Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore manulelf101.2

manulelf101.2

Description: manulelf101.2

Search

Read the Text Version

รัชกาลท่ี ๒ (ตอนท่ี ๒) พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หล้านภาลยั พ.ศ. ๒๓๕๒ - ๒๓๖๗ H.M. King Buddha Loetla (Rama II) 1809 - 1824

พระราชกรณียกจิ ใน การเดินสวน-อากรสมพัตสร พระบาทสมเดจ็ การเดินสวน คอื การแต่งตั้งเจา้ หน้าทพ่ี นักงาน ออกไปส�ำรวจสวนของราษฎรว่าสวนของผู้ใดมีต้นไม้ พระพุทธเลิศหล้านภาลัย ๗ ชนิด ดังตอ่ ไปน้ี คอื ทเุ รียน มงั คดุ มะมว่ ง มะปราง ลางสาด หมากพลูค้าง ทองหลาง ซ่ึงเป็นต้นไม้ท่ีให้ ด้านการปกครอง ประโยชน์แก่เจ้าของ จะต้องเสียค่าอากรสูงกว่าผลไม้ ชนิดอน่ื ในสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า สว่ นผลไมอ้ กี ๘ ชนดิ อันได้แก่ ขนนุ กระท้อน นภาลัยนั้น ยังคงด�ำเนินการปกครองตามอย่างเมือง สม้ ตา่ ง ๆ มะไฟ ฝรง่ั สาเก สบั ปะรด และเงาะ ถา้ ราษฎร ครั้งสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ผูใ้ ดมีอยู่ในสวนก็จะเสยี ค่าอากรในอัตรารองลงมาจาก เปน็ สว่ นใหญ่ แตจ่ ะมกี ารเพมิ่ เตมิ บา้ ง เชน่ ทรงก�ำหนด ท่ีกลา่ วขา้ งต้น เรยี กวา่ พลากร การเขา้ รบั ราชการของพลเรอื น คอื ทรงใหก้ ารผอ่ นผนั การเดนิ สวนจงึ เปน็ การออกสำ� รวจตน้ ไม้ ตามที่ การเข้ารับราชการของผู้ชายเหลือปีละ ๓ เดือน คือ ทางการไดก้ ำ� หนดค่าอากรไว้วา่ สวนของราษฎรคนใด มาเขา้ รับราชการ ๑ เดอื น และไปพักประกอบอาชีพ มีเท่าไร และต้องเสียค่าอากรเท่าไรนั่นเอง โดยมี ส่วนตัว ๓ เดือน แล้วให้กลับมาเข้ารับราชการอีก การระบุจ�ำนวนของต้นไม้ที่จะเสียอากรไว้ในแต่ละปี สลับกันไป นอกจากนัน้ ยังทรงพระกรณุ าพระราชทาน อย่างชัดเจนเป็นปี ๆ จนกว่าจะมกี ารเดนิ สวนใหม่ เงินหลวงจ้างแรงงานกรรมกรจีนมาท�ำงานโยธา ส่วนอากรสมพัตสร หมายถึง อากรท่ีทางการ เช่น การขุดคลอง แทนการเกณฑ์แรงงานประชาชน เรียกเก็บจากราษฎรในอัตราท่ีต่�ำลงมาอีกจากไม้ผล ดงั แตก่ ่อน ประเภทลม้ ลุก เช่น อ้อย กลว้ ย เป็นตน้ การเดินนา ทรงเอาพระทัยใส่ดูแลทุกข์สุขของอาณา ส�ำหรับการเดินนาน้ัน หมายถึง การแต่งต้ัง ประชาราษฎร์อย่างท่ัวถึง ทรงออกกฎหมายใหม่ ข้าหลวงเพื่อออกไปท�ำการส�ำรวจท่ีนาของราษฎร เชน่ หา้ มสบู ฝน่ิ หา้ มเลย้ี งไก่ เลยี้ งนก และปลากดั เอาไว้ และออกหนังสือส�ำคัญไว้ให้แก่เจ้าของที่นา เพ่ือไว้ใช้ กัดกันเพื่อเป็นการพนัน อันเป็นการท�ำร้ายสัตว์ เป็น เปน็ หลักฐานในการเก็บคา่ นาที่เรยี กวา่ ภาษีหางข้าว การก่อให้เกิดบาปกรรมแก่ตนเองและท�ำให้ศีลธรรม ภาษีหางข้าวนั้นจะเรียกเก็บเป็นข้าวเปลือก เสื่อม โดยผู้เป็นเจ้าของนาจะต้องน�ำข้าวเปลือกไปส่งยัง ยงุ้ ฉางของหลวง ดว้ ยการกำ� หนดไวว้ า่ ทำ� นาไดม้ ากนอ้ ย ทรงออกกฎหมายวา่ สญั ญาเกย่ี วกบั ทด่ี นิ ตอ้ งท�ำ เท่าใด ก็จะเรยี กเก็บไปตามนัน้ โดยแบง่ ออกเป็น เปน็ ลายลักษณ์อกั ษร เปน็ ตน้ นาน้�ำท่า และนาฟางลอย นานำ้� ท่า (นาโคค)ู่ หมายถงึ นาท่ีทำ� ได้ท้งั น�้ำท่า ดา้ นเศรษฐกิจ และน้�ำฝน มีวิธีเก็บหางข้าวด้วยวิธีคู่โค คือ นับ จ�ำนวนโคหรือกระบือท่ีใช้ท�ำนา โดยถือว่าโคคู่หนึ่ง ในสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า จะท�ำนาในท่ีน้ัน ๆ ได้ปีละเท่าใด แล้วเอาเกณฑ์ นภาลัย รายได้ของแผ่นดินนอกจากจะได้จากอากร บ่อนเบ้ีย ภาษีด่านขนอน ภาษีสินค้าขาเข้า-ออกแล้ว ยังทรงมีพระราชด�ำริให้จัดเก็บภาษีรายได้แบบใหม่ คอื การเดินสวน เดินนา และอากรสมพตั สรข้นึ อีกดว้ ย ดังมีรายละเอยี ดต่อไปน้ี 2 นติ ยสารยุทธโกษ ปีท่ี ๑๒๑ ฉบับท่ี ๒ ประจำ� เดือนมกราคม - มนี าคม ๒๕๕๖

จ�ำนวนโคข้ึนมาตั้งเป็นอัตราหางข้าวที่จะต้องเสีย ภาษีเบกิ รอ่ ง นาน�้ำทา่ หรือนาโคคนู่ ี้ ไมว่ า่ จะท�ำหรอื ไมท่ ำ� กต็ ้องเสีย ภาษเี บกิ รอ่ ง เปน็ คา่ อนญุ าตใหเ้ รอื เขา้ มาคา้ ขาย หางขา้ วตลอดไป โดยเก็บภาษีมากหรือน้อยตามขนาดความกว้าง ของปากเรือ วาละ ๑๒ บาท ส�ำหรับเรือท่ีค้าขาย นาฟางลอย หมายถึง นาท่ีอาศัยแต่น�้ำฝน กันเป็นประจ�ำ และเก็บวาละ ๒๐ บาท ส�ำหรับเรือ ในการท�ำนาเพียงอย่างเดียว เป็นนาที่อยู่ในท่ีดอน ที่นาน ๆ จะเข้ามา ส่วนเรือสองเสาคร่ึงเก็บค่า มีวิธีเก็บหางข้าวโดยการเก็บจากท้องนาส่วนท่ีท�ำนา ปากเรอื วาละ ๔๐ บาท เรอื สาม วาละ ๘๐ บาท ได้จริง ๆ ถ้าที่ใดท�ำไม่ได้หรือไม่ได้ท�ำ ก็ไม่ต้องเสีย ภาษีสนิ คา้ ขาเข้า-ขาออก หางข้าว ส�ำหรับเกณฑ์ในการเก็บหางข้าวจากท่ีนา เม่ือครั้งสมัยกรุงเก่าจัดเก็บจากเรือที่ไปมา ประเภทน้ี จะถือเอาตอฟางข้าวที่เก็บเกย่ี วแล้วมาเป็น เสมอชักสาม แต่เรือท่ีนาน ๆ มาสักครั้งเก็บร้อย หลกั ในการคิดหรือค�ำนวณ ชักหา้ มาในสมยั รัชกาลที่ ๒ เกบ็ ร้อยชกั สาม โดยเก็บ เปน็ อยา่ ง ๆ ไปตามชนดิ ของสินคา้ อาทิ นำ้� ตาลทราย ผลประโยชนท์ างการค้า เกบ็ ภาษขี าออกหาบละ ๕๐ สตางค์ เปน็ ต้น เ นื่ อ ง จ า ก รั ช ส มั ย ข อ ง พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ ก�ำไรคลงั สนิ คา้ พระพุทธเลิศหล้านภาลัย ไทยมีการติดต่อค้าขายกับ ก�ำไรคลังสินค้า หมายถึง การตั้งคลังสินค้า ต่างประเทศ จึงมีการปรับปรุงและเปล่ียนแปลง เป็นของหลวง และมีหมายประกาศบังคับว่า สินค้า ลักษณะการเก็บภาษีอากรใหม่ เพ่ือความเหมาะสม บางอย่างเป็นของหลวง ราษฎรผู้เสาะหาได้สินค้า กับลักษณะการค้าของไทยที่มีกับนานาประเทศ นั้น ๆ มา จะตอ้ งนำ� มาขายใหพ้ ระคลงั สนิ ค้าแหง่ เดียว ในสมยั นน้ั ซงึ่ ปรากฏการเก็บภาษี ดังน้ี ขายใหท้ ีอ่ ่ืนมิได้ ภาษีเบกิ ร่อง หรือค่าปากเรือ ผู้ที่จะค้าขายกับต่างประเทศต้องมารับซ้ือ ภาษสี ินคา้ ขาเขา้ สินค้านั้น ๆ จากพระคลังสินค้าไปจ�ำหน่ายกับ ภาษสี นิ คา้ ขาออก ตา่ งประเทศ ก�ำไรจึงเกดิ แกพ่ ระคลังสนิ คา้ กำ� ไรได้จากคลงั สนิ ค้าของหลวง สินค้าที่ต้องค้าขายแต่พระคลังสินค้าใน อ�ำนาจเลือกซื้อของหลวงที่จะน�ำมาใช้ใน รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ราชการ ทกี่ �ำหนดไว้มี ๙ ชนดิ คอื รังนก ฝาง ดบี ุก พรกิ ไทย เนื้อไม้ ผลเรว่ ตะกวั่ งา และรง ความเจรญิ ทางการค้า อันเน่ืองมาจากพระบาทสมเด็จพระพุทธ เลิศหล้านภาลัย ทรงกระท�ำสัมพันธไมตรีกับ นานาประเทศ ท�ำให้ตลาดการค้าของไทยในรัชสมัย ของพระองค์กว้างขวางกว่าในรัชสมัยรัชกาลท่ี ๑ นิตยสารยทุ ธโกษ 3 ปีท่ี ๑๒๑ ฉบับท่ี ๒ ประจำ� เดอื นมกราคม - มีนาคม ๒๕๕๖

แต่ส่วนใหญ่เป็นการค้าขายกับประเทศจีน ท�ำให้ ในรัชกาลของพระองค์มีเครื่องถ้วยชามเบญจรงค์ และมเี คร่ืองลายครามตา่ ง ๆ เปน็ จำ� นวนมาก ด้านการศาสนา พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ได้ทรงท�ำการฟื้นฟูประเพณีพิธีกรรมหลายอย่าง ดว้ ยกัน เช่น พระราชพธิ ีลงสรง ทรงมีพระราชด�ำริว่าการพระราชพิธีโสกันต์ เจ้าฟ้าตามแบบอย่างครั้งกรุงเก่าน้ัน ได้ปฏิบัติใน รัชกาลที่ ๑ มีแบบแผนอยู่แล้ว แต่การพระราชพิธี ลงสรงเฉลิมพระนามเจ้าฟ้าตามต�ำราเก่าน้ัน ยังไม่มี การท�ำไว้เป็นแบบอย่าง ควรที่จะฟื้นฟูและกระท�ำให้ เปน็ แบบอย่างส�ำหรบั แผ่นดินต่อไป พระราชพิธีวสิ าขบูชา มีปรากฏในพระราชก�ำหนดพิธีวิสาขบูชา ซึ่งช้ีแจงเหตุผล และรายละเอียดของพิธีไว้โดยถี่ถ้วน ตอนหนึ่งในพระราชก�ำหนดความว่า “...จึงทรงพระราชศรัทธาจะยกรื้อวิสาขบูชา มหายัญพิธี อันขาดประเพณีมานั้นให้กลับคืน เจียรัฐติกาลปรากฏส�ำหรับแผ่นดินสืบไปจะให้เป็น อัตถประโยชน์ และปรัตถประโยชน์ ทรงพระราช ศรัทธาจะให้สัตว์โลกข้าขอบขัณฑเสมาท้ังปวงจ�ำเริญ อายุ และอยู่เย็นเป็นสุขปราศจากทุกข์ภัยในชั่วน้ีและ ชวั่ หนา้ จงึ มพี ระราชโองการมารพระบณั ฑรู สรุ สงิ หนาท ด�ำรัสเหนือเกล้าเหนือกระหม่อมสั่งว่าแต่นี้สืบไปถึง ณ วนั เดือน ๖ ขึ้น ๑๔ คำ�่ ๑๕ ค่�ำ แรม ๑ ค�ำ่ เปน็ วันพิธีวิสาขบูชานักขัตฤกษ์ใหญ่ พระบาทสมเด็จ พระเจา้ อยหู่ วั จะทรงรกั ษาอโุ บสถศลี ปรนนบิ ตั พิ ระสงฆ์ ๓ วัน ปล่อยสัตว์ ๓ วัน ห้ามมิให้ผู้ใดฆ่าสัตว์ตัดชีวิต เสพสุราเมรัยใน ๓ วัน ถวายประทีปตั้งโคม แขวน เครอ่ื งสักการบชู าดอกไมเ้ พลิง ๓ วนั ให้เกณฑป์ ระโคม 4 นิตยสารยทุ ธโกษ ปีท่ี ๑๒๑ ฉบบั ท่ี ๒ ประจำ� เดือนมกราคม - มนี าคม ๒๕๕๖

เวียนเทียนพระพุทธเจ้า ๓ วัน ให้มีพระธรรมเทศนา หลายสาขา ทรงโปรดปรานในงานประตมิ ากรรมปน้ั หนุ่ ในพระอารามหลวงถวายไทยทาน ๓ วนั ...” พระพทุ ธรปู ท�ำหวั หนุ่ หวั โขน ด้วยพระองคเ์ อง ทรง แกะสลักบานประตูไม้พระวิหารหลวงวัดสุทัศน ทรงโน้มน�ำให้ราษฎรสนใจในพระพุทธศาสนา เทพวรารามร่วมกับช่างฝีมือชั้นเยี่ยม ๆ ด้าน แข่งขันกันท�ำบุญ และในรัชกาลน้ีการศึกษา วรรณกรรมไทยโดยเฉพาะละครรำ� เจรญิ เฟอ่ื งฟอู ยา่ งยงิ่ พระปริยัติธรรมก็เจริญรุ่งเรือง มีการจัดหลักสูตร เน่ืองจากพระองค์ทรงเป็นกวีทรงพระราชนิพนธ์ การศกึ ษาออกเป็นเปรยี ญ ๑ ประโยค ถงึ ๙ ประโยค บทละครต่าง ๆ มากมาย เช่น อเิ หนา รามเกียรติ์ เสภา ทรงโปรดฯ ให้ท�ำสังคายนาสวดมนต์ เพ่ือให้คู่กับ ขนุ ชา้ ง-ขุนแผน สังข์ทอง ไกรทอง ไชยเชษฐ์ มณีพชิ ยั การสังคายนาพระไตรปิฎกท่ีได้ท�ำในรัชกาลท่ี ๑ เป็นต้น พระราชกรณียกิจด้านน้ีนับว่าโดดเด่นท่ีสุด โดยทรงโปรดให้แปลพระปริตรท้ังหลายออกเป็น ถือเปน็ ยคุ ทองแห่งวรรณคดีสมัยรัตนโกสนิ ทร์ ภาษาไทย และทรงโปรดฯ ให้พระเจ้าน้องนางเธอ พระองค์เจ้าศศิธร เป็นหัวหน้าชักชวนพระบรมวง นอกจากการประพันธ์บทกวีแล้ว ยังมีการท�ำ ศานุวงศ์และข้าราชการฝ่ายในฝึกหัดสวดพระปริตร เครื่องเบญจรงค์ และลายน้�ำทอง งานศิลปหัตถกรรม ด้วย นอกจากน้ีใน พ.ศ. ๒๓๕๗ โปรดเกล้าฯ ท่ีพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเป็น ให้ส่งสมณทูตไปลังกา เพ่ือสอบสวนความเป็นไปของ ผู้ทรงประดิษฐ์เอง เช่น หัวหุ่นเทวดา พระเศียร ศาสนาในลังกาทวีป คณะสมณทูตเดินทางกลับถึง พระประธาน บานประตูแกะสลักไม้หอพระไตรปิฎก เมืองไทยเมื่อ พ.ศ. ๒๓๖๑ และได้น�ำหน่อพระศรี บานประตูวัดสุทัศนเทพวราราม ฉากลงรักปิดทอง มหาโพธิ์มาจากลังกา ๖ ต้น ปลูกไว้ท่ีเมืองกลันตัน เป็นต้น ๑ ตน้ นครศรธี รรมราช ๒ ตน้ นำ� ขนึ้ ทลู เกลา้ ฯ ถวายแด่ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ๓ ต้น ดา้ นการทหาร ทรงให้ปลูกไว้ที่วัดสุทัศน์ ๑ ต้น วัดสระเกศ ๑ ต้น และวัดมหาธาตุ ๑ ตน้ ใ น รั ช ส มั ย ข อ ง พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ พุ ท ธ เลิศหล้านภาลัยยังคงมีการท�ำสงครามกับพม่าอยู่ ด้านศิลปวัฒนธรรม ประปราย จึงต้องมีการฝึกทหารกันอยู่ตลอดเวลา ซ่ึงยังคงใช้ยุทธวิธีการรบอย่างสมัยรัชกาลที่ ๑ ในรัชกาลน้ีเหตุการณ์บ้านเมืองสงบเรียบร้อย และด้วยพระปรีชาญาณ และพระราชกฤษฎาภินิหาร มีความอุดมสมบูรณ์ ประชาชนกินดีอยู่ดี พระมหา ต่าง ๆ ในเรื่องศึกพม่าก็ทรงได้รับชัยชนะทางญวน กษัตริย์จึงทรงมีเวลาทะนุบ�ำรุงบ้านเมืองให้เจริญ และเขมรก็ทรงด�ำเนินนโยบายผ่อนปรนไปตามโอกาส รุ่งเรืองได้เต็มท่ี โดยเฉพาะทางด้านศิลปกรรม ซึ่ง ไม่ให้กระทบกระท่ังกันได้ ทรงจัดการได้ทันท่วงที เสื่อมทรามมาต้ังแต่สมัยเสียกรุงศรีอยุธยา เพราะ และก็สยบราบคาบเป็นปึกแผ่น จึงทรงต้ังให้เจ้านาย พม่าโยกย้ายกวาดต้อนช่างฝีมือดี ๆ และศิลปวัตถุ ไดก้ ำ� กบั ราชการเปน็ การใหค้ วบคมุ กนั เอง และเปน็ เหตุ ไปเมืองพม่าเกือบหมด พระบาทสมเด็จพระพุทธ ให้เจ้านายทรงมีภาระช่วยเหลือบ้านเมืองเป็น เลิศหล้านภาลัยจึงทรงทะนุบ�ำรุงทางด้านศิลป แบบอยา่ งสบื มาจวบจนทุกวนั นี้ วัฒนธรรมของชาติในทุก ๆ ด้าน ประกอบกับ พระองค์ทรงเป็นศิลปินด้วย จึงทรงแสดงออกซ่ึง พระปรีชาสามารถด้านศิลปะได้เต็มท่ี ท้ังในด้าน ดนตรี วรรณกรรม นาฏกรรม และงานช่างศิลปะ นติ ยสารยุทธโกษ 5 ปีท่ี ๑๒๑ ฉบบั ท่ี ๒ ประจ�ำเดอื นมกราคม - มีนาคม ๒๕๕๖

ภาพธงที่ตดิ เรือส�ำเภาในการท�ำการค้า พระเกียรติคณุ ดา้ นการตา่ งประเทศ พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหลา้ นภาลยั พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรง พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรง ฟื้นฟูสภาวะเศรษฐกิจของประเทศ ด้วยการจัดเรือ เป็นกษัตริย์ท่ีทรงมีบุญญาธิการยิ่งใหญ่ท่ีพระราช ส�ำเภาไปค้าขายยังเมืองจีน นอกจากนั้นยังได้ติดต่อ โอรสไดเ้ ปน็ พระเจา้ แผน่ ดนิ ถงึ ๓ พระองค์ คอื พระบาท ค้าขายกบั ตา่ งประเทศ คอื โปรตุเกส และอังกฤษ สมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๓ พระบาท สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ และ การค้าขายกับต่างประเทศยังได้ส่งผลให้เกิด พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว และในรัชสมัย การใช้ธงประจ�ำชาติไทยข้ึนเป็นคร้ังแรกด้วย โดยท่ี ของพระองค์มีเหตุการณ์ส�ำคัญเป็นท่ีอัศจรรย์ยิ่ง คือ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย โปรดให้ ทรงได้ช้างเผือกมาสู่พระบารมีถึง ๓ เชือก ในเวลา น�ำสัญลักษณ์ช้างเผือกประทับลงบนผืนธงสีแดง ใกลเ้ คยี งกนั ได้แก่ ทใ่ี ชอ้ ยเู่ ดมิ เนอ่ื งจากในรชั กาลของพระองคม์ ชี า้ งเผอื ก มาสบู่ ารมถี งึ ๓ เชือก ปี พ.ศ. ๒๓๕๕ ชา้ งเผอื กเมืองโพธสิ ตั ว์ ได้พระราชทานชื่อช้างเผือกนี้ว่า พระยาเศวต เรอื ส�ำเภาทท่ี ำ� การคา้ กุญชรอดิศรประเสริฐศักดิ์ เผือกเอกอัครไอยรา มงคลพาหนนาถ บรมราชจกั รพรรดิ วเิ ชยี รรตั นเคนทร์ ชาติคเชนทรฉัททันต์หิรัญรัศมีศรีพระนครสุนทร ลักษณะเลิศฟ้า ปี พ.ศ. ๒๓๕๙ ช้างเผือกเมอื งเชียงใหม่ ได้พระราชทานช่ือช้างเชือกนี้ว่า พระยาเศวต ไอยรา บวรพาหนะนาถ อิศราราชบรมจกั รศรีสังขศกั ดิ อุโบสถ คชคเชนทรชาติอากาศจารี เผือกผ่องศรี บรสิ ุทธิ์ เฉลิมอยธุ ยายง่ิ ริมสมงิ มงคลจบสกลเลิศฟ้า ปี พ.ศ. ๒๓๖๐ ชา้ งเผอื กเมืองนา่ น ไดท้ รงพระราชทานชอ่ื วา่ พระยาเศวตคชลกั ษณ์ ประเสริฐศักด์ิสมบูรณ์ เกิดตระกูลสารสิบหมู่เผือก ผู้พาหนะนาถ อศิราราชธ�ำรง บัณฑรพงศ์จตุพักตร์ สรุ ารกั ษร์ งั สรรคผ์ อ่ งผวิ พรรณผดุ ผาดศรไี กรลาสเลศิ ลบ เฉลิมพภิ พอยุธยา ขณั ฑเสมามณฑล มงิ่ มงคลเลิศฟา้ ธงชาติไทย ทรงโปรดเกล้าฯ ให้ท�ำธงรูปช้างสีขาวอยู่ ตรงกลางวงจักรติดในธงพ้ืนสีแดง ใช้เป็นธงชาติไทย ตั้งแต่น้ันมาจวบจนสมัยรัชกาลท่ี ๖ ได้ทรงเปลี่ยนมา เปน็ ธงไตรรงค์ ซ่ึงใชม้ าจนถึงปัจจบุ ัน 6 นิตยสารยทุ ธโกษ ปีท่ี ๑๒๑ ฉบับท่ี ๒ ประจ�ำเดือนมกราคม - มีนาคม ๒๕๕๖

บุคคลส�ำคัญของโลกด้านวัฒนธรรม สหประชาชาติ UNESCO ไดป้ ระกาศยกยอ่ งใหพ้ ระองค์ ทรงเปน็ “บคุ คลสำ� คัญของโลกดา้ นวฒั นธรรม” พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงบำ� เพญ็ พระราชกรณยี กจิ ทเี่ ปน็ พระมหากรณุ าธคิ ณุ วันศิลปินแหง่ ชาติ แก่บ้านเมืองไทย ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการปกครอง ประเทศ การช่าง กวีนิพนธ์ ฯลฯ ในปี พ.ศ. ๒๕๑๑ ทางราชการไทยได้ก�ำหนดให้วันคล้ายวันพระ องค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่ง บรมราชสมภพของพระองค์ วันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ของทกุ ปี เป็นวนั ศลิ ปินแห่งชาติ ยคุ ทองของวรรณคดีและศิลปกรรม พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงเปน็ ศิลปินเอกในทุกแขนง ตง้ั แตว่ รรณคดีไปจนถึง การช่างแกะสลักท้ังปวง บรรดาพระราชนิพนธ์และ ศิลปวัตถุอันเป็นฝีพระหัตถ์ เป็นเครื่องยืนยัน พระอัจฉริยภาพทางด้านน้ีของพระองค์ได้เป็นอย่างดี และในรัชสมัยของพระองค์เกิดมีกวีและศิลปินขึ้น ฉากลงรักปดิ ทอง เร่ือง อเิ หนา 7 เป็นฝพี ระหตั ถ์พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหลา้ นภาลัย ทรงวาดลวดลาย นติ ยสารยุทธโกษ ปีท่ี ๑๒๑ ฉบับท่ี ๒ ประจ�ำเดอื นมกราคม - มีนาคม ๒๕๕๖

ครฑุ ยดุ นาครบั ไขรา พระราชนิพนธ์เป็นกลอนบทละคร เช่น พระทีน่ งั่ ดุสติ มหาปราสาท บทละครเรื่องอิเหนา บทละครเรื่องรามเกยี รติ์ เป็นตน้ มากมาย นับเป็นยุคทองของวรรณคดีและศิลปกรรม พระราชนพิ นธ์เปน็ กลอนเสภา เช่น เสภาเรือ่ ง ชั้นสูงสุด มีลักษณะเป็นแบบกรุงรัตนโกสินทร์ ขนุ ช้าง-ขนุ แผน เปน็ ต้น อย่างเตม็ ท่ี พระราชนิพนธ์เป็นกาพย์ เช่น กาพย์เห่เรือ วรรณคดีและศิลปกรรม เป็นเคร่ืองแสดงถึง ชมเคร่ืองคาว-หวาน บทพากยโ์ ขน เป็นต้น บ้านเมืองเจริญตั้งมั่น ในส่วนวรรณคดีนั้นนับเป็น ความเจริญสูงสุดในทางภาษา ด้วยภาษาเป็นเครื่อง ดา้ นศลิ ปะ พระองคท์ รงอดุ มไปดว้ ยคณุ ลกั ษณะ แสดงถงึ วฒั นธรรมที่เติบโตมากท่สี ดุ พระปรีชาญาณ มีความละเมียดละไมในด้านอุปนิสัย จงึ ไดท้ รงสร้างผลงานอนั เปน็ อมตะไวม้ ากมาย พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธ เลิศหล้านภาลยั แยกได้ ๓ หมวด คือ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงครองราชย์ได้ ๑๕ ปี ก็เสด็จสวรรคต เม่ือวันที่ ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๓๖๗ พระชนมพรรษาได้ ๕๖ พรรษา กับ ๕ เดือน แม้ว่าพระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหล้านภาลัยจะเสด็จสวรรคตไปแล้ว แต่พระอัจฉริยภาพท่ีทรงฝากไว้ในศิลปะแขนงต่าง ๆ ยังทรงคุณค่ามิรู้เลือน และเป็นมรดกชาติที่ชาวไทย พงึ สงวนรกั ษาไว้ใหค้ นรุ่นหลงั สบื ต่อไป เพ่อื เป็นเครอ่ื ง เตือนใจว่า “บ้านเมืองเราน้ีคนรุ่นเก่ามีความสามารถ รักษาบ้านเมืองไว้ให้อยู่อย่างสงบสุข พอที่จะมี ศิลปกรรมต่าง ๆ อันเป็นท่ีเชิดชูภาษาได้อย่างเป็น ระยะเวลาอันยาวนานไม่ขาดสาย”๑ ๑ พระราชดำ� รสั สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี พระราชทานในทปี่ ระชมุ คณะกรรมการมลู นธิ พิ ระบรม ราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลยั ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ เมื่อวันท่ี ๙ ธนั วาคม ๒๕๒๐ 8 นติ ยสารยทุ ธโกษ ปีท่ี ๑๒๑ ฉบับท่ี ๒ ประจำ� เดือนมกราคม - มนี าคม ๒๕๕๖


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook