั เสือ้ ผ้า และการขับถ่ายใหเ้ ป็นท่ีเป็นทาง 4. ส่งเสริมใหผ้ ปู้ ่วยรู้วิธกี ารพกั ผอ่ นหย่อนใจ มวี ิธีผอ่ นคลาย 5. สนับสนุนใหม้ กี จิ กรรมในการใชเ้ วลาวา่ งให้เปน็ ประโยชน์ คมู่ ือการดูแลผู้ปว่ ยโรคจิตเภท สำ�หรับโรงพยาบาลในเขตสุขภาพ (ฉบับพยาบาล/นักวชิ าการสาธารณสุข) 49

เทคนคิ ต่างๆ ในการกระตุน้ ผปู้ ว่ ยในการท�ำกจิ วตั รประจ�ำวัน 1. สอื่ สารทางบวกกบั ผปู้ ว่ ย ไมต่ ำ�หนิ 2. มอบหมายกจิ กรรมให้ผูป้ ว่ ยรับผดิ ชอบ ใหโ้ อกาสและอิสระกบั ผู้ปว่ ยในการเลือกกจิ กรรม 3. ชมเชยและใหก้ ำ�ลังใจผ้ปู ่วย 4. ส่งเสรมิ การมสี ว่ นร่วมกจิ กรรมในชมุ ชนตามโอกาสและเทศกาล 5.3 การฟืน้ ฟผู ู้ปว่ ยโรคจิตเภทตามแนวคดิ การคนื สู่สุขภาวะ (Recovery Model)33 ปัจจุบันหลายประเทศได้น�ำแนวคิดการคืนสู่สุขภาวะ (Recovery) มาใช้ในการดูแลผู้ป่วย ซึ่งเป็น กระบวนการที่เปลี่ยนจากการเน้นที่อาการทางจิตมาเป็นการส่งเสริมให้บุคคลมีการเรียนรู้การเจ็บป่วยและสามารถ จัดการกบั ตนเองเพื่อท่จี ะอยู่ร่วมกบั การเจ็บป่วยได้อยา่ งสร้างสรรค์ การคืนสสู่ ุขภาวะ เป็นกระบวนการเปล่ยี นแปลงทัศนคติ คา่ นิยม ความร้สู กึ เปา้ หมาย ทกั ษะ รวมทงั้ บทบาทของตนเองที่เป็นส่วนตัวไม่เหมือนกับใคร เป็นวิถีชีวิตท่ีมีความพึงพอใจ ความหวังและการแบ่งปันแก่ผู้อ่ืน แมจ้ ะมีความจ�ำกัดอันเน่อื งมาจากความเจบ็ ปว่ ย ข้ันตอนของการคนื ส่สู ขุ ภาวะ  การยอมรับการเจบ็ ป่วย  สรา้ งความหวงั ค้นหาเป้าหมาย  พัฒนาตัวตนใหม่  สร้างความรับผิดชอบในตนเอง  ต่อส้อู ุปสรรคและปญั หา  มปี ฏสิ ัมพันธ์กับคนรอบข้าง เส้นทางการคืนสู่สุขภาวะ มีความเก่ียวข้องกับความพยายามในการจัดการกับอาการที่เป็นอยู่และขีดจ�ำกัด ของการปฏบิ ตั หิ นา้ ทขี่ องบคุ คล ในขณะทห่ี าเสน้ ทางสชู่ วี ติ ทม่ี คี วามหมายและความสมบรู ณแ์ บบของจติ ส�ำนกึ ทมี่ คี ณุ คา่ บุคคลน้นั จะเคลื่อนไปตามวิถกี ารคนื สสู่ ุขภาวะ ผ่านประสบการณม์ ากมายทั้งทเี่ ป็นรูปธรรมและนามธรรม การคนื สสู่ ุขภาวะ (Recovery)33 ประกอบดว้ ย 4 ดา้ น ดงั นี้ 1. Hope เช่ือในผู้ปว่ ยก่อนวา่ เขาท�ำได/้ สรา้ งระบบทีเ่ ออ้ื ตอ่ hope/ Peer support 2. Identity เป็นคุณลักษณะที่บอกความเป็นตัวตน และเปน็ ที่รจู้ ักของคน 3. Meaning - ความหมายโดยตรง คอื ความเข้าใจทเี่ กิดจากการสัมผสั รบั ร้ปู ระสบการณ์การป่วยของคนๆนั้น - ความหมายโดยอ้อม เป็นบูรณาการจากความหมายโดยตรงมาสู่อัตลักษณ์ส่วนบุคคลและอัตลักษณ์ ทางสังคม 4. ความรบั ผดิ ชอบตอ่ ตนเอง เปน็ ค่านยิ ม ความคดิ อารมณ์ พฤติกรรมของตนเองทท่ี �ำใหต้ ัวเองไดใ้ ชช้ วี ติ อยา่ งเตม็ ท่ี จากการเจบ็ ปว่ ย การตอบสนองของคนอื่น บรกิ ารทางสขุ ภาพจิตและสงั คมวงกว้างมผี ลตอ่ ความสามารถที่ จะรับผิดชอบต่อชวี ิต 50 คู่มอื การดูแลผ้ปู ่วยโรคจิตเภท ส�ำ หรับโรงพยาบาลในเขตสขุ ภาพ (ฉบับพยาบาล/นักวิชาการสาธารณสขุ )

ดงั นนั้ การฟน้ื ฟผู ปู้ ว่ ยโรคจติ เภทตามแนวคดิ การคนื สสู่ ขุ ภาวะ (Recovery Model) จงึ เปน็ กระบวนการทบี่ คุ คล ปรับเปล่ียนทัศนคติที่มีต่อตนเองและการเจ็บป่วยทางจิตได้โดยท่ีเขายังสามารถบรรลุเป้าหมายอ่ืนๆของชีวิต แม้ว่าจะ ป่วยด้วยโรคทางจิตท่รี ักษาไมห่ ายขาดก็ตาม โดยมเี ส้นทาง ดงั นี้ 1. Developing a positive identity คอื กระบวนการทีม่ กี ารสร้างเงื่อนไขให้มีความเป็นไปได้ทจี่ ะรับรถู้ ึง และแยกแยะความแตกตา่ งระหวา่ งการเปน็ คนกบั การเป็นโรค 2. Framing the \"Mental illness\" เป็นการใหค้ วามหมายวา่ การป่วยเปน็ เพียงสว่ นหนึ่งไม่ใชท่ ้ังหมดของ ชีวติ ยอมรับการปว่ ยแลว้ บูรณาการประสบการณ์การปว่ ยไปสอู่ ตั ลักษณใ์ หม่ 3. Self mananging the mental illness มีเป้าหมายของการปว่ ย ปรับตัวกบั มนั ได้ ใหค้ วามหมายกบั มันใหม่ ลดความส�ำคัญของมันลง ไม่ให้มาขัดขวางส่ิงที่ส�ำคัญกว่าในชีวิต โดยการรับผิดชอบให้ตนเอง มีสุขภาพท่ีดี หาความช่วยเหลือและการสนับสนนุ เม่อื จ�ำเป็น เขม้ แข็ง มคี วามยืดหยนุ่ มีความหวัง 4. Developing valued social roles การมี positive identity เป็นพื้นฐานทส่ี �ำคัญ การมีความรสู้ ึกทีด่ ี ต่อตนเอง รู้สกึ มีคุณคา่ ชอบทจ่ี ะมีความคิดเปน็ ของตนเอง พอใจในสิ่งท่ตี นท�ำ และรสู้ ึกมคี ณุ คา่ ต่อสงั คม เมื่อได้ท�ำความเข้าใจเกี่ยวกับการฟื้นฟูผู้ป่วยโรคจิตเภทตามแนวคิดการคืนสู่สุขภาวะ (Recovery Model) ฉะนน้ั งานของบุคลากรทมี สุขภาพจติ ก็คอื 1. Supporting hope 2. Supporting identity 3. Supporting meaning 4. Supporting personal responsibility คมู่ อื การดูแลผูป้ ่วยโรคจิตเภท ส�ำ หรับโรงพยาบาลในเขตสุขภาพ (ฉบบั พยาบาล/นักวชิ าการสาธารณสุข) 51

เอกสารอา้ งอิง 1. นนั ทกิ า ทวชิ าชาต,ิ ปรชี า อนิ โท, ธงชยั ทวทิ าชาต,ิ อรพรรณ เมฆสภุ ะ, สขุ เจรญิ ตง้ั วงษไ์ ทย, อรรถพล สคุ นธาภริ มย์ และคณะ. การส�ำรวจทางระบาดวิทยาของความผิดปกติทางจิตและความรู้ เจตคติ ทักษะทางการปฏิบัติงาน เกีย่ วกับสุขภาพจติ ของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร.จดหมายเหตทุ างการแพทยฯ์ 2544:84 (ฉบับพิเศษ1) : S118-S126 2. อนรุ กั ษ์ บัณฑิตย์ชาต,ิ พนมศรี เสาร์สาร, ภัคนพิน กติ ติรักษนนท์, วรวรรณ จุฑา. ระบาดวิทยาของความผิดปกติ ทางจติ ของประชาชนไทย. วารสารสมาคมจติ แพทยแ์ ห่งประเทศไทย 2544;46(4);335-343. 3. Thara, R. (2004). Twenty-year course of schizophrenia: the Madras Longitudinal Study. Canadian Journal of Psychiatry, 49, 564-569 4. Whiteford, H. A., Degenhardt, L., Rehm, J., Baxter, A. J., Ferrari, A. J., Erskine, H. E., ... & Burstein, R. (2013). Global burden of disease attributable to mental and substance use disorders: findings from the Global Burden of Disease Study 2010. The Lancet, 382(9904), 1575-1586. 5. Murray CJL & Lopez AD. The Global Burden of Disease. Harvard University Press, 1996. 6. McEvoy, J. P., Lieberman, J. A., Stroup, T. S., Davis, S. M., Meltzer, H. Y., Rosenheck, R. A., ...& Severe, J. (2006). Effectiveness of clozapine versus olanzapine, quetiapine, and risperidone in patients with chronic schizophrenia who did not respond to prior atypical antipsychotic treatment. American Journal of Psychiatry. 7. Liberman RP, Falloon IRH, Wallace CJ. Drug – psychosocial interventions in the treatment of schizophrenia. In: Marabi M, Ed. The Chronic Mentally Ill: Research and Services. New York: SP Medical and Scientific Books, 1984. 8. International Statistical Classification of Diseases and Related Health Problems 10th Revision. World Health Organization. 1993. 9. American Psychiatric Association. Diagnostic and statistical manual of mental disorder. 5th ed. Arlington, VA: American Psychiatric Association; 2013. P.87-122. 10. อรพรรณ ลอื บญุ ธวชั ชยั .(2554) การพยาบาลสขุ ภาพจติ และจติ เวช (พมิ พค์ รง้ั ท่ี 4) กรงุ เทพฯ ; ส�ำนกั พมิ พจ์ ฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย 11. มาโนช หล่อตระกูล. (2538). การสัมภาษณ์และการตรวจทางจิตเวช. Holistic Publishing กรุงเทพมหานคร พิมพค์ รั้งที่ 1 12. เอกสารประกอบการประเมินภาวะแทรกซ้อนทางกายท่ีควรได้รับการแก้ไขก่อนส่งต่อโรงพยาบาลจิตเวช สถาบัน จติ เวชศาสตรส์ มเดจ็ เจ้าพระยา (2553) 52 คู่มือการดแู ลผู้ป่วยโรคจติ เภท ส�ำ หรับโรงพยาบาลในเขตสขุ ภาพ (ฉบบั พยาบาล/นกั วิชาการสาธารณสขุ )

13. นิตยา ตากวิริยะนันท์. (2558) การพยาบาลผู้ท่ีได้รับยาทางจิตเวช ส�ำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พิมพ์ ครัง้ ท่ี 1 เดอื นตุลาคม 2558 14. ราชวทิ ยาลยั จติ แพทยแ์ หง่ ประเทศไทยและกรมสขุ ภาพจติ . แนวทางรกั ษาโรคจติ : แนวทางการรกั ษาโรคทางจติ เวช. กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พบ์ ยี อนด์ เอ็นเตอร์ไพรซ์ จ�ำกัด.2544; 67-90. 15. America Psychiatric Association. Practice Guidline for the Treatment of Patients with Schizophernia, Second Edition. American Journal of Psychiatry, February, 2004. 16. โรงพยาบาลศรธี ญั ญา กรมสขุ ภาพจติ (2552) ชดุ ความรกู้ ารฟน้ื ฟสู มรรถภาพทางจติ สงั คมในผปู้ ว่ ยจติ เภท : สขุ ภาพ จิตศกึ ษา 17. กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2551) ชุดความรู้และแนวทางปฏิบัติ เร่ือง การวางแผนจ�ำหน่ายผู้ป่วย จิตเภท(ฉบับปรับปรุง, 2551) 18. อนงค์นุช ศาโศรก (2554) การสร้างความร่วมมือการรับประทานยาในผู้ป่วยโรคจิตเภท.วารสารโรงพยาบาล ศรธี ัญญา ปีท่ี 11 ฉบับท่ี 1 มกราคม 2554 19. โรงพยาบาลศรีธัญญา กรมสุขภาพจิต. (2551) คู่มือการท�ำกลุ่มเพื่อส่งเสริมผู้ป่วยจิตเภทให้ความร่วมมือใน การรับประทานยา โดยการปรบั ความคดิ และพฤติกรรม. 20. กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.(2541).เทคโนโลยี่การดูแลผู้ป่วยจิตเภท, นนทบุรี ส�ำนักพัฒนาสุขภาพจิต กรมสขุ ภาพจติ . 21. โรงพยาบาลสวนปรงุ กรมสขุ ภาพจติ (2551). คมู่ อื การดแู ลผปู้ ว่ ยโรคจติ เภท ส�ำหรบั พยาบาล รพท./ รพช. กระทรวง สาธารณสขุ . 22. สมจิตต์ ลุประสงค์ และคณะ. (2557) คู่มอื ประกอบการใช้เกณฑ์การจ�ำแนกประเภทผู้ป่วยจติ เวช.ชมรมเครอื ขา่ ย พยาบาลจติ เวช กรมสขุ ภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข พิมพ์ครั้งที่ 1 กรกฎาคม 2557. 23. สถาบนั สขุ ภาพจติ กระทรวงสาธารณสขุ รว่ มกบั สมาคมพยาบาลจติ เวชแหง่ ประเทศไทย.(2536) มาตรฐานการปฏบิ ตั ิ การพยาบาลจิตเวชและสขุ ภาพจติ .กรุงเทพ: โรงพมิ พ์ธรรมศาสตร์ 24. ชมรมเครือข่ายพยาบาลจิตเวช กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.(2553) มาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาล จิตเวชและสุขภาพจิต.กรงุ เทพ: โรงพิมพ์ธรรมศาสตร์ 25. กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุขและสมาคมพยาบาลจิตเวชแห่งประเทศไทย (มปป).(2540) การพัฒนา คุณภาพการพยาบาลสขุ ภาพจติ และจิตเวช คมู่ อื และเครอ่ื งมอื . 26. กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข (2558). คู่มือผู้เข้าอบรมหลักสูตรการอบรมการดูแลผู้ป่วยสุราที่มีปัญหา ดา้ นจติ เวช ส�ำหรบั พยาบาล โรงพมิ พ์ชุมนมุ เกษตรและสหกรณก์ รุงเทพมหานคร 27. โรงพยาบาลศรีธัญญากรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข (2554) คู่มือการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยจิตเวชโดย การฝึกทักษะจ�ำเป็นพื้นฐานในการด�ำรงชีวิต.นนทบุรี: ศูนย์พัฒนาการฟื้นฟูสมรรถภาพทางจิตสังคม โรงพยาบาล ศรีธัญญา. ค่มู อื การดูแลผปู้ ว่ ยโรคจติ เภท สำ�หรบั โรงพยาบาลในเขตสุขภาพ (ฉบับพยาบาล/นกั วชิ าการสาธารณสุข) 53

28. โรงพยาบาลศรีธัญญา กรมสุขภาพจิต. (2549) คู่มือการฟื้นฟูสมรรถภาพทางจิตสังคมส�ำหรับผู้ป่วยจิตเวชใน สถานบรกิ ารสาธารณสุข 29. โรงพยาบาลศรีธัญญา กรมสุขภาพจิต.(2550) แนวปฏิบัติเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางจิตเวชสู่ชุมชน โรงพิมพ์ ชุมนุมเกษตรและสหกรณ์ กรุงเทพมหานคร 30. ส�ำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ กระทรวงสาธารณสุข (2555).คู่มือมาตรฐาน กลางประเมินความสามารถตามประเภทความพิการและให้รหสั ICF. 31. กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข (2558). คู่มือผู้เข้าอบรมหลักสูตรการเข้าถึงบริการและดูแลผู้ป่วยโรคจิต ส�ำหรบั พยาบาล/นกั วชิ าการสาธารณสขุ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ปี 2558) โรงพมิ พช์ มุ นมุ เกษตรและสหกรณก์ รงุ เทพมหานคร 32. คู่มือการดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน ล่าสุด 08 02 2559 (1).doc 2/24/2016 3:46:00 PM (edited: [email protected]) 33. เอกสารประกอบการประชมุ โรงพยาบาลศรีธญั ญากรมสขุ ภาพจิต (2559). การฟน้ื ฟผู ู้ป่วยโรคจิตเภทตามแนวคดิ การคนื สู่สขุ ภาวะ (Recovery Model) 54 คู่มือการดแู ลผู้ปว่ ยโรคจิตเภท สำ�หรบั โรงพยาบาลในเขตสุขภาพ (ฉบับพยาบาล/นักวชิ าการสาธารณสุข)

ภาคผนวก ค่มู อื การดแู ลผปู้ ว่ ยโรคจิตเภท ส�ำ หรับโรงพยาบาลในเขตสุขภาพ (ฉบบั พยาบาล/นกั วิชาการสาธารณสขุ ) 55

ภาคผนวกที่ 1 กรอบแนวคิดการดูแลผูป้ ่วยโรคจติ เภท ส�ำหรบั พยาบาล/นกั วชิ าการสาธารณสุข 1. การสัมภาษณ์ประวตั แิ ละประเมินอาการผู้ปว่ ยโรคจิตเภท ผปู้ ว่ ยโรคจติ เภท (ความร้โู รคจติ / พรบ.สขุ ภาพจติ ) - ประเมิน Suicide (2Q, 8Q, 9Q) - ประเมิน Violence - ประเมินโรค/ภาวะแทรกซ้อนทางกาย - ประเมนิ Delirium 2. การพยาบาลผปู้ ว่ ยโรคจิตเภทระยะเฉียบพลนั (Acute Phase) Violence Delirium Depress /Suicide อาการขา้ งเคียงจาก การใชย้ าทางจติ เวช 3. การพยาบาลผ้ปู ่วยโรคจิตเภทระยะอาการสงบ (Maintenance Phase) การพยาบาลเพอื่ การฟน้ื ฟูสมรรถภาพ การพยาบาลเพือ่ การติดตามและ ผปู้ ่วยโรคจติ เภท ปอ้ งกันการปว่ ยซำ้� ประเมิน ICF ประเมนิ PASS8 Psycho เยยี่ มบา้ น education ทักษะการเรยี นร้พู ้นื ฐาน การได้งานทำ� ทกั ษะทางสังคม ทกั ษะการดแู ลตนเอง (Acquiring, keeping Vocational (Self Care) and ทกั ษะการสื่อสาร terminating a job) ความสมั พนั ธ์ 56 คูม่ ือการดแู ลผูป้ ว่ ยโรคจติ เภท สำ�หรบั โรงพยาบาลในเขตสุขภาพ (ฉบบั พยาบาล/นกั วชิ าการสาธารณสุข)

ภาคผนวกท่ี 2 การวินิจฉยั โรคจติ เภท ค่มู อื การดแู ลผู้ปว่ ยโรคจิตเภท สำ�หรับโรงพยาบาลในเขตสุขภาพ (ฉบบั พยาบาล/นกั วชิ าการสาธารณสุข) 57

ภาคผนวกที่ 3 แนวทางการดแู ลรักษาผ้ปู ่วยโรคจิตเภท 58 คมู่ อื การดแู ลผปู้ ว่ ยโรคจิตเภท สำ�หรับโรงพยาบาลในเขตสุขภาพ (ฉบบั พยาบาล/นักวชิ าการสาธารณสขุ )

ภาคผนวกที่ 4 แบบคัดกรองโรคซึมเศรา้ ด้วย 2 ค�ำถาม (2Q) ค�ำถาม ไมใ่ ช่ ใช่ 1. ใน 2 สปั ดาหท์ ผ่ี ่านมา รวมวันน้ี ทา่ นรู้สกึ หดหู่ เศร้า หรอื ท้อแทส้ น้ิ หวงั หรอื ไม่ 01 2. ใน 2 สปั ดาห์ทผี่ ่านมา รวมวันนท้ี ่านรูส้ ึก เบอื่ ท�ำอะไรกไ็ มเ่ พลดิ เพลิน หรือไม่ 01 การแปลผล ถา้ ค�ำตอบ ไมม่ ี ทั้ง 2 ค�ำถาม ถือ ว่า ปกติ ไม่เป็นโรคซึมเศร้า • ถ้าค�ำตอบ มี ข้อใดขอ้ หนึ่งหรือท้ัง 2 ข้อ (มีอาการใดๆ ในค�ำถามที่ 1 และ 2) หมายถงึ “เป็นผูม้ คี วามเสี่ยง” หรอื • “มแี นวโนม้ ที่จะเปน็ โรคซมึ เศรา้ ” ให้ประเมินต่อดว้ ยแบบประเมิน โรคซึมเศรา้ 9Q คู่มือการดูแลผปู้ ่วยโรคจิตเภท ส�ำ หรับโรงพยาบาลในเขตสขุ ภาพ (ฉบับพยาบาล/นกั วิชาการสาธารณสุข) 59

ภาคผนวกท่ี 5 แบบคดั กรองโรคซึมเศร้าดว้ ย 9 ค�ำถาม 9Q) ในช่วง 2 สปั ดาห์ท่ผี า่ นมารวมทั้งวนั นี้ ไมม่ ี เปน็ เปน็ เปน็ ทา่ นมีอาการเหลา่ นบ้ี อ่ ยแค่ไหน เลย บางวัน บอ่ ย ทุกวนั 1-7 วัน >7 วนั 1. เบือ่ ไมส่ นใจอยากท�ำอะไร 0123 2. ไม่สบายใจ ซึมเศร้า ท้อแท้ 3. หลบั ยากหรือหลบั ๆ ต่ืนๆ หรือหลับมากไป 0123 4. เหนื่อยงา่ ยหรอื ไมค่ อ่ ยมีแรง 5. เบอ่ื อาหารหรอื กนิ มากเกนิ ไป 0123 6. รสู้ ึกไมด่ กี บั ตวั เองคิดวา่ ตวั เองลม้ เหลวหรือครอบครวั ผิดหวงั 7. สมาธิไมด่ ี เวลาท�ำอะไร เช่น ดูโทรทัศน์ ฟงั วิทยุหรือท�ำงานที่ 0123 ต้องใช้ความตั้งใจ 8. พดู ชา้ ท�ำอะไรชา้ ลงจนคนอน่ื สงั เกตเห็นไดห้ รอื กระสบั กระสา่ ย 0123 ไมส่ ามารถอยู่นงิ่ ไดเ้ หมือนท่ีเคยเปน็ 9. คดิ ท�ำร้ายตนเอง หรอื คดิ ว่าถ้าตายไปคงจะดี 0123 0123 0123 0123 คะแนน การแปรผล <7 ไมม่ อี าการของโรคซึมเศรา้ หรอื มีอาการของโรคซมึ เศร้าระดับนอ้ ยมาก 7-12 มอี าการของโรคซึมเศรา้ ระดบั น้อย 13-18 มอี าการของโรคซมึ เศรา้ ระดับปานกลาง มีอาการของโรคซึมเศร้า ระดบั รนุ แรง รวม ≥ 19 หมายเหต ุ คะแนน 9Q ≥ 7 ใหป้ ระเมนิ การฆ่าตัวตาย และสง่ พบแพทย ์ รวมคะแนน .................... 60 คมู่ อื การดแู ลผู้ปว่ ยโรคจติ เภท ส�ำ หรบั โรงพยาบาลในเขตสุขภาพ (ฉบับพยาบาล/นักวิชาการสาธารณสขุ )

ภาคผนวกที่ 6 แบบประเมนิ การฆ่าตัวตาย (8Q) ค�ำชแี้ จง : โปรดเลอื กค�ำตอบที่ตรง/ใกล้เคยี งกับความรสู้ กึ จรงิ ของทา่ นมากทสี่ ดุ (โปรดตอบให้ครบทกุ ข้อ) ในชว่ ง 2 สัปดาห์ท่ีผา่ นมา ท่านมีอาการหรือความรสู้ กึ นกึ คิด ดังขอ้ ค�ำถามต่อไปนห้ี รอื ไม่ ค�ำถาม ไม่ใช่ ใช่ 1. ในเดือนทผี่ า่ นมารวมทั้งวันนี้คิดอยากตายหรือคิดวา่ ตายไปจะดีกว่า 01 2. ต้ังแต่เดือนก่อนจนถึงวันนี้อยากท�ำรา้ ยตวั เองหรอื ท�ำใหต้ วั เองบาดเจบ็ 02 3. ตัง้ แต่เดอื นกอ่ นจนถงึ วนั นี้คิดเกี่ยวกบั การฆ่าตัวตาย 06 (ถา้ ตอบวา่ คิดเก่ยี วกบั การฆา่ ตัวตายใหถ้ ามตอ่ ....) - ทา่ นสามารถควบคมุ ความอยากฆา่ ตัวตาย…ทที่ ่านคดิ อยูน่ นั้ ได้หรือไม่ ได้ ไมไ่ ด้ - บอกไมไ่ ดว้ ่าคงจะไม่ท�ำตามความคดิ น้ัน ในขณะน้ี 08 4. ตง้ั แต่เดือนก่อนจนถงึ วนั นม้ี แี ผนการทีจ่ ะฆา่ ตวั ตาย 08 5. ตัง้ แตเ่ ดือนกอ่ นจนถึงวนั นี้ไดเ้ ตรียมการทจ่ี ะท�ำร้ายตัวเองหรอื เตรียมการจะฆา่ ตัวตาย 09 โดยต้งั ใจวา่ จะให้ตายจริงๆ 6. ตั้งแต่เดอื นก่อนจนถงึ วันนไี้ ด้ท�ำใหต้ นเองบาดเจบ็ แต่ไม่ตงั้ ใจทท่ี �ำให้เสยี ชวี ติ 04 7. ตง้ั แตเ่ ดือนกอ่ นจนถงึ วันนี้ ไดพ้ ยายามฆา่ ตัวตาย โดยคาดหวงั / ต้ังใจที่จะใหต้ าย 0 10 8. ตลอดชวี ิตท่ีผ่านมาทา่ นเคยพยายามฆา่ ตวั ตาย 04 รวมคะแนน *** หมายเหตุ ตัง้ แต่ 1 คะแนนข้นึ ไป ถือว่ามีแนวโน้มทจ่ี ะฆ่าตัวตายในปจั จุบนั ควรได้รับการบ�ำบัดรกั ษาและดแู ล ตามระดับความรนุ แรง ซึง่ แบง่ ได้ ดงั น้ี คะแนน 1-8 คะแนน หมายถึง แนวโนม้ ที่จะฆ่าตัวตายระดบั นอ้ ย คะแนน 9-16 คะแนน หมายถงึ แนวโน้มทจ่ี ะฆา่ ตวั ตายระดบั ปานกลาง คะแนน ≥ 17 คะแนน หมายถงึ แนวโน้มทจ่ี ะฆ่าตวั ตายระดับรนุ แรง คู่มือการดแู ลผูป้ ว่ ยโรคจติ เภท ส�ำ หรับโรงพยาบาลในเขตสุขภาพ (ฉบับพยาบาล/นักวชิ าการสาธารณสุข) 61

ภาคผนวกท่ี 7 แบบประเมนิ พฤตกิ รรมก้าวร้าวรุนแรง (Overt Aggression Scale for objective rating of verbal and physical aggression: OAS) ค�ำแนะน�ำ : แบบประเมินชุดน้ี ใช้ส�ำหรับการประเมินลักษณะพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงของผู้ป่วยต่อ ตนเอง หรือ ต่อผู้อ่ืนที่แสดงออกมาทั้งทางค�ำพูดและการกระท�ำ หรือต่อทรัพย์สิน โดยให้พยาบาลท�ำการประเมิน พฤติกรรมของผู้ป่วยที่แสดงออกขณะปัจจุบันตามรายการที่ระบุไว้ในแบบประเมิน และให้คะแนน ตามล�ำดับท่ีประเมนิ ได้ ลกั ษณะพฤติกรรม พฤตกิ รรม/ระดบั ความกา้ วรา้ วรนุ แรง คะแนนที่ กา้ วร้าวรุนแรง ระดบั 3 ระดับ 2 ระดับ 1 ระดับ 0 ประเมนิ ได้ 1. พฤติกรรม ท�ำรา้ ยตวั เองรนุ แรง เชน่ ขีดข่วนผิวหนัง ตีตนเอง ไมพ่ บ …………… กา้ วรา้ วรนุ แรง มีรอยช�้ำ มีรอยกรีดลึก ดึงผม โขกศีรษะ กรดี ตอ่ ตนเอง เลือดออกหรือมีการ ตัวเองเปน็ รอยขนาดเล็ก บาดเจบ็ ของอวยั วะภายใน หรอื หมดสติ ฯลฯ 2. พฤตกิ รรม พูดข่มขู่จะท�ำร้ายผู้อ่ืน ด่าค�ำหยาบคาย หงุดหงิดส่งเสียง ไมพ่ บ …………… กา้ วร้าวรนุ แรง จัดเจน เชน่ ฉันจะฆ่าแก ใชค้ �ำสกปรกรนุ แรง ดังตะโกนด้วย ตอ่ ผูอ้ ืน่ ท้ังทาง ฯลฯ ความโกรธหรือ ค�ำพูดและ ตะโกนด่าผู้อื่น แสดงออก ด้วยถ้อยค�ำไม่ รนุ แรง ท�ำร้ายผอู้ ่ืนจนได้รบั บาด แสดงท่าทางคุกคาม เช่น เจบ็ เชน่ ช้�ำ เคล็ด บวม ถลกเสื้อผ้า ท�ำท่าต่อยลม เกิดบาดแผล กระดูกหัก หรือกระชากคอเสื้อผู้อ่ืน หรอื เกดิ การบาดเจบ็ ของ พงุ่ ชน เตะ ผลกั หรอื ดงึ ผม อวัยวะภายใน หมดสติ ผ้อู ืน่ แตไ่ ม่ได้รับบาดเจ็บ ตาย ฯลฯ 3. พฤติกรรม ท�ำสง่ิ ของแตกหกั ขว้างปา/ แตะ/ ปิดประตูเสียง ไมพ่ บ ............... ก้าวร้าวรนุ แรง กระจัดกระจาย เช่น ทบุ วตั ถุ หรอื สง่ิ ของ ดังร้อื ข้าวของ ต่อทรัพย์สิน ทบุ กระจกขวา้ งแกว้ จาน กระจดั กระจาย มดี หรือสงิ่ ของทเ่ี ป็น อนั ตราย หรอื จดุ ไฟเผา ฯลฯ 62 คู่มอื การดูแลผปู้ ว่ ยโรคจิตเภท ส�ำ หรับโรงพยาบาลในเขตสุขภาพ (ฉบบั พยาบาล/นักวชิ าการสาธารณสุข)

การแปลผลคะแนน : การตัดสินระดับความก้าวร้าวรุนแรงจะพิจารณาใช้คะแนนสูงสุดตามที่ประเมินได้ตามลักษณะพฤติกรรม เพียงค�ำเดียวเทา่ นน้ั และคะแนนระดบั ความรนุ แรงท่ีประเมินไดม้ คี วามหมายดงั นี้ คะแนน 0 หมายถึง ไม่มีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง แสดงว่าผู้ป่วยที่มีคะแนนในระดับน้ีจะถูกจัดอยู่ใน กลมุ่ ฟื้นฟู (convalescent) ตามเกณฑก์ ารจ�ำแนกผ้ปู ว่ ยจติ เวช คะแนน 1 หมายถึง ผปู้ ว่ ยมพี ฤติกรรมกา้ วร้าวรุนแรง ท่ียังสามารถรบั ฟังค�ำเตือนแล้วสงบลงได้ ซ่ึงจะถกู จัด อยู่ในกลมุ่ ปานกลาง (Moderate) ตามเกณฑ์การจ�ำแนกผปู้ ว่ ยจติ เวช คะแนน 2 หมายถึง ผู้ป่วยมีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงที่เร่ิมควบคุมตัวเองไม่ได้ มีท่าทีท่ีอาจเกิดอันตรายต่อ ตนเอง ผู้อ่ืน และทรัพย์สิน ซ่ึงจะถูกจัดอยู่ในกลุ่มหนัก (semi-critical) ตามเกณฑ์การจ�ำแนก ประเภทผปู้ ว่ ยจิตเวช คะแนน 3 หมายถึง ผู้ป่วยมีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงที่ไม่สามารถควบคุมตัวเองได้ จนเกิดอันตรายต่อ ตนเอง หรือผู้อื่น หรือทรัพย์สิน ซึ่งจะจัดอยู่ในกลุ่มหนักมาก (critical) ตามเกณฑ์การจ�ำแนก ประเภทผู้ปว่ ยจติ เวช คูม่ อื การดูแลผปู้ ่วยโรคจติ เภท สำ�หรับโรงพยาบาลในเขตสขุ ภาพ (ฉบบั พยาบาล/นักวชิ าการสาธารณสุข) 63

ภาคผนวกท่ี 8 แบบบนั ทกึ ติดตามอาการถอนพิษสรุ า AWS AD 2-2 : แบบบนั ทึกตดิ ตามอาการถอนพิษสรุ ารายบคุ คลด้วยเครอื่ งมอื AWS 64 คมู่ อื การดแู ลผ้ปู ่วยโรคจิตเภท ส�ำ หรับโรงพยาบาลในเขตสุขภาพ (ฉบบั พยาบาล/นักวิชาการสาธารณสขุ )

ภาคผนวกท่ี 9 แบบบนั ทึกตดิ ตามอาการถอนพษิ สุรารายบคุ คลด้วยเคร่ืองมอื CIWA-Ar AD 2-1: แบบบันทึกติดตามอาการถอนพิษสรุ ารายบคุ คลดว้ ยเครอ่ื งมือ CIWA-Ar คมู่ อื การดแู ลผูป้ ่วยโรคจติ เภท ส�ำ หรับโรงพยาบาลในเขตสุขภาพ (ฉบบั พยาบาล/นักวิชาการสาธารณสขุ ) 65

ภาคผนวกท่ี 10 แบบประเมนิ ภาวะแทรกซ้อนทางกาย แบบประเมินภาวะแทรกซ้อนทางกายผู้ป่วยจติ เวชก่อนสง่ มาตรวจที่โรงพยาบาลจิตเวช ชื่อผ้ปู ว่ ย....................................................................................... ส่งมาจาก.................................................................... ( ) ผ้ปู ว่ ยใหม่ ( ) ผ้ปู ว่ ยจติ เวชเกา่ ที.่ ..................................................................................................................... ประวัติท่คี วรสงสัยภาวะอนั ตรายทางกาย (ให้ท�ำเครอ่ื งหมาย X ในวงเล็บหากมีโปรดระบรุ ายละเอียดด้านลา่ ง) ( ) ไม่ม ี ( ) มี ไดร้ บั อุบตั เิ หตทุ ่รี ุนแรงโดยเฉพาะอบุ ตั เิ หตทุ ีศ่ รี ษะ ( ) ไมม่ ี ( ) มี ท�ำรา้ ยตวั เองเช่นแขวนคอกระโดดจากท่สี งู จมนำ้� ( ) ไม่ม ี ( ) มกี ินยาเกนิ ขนาดหรือกินสารพษิ ( ) ไม่มี ( ) มถี ูกผู้อื่นท�ำร้ายด้วยวธิ ีทรี่ ุนแรง ( ) ไม่ม ี ( ) มีอาการทางระบบประสาทเช่นปวดศีรษะอาเจยี นเห็นภาพซ้อนชักแขนขาอ่อนแรงเซ ปัสสาวะ/อจุ จาระราด ( ) ไมม่ ี ( ) มีอาการของระบบหัวใจและหลอดเลอื ดเชน่ เจ็บหนา้ อกหอบเหนอื่ ย ( ) ไมม่ ี ( ) มีอาการของระบบการหายใจเชน่ หายใจล�ำบากหายใจมเี สยี งวด้ี ไอเป็นเลือด ( ) ไมม่ ี ( ) มอี าการของระบบทางเดนิ อาหารเชน่ ปวดท้องมากอาเจียนกนิ ไม่ไดอ้ าเจียนเปน็ เลือด ถา่ ยเป็นเลือดถา่ ยด�ำ ( ) ไมม่ ี ( ) มอี าการของภาวะตดิ เชอื้ เชน่ มีไขห้ นาวสน่ั รายละเอยี ด….................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... การตรวจร่างกาย (หากผดิ ปกติ โปรดระบุรายระเอียด) ( ) ปกต ิ ( ) ผดิ ปกติ 1. Vital signs: BP, T, RR, PR...................................................................................................................................... ( ) ปกติ ( ) ผิดปกติ 2. General Appearance........................................................................................................................................... ( ) ปกต ิ ( ) ผดิ ปกติ 3. HEENT........................................................................................................................................................................ ( ) ปกต ิ ( ) ผิดปกติ 4. Heart.......................................................................................................................................................................... ( ) ปกต ิ ( ) ผิดปกติ 5. Lungs........................................................................................................................................................................ ( ) ปกต ิ ( ) ผดิ ปกติ 6. Abdomen................................................................................................................................................................ ( ) ปกต ิ ( ) ผดิ ปกติ 66 คู่มือการดแู ลผ้ปู ว่ ยโรคจิตเภท ส�ำ หรับโรงพยาบาลในเขตสขุ ภาพ (ฉบบั พยาบาล/นกั วิชาการสาธารณสขุ )

7. Extremities................................................................................................................................................................ ( ) ปกติ ( ) ผดิ ปกติ 8. บาดแผลภายนอกที่ตรวจพบ.................................................................................................................................... การตรวจทางระบบประสาท (หากผดิ ปกติโปรดระบรุ ายละเอียด) ( ) ปกติ ( ) ผิดปกติ 1. Consciousness........................................................................................................................................................ ( ) ปกติ ( ) ผดิ ปกติ 2. Orientation to time, place, person ............................................................................................................... ( ) ปกติ ( ) ผิดปกติ 3. Pupil / Nystagmus................................................................................................................................................... ( ) ปกต ิ ( ) ผดิ ปกติ 4. Motorpower............................................................................................................................................................. ( ) ปกติ ( ) ผิดปกติ 5. Gait............................................................................................................................................................................. ( ) ปกติ ( ) ผดิ ปกติ 6. Meningeal sign........................................................................................................................................................ ( ) ปกต ิ ( ) ผดิ ปกติ ผลการตรวจทางห้องปฏิบตั กิ ารทส่ี �ำคญั (หากผดิ ปกติโปรดระบรุ ายละเอยี ด) ( ) ปกติ ( ) ผิดปกติ 1. CBC............................................................................................................................................................................. ( ) ปกต ิ ( ) ผิดปกติ 2. Electrolyte................................................................................................................................................................. ( ) ปกติ ( ) ผิดปกติ 3. Random blood glucose........................................................................................................................................ ( ) ปกต ิ ( ) ผดิ ปกติ ( ) ไม่สามารถตรวจได้ 4. Liver function test................................................................................................................................................ ( ) ปกติ ( ) ผดิ ปกติ 5. ผลตรวจอื่นๆ ทพี่ ิจารณาร่วมกับประวัตกิ ารตรวจรา่ งกายแลว้ บ่งชี้ว่ามีภาวะอนั ตรายทางกาย .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... แพทย์/ ผูป้ ระเมนิ ................................................................................... หากพบประวัติการตรวจร่างกายหรือผลตรวจทางห้องปฏิบัติการท่ีน่าสงสัยว่าอาจมีภาวะอันตรายทางกาย โปรดให้แพทย์ทางกายท�ำการตรวจรักษาโรคทางกายให้ปลอดภัยก่อนส่งผู้ป่วยมารักษาทางจิตเวชที่หน่วยงานของ กรมสขุ ภาพจติ ค่มู อื การดแู ลผปู้ ว่ ยโรคจิตเภท ส�ำ หรบั โรงพยาบาลในเขตสุขภาพ (ฉบับพยาบาล/นกั วชิ าการสาธารณสุข) 67

ตัวอยา่ งของความผดิ ปกติได้แก่  Vital signs : T > 38oC/ PR > 100/ min หรือ < 60/ min/ RR > 24/ min/ BP > 160/ 100 mmHg หรือ < 90/ 60 mmHg  General Appearance : ลักษณะรา่ งกายผดิ ปกติอย่างเหน็ ได้ชัด เชน่ ร่างกายทรดุ โทรมมากอ่อนเพลยี ซดี เหลอื ง หรือมี deformity  บาดแผล : มี Active bleeding หรือ แผลตดิ เชอื้  Heart and lungs : พบ acute cardiovascular problemsหรอื acute respiratory problem (Status asthmaticus)  Abdomen : พบภาวะ acute abdomen  Abnormal neurological sign : เช่น ชกั อ่อนแรงเดนิ เซ  Alteration of consciousness : เช่น coma score < 9/ เรยี กไม่ตอบสนอง/ งนุ งง  Disorientation : เช่น หลงเวลาไมร่ สู้ ถานทีห่ รอื จ�ำคนรูจ้ กั ไม่ได้  Abnormal neurological signs : Ataxia, Nystagmus, Paralysis (Status Epilepticus, NMS)  Hyponatremia : (Na< 120 mEq/ L)  Hypoglycemia : (BS< 60 mg/ L) และ Hyperglycemia (BS> 300 mg/ L)  Hyperkallemia : (K> 5 MEq/ L)  หรือประวัติการตรวจร่างกายหรือผลการตรวจอ่ืนๆ ทบี่ ่งช้วี า่ มีภาวะอนั ตรายทางกาย - Metabolic imbalance Na< 120 MEglc, K< 3 MEglc, Diabetic Ketoacidasis, BS> 240 mg% 68 คมู่ อื การดแู ลผ้ปู ว่ ยโรคจติ เภท ส�ำ หรบั โรงพยาบาลในเขตสุขภาพ (ฉบบั พยาบาล/นักวชิ าการสาธารณสขุ )

ภาคผนวกที่ 11 แบบประเมินความพกิ ารทางจติ กรมสุขภาพจติ ชอ่ื –สกลุ .........................................................อาย.ุ ..............ปี HN……......………วนั ทป่ี ระเมนิ ….………...………………………. การวนิ จิ ฉยั โรค………………………………………………………………………………..................………………………………………………… ที่อยู่……………………………………………………………………………………………….............…………………………………………………… 1. ความสามารถในการเรยี นรู้เบอื้ งตน้ 1. บอกครงั้ เดียวหรอื สองคร้ัง สามารถท�ำตามได้ 2. สอนซำ�้ ๆจงึ สามารถท�ำตามได้ 3. สอนเทา่ ไหร่ จ�ำไมไ่ ด้ และท�ำไมไ่ ด้ 2. ความสามารถในการดูแลกจิ วัตรประจ�ำวนั 1. สามารถดแู ลกจิ วัตรประจ�ำวนั ของตนเองได้ 2. ต้องกระต้นุ ในการดแู ลกจิ วัตรประจ�ำวนั 3. ดแู ลกจิ วตั รประจ�ำวนั ของตนเองไมไ่ ด้ 3. การชว่ ยเหลอื ท�ำงานบา้ น (เหมาะสมกบั อาย)ุ 1. สามารถชว่ ยเหลอื งานบา้ นได้ 2. ตอ้ งกระตุ้นให้ช่วยเหลืองานบ้าน 3. ไมช่ ่วยเหลอื งานบา้ น 4. ความสามารถในการเขา้ สงั คม 1. สามารถร่วมกจิ กรรมทางสังคมได้ 2. สนิทสนมเฉพาะคนในครอบครัว/คนใกล้ชิด เช่น เพ่อื น ญาติ เปน็ ตน้ 3. ไม่ยุ่งกับใครหรือชอบแยกตวั 5. ความสามารถในการสอ่ื สาร (เหมาะสมกับอาย)ุ 1. สนทนาแลกเปลย่ี นความคิดเห็นกับผ้อู น่ื ได้ 2. สนทนารว่ มกบั ผอู้ นื่ ได้เปน็ ครง้ั คราว 3. ไมพ่ ดู กบั ใครเลย 6. ความสามารถในการประกอบอาชพี /การเรยี น 6.1 ความสามารถในการประกอบอาชีพ 1. ประกอบอาชพี ได้และเมอ่ื มปี ัญหาสามารถหาท่ปี รึกษาได้ 2. ประกอบอาชพี ได้ แตต่ อ้ งมผี ู้ดูแลใกลช้ ดิ 3. ไมส่ ามารถประกอบอาชพี ได้ คมู่ ือการดแู ลผูป้ ่วยโรคจติ เภท สำ�หรับโรงพยาบาลในเขตสุขภาพ (ฉบบั พยาบาล/นักวิชาการสาธารณสขุ ) 69

6.2 ความสามารถในการเรียน (กรณีก�ำลงั เรยี นหนังสือ) 1. เรยี นได้ 2. เรยี นไดแ้ ต่ล�ำบาก 3. เรียนไม่ได้ สรปุ ผลการประเมินความพิการ รวม................................................คะแนน ชือ่ ผปู้ ระเมนิ ……………………….……………………………..................…….วนั ที่ประเมนิ ……………………….…………………… ค�ำชแี้ จงเก่ยี วกับการใชแ้ บบประเมนิ ความพิการทางจิตกรมสขุ ภาพจติ 1. แบบประเมินน้ีใช้ส�ำหรับผู้ป่วยท่ีแพทย์วินิจฉัยแล้วว่าเป็นโรคทางจิตเวชเป็นการประเมินเฉพาะความพิการ ทางจิตใจหรือพฤติกรรมหรือออทิสติก และความพิการทางสติปัญญา ท่ีใช้ได้ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ ไม่ใช่แบบประเมิน อาการทางจิต (Symptoms Checklist) จงึ ตอ้ งพจิ ารณาถงึ ความเหมาะสมตามวัยของผถู้ กู ประเมินดว้ ย ส�ำหรับขอ้ ที่ 6 ใหเ้ ลอื กตอบ ถา้ เปน็ ผใู้ หญใ่ หท้ �ำขอ้ 6.1 ความสามารถในการประกอบอาชพี ถา้ เปน็ เดก็ ใหท้ �ำขอ้ 6.2 ความสามารถ ในการเรียน 2. อธิบายค�ำจ�ำกัดความของแต่ละข้อ เพ่ือความชดั เจนในการประเมนิ ดงั ต่อไปนี้ 1) ความสามารถในการเรียนรู้เบ้ืองต้น ได้แก่ การเรียนรู้ด้านอื่นๆ ในชีวิตประจ�ำวัน / ในสังคม ท่ีมิใช่ การเรียนรู้วชิ าการในโรงเรยี น (เหมาะสมตามวัย) 2) ความสามารถในการดูแลกิจวัตรประจ�ำวัน ได้แก่ การดูแลตนเอง การรักษาสุขอนามัย ส่วนบุคคล การท�ำกิจกรรมอ่ืนๆ ในชีวิตประจ�ำวัน (เช่น อาบนำ�้ รบั ประทานอาหารเปลี่ยนเส้อื ผ้า ฯลฯ) 3) การช่วยเหลืองานบ้าน ได้แก่ งานท่ีได้รับมอบหมายท่ีบ้าน (เช่น กวาด-ถูบ้าน ประกอบอาหาร ล้างชาม ฯลฯ) 4) ความสามารถในการเข้าสังคม ได้แก่ การปรับตัวกับคนอ่ืน การอยู่ร่วมกับผู้อื่น การผูกมิตร การสนิทสนมกบั ผู้อ่นื ผา่ นการเล่น การเรยี น หรอื การท�ำกิจกรรมร่วมกบั ผู้อ่นื ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 5) ความสามารถในการส่ือสาร ได้แก่ พัฒนาการทางการพูดและใช้ภาษาเหมาะสมกับอายุ เช่น อายุ 1 ขวบครง่ึ เรมิ่ พดู เป็นค�ำๆ อายุ 3 ขวบ พูดเปน็ ประโยค 6) 6.1 ความสามารถในการประกอบอาชีพ คือ สามารถประกอบอาชีพมรี ายได้ของตนเอง 6.2 ความสามารถในการเรียน ส�ำหรับกรณีเด็ก-วัยรุ่นท่ีอยู่ในวัยเรียน ความสามารถด้านการเรียน เป็นผลมาจาก ระดับสติปัญญา ภาวะบกพร่องด้านการเรียนรู้ ช่วงสมาธิ ไม่นับรวมการขาดโอกาสทางการศึกษา ฐานะยากจน ไม่ได้รบั การศกึ ษา หมายเหตุ กรณเี ดก็ - วัยรนุ่ ความสามารถแต่ละด้านตอ้ งค�ำนึงถึงอายุและพัฒนาการดว้ ย เกณฑ์การใหค้ ะแนนในแตล่ ะข้อ มีดงั นี้ ตอบขอ้ 1 ได้ 1 คะแนน ตอบขอ้ 2 ได้ 2 คะแนน ตอบข้อ 3 ได้ 3 คะแนน หมายเหตุ ถา้ ได้คะแนน 7 คะแนนข้นึ ไปถอื ว่าพกิ าร คะแนนเต็มคอื 18 คะแนน 70 คู่มอื การดแู ลผปู้ ว่ ยโรคจิตเภท สำ�หรับโรงพยาบาลในเขตสุขภาพ (ฉบับพยาบาล/นกั วชิ าการสาธารณสุข)

ภาคผนวกที่ 12 แบบประเมนิ ความสามารถตามประเภทความพกิ ารและใหร้ หสั ICF ความพกิ ารประเภท 4.1 ความพิการทางจิตใจหรอื พฤติกรรม ความพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม หมายถึง การท่ีบุคคลมีข้อจ�ำกัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิต ประจ�ำวัน หรือการเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม ซึ่งเป็นผลมาจากความบกพร่องหรือผิดปกติทางจิตใจหรือ สมองในส่วนของการรบั รู้ อารมณ์ หรอื ความคิด ความพิการประเภทนี้จึงหมายถึงกลุ่มโรคทางจิตเวชตามหลักเกณฑ์การวินิจฉัยในระบบ ICD-10-TM (The International Statistical Classification of Diseases and Related Health Problems, 10th Revision, Thai Modification) ซึ่งส่งผลให้เกิดข้อจ�ำกัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจ�ำวัน หรือการเข้าไปมีส่วนร่วมใน กจิ กรรมทางสังคม ทัง้ นโี้ รคทางจิตเวชนน้ั ต้องไมใ่ ชโ่ รคในระยะเฉยี บพลัน ความพกิ ารทางจิตใจหรือพฤตกิ รรมตามรหัส ICD-10-TM (Version 2011) F00.- Dementia in Alzheimer’s disease F01.- Vascular dementia F02.- Dementia in other diseases classified elsewhere F03 Unspecified dementia F06.0 Organic hallucinosis F06.1 Organic catatonic disorder F06.2 Organic delusional [schizophrenia-like] disorder F06.3 Organic mood [affective] disorder F20.- Schizophrenia F21 Schizotypal disorder F22.- Persistent delusional disorder F25.- Schizoaffective disorder F28 Other nonorganic psychotic disorders F29 Unspecified nonorganic psychosis F30.2 Mania with psychotic symptoms F31.2 Bipolar affective disorder, current episode, manic with psychotic symptoms F31.5 Bipolar affective disorder, current episode, severe depression with psychotic symptoms F31.6 Bipolar affective disorder, current episode, mixed F32.3 Severe depressive episode with psychotic symptoms F33.3 Recurrent depressive disorder, current episode, severe with psychotic symptoms คมู่ อื การดแู ลผ้ปู ่วยโรคจติ เภท สำ�หรับโรงพยาบาลในเขตสุขภาพ (ฉบับพยาบาล/นักวิชาการสาธารณสขุ ) 71

การประเมินสมรรถภาพคนพกิ ารทางจิตใจหรือพฤตกิ รรมตามแนวทางของ ICF d155 การได้รับทกั ษะจากการเรยี นรู้ (Acquiring skills) การพัฒนาความสามารถขั้นพ้ืนฐานและซับซ้อนของกิจกรรมหรือการกระท�ำที่ผสมผสานหลายๆอย่าง เพือ่ เปน็ การเรยี นรู้ในการริเร่ิมและต่อเนื่อง เชน่ การใช้เครอื่ งมอื หรือการเลน่ เกม เชน่ หมากฮอส รวม : การไดร้ บั ทักษะขั้นพนื้ ฐานและทักษะทีซ่ ับซอ้ น d155.0 ไม่มีความยากล�ำบาก: สามารถเรียนรู้เบื้องต้นในการกระท�ำที่มีจุดหมายหรือการกระท�ำท่ีผสมผสาน หลายๆอย่างที่เป็นไปตามกติกา ล�ำดับ และความสัมพันธ์ในการเคล่ือนไหว สามารถท�ำครบทุกข้ันตอน ดว้ ยตนเอง (NO : 0 – 4 %) d155.1 มคี วามยากล�ำบากเลก็ นอ้ ย: สามารถเรยี นรเู้ บอ้ื งตน้ ในการกระท�ำทม่ี จี ดุ หมายหรอื การกระท�ำทผ่ี สมผสาน หลายๆอย่างท่ีเป็นไปตามกติกา ล�ำดับ และความสัมพันธ์ในการเคล่ือนไหวสามารถท�ำครบทุกข้ันตอน ดว้ ยตนเอง แต่ต้องมผี ูส้ อนทักษะคอยกระตุ้น (MILD: 5 – 24 %) d155.2 มีความยากล�ำบากปานกลาง: สามารถเรียนรู้เบ้ืองต้นในการกระท�ำท่ีมีจุดหมายหรือการกระท�ำ ทผ่ี สมผสานหลายๆอยา่ งทเี่ ปน็ ไปตามกตกิ า ล�ำดบั และความสมั พนั ธใ์ นการเคลอ่ื นไหวสามารถท�ำครบทกุ ขน้ั ตอนดว้ ยตนเอง โดยผสู้ อนทกั ษะตอ้ งกระตุ้นและใหค้ วามชว่ ยเหลือบอ่ ยๆ (MODERATE: 25 – 49 %) d155.3 มีความยากล�ำบากรนุ แรง: สามารถเรียนรเู้ บ้ืองตน้ ในการกระท�ำทม่ี จี ุดหมายหรอื การกระท�ำท่ีผสมผสาน หลายๆอย่างท่ีเป็นไปตามกติกา ล�ำดับ และความสัมพันธ์ในการเคล่ือนไหวสามารถท�ำครบทุกข้ันตอน ดว้ ยตนเอง โดยผสู้ อนทกั ษะต้องกระตนุ้ และให้ความช่วยเหลอื มาก (SEVERE: 50 – 95 %) d155.4 มคี วามยากล�ำบากทสี่ ดุ : ไมส่ ามารถเรยี นรเู้ บอื้ งตน้ ในการกระท�ำทม่ี จี ดุ หมายหรอื การกระท�ำทผ่ี สมผสาน หลายๆอย่างที่เป็นไปตามกติกา ล�ำดับ และความสัมพันธ์ในการเคลื่อนไหวสามารถท�ำครบทุกขั้นตอน ด้วยตนเอง โดยผูส้ อนทักษะตอ้ งกระตุ้นและให้ความช่วยเหลอื ทง้ั หมด (COMPLETE: 96 – 100 %) d155.8 มีความยากล�ำบากท่ไี มร่ ะบรุ ายละเอยี ด (Not specified) d155.9 ไม่เกยี่ วขอ้ ง (Not applicable) 72 ค่มู อื การดแู ลผู้ป่วยโรคจติ เภท สำ�หรับโรงพยาบาลในเขตสุขภาพ (ฉบบั พยาบาล/นักวชิ าการสาธารณสขุ )

d350 การสนทนา (Conversation) การเริม่ ต้น การด�ำเนินต่อ และการจบของการแลกเปลยี่ นความคดิ และความเห็น โดยใช้วิธกี ารพูด การเขยี น เครื่องหมาย หรือรูปแบบอ่ืนของภาษากับบุคคลท่ีรู้จักหรือไม่รู้จัก หนึ่งคนหรือมากกว่า ในบรรยากาศที่เป็นทางการ หรอื เปน็ กันเอง รวม : การเริ่มตน้ การด�ำเนนิ ต่อ และการจบการสนทนา การสนทนากับบุคคลหน่งึ คนหรือหลายคน d350.0 ไม่มีความยากล�ำบาก : สามารถเริ่มต้น ด�ำเนินต่อ และจบการสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดและ ความเห็นกับบุคคลที่รู้จักหรือไม่รู้จัก หน่ึงคนหรือมากกว่า ในบรรยากาศที่เป็นทางการหรือเป็นกันเอง ด้วยตนเอง (NO: 0 – 4 %) d350.1 มีความยากล�ำบากเล็กน้อย : สามารถเร่ิมต้น ด�ำเนินต่อ และจบการสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดและ ความเห็นกับบุคคลที่รู้จักหรือไม่รู้จัก หนึ่งคนหรือมากกว่า ในบรรยากาศท่ีเป็นทางการหรือเป็นกันเอง โดยผูด้ แู ลคอยกระตนุ้ (MILD: 5 – 24 %) d350.2 มีความยากล�ำบากปานกลาง : สามารถเร่ิมต้น ด�ำเนินต่อ และจบการสนทนาแลกเปลี่ยนความคิด และความเหน็ กบั บคุ คลทร่ี จู้ กั หรอื ไมร่ จู้ กั หนง่ึ คนหรอื มากกวา่ ในบรรยากาศทเี่ ปน็ ทางการหรอื เปน็ กนั เอง โดยผดู้ แู ลต้องกระต้นุ และใหค้ วามชว่ ยเหลอื บอ่ ยๆ (MODERATE: 25 – 49 %) d350.3 มีความยากล�ำบากรุนแรง : สามารถเริ่มต้น ด�ำเนินต่อ และจบการสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดและ ความเห็นกับบุคคลท่ีรู้จักหรือไม่รู้จัก หนึ่งคนหรือมากกว่า ในบรรยากาศที่เป็นทางการหรือเป็นกันเอง โดยผู้ดูแลต้องกระต้นุ และใหค้ วามชว่ ยเหลือมาก (SEVERE: 50 – 95 %) d350.4 มีความยากล�ำบากที่สุด : ไม่สามารถเร่ิมต้น ด�ำเนินต่อ และจบการสนทนาแลกเปล่ียนความคิดและ ความเห็นกับบุคคลที่รู้จักหรือไม่รู้จัก หนึ่งคนหรือมากกว่า ในบรรยากาศที่เป็นทางการหรือเป็นกันเอง โดยผู้ดูแลต้องใหค้ วามช่วยเหลอื ทัง้ หมด (COMPLETE: 96 – 100 %) d350.8 มคี วามยากล�ำบากทีไ่ ม่ระบรุ ายละเอียด (Not specified) d350.9 ไม่เก่ียวข้อง (Not applicable) ค่มู ือการดูแลผู้ปว่ ยโรคจติ เภท ส�ำ หรับโรงพยาบาลในเขตสุขภาพ (ฉบบั พยาบาล/นกั วิชาการสาธารณสขุ ) 73

d510 การท�ำความสะอาดร่างกายตนเอง (Washing oneself) การท�ำความสะอาดและเช็ดตัวของตนเองทั้งหมดหรือบางส่วน โดยใช้น้�ำและวัสดุหรือวิธีการท่ีเหมาะสม ในการท�ำความสะอาด การเช็ดให้แห้ง เช่น การอาบน�้ำในอ่าง การอาบน�้ำด้วยฝักบัว การล้างมือและเท้า ล้างหน้า และสระผม และการเช็ดให้แห้งด้วยผ้าเชด็ ตัว รวม : การท�ำความสะอาดส่วนต่างๆของร่างกาย รา่ งกายทง้ั หมด; และการเช็ดตวั ไมร่ วม : การดแู ลส่วนตา่ งๆของรา่ งกาย (d250); การใชห้ อ้ งนำ้� (d530) d510.0 ไม่มีความยากล�ำบาก : สามารถท�ำความสะอาดส่วนต่างๆของร่างกายตนเอง โดยใช้น้�ำและวัสดุหรือ วิธกี ารทเ่ี หมาะ สมในการท�ำความสะอาดและการเชด็ ใหแ้ หง้ ด้วยตนเอง (NO: 0 – 4 %) d510.1 มีความยากล�ำบากเล็กน้อย : สามารถท�ำความสะอาดส่วนต่างๆของร่างกายตนเอง โดยใช้น�้ำและวัสดุ หรอื วธิ กี ารทเี่ หมาะสมในการท�ำความสะอาดและการเชด็ ใหแ้ หง้ โดยผดู้ แู ลคอยกระตนุ้ (MILD : 5 – 24 %) d510.2 มีความยากล�ำบากปานกลาง : สามารถท�ำความสะอาดส่วนต่างๆของร่างกายตนเอง โดยใช้น�้ำและ วัสดุหรือวิธีการที่เหมาะสมในการท�ำความสะอาดและการเช็ดให้แห้ง โดยผู้ดูแลต้องกระตุ้นและให้ ความช่วยเหลือบ่อยๆ (MODERATE: 25 – 49 %) d510.3 มีความยากล�ำบากรุนแรง : สามารถท�ำความสะอาดส่วนต่างๆของร่างกายตนเอง โดยใช้น้�ำและวัสดุ หรือวิธีการที่เหมาะสมในการท�ำความสะอาดและการเช็ดให้แห้ง โดยผู้ดูแลต้องกระตุ้นและให้ความ ชว่ ยเหลอื มาก (SEVERE: 50 – 95 %) d510.4 มีความยากล�ำบากท่ีสุด : ไม่สามารถท�ำความสะอาดส่วนต่างๆของร่างกายตนเอง โดยใช้น้�ำและวัสดุ หรือวิธีการท่ีเหมาะสมในการท�ำความสะอาดและการเช็ดให้แห้ง ต้องให้ผู้ดูแลช่วยเหลือท้ังหมด (COMPLETE: 96 – 100 %) d510.8 มีความยากล�ำบากท่ไี ม่ระบุรายละเอยี ด (Not specified) d510.9 ไมเ่ กยี่ วขอ้ ง (Not applicable) 74 คมู่ อื การดูแลผ้ปู ่วยโรคจิตเภท ส�ำ หรบั โรงพยาบาลในเขตสขุ ภาพ (ฉบับพยาบาล/นักวิชาการสาธารณสขุ )

d570 การดูแลสขุ ภาพตัวเอง (Looking after one’s health) การรักษาความสะดวกสบายทางร่างกาย สุขภาพ และการรักษาความเป็นอยู่ที่ดีทั้งทางกายและทางจิต เชน่ การดแู ลภาวะโภชนาการ การออกก�ำลังกายตามสมควร การควบคมุ อุณหภูมริ ่างกาย หลกี เล่ียงสิ่งท่เี ปน็ อนั ตราย ต่อสุขภาพ มีเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัย รวมถึงการใช้ถุงยางอนามัย ฉีดยาป้องกันโรค และตรวจสุขภาพอย่าง สมำ�่ เสมอ รวม : การรักษาความสะดวกสบายของร่างกาย ; การดูแลเร่ืองโภชนาการและความแข็งแรงของร่างกาย ; การรักษาสุขภาพของตนเอง d570.0 ไม่มคี วามยากล�ำบาก : สามารถดูแลสขุ ภาพตนเองท้ังทางกายและทางจติ เชน่ เลือกรบั ประทานอาหาร ท่ีมีคุณค่า ออกก�ำลังกาย รับประทานยาและมาพบแพทย์ตามนัดอย่างสม�่ำเสมอ หลีกเล่ียงสิ่งที่เป็น อันตรายต่อสุขภาพ ไดด้ ว้ ยตนเอง (NO: 0 – 4 %) d570.1 มีความยากล�ำบากเลก็ น้อย : สามารถดูแลสขุ ภาพตนเองท้ังทางกายและทางจิต เชน่ เลอื กรับประทาน อาหารทมี่ คี ณุ คา่ ออกก�ำลงั กาย รบั ประทานยาและมาพบแพทยต์ ามนดั อยา่ งสมำ่� เสมอ หลกี เลย่ี งสงิ่ ทเ่ี ปน็ อันตรายตอ่ สุขภาพ โดยผดู้ แู ลคอยกระตุ้น (MILD: 5 – 24 %) d570.2 มคี วามยากล�ำบากปานกลาง : สามารถดแู ลสุขภาพตนเองทั้งทางกายและทางจิต เช่น เลอื กรบั ประทาน อาหารที่มีคุณค่า ออกก�ำลังกาย รับประทานยาและมาพบแพทย์ตามนัดอย่างสม�่ำเสมอ หลีกเลี่ยงส่ิงที่ เปน็ อันตรายต่อสุขภาพ โดยผดู้ ูแลตอ้ งกระตุ้นและให้ความชว่ ยเหลอื บอ่ ยๆ (MODERATE: 25 – 49 %) d570.3 มีความยากล�ำบากรุนแรง : สามารถดูแลสุขภาพตนเองท้ังทางกายและทางจิต เช่น เลือกรับประทาน อาหารทม่ี คี ณุ คา่ ออกก�ำลงั กาย รบั ประทานยาและมาพบแพทยต์ ามนดั อยา่ งสมำ่� เสมอ หลกี เลยี่ งสง่ิ ทเี่ ปน็ อันตรายต่อสุขภาพ โดยผ้ดู ูแลตอ้ งกระตุ้นและใหค้ วามชว่ ยเหลอื มาก (SEVERE: 50 – 95 %) d570.4 มีความยากล�ำบากที่สุด : ไม่สามารถดูแลสุขภาพตนเองท้ังทางกายและทางจิต เช่น เลือกรับประทาน อาหารที่มีคุณค่า ออกก�ำลังกาย รับประทานยาและมาพบแพทย์ตามนัดอย่างสม่�ำเสมอ หลีกเล่ียงสิ่งท่ี เปน็ อนั ตรายต่อสุขภาพ ต้องให้ผดู้ ูแลช่วยเหลอื ทัง้ หมด (COMPLETE: 96 – 100 %) d570.8 มคี วามยากล�ำบากทไี่ ม่ระบรุ ายละเอยี ด (Not specified) d570.9 ไม่เกี่ยวขอ้ ง (Not applicable) คมู่ อื การดแู ลผูป้ ว่ ยโรคจิตเภท ส�ำ หรับโรงพยาบาลในเขตสขุ ภาพ (ฉบับพยาบาล/นกั วชิ าการสาธารณสุข) 75

d640 การท�ำงานบ้าน (Doing housework) การจัดการภายในบ้านด้วยการท�ำความสะอาดบ้าน ซักเส้ือผ้า การใช้อุปกรณ์เครื่องใช้ภายในบ้าน การเก็บ รักษาอาหาร และการท้ิงส่ิงปฏิกูล เช่น โดยการกวาดบ้าน ถูบ้าน การช�ำระล้างชั้นวางของ ก�ำแพงและพ้ืน การเก็บ รวบรวมการก�ำจัดส่ิงปฏิกูลภายในบ้าน การจัดห้องตู้เส้ือผ้าและล้ินชักให้เป็นระเบียบ การซักล้าง ท�ำให้แห้ง พับเก็บ และรีด การท�ำความสะอาดรองเท้า การใช้ไม้กวาด แปรง และเครื่องดูดฝุ่น การใช้เคร่ืองซักผ้า เคร่ืองอบผ้า และ เตารดี รวม : การซักและตากเสื้อผ้าและเคร่ืองแต่งกาย; การท�ำความสะอาดพื้นที่และอุปกรณ์ท่ีใช้ในการท�ำ อาหาร; การท�ำความสะอาดบริเวณท่ีพักอาศัย; การใช้เครื่องใช้ภายในบ้าน; การเก็บรักษาของใช้ท่ีจ�ำเป็นประจ�ำวัน และการก�ำจัดส่ิงปฏิกลู ไม่รวม : การหาท่ีอยู่อาศัย (d610); การหาซ้ือสินค้าและบริการ (d620); การเตรียมอาหาร (d630); การดูแลของในบ้าน (d650); การดูแลผูอ้ นื่ (d660) d640.0 ไม่มีความยากล�ำบาก : สามารถดูแลท�ำงานบ้าน หรือจัดการภายในบ้าน รวมถึงการใช้และเก็บรักษา อุปกรณ์เครอ่ื งใช้ประจ�ำวนั ที่จ�ำเป็น และการก�ำจดั สง่ิ ปฏิกลู ภายในบา้ น ได้ดว้ ยตนเอง (NO : 0 – 4 %) d640.1 มีความยากล�ำบากเล็กน้อย : สามารถดูแลท�ำงานบ้าน หรือจัดการภายในบ้าน รวมถึงการใช้และ เก็บรักษาอุปกรณ์เครื่องใช้ประจ�ำวันท่ีจ�ำเป็น และการก�ำจัดสิ่งปฏิกูลภายในบ้าน โดยผู้ดูแลคอยกระตุ้น (MILD : 5 – 24 %) d640.2 มีความยากล�ำบากปานกลาง : สามารถดูแลท�ำงานบ้าน หรือจัดการภายในบ้าน รวมถึงการใช้และ เก็บรักษาอุปกรณ์เคร่ืองใช้ประจ�ำวันที่จ�ำเป็น และการก�ำจัดสิ่งปฏิกูลภายในบ้าน โดยผู้ดูแลต้องกระตุ้น และให้ความช่วยเหลอื บอ่ ยๆ (MODERATE : 25 – 49 %) d640.3 มีความยากล�ำบากรุนแรง : สามารถดูแลท�ำงานบ้าน หรือจัดการภายในบ้าน รวมถึงการใช้และ เก็บรักษาอุปกรณ์เครื่องใช้ประจ�ำวันท่ีจ�ำเป็น และการก�ำจัดส่ิงปฏิกูลภายในบ้าน โดยผู้ดูแลต้องกระตุ้น และใหค้ วามช่วยเหลือมาก (SEVERE : 50 – 95 %) d640.4 มีความยากล�ำบากที่สุด : ไม่สามารถดูแลท�ำงานบ้าน หรือจัดการภายในบ้าน รวมถึงการใช้และ เก็บรักษาอปุ กรณเ์ ครื่องใชป้ ระจ�ำวันทจี่ �ำเปน็ และการก�ำจดั ส่งิ ปฏิกลู ภายในบ้าน ตอ้ งใหผ้ ดู้ แู ลชว่ ยเหลอื ทั้งหมด (COMPLETE : 96 – 100 %) d640.8 มีความยากล�ำบากทไ่ี มร่ ะบรุ ายละเอยี ด (Not specified) d640.9 ไม่เกยี่ วข้อง (Not applicable) 76 คมู่ ือการดแู ลผู้ปว่ ยโรคจติ เภท ส�ำ หรับโรงพยาบาลในเขตสุขภาพ (ฉบับพยาบาล/นักวชิ าการสาธารณสขุ )

d720 ปฏสิ มั พันธ์ระหว่างบุคคลทีซ่ ับซ้อน (Complex interpersonal interactions) การรักษาไว้และจดั การกบั ปฏสิ มั พนั ธ์กับผอู้ ่นื ในลกั ษณะทีเ่ หมาะสมตามบริบทและสงั คม เช่น การจัดการกบั อารมณแ์ ละแรงกดดันทางจติ ใจ การควบคมุ พฤตกิ รรมก้าวรา้ วทางวาจาและทางกาย การกระท�ำอย่างอิสระในปฏกิ ริ ยิ า ทางสังคม และการท�ำตามกฎของสังคมและประเพณีนยิ ม รวม : การเริม่ ต้นและยุติสัมพนั ธภาพ; การควบคมุ พฤติกรรมในขณะทม่ี ปี ฏสิ ัมพันธ์; การแสดงปฏิสมั พันธ์ ตามกฎของสงั คม และการรักษาช่องวา่ งของสงั คม d720.0 ไม่มีความยากล�ำบาก : สามารถรักษาไวแ้ ละจดั การปฏิสมั พนั ธ์กบั ผูอ้ ่ืนในลักษณะทีเ่ หมาะสมตามบรบิ ท และสงั คม ได้ด้วยตนเอง (NO : 0 – 4 %) d720.1 มีความยากล�ำบากเล็กน้อย : สามารถรักษาไว้และจัดการปฏิสัมพันธ์กับผู้อ่ืนในลักษณะท่ีเหมาะสม ตามบริบทและสังคม มีปัญหาบ้างนานๆคร้ัง ท�ำด้วยตนเองโดยมีผู้ดูแลคอยให้ค�ำแนะน�ำเล็กน้อย (MILD : 5 – 24 %) d720.2 มีความยากล�ำบากปานกลาง : สามารถรักษาไว้และจัดการปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นในลักษณะท่ีเหมาะสม ตามบริบทและสังคม มปี ัญหาบางครง้ั หรือแสดงท่าทาง อารมณ์ ค�ำพูด พฤตกิ รรมทไี่ ม่พอใจ โดยผดู้ แู ล ต้องใหค้ �ำแนะน�ำและให้ความชว่ ยเหลอื บ่อยๆ (MODERATE : 25 – 49 %) d720.3 มีความยากล�ำบากรุนแรง : สามารถรักษาไว้และจัดการปฏิสัมพันธ์กับผู้อ่ืนในลักษณะที่เหมาะสม ตามบริบทและสงั คม มปี ัญหาบ่อยคร้ัง หรอื แสดงทา่ ทาง อารมณ์ ค�ำพดู พฤตกิ รรมทห่ี งดุ หงดิ ก้าวรา้ ว บ่อยๆ โดยผูด้ แู ลต้องให้ค�ำแนะน�ำและให้ความช่วยเหลอื มาก (SEVERE : 50 – 95 %) d720.4 มีความยากล�ำบากท่ีสุด : ไม่สามารถรักษาไว้และจัดการปฏิสัมพันธ์กับผู้อ่ืนในลักษณะท่ีเหมาะสม ตามบริบทและสังคม มีปัญหาตลอดเวลา จนไม่สามารถมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่นหรือมีพฤติกรรม ท่ีหงุดหงิดก้าวร้าวตลอดเวลา ต้องให้ผู้ดูแลช่วยเหลือทั้งหมดเพ่ือป้องกันความเส่ียงต่อบุคคลอ่ืน (COMPLETE : 96 – 100 %) d720.8 มีความยากล�ำบากท่ีไม่ระบุรายละเอยี ด (Not specified) d720.9 ไม่เก่ียวข้อง (Not applicable) คู่มือการดูแลผ้ปู ว่ ยโรคจติ เภท ส�ำ หรับโรงพยาบาลในเขตสขุ ภาพ (ฉบบั พยาบาล/นกั วิชาการสาธารณสขุ ) 77

d750 สมั พนั ธภาพทางสังคมที่ไม่เป็นทางการ (Informal social relationships) การเข้าไปมีสัมพันธภาพกับคนอื่น เช่น สัมพันธภาพโดยบังเอิญกับคนท่ีอาศัยอยู่ในชุมชนเดียวกัน หรือ อย่หู อพกั เดยี วกัน หรอื กบั คนที่ท�ำงานรว่ มกัน นกั ศึกษา เพ่อื นเล่น หรือคนทมี่ ภี มู ิหลังหรืออาชีพคล้ายกัน รวม : สมั พันธภาพท่ไี มเ่ ปน็ ทางการกบั เพ่อื น เพอ่ื นบ้าน คนคนุ้ เคย คนทอี่ าศยั อยู่ร่วมกนั และเพือ่ นรนุ่ เดียวกนั d750.0 ไม่มคี วามยากล�ำบาก : สามารถรักษาเข้าไปมีสัมพนั ธภาพกับคนในบ้าน เพอ่ื นบ้าน และคนอื่นๆ ไดด้ ว้ ย ตนเอง (NO : 0 – 4 %) d750.1 มคี วามยากล�ำบากเลก็ น้อย : สามารถรักษาเขา้ ไปมีสมั พนั ธภาพกบั คนในบ้าน เพ่ือนบา้ น และคนอนื่ ๆ โดยผู้ดแู ลใหค้ �ำแนะน�ำเลก็ นอ้ ย (MILD : 5 – 24 %) d750.2 มคี วามยากล�ำบากปานกลาง : สามารถรักษาเขา้ ไปมสี มั พันธภาพกบั คนในบา้ น เพอ่ื นบ้านและคนอ่นื ๆ โดยผู้ดูแลใหค้ �ำแนะน�ำและชว่ ยเหลอื บ่อยๆ (MODERATE : 25 – 49 %) d750.3 มีความยากล�ำบากรุนแรง : สามารถรักษาเข้าไปมีสัมพันธภาพกับคนในบ้าน เพ่ือนบ้าน และคนอ่ืนๆ โดยผดู้ แู ลให้ค�ำแนะน�ำและชว่ ยเหลือมาก (SEVERE : 50 – 95 %) d750.4 มีความยากล�ำบากท่ีสุด : ไม่สามารถรักษาเข้าไปมีสัมพันธภาพกับคนในบ้าน เพื่อนบ้าน และคนอื่นๆ ต้องใหผ้ ูด้ ูแลช่วยเหลือท้ังหมด (COMPLETE : 96 – 100 %) d750.8 มีความยากล�ำบากทไี่ มร่ ะบรุ ายละเอียด (Not specified) d750.9 ไม่เกี่ยวข้อง (Not applicable) 78 คู่มือการดูแลผปู้ ว่ ยโรคจติ เภท ส�ำ หรบั โรงพยาบาลในเขตสขุ ภาพ (ฉบบั พยาบาล/นักวชิ าการสาธารณสขุ )

d845 การได้งานท�ำ การรักษางานทท่ี �ำอยู่ และการยตุ ิการท�ำงาน (Acquiring, keeping and terminating a job) การแสวงหางานท�ำ การหางานและการเลอื กงาน การรบั จา้ งและการได้รับการจา้ งงาน การรักษางานที่ท�ำอยู่ และความกา้ วหนา้ ในหนา้ ทก่ี ารงาน การคา้ ขาย การไดร้ บั บรรจใุ หท้ �ำงานหรอื การท�ำงานอาชพี และการออกจากงานใน ลกั ษณะท่เี หมาะสม รวม : การแสวงหางานท�ำ; การเตรยี มประวตั กิ ารศกึ ษา; การตดิ ตอ่ กบั นายจา้ งและการเตรยี มตวั สมั ภาษณ;์ การรกั ษางานท่ีท�ำอยู่; การรายงานผลการท�ำงานของตนเอง;การใหข้ อ้ สงั เกต; และการออกจากงาน d845.0 ไม่มคี วามยากล�ำบาก : มคี วามกระตือรือร้นแสวงหางานท�ำ หรอื สามารถหางานท�ำ จนได้รับการจ้างงาน หรือบรรจุให้ท�ำงานหรืออาชีพ สามารถรักษางานท่ีท�ำอยู่ และมีความก้าวหน้าในหน้าที่การงานได้ด้วย ตนเอง (NO : 0 – 4 %) d845.1 มีความยากล�ำบากเล็กน้อย : สามารถหางานท�ำ จนได้รับการจ้างงานหรือบรรจุให้ท�ำงานหรืออาชีพ สามารถรักษางานที่ท�ำอยู่ และมีความก้าวหน้าในหน้าท่ีการงาน มีปัญหาบ้างนานๆคร้ังโดยมีผู้แนะน�ำ เล็กน้อย (MILD : 5 – 24 %) d845.2 มีความยากล�ำบากปานกลาง : สามารถหางานท�ำ จนได้รับการจ้างงานหรือบรรจุให้ท�ำงานหรืออาชีพ สามารถรกั ษางานทีท่ �ำอยู่ และมคี วามกา้ วหนา้ ในหน้าที่การงาน มีปญั หาบ้างบางคร้ัง โดยตอ้ งการความ ช่วยเหลอื บ้าง (MODERATE : 25 – 49 %) d845.3 มคี วามยากล�ำบากรนุ แรง : สามารถหางานท�ำ จนไดร้ บั การจา้ งงานหรอื บรรจใุ หท้ �ำงานหรอื อาชพี สามารถ รกั ษางานทที่ �ำอยู่ และมคี วามกา้ วหนา้ ในหนา้ ทก่ี ารงาน มปี ญั หาบอ่ ยครงั้ โดยตอ้ งการความชว่ ยเหลอื มาก (SEVERE : 50 – 95 %) d845.4 มีความยากล�ำบากท่ีสุด : ไม่สามารถท�ำงานได้ ภาระค่าใช้จ่ายต้องให้ผู้ดูแลช่วยเหลือท้ังหมด (COMPLETE : 96 – 100 %) d845.8 มีความยากล�ำบากทไ่ี ม่ระบุรายละเอยี ด (Not specified) d845.9 ไมเ่ ก่ยี วข้อง (Not applicable) คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคจิตเภท สำ�หรับโรงพยาบาลในเขตสุขภาพ (ฉบับพยาบาล/นักวชิ าการสาธารณสุข) 79

d920 นนั ทนาการและกจิ กรรมยามวา่ ง (Recreation and leisure) การเข้าร่วมในกจิ กรรมการเล่นอยา่ งใดอย่างหน่งึ การเขา้ ร่วมกจิ กรรมนันทนาการหรอื กจิ กรรมยามวา่ ง เช่น การเล่นกีฬาท่ีจัดขึ้นอย่างไม่เป็นทางการ การออกก�ำลังกายตามโปรแกรม การผ่อนคลาย การหาความสนุกสนาน การไปชมหอแสดงศิลปะ พิพิธภัณฑ์ภาพยนต์หรือละคร; การท�ำงานหัตถกรรมหรืองานอดิเรก การอ่านหนังสือเพ่ือ ความเพลดิ เพลนิ การทัศนาจรและทอ่ งเทีย่ ว รวม : การเล่น กฬี า ศิลปะและวัฒนธรรม งานหัตถกรรม งานอดเิ รก และงานสังคม ไม่รวม : การข่สี ตั วเ์ พือ่ การขนส่ง (d480); งานทไี่ ดร้ ับค่าจ้างและไมไ่ ดร้ ับค่าจ้าง (d850 และ d855); ศาสนา และความเชอื่ (d930); ชีวติ ทางการเมืองและการเป็นพลเมือง (d950) d920.0 ไม่มีความยากล�ำบาก : สามารถเข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการและกิจกรรมยามว่าง อยากเข้าร่วมสนุก ร่วมท�ำสงิ่ ทส่ี นใจ หรอื ร่วมงานอยา่ งสม�่ำเสมอ (NO : 0 – 4 %) d920.1 มคี วามยากล�ำบากเลก็ นอ้ ย : สามารถเขา้ รว่ มกจิ กรรมนนั ทนาการและกจิ กรรมยามวา่ ง อยากเขา้ รว่ มสนกุ รว่ มท�ำสิ่งที่สนใจ หรอื รว่ มงานเปน็ สว่ นใหญ่ โดยมผี ู้ดแู ลหรือแนะน�ำเลก็ นอ้ ย(MILD : 5 – 24 %) d920.2 มคี วามยากล�ำบากปานกลาง : สามารถเขา้ รว่ มกจิ กรรมนนั ทนาการและกจิ กรรมยามวา่ งมากกวา่ ครง่ึ หนงึ่ หรอื ในกรณที ไ่ี มแ่ สดงความอยากเขา้ รว่ มสนกุ รว่ มท�ำสงิ่ ทส่ี นใจ หรอื รว่ มงานแตเ่ มอ่ื ถกู ชกั ชวนจะยอมเขา้ รว่ ม มากกวา่ ครง่ึ หนง่ึ ของจ�ำนวนครง้ั ทช่ี กั ชวน ทงั้ นต้ี อ้ งการค�ำแนะน�ำและชว่ ยเหลอื บา้ ง (MODERATE : 25 – 49 %) d920.3 มคี วามยากล�ำบากรนุ แรง : สามารถเขา้ รว่ มกจิ กรรมนนั ทนาการและกจิ กรรมยามวา่ งนอ้ ยกวา่ ครง่ึ หนง่ึ หรอื ในกรณที ไ่ี มแ่ สดงความอยากเขา้ รว่ มสนกุ รว่ มท�ำสงิ่ ทสี่ นใจ หรอื รว่ มงาน แตเ่ มอ่ื ถกู ชกั ชวนจะยอมเขา้ รว่ ม นอ้ ยกวา่ ครง่ึ หนง่ึ ของจ�ำนวนครง้ั ทช่ี กั ชวน โดยตอ้ งการค�ำแนะน�ำและชว่ ยเหลอื มาก (SEVERE : 50 – 95 %) d920.4 มคี วามยากล�ำบากทส่ี ุด : มีปัญหาในการเขา้ ร่วมกิจกรรมนันทนาการและกจิ กรรมยามว่างเปน็ สว่ นใหญ่ ไม่เข้ารว่ มสนุก ร่วมท�ำสิง่ ทส่ี นใจ หรือรว่ มงาน (COMPLETE : 96 – 100 %) d920.8 มีความยากล�ำบากที่ไมร่ ะบุรายละเอียด (Not specified) d920.9 ไมเ่ กีย่ วข้อง (Not applicable) 80 คูม่ ือการดูแลผปู้ ่วยโรคจิตเภท สำ�หรบั โรงพยาบาลในเขตสขุ ภาพ (ฉบับพยาบาล/นกั วิชาการสาธารณสุข)

แบบประเมนิ สมรรถภาพคนพิการทางจิตใจหรอื พฤติกรรมตามแนวทางของ ICF ระดบั ความบกพร่องในการท�ำงาน/ความล�ำบากในการท�ำกิจกรรม .0 .1 .2 .3 .4 .8 .9 1 d155 การไดร้ ับทกั ษะจากการเรียนรู้ 2 d350 การสนทนา 3 d510 การท�ำความสะอาดรา่ งกายตนเอง 4 d570 การดแู ลสขุ ภาพตัวเอง 5 d640 การท�ำงานบ้าน 6 d720 ปฏิสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คลทีซ่ ับซอ้ น 7 d750 สัมพนั ธภาพทางสงั คมท่ไี ม่เป็นทางการ 8 d845 การได้ท�ำงาน การรักษางานทที่ �ำอยู่ และการยุติการท�ำงาน 9 d920 นันทนาการและกิจกรรมยามวา่ ง ตัวอยา่ ง ชายไทย อายุ 34 ปี ได้รบั การวินจิ ฉัยเป็นโรคจติ เภทมานาน 10 ปอี าศัยอยู่กับบดิ ามารดา มารดาใหป้ ระวตั วิ ่า ผู้ป่วยมีอาการเก็บตัว อยู่แต่ในห้อง ไม่เข้าร่วมกิจกรรมในครอบครัว มารดาต้องคอยเรียกและให้รางวัลบ่อยๆเมื่อ ผู้ป่วยออกมาพูดคุยหรือกินข้าวร่วมกับคนในครอบครัว ส่วนใหญ่ผู้ป่วยสามารถดูแลกิจวัตรประจ�ำวันของตนเองได้ สะอาดโดยไมต่ อ้ งกระตนุ้ บดิ ามารดาพยายามฝกึ ใหท้ �ำงานบา้ นและชว่ ยกจิ การคา้ ขายทบ่ี า้ นแตผ่ ปู้ ว่ ยปฏเิ สธ บอกตนเอง ไม่อยากท�ำ ขอดูทีวี ฟังเพลง ไปไหว้พระ และออกก�ำลังกายก็พอแล้ว เพราะตนเองป่วยโรคจิตต้องดูแลสุขภาพไม่ให้ เครียด ผปู้ ว่ ยกนิ ยาดว้ ยตนเองและไปพบแพทยต์ ามนัดสม�ำ่ เสมอ การวนิ ิจฉัยความบกพรอ่ ง Schizophrenia……………………...………………………………………รหสั ICD-10-TM F20.99………..................................… การวนิ ิจฉยั โรคท่เี ป็นสาเหตุ (ถา้ มี)…………………….………………….....…...…รหัส ICD-10-TM...........................................… สรุปว่า มคี วามพิการตามพระราชบัญญัตสิ ่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชวี ติ คนพกิ าร พ.ศ. 2550 ในประเภท การเห็น การไดย้ นิ การส่ือความหมาย การเคลื่อนไหว รา่ งกาย จิตใจ พฤตกิ รรม ออทิสตกิ สติปญั ญา การเรียนรู้ คมู่ ือการดแู ลผ้ปู ่วยโรคจิตเภท ส�ำ หรบั โรงพยาบาลในเขตสขุ ภาพ (ฉบบั พยาบาล/นกั วิชาการสาธารณสขุ ) 81

แบบประเมินสมรรถภาพคนพกิ ารทางจติ ใจหรอื พฤติกรรมตามแนวทางของ ICF ระดบั ความบกพร่องในการท�ำงาน/ความล�ำบากในการท�ำกิจกรรม .0 .1 .2 .3 .4 .8 .9 1 d155 การได้รบั ทักษะจากการเรยี นรู้ / 2 d350 การสนทนา / 3 d510 การท�ำความสะอาดร่างกายตนเอง / 4 d570 การดูแลสุขภาพตัวเอง / 5 d640 การท�ำงานบา้ น / 6 d720 ปฏสิ มั พันธร์ ะหว่างบคุ คลทีซ่ บั ซอ้ น / 7 d750 สมั พันธภาพทางสงั คมทไ่ี ม่เปน็ ทางการ / 8 d845 การไดท้ �ำงาน การรกั ษางานที่ท�ำอยู่ และการยุตกิ ารท�ำงาน / 9 d920 นนั ทนาการและกจิ กรรมยามวา่ ง / 82 คมู่ อื การดแู ลผู้ปว่ ยโรคจิตเภท สำ�หรบั โรงพยาบาลในเขตสขุ ภาพ (ฉบบั พยาบาล/นกั วิชาการสาธารณสุข)

ภาคผนวกท่ี 13 แบบประเมนิ อาการเตอื น ประเภทผ้ปู ่วย มี ไม่มี ขอ้ 1 นอนไม่หลับ ขอ้ 2 ควบคมุ การกระท�ำตนเองไมค่ อ่ ยได้ เชน่ นง่ั ไม่ติด พูดเสยี งดงั ชอบออกนอกบ้าน มพี ฤติกรรม ทางเพศไม่เหมาะสม ขอ้ 3 สนใจเก่ียวกับกิจวัตรประจ�ำวันเกี่ยวกับการอาบน้�ำ รับประทานอาหาร การแปรงฟันลดน้อย ลงกว่าเดมิ ขอ้ 4 พดู คนเดยี ว ย้ิม หัวเราะคนเดียว ขอ้ 5 แยกตัวอยู่คนเดยี ว เชน่ อยากอยตู่ ามล�ำพงั เก็บตัวอยแู่ ต่ในห้อง ขอ้ 6 กา้ วรา้ ว วนุ่ วาย อาละวาดท�ำลายสงิ่ ของ ทะเลาะ จะท�ำร้ายผู้อืน่ ขอ้ 7 ตึงเครยี ด วติ กกงั วล กลัว ข้อ 8 มีอาการซึมเศรา้ เบื่อหน่าย ทอ้ แท้ ข้อ 9 รูส้ กึ วา่ ตวั เองไมม่ ีคณุ คา่ ขอ้ 10 หงดุ หงดิ ฉุนเฉียวงา่ ย ข้อ 11 มคี วามคิดหมกมนุ่ ในเรอ่ื งบางเร่อื ง เชน่ คิดซ�้ำๆ ในเร่ืองเดมิ ๆ ข้อ 12 มีอาการระแวง เชน่ คดิ วา่ มีคนไม่หวังดี มีคนคอยติดตาม ถูกกลั่นแกลง้ มีคนจะมาท�ำร้าย ขอ้ 13 มคี วามคดิ วา่ มคี วามสามารถพเิ ศษกวา่ คนธรรมดา เชน่ เปน็ ผวู้ เิ ศษ มอี ทิ ธฤิ ทธิ์ เปน็ บคุ คลส�ำคญั มีความสมั พันธก์ ับผ้สู งู ศักด์ิ ผูป้ ่วยท่เี ร่มิ มีอาการเตอื นกอ่ นอาการก�ำเรบิ เขยี ว : มอี าการเตือน ข้อ 5, 9 เหลอื ง : มีอาการเตอื น ขอ้ 3, 7, 8, 11, 13 แดง : มอี าการเตือน ขอ้ 1, 2, 4, 6, 10, 12 ประเมินอาการ อาการเตือนของผู้ป่วย สาเหตุ ปัญหาทางจิตสังคม ให้ความช่วยเหลือตามสภาพปัญหา อยา่ งทันท่วงที เพือ่ ใหอ้ าการทเุ ลา/สงบอยา่ งรวดเรว็ ปอ้ งกันอาการก�ำเรบิ รนุ แรงในชุมชน คู่มอื การดูแลผู้ปว่ ยโรคจติ เภท ส�ำ หรบั โรงพยาบาลในเขตสขุ ภาพ (ฉบับพยาบาล/นกั วชิ าการสาธารณสุข) 83

ภาคผนวกที่ 14 แบบประเมินความสามารถในการท�ำหนา้ ที่ (Basic ADL) ส่วนท่ี 1 ขอ้ มลู สว่ นบุคคล ชอ่ื .................................................................................นามสกลุ ....................................................................................... อาย.ุ .........................................ปี HN.............................................................AN.............................................................. ลักษณะท่วั ไปของผปู้ ่วยทีส่ ังเกตได้ (ABCIH) ลักษณะทั่วไป (Appearance) ………………………………………………………….............………………………………………………………………………..……………………… พฤติกรรม (Behaviors) ………………………………………………………….............………………………………………………………………………..……………………… การสอ่ื สาร การสนทนา (Conversation) ………………………………………………………….............………………………………………………………………………..……………………… มนษุ ยส์ ัมพนั ธ์ (Interpersonal Relationship) ………………………………………………………….............………………………………………………………………………..……………………… พฤติกรรมสว่ นปกติ (Healthy Area) ………………………………………………………….............………………………………………………………………………..……………………… ความสามารถและประสบการณ์เดิม ความสามารถในดา้ นตา่ งๆ.................................................................................................................................................. ………………………………………………………….............………………………………………………………………………..……………………… ประสบการณเ์ ดิมกอ่ นเจบ็ ป่วย.......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... ความสนใจการฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้ป่วย (ด้านการแพทย์ ด้านอาชีพ ด้านการศึกษา ด้านการอยู่ร่วมกับบุคคลใน ครอบครัว และชมุ ชน ดา้ นอนื่ ๆ) .......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... 84 คู่มือการดูแลผปู้ ่วยโรคจติ เภท ส�ำ หรบั โรงพยาบาลในเขตสุขภาพ (ฉบับพยาบาล/นกั วิชาการสาธารณสุข)

สว่ นท่ี 2 ประเมนิ ระดับความสามารถเก่ยี วกบั ทักษะจ�ำเปน็ พื้นฐานในการด�ำรงชีวติ ประจ�ำวนั โปรดท�ำเครอื่ งหมาย  ในช่องคะแนนทต่ี รงกับความสามารถของผ้ปู ว่ ย ระดบั คะแนน กจิ กรรมการประเมินผปู้ ่วย คร้ังที่ 1 ครง้ั ท่ี 2 ครง้ั ท่ี 3 คร้งั ท่ี 4 หมายเหตุ ค่มู ือการดูแลผ้ปู ่วยโรคจติ เภท ส�ำ หรับโรงพยาบาลในเขตสุขภาพ (ฉบบั พยาบาล/นกั วชิ าการสาธารณสุข) 85 01234012340123401234 ก. ทักษะการดูแลตนเอง (Personal life Skills) 1. การรักษาความสะอาดของผมและหนงั ศีรษะ 2. การแปรงฟนั 3. การอาบนำ�้ 4. การตดั เลบ็ มอื -เลบ็ เทา้ /โกนหนวด-เครา 5. พฤติกรรมการรบั ประทานอาหาร 6. การรับประทานยา 7. การขบั ถ่ายปัสสาวะและอุจจาระ 8. การแต่งกาย 9. การนอนหลบั ผ่อน

86 คมู่ อื การดแู ลผู้ปว่ ยโรคจิตเภท สำ�หรบั โรงพยาบาลในเขตสขุ ภาพ (ฉบบั พยาบาล/นกั วชิ าการสาธารณสขุ ) ระดบั คะแนน กจิ กรรมการประเมนิ ผปู้ ว่ ย คร้ังที่ 1 ครั้งท่ี 2 คร้ังท่ี 3 ครง้ั ท่ี 4 หมายเหตุ ข. ทักษะการอยรู่ ่วมกันภายในบา้ น (Domestic Skills) 01234012340123401234 1. การท�ำความสะอาดท่ีอย่อู าศยั (ปดั กวาด เช็ด ถู) 2. การจดั เกบ็ และท�ำความสะอาดเครื่องนอน 3. การดแู ลความสะอาดหอ้ งนำ้� หอ้ งสว้ ม เครอ่ื งสขุ ภณั ฑ์ 4. การซักเสอ้ื ผ้าเครอื่ งนงุ่ ห่ม 5. การเปิด-ปิดไฟฟา้ 6. การเปดิ -ปดิ น้ำ� ประปา 7. การเปิด-ปดิ ประตู หนา้ ต่าง 8. การประกอบอาหารรบั ประทาน 9. การจัดเกบ็ เครอื่ งใช้ภายในบา้ น

ระดบั คะแนน กจิ กรรมการประเมินผ้ปู ว่ ย คร้งั ท่ี 1 ครั้งที่ 2 ครัง้ ที่ 3 ครัง้ ท่ี 4 หมายเหตุ ค่มู ือการดูแลผ้ปู ่วยโรคจติ เภท ส�ำ หรับโรงพยาบาลในเขตสุขภาพ (ฉบบั พยาบาล/นกั วชิ าการสาธารณสุข) 87 ค. ทักษะทางสังคม(Social Skills) 01234012340123401234 1. การสนใจสิ่งแวดลอ้ ม 2. การมีสัมพนั ธภาพกบั ผู้อ่ืน 3. ความไวว้ างใจผูอ้ ่ืน 4. ความสามารถในการสอื่ สาร 5. การรู้จักขอบคุณและขอโทษ 6. การรู้จกั ขอยมื ของใช้จากผูอ้ ืน่ 7. การรู้จักใหแ้ ละรบั 8. การควบคุมอารมณ์ 9. การใหค้ วามช่วยเหลือผอู้ ื่น

88 คมู่ อื การดแู ลผู้ปว่ ยโรคจิตเภท สำ�หรบั โรงพยาบาลในเขตสขุ ภาพ (ฉบบั พยาบาล/นกั วชิ าการสาธารณสขุ ) ระดบั คะแนน กจิ กรรมการประเมินผู้ป่วย ครง้ั ท่ี 1 ครง้ั ที่ 2 คร้งั ท่ี 3 ครงั้ ท่ี 4 หมายเหตุ ง. ทกั ษะการท�ำงาน (Work Skills) 01234012340123401234 1. ความรบั ผิดชอบในการท�ำงาน 2. ชว่ งความสนใจในการท�ำงาน 3. ความสามารถในการท�ำงานรว่ มกบั ผอู้ ่ืน 4. การปฏบิ ัติตามขั้นตอนของการท�ำงาน 5. การดแู ลเคร่ืองมือวสั ดอุ ุปกรณ์ 6. การใหค้ วามร่วมมอื ในการท�ำงาน 7. ความละเอียดของงาน 8. ความสามารถในการเรยี นรงู้ านใหม่ๆ 9. ความต้องการหางานท�ำ

ระดบั คะแนน กจิ กรรมการประเมนิ ผปู้ ่วย ครั้งท่ี 1 ครั้งท่ี 2 ครง้ั ที่ 3 คร้ังท่ี 4 หมายเหตุ ค่มู ือการดูแลผ้ปู ่วยโรคจติ เภท ส�ำ หรับโรงพยาบาลในเขตสุขภาพ (ฉบบั พยาบาล/นกั วชิ าการสาธารณสุข) 89 จ. ทักษะการพกั ผอ่ น (Leisure Skills) 01234012340123401234 1. การพูดคยุ เพอ่ื ผอ่ นคลาย 2. การเขา้ ร่วมกิจกรรมดนตรี 3. การเขา้ รว่ มเกมกจิ กรรมต่างๆ 4. การเข้ารว่ มกิจกรรมกฬี า 5. การอา่ นหนังสือ 6. การดูโทรทัศน์ 7. การฟงั วทิ ยุ 8. การดแู ลสงิ่ แวดลอ้ ม 9. การเขา้ ร่วมกิจกรรมสงั สรรค์

90 คมู่ อื การดแู ลผู้ปว่ ยโรคจิตเภท สำ�หรบั โรงพยาบาลในเขตสขุ ภาพ (ฉบบั พยาบาล/นกั วชิ าการสาธารณสขุ ) ระดบั คะแนน กจิ กรรมการประเมนิ ผ้ปู ่วย คร้งั ท่ี 1 ครัง้ ที่ 2 ครั้งท่ี 3 คร้ังท่ี 4 หมายเหตุ ฉ. ทกั ษะการใชช้ ีวิตในชมุ ชน 01234012340123401234 (Community Living Skills) 1. ความสามารถในการเดนิ ทาง 2. การใชพ้ าหนะไดถ้ ูกต้องและปลอดภัย 3. การใช้ถนนอย่างปลอดภยั 4. การร้จู ักเลอื กซอื้ สนิ ค้า 5. การร้จู ักใชจ้ ่ายเงินในการซ้อื สินค้า 6. การรูจ้ กั ขอความช่วยเหลอื เมื่อจ�ำเป็น 7. การรจู้ ักใช้แหล่งอ�ำนวยความสะดวกในชุมชน (สาธารณปู โภค) เช่น โทรศัพท์ ธนาคาร ไปรษณีย์ โรงพยาบาล สถานตี �ำรวจ ท่ีวา่ การอ�ำเภอ 8. รจู้ ักบทบาทและหน้าทข่ี องตนเอง 9. รจู้ กั สิทธิของตนเอง

สว่ นท่ี 3 สรุปผลการประเมิน รายการ ครงั้ ท่ี 1 คร้งั ที่ 2 ครัง้ ที่ 3 ครัง้ ท่ี 4 1. สรุปคะแนนเฉลี่ยแตล่ ะทกั ษะ ค่มู ือการดูแลผ้ปู ่วยโรคจติ เภท ส�ำ หรับโรงพยาบาลในเขตสุขภาพ (ฉบบั พยาบาล/นกั วชิ าการสาธารณสุข) 91 - การดแู ลตนเอง ............................ ............................ ............................ ............................ - การอยู่รว่ มกันภายในบา้ น ............................ ............................ ............................ ............................ - ทางสงั คม ............................ ............................ ............................ ............................ - การท�ำงาน ............................ ............................ ............................ ............................ - การพกั ผ่อน ............................ ............................ ............................ ............................ - การใชช้ ีวิตในชมุ ชน ............................ ............................ ............................ ............................ 2. สรุปคะแนนเฉลย่ี รวมทุกทกั ษะ ............................ ............................ ............................ ............................ 3. ผลการประเมนิ อยใู่ นระดบั ............................ ............................ ............................ ............................ 4. ทักษะที่บกพร่อง ............................ ............................ ............................ ............................ วนั เดอื น ปี ทป่ี ระเมนิ ผปู้ ระเมิน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook