Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก (ฉบับเต็ม)

วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก (ฉบับเต็ม)

Description: วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก (ฉบับเต็ม)

Search

Read the Text Version

วารสารการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine ปที ่ี 10 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม-เมษายน 2555 Vol. 10 No. 1 January-April 2012 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก จัดทำข้ึนโดยกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข เพื่อเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ และเป็นเวทีเสนอผลงานทางวิชาการและ งานวิจัยด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก เป็นวารสารราย 4 เดือน กำหนดเผยแพร่ ในเดือนเมษายน สิงหาคม ธนั วาคม คณะผูจ้ ดั ทำ ทป่ี รกึ ษา ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทยส์ มชยั บวรกติ ติ บรรณาธกิ าร นายแพทยว์ ชิ ยั โชคววิ ฒั น นายแพทยส์ วุ ทิ ย์ วบิ ุลผลประเสริฐ บรรณาธกิ ารรอง นางวงเดอื น จินดาวัฒนะ ศาสตราจารย์ ดร.ชยนั ต์ พเิ ชยี รสุนทร นายแพทย์สุพรรณ ศรธี รรมมา  บรรณาธกิ ารบรหิ าร นายแพทยป์ ภสั สร เจยี มบญุ ศร ี กองบรรณาธิการ รองศาสตราจารย์ ดร.เภสชั กรหญงิ จริ าพร ล้มิ ปานานนท์ เภสัชกรหญงิ เย็นจิตร เตชะดำรงสิน นายแพทยป์ ระพจน์ เภตรากาศ แพทยห์ ญิงอญั ชลี ไชยสัจ รองศาสตราจารย์ ดร.วชิ ัย องึ พินจิ พงศ์ ดร.วิชยั จนั ทร์กิตวิ ัฒน ์ รองศาสตราจารย์ ดร.เภสชั กรธงชัย สุขเศวต ดร.เภสัชกรหญงิ อญั ชลี จูฑะพุทธิ รองศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์ประวทิ ย์ อคั รเสรีนนท ์ นางเสาวณยี ์ กลุ สมบูรณ์ รองศาสตราจารย์ ดร.เภสัชกรสนนั่ ศภุ ธรี สกุล นางสาวรชั นี จนั ทรเ์ กษ ดร.ตรึงตา พูลผลอำนวย นายแพทยเ์ ทวญั ธานีรัตน ์ ดร.กันยานุช เทาประเสริฐ นางสาวอรุ จั ฉัท วิชยั ดิษฐ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์พเิ ชษฐ เวชวฐิ าน เภสัชกรหญงิ ผกากรอง ขวัญข้าว ผจู้ ัดการวารสาร นางภาวนา คุ้มตระกูล

วารสารการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine ปีท่ี 10 ฉบับท่ี 1 มกราคม-เมษายน 2555 Vol. 10 No. 1 January-April 2012 Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine is owned by the Department for Development of Thai Traditional and Alternative Medicine, Ministry of Public Health for the presentation of research works and technical papers on Thai traditional medicine, indigenous medicine and alternative medicine. The journal is published every four monts and will be issued on April, August, and December. Editorial Board Advisors Somchai Bovornkitti Editor Vichai Chokevivat Suwit Wibulpolprasert Associate Editors Wongduern Jindawatthana Chayan Pichaensoonthon Suphan Srithamma Executive Editor Papassorn Chemboonsri Members Jiraporn Limpananont Yenchit Techadamrongsin Prapoj Pratrakard Anchalee Chaiyasuj Wichai Eungpinichpong Vichai Chankittiwat Thongchai Sooksawate Anchalee Chuthaputi Pravit Akarasereenont Saowanee Kulsomboon Sanan Subhadhirasakul Rutchanee Chantraket Trungta Poolpolamnuay Tewan Thaneerut Kanyanoot Taoprasert Aurutchat Vichaidit Pichet Wechvithan Pakakrong Kwankhao Journal Manager Pawana Khumtrakul

วารสารการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine ปที ี่ 10 ฉบับท่ี 1 มกราคม-เมษายน 2555 Vol. 10 No. 1 January-April 2012 สารบญั Contents บ ทบรรณาธกิ ารแถลง E DITORIAL,Note บ1 ทควาวมิชัยพโิเชศคษว วิ ัฒน Vichai Chokevivat 2 กรณศี กึ ษา : ชุมเหด็ ไทย Special Article วิชัย โชควิวัฒน Case study : Foetid cassia (Senna tora (L.) Roxb.) บทปริทัศน์ R EVIEVWichAaiRCTIhCoLkEev ivat 4 รากทมี่ าของเส้นประธานสิบ The Origin of Sen Prathan Sip นิพนธ์ตปร้นะฉพบจบัน์ เภตรากาศ OriginParlaAporjtiPceletrsa kard 11 ผลของสารสกดั สมุนไพรพนื้ บ้านไทยจำนวน Antibacterial activity of seven 7 ชนดิ ตอ่ การยับยง้ั เชอื้ แบคทเี รยี Indigenous Vegetables จิราภรณ์ บรุ าคร Jiraporn Burakorn เรอื นแก้ว ประพฤต ิ Ruenkaew Praphruet 23 การศกึ ษากระบวนการตรวจ วนิ ิจฉยั และ Study on the examination, diagnosis รักษาผู้ปว่ ย ตามทฤษฎีเสน้ ประธานสิบ and treatment based on the theories และทฤษฎธี าตุของหมอนวดไทย of 10 main energy lines (sen prathan sib) มกร ลมิ้ อดุ มพร and elements (tard) of Thai massage ผกากรอง ขวญั ข้าว therapists บุญทำ กจิ นยิ ม Makorn Limudomporn ยงศักดิ์ ตันติปิฏก Pakakrong Kwankhao พินติ ชินสร้อย Boontam Kitniyom กาญจนา บวั ดอก Yongsak Tantipidok จริ าภรณ์ โยวทติ ย์ Pinit Chinsoi คุณนษิ ฐ์ ห้องตรง Kanchana Buadok ปวัชสรา คัมภรี ะธมั Jiraporn Yovatit สุดารัตน์ สุวรรณพงศ์ Kunanit Hongtrong Pawatsara Kampheratham Sudarat Suwanpong

วารสารการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine ปีท่ี 10 ฉบับท่ี 1 มกราคม-เมษายน 2555 Vol. 10 No. 1 January-April 2012 สารบญั C ontents 43 คณุ ภาพชีวิตผูป้ ว่ ยเบาหวานทไี่ ด้รบั การ The association between Thai ส่งเสรมิ สุขภาพดว้ ยแพทยแ์ ผนไทยชุด Traditional Medicine Dhammanamai หลกั ธรรมานามยั Health Promotion Program and ประภา พิทกั ษา quality of life in diabetes patients in ปัณสุข สาลิตลุ Kantharalak district, Si Sa Ket province ป กณิ กะ Prapa Pithaksa 52 ตำราอา้ งอิงสมุนไพรไทย: ไพล M iscePllaannneaosuusk salitool คณะอนุกรรมการจดั ทำตำราอ้างอิงยาสมุนไพร Monograph of Selected Thai Materia ไทย Medica : PHLAI ภ าคผนวก subcommittee on the preparation 57 พจนานกุ รมศพั ทแ์ พทยแ์ ละเภสชั กรรมแผน of monofraphs of selected thai ไทย (13) A ppenmdiaxt eria medica คณะอนุกรรมการจดั ทำพจนานกุ รมศพั ทแ์ พทย ์ Dictionary of Thai Traditional Medicine และเภสชั กรรมแผนไทย and Pharmacy (13) ว ารสารสโมสร Subcommittee on the Preparation of 69 ธงชัย ศขุ เวต the Dictionary of Traditional Thai ค ำแนะนำสำหรบั ผูน้ ิพนธ์ (ฉบับปรบั ปรุง) Medicine And Pharmacy J ournal Club Thongchai Sooksawate Instructions to Authors

วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine ปีท่ี 10 ฉบบั ที่ 1 มกราคม-เมษายน 2555 Vol. 10 No. 1 January-April 2012 บรรณาธกิ ารแถลง นายแพทยว์ ิชัย โชควิวัฒน วารสารทางวิชาการเป็นเวทีสำคัญของนัก เม่ือตั้งกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและ วชิ าการในการเผยแพร่ แลกเปลยี่ น ตดิ ตาม และ การแพทย์ทางเลือกข้ึนตอนปลายปี พ.ศ. 2545 พัฒนาความรู้ การค้นพบ ความคิด ทฤษฎี เพ่ือ ในฐานะอธิบดีคนแรก ผมเห็นว่าวงวิชาการการ ความเจรญิ ก้าวหนา้ ท้งั ในวงวชิ าการและสังคม แพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกยังไม่มี การท่ีนักวิทยาศาสตร์สามารถพัฒนาการ วารสารวิชาการ จงึ ไดร้ ิเริม่ ผลักดนั และส่งเสรมิ แพทย์จนเข้าสู่ยุคยาปฏิชีวนะ ซ่ึงถือเป็นความ ให้มีการจัดทำข้ึน โดยได้นายแพทย์ชวลิต สันติ กา้ วหนา้ ทางวทิ ยาศาสตรท์ เ่ี ปลย่ี นโลก เรม่ิ ตน้ จาก กิจรงุ่ เรอื ง เป็นบรรณาธกิ ารคนแรก วารสารฉบับ การค้นพบเพนิซิลลินโดยบังเอิญ (Serendipity) น้ีได้พัฒนามาโดยต่อเนื่อง จนได้รับการยอมรับ ข อ ง เซ อ ร์ อ เ ล ก ซ า น เ ด อ ร์ เ ฟ ล ม มิ ง จากคณะกรรมการประเมินผลงานวิชาการของ และไดเ้ ขยี นรายงานสน้ั ๆ เพยี งหนา้ เดยี วเผยแพรไ่ ว้ สำนักงาน ก.พ. ให้บทความวิชาการที่ตีพิมพ์ใน แม้การค้นพบคร้ังน้ันจะยังไม่สามารถต่อยอดเป็น วารสารนี้สามารถประเมินเล่ือนระดับได้ถึงระดับ เทคโนโลยี กล่าวคือ มีความพยายามจะพัฒนา 10 ซึ่งนับเปน็ เรอ่ื งนา่ ภาคภูมิใจ เพนิซิลลินเป็นยาระงับเช้ือ (Antiseptics) นับถึงปีนี้วารสารกำลังจะมีอายุย่างเข้าปีท่ี แต่ไม่สำเร็จ เพราะเพนิซิลลินท่ีค้นพบไม่มีความ 10 ต้องขอขอบคุณทุกท่านท่ีมีส่วนในการพัฒนา ค ง ตั ว ย า ว น า น พ อ แ ต่ ร า ย ง า น สั้ น ๆ วารสารฉบับน้ีมาโดยต่อเน่ือง วารสารฉบับนี้ยัง ของเซอร์อเลกซานเดอร์ เฟลมมิง ฉบับน้ัน ต้องการการพัฒนาต่อไปอีกมาก เพื่อยกระดับ คอื จดุ ตง้ั ตน้ สำคญั ทท่ี ำให ้ ฟลอเรส ชาอนิ และคณะ มาตรฐานให้สูงยิ่งๆ ข้ึนไป ผมขอขอบคุณกรม นำมาทดสอบและพฒั นาต่อจนไดเ้ ปน็ ยาปฏชิ วี นะ พัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทาง ชนดิ แรก อันมผี ลทำให้มนษุ ยส์ ามารถเอาชนะเชื้อ เลือกที่ให้เกียรติเชิญผมมารับหน้าท่ีบรรณาธิการ โรคไดอ้ ย่างก้าวกระโดด และใคร่ขอเชิญชวนนักวิชาการทุกท่านท่ีสนใจ อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ซึ่งนิตยสารไทม์ หรือมีผลงานด้านการแพทย์แผนไทยและการ ยกยอ่ งให้เป็น “บุคคลแห่งศตวรรษ” ก็ใช้วารสาร แพทย์ทางเลือก ได้ส่งผลงานมาเพ่ือพิจารณาตี วิชาการในการเผยแพร่ทฤษฎีของตน โดยเฉพาะ พิมพ์เผยแพร่ เพื่อให้งานวิชาการด้านนี้ยกระดับ ในปี ค.ศ. 1905 ซึ่งถือเป็น “ปีมหัศจรรย์” มาตรฐานให้เท่าเทียมสากล และสามารถทำ (Miraculous Year) ของไอน์สไตน์ เพราะ ประโยชน์ให้แก่ประชาชนท้ังชาวไทยและชาวโลก สามารถตีพิมพ์ผลงานวิชาการช้ันเยี่ยมยอดได้ถึง ได้อย่างกว้างขวางต่อไป ผมและทีมงานในกอง 5 เรื่อง ภายในปีเดียว ในขณะมีอายุได้เพียง 26 บรรณาธิการทุกท่านจะพยายามทำหน้าท่ีให้ดี ปี ทส่ี ดุ โดยพรอ้ มน้อมรบั คำแนะนำ ติ ชม วิพากษ์ วจิ ารณ์ ด้วยความยินดเี สมอ 1

วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine ปที ่ี 10 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2555 Vol. 10 No. 1 January-April 2012 บทความพิเศษ นายแพทยว์ ชิ ัย โชคววิ ัฒน กรณศี ึกษา : ชุมเหด็ ไทย เรื่องชุมเห็ดไทยท่ีจะเล่าต่อไปน้ี เป็นกรณี วิชาการมากมาย ปัจจุบันเป็นคณบดีคณะเภสัช ศึกษาท่ีน่าสนใจ เพราะเป็นตัวอย่างที่สะท้อนถึง ศาสตร์ แห่งมหาวิทยาลัยมหิดล ดร.จุฑามณี ได้ คุณค่าของภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ผม อ่านพบเร่ืองชุมเห็ดไทยจากตำราการแพทย์แผน ทราบเรื่องน้ีครั้งแรกเม่ือประมาณ 7 – 8 ปีมา ไทย ซึง่ น่าสนใจเพราะในตำราระบุเป็นตำรับสมนุ แล้ว จากการฟังคำบรรยายของ ดร.นพมาศ ไพรเดี่ยวที่ระบุสรรพคุณใช้แก้อาการชักในเด็ก สุนทรเจริญนนท์ แห่งคณะเภสัชศาสตร์ จึงสนใจอยากให้มีการศึกษาวิจัยเพื่อพิสูจน์ว่ามี มหาวทิ ยาลยั มหิดล ดร.นพมาศ เปน็ ผทู้ รงความรู้ ประสทิ ธผิ ลตามที่ตำรานั้นไดร้ ะบุไว้หรือไม ่ ท่ีสนใจเร่ืองของสมุนไพรและภูมิปัญญาการ ตำรายาดังกล่าวอธิบายวิธีการปรุงยานี้ว่า แพทย์แผนไทย มีผลงานท่ีทรงคุณค่าและ ให้เอาเมล็ดมาค่ัวจนเกรียม ส่งกล่ินหอม แล้วนำ คุณภาพสูงจากการศึกษาวิจัยด้วยตนเองในเร่ืองน้ี ไปต้ม เป็นยานำ้ ใชแ้ กช้ กั ในเด็ก มากมาย นอกจากการศึกษาวิจัยแล้วยังได้เขียน เพ่ือความชัดเจนของเรื่องน้ี ผมได้ขอให้ เป็นเอกสารวิชาการท้ังในรูปบทความและหนังสือ สถาบันการแพทย์แผนไทยช่วยตรวจสอบเรื่องน้ี จำนวนมาก ท่ีสำคัญยังได้เป็นวิทยากรและจัด ทั้งในตำราของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรม อบรมเผยแพร่ความรู้ทั้งแก่วงราชการ ผู้ประกอบ หลวงวงศาธิราชสนิท และตำราแพทย์ศาสตร์ การและประชาชนท่วั ไปอย่างกว้างขวาง และเปน็ สงเคราะห์ แต่ไม่พบการบรรยายสรรพคุณดัง ประโยชนอ์ ย่างย่ิง กล่าว ในที่สุด ดร.นพมาศ สุนทรเจริญนนท์ ได้ เร่อื งสำคัญทจ่ี ุดประกายให้ ดร.นพมาศ ให้ กรุณาตรวจสอบตำราอีกหลายเล่ม พบว่ามีการ ความสนใจต่อเรื่องของภูมิปัญญาการแพทย์แผน บันทึกในหนังสือประมวลสรรพคุณยาไทย (ภาค ไทยคือเรอื่ งชุมเห็ดไทย สอง) ว่าด้วย พฤกษชาติ วัตถุธาตุ และสัตววัตถุ เร่ิมต้นจาก ดร. จุฑามณี สุทธิศรีสังข์ นานาชาติ ของสมาคม ร.ร แพทย์แผนโบราณ อาจารย์ทางเภสัชวิทยา ผู้มีช่ือเสียงและผลงาน สำนกั วดั พระเชตพุ นฯ (วดั โพธ)ิ์ ทา่ เตยี น พระนคร 2

Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine Vol. 10 No. 1 January-April 2012 3 สำนกั พมิ พ์ : ไพศาลการพิมพ์ ปี 2521 หน้า 17 การแพทย์แผนไทยทุกตัวหลับสบาย ไม่เกิด ระบุว่า “ประโยชน์ทางยาของชุมเห็ดไทย เมล็ด อาการชักเลย ในขณะท่ีหนูกลุ่มที่ได้รับสารสกัด ค่ัวให้ดำเกรียม ชงน้ำรับประทานเป็นยาระงับ แอลกอฮอล์ เกดิ อาการชักหลายตวั ประสาท ทำให้นอนหลับสบาย ต้นและรากเป็น สรุปผลการทดลองได้ว่า ตำรับยาชุมเห็ด ยาแกไ้ ข้ ขบั ปัสสาวะ แก้กระษยั ” ไทยตามตำราของครูแพทย์แผนไทย สามารถกัน ดร.นพมาศ ซึ่งได้รับการชักชวนให้ทำการ ชักในหนูทดลองไดจ้ ริง ขณะทก่ี รรมวิธีตามทฤษฎี ศึกษาเร่ืองนี้ พิจารณาแล้วเห็นว่ายาท่ีได้จาก ท่ีควรจะไดผ้ ลดกี วา่ กลบั ไม่ไดผ้ ล กรรมวิธีการเตรียมดังกล่าวไม่น่าจะใช้แก้ชักหรือ การท่ีจะหาคำอธบิ ายวา่ ทำไมเรื่องจึงกลบั กันชักได้ เพราะก็คือการสกัดตัวยาโดยใช้น้ำร้อน ตาลปัตรเช่นน้ี คงต้องทำการศึกษาวิจัยอีกมาก นั่นเอง สารท่ีละลายออกมาน่าจะเป็นสารจำพวก แต่ผลการศึกษาน้ีย่อมเป็นหลักฐานช้ินหน่ึงท่ี แป้งท่ีมีโมเลกุลขนาดใหญ่ คือพอลีแซคคาไรด์ ยืนยันความทรงคุณค่าของภูมิปัญญาการแพทย์ สารดังกล่าวจึงไม่น่าจะมีฤทธ์ิต่อสมองเพ่ือแก้ แผนไทย หรือกันชักได้ เพราะการที่เป็นโมเลกุลขนาดใหญ่ ตำราการแพทย์แผนไทยในอดีตโดยมาก ย่อมไม่สามารถซึมผ่าน “ปราการ” ที่กั้นกรอง มิได้ผ่านการศึกษาทดลองตามระเบียบวิธีอัน ระหว่างระบบไหลเวียนโลหิตกับระบบประสาท เคร่งครัดของตะวันตกในปัจจุบัน เพราะพัฒนา กลาง (Blood-brain barrier) ได้ จึงเสนอว่า ถา้ มาก่อน “ยุคโมเดิร์น” ซ่ึงมีวิทยาศาสตร์เป็น จะศึกษาเร่ืองน้ี ควรเปลี่ยนตัวทำละลายเป็น รากฐานสำคัญ อย่างไรก็ดี ตำราการแพทย์แผน แอลกอฮอล์แทน เพราะจะสามารถละลายตัวยา ไทยเกิดข้ึนจากประสบการณ์จริงของครูหมอใน ท่ีมีโมเลกุลเล็กกว่าออกมาได้ โอกาสที่จะไปออก อดีตที่ได้มีการบันทึกไว้ และมีการชำระสะสาง ฤทธ์ิที่สมองเพ่ือแก้หรือกันชักย่อมเป็นไปได้มาก หรือแก้ไขปรับปรุงเป็นระยะๆ จากประสบการณ์ กว่า แต่ถา้ ใช้วธิ ลี ะลายเช่นน้ัน ก็จะไม่เปน็ ไปตาม การนำไปใช้และการพิจารณาของครูหมอรุ่นแล้ว ตำรายาการแพทย์แผนไทย ในที่สุดจึงลงเอยด้วย รุ่นเล่า ตำราเหล่าน้ีจึงเป็นมรดกภูมิปัญญาอัน การทำการสกัดท้ังโดยน้ำตามตำรา และด้วย ทรงคุณค่า ที่รอให้คนรุ่นเราได้ช่วยกันศึกษา แอลกอฮอล์ตามทฤษฎีตะวนั ตก ทดลอง พิสูจน์ และพัฒนา เพ่ือสามารถนำไปใช้ การทดลองเร่ืองน้ีทำกับหนู โดยการป้อน ประโยชน์ได้อย่างม่ันใจ ท้ังต่อประชาชนชาวไทย สารสกัดให้แก่หนูสองกลุ่ม แล้วทำให้หนูเกิด และเพอ่ื นรว่ มโลกของเราทงั้ มวล อาการชักด้วยการให้สารกระตุ้นการชักคือ เฟนิลีนเตตระซอล (Phennylenetetrazol) หรือเรียกย่อๆ วา่ พที ีแซด (PTZ) ผลการทดลอง พบว่า หนูที่ได้รับสารสกัดตามกรรมวิธีในตำรา

วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine ปที ี่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2555 Vol. 10 No. 1 January-April 2012 บทปริทัศน ์ ประพจน์ เภตรากาศ รากทมี่ าของเสน้ ประธานสบิ เส้นประธาน คือ เส้นซึ่งเป็นหลักสำคัญ พระพุทธศาสนาไปยังท่ีต่าง ๆ 9 สาย สายหนึ่งมี ของการนวดไทย เป็นทางเดนิ ของลมซึง่ เป็นพลงั พระโสณะและพระอุตตระเป็นพระมหาเถระไป ภายใน ท่ีหล่อเลี้ยงร่างกายให้ทำงานได้ตาม ยังดินแดนสุวรรณภูมิ ซ่ึงนักประวัติศาสตร์ส่วน ปรกต ิ เช่อื วา่ มเี สน้ อย่ใู นร่างกายถึง 72,000 เสน้ หน่ึงสันนิษฐานว่าคือนครปฐมในปัจจุบัน การ แต่ที่เป็นเส้นประธานแห่งเส้นท้ังปวงมีเพียง 10 แพทย์แบบพุทธจากอินเดียจึงเร่ิมเข้าสู่ดินแดน เส้น ได้แก่ อิทา ปิงคลา สุมนา กาลทารี สหัส สุวรรณภูมิโดยการนำเข้ามาของพระภิกษุใน รงั สี ทวารี จนั ทภูสัง รุชำ สกิ ขณิ ี สขุ มุ งั 1 พระพุทธศาสนา3 ซ่ึงในคัมภีร์ต่างๆ ในพระไตร การนวดไทยถือว่า เส้นประธานสิบ หรือ ปิฎกมีการกล่าวถึงการรักษาพระภิกษุที่อาพาธ เส้นสิบ เป็นหัวใจหรือแก่นกลางของภูมิปัญญา ด้วยวิธีการต่างๆ จำนวนมาก แต่ไม่มีการกล่าว การนวดไทย การสืบคน้ รากทม่ี าของเสน้ สิบจงึ มี ถงึ วิธกี ารรักษาด้วยการนวด ความสำคัญอย่างย่ิงท่ีจะทำให้เห็นว่า การนวด ในยุคสุโขทัย (พ.ศ.1781 - 1981) ไม่มี ไทยน้ันเป็นภูมิปัญญาที่เกิดข้ึนในดินแดนด้ังเดิมท่ี หลักฐานท่ีชัดเจนเก่ียวกับระบบการแพทย์ในสมัย เรียกว่า สุวรรณภูมิ2 หรือมีท่ีมาจากต่างชุมชน น้ ี แต่พบมีรูปจารึกท่ีเก่ียวกับการนวดในเขต หรอื ต่างประเทศ อำเภอคีรมี าศ จังหวัดสโุ ขทัย3 การแพทย์แผนไทยน่าจะมีจุดเร่ิมต้นจาก ในยคุ กรุงศรีอยุธยา (พ.ศ.1893 - 2310) ในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช (พ.ศ.270 - 311) ในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ.1991 - พระองค์ทรงส่งพระสมณทูตออกมาเผยแผ่ 2031) มีหลักฐานปรากฏเป็นคร้ังแรกในทำเนียบ *สมาพนั ธ์แพทยแ์ ผนไทยแหง่ ประเทศไทย อาคารสวนกีฬา ชน้ั 2 ศักดินาข้าราชการฝ่ายพลเรือน (พระไอยการ ถ.ติวานนท์ นนทบรุ ี 11000 ตำแหน่งนาพลเรือน) มีข้าราชการในกรมหมอ 4

Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine Vol. 10 No. 1 January-April 2012 5 นวด และมีตำแหน่งใกล้เคียงกับกรมแพทยาและ เช่ียวชาญทางการแพทย์แผนไทยคือ สมเด็จเจ้า ฟ้าชายทัศพงศ์และสมเด็จเจ้าฟ้าชายทัศไภย กรมแพทยาโรงโอสถ3 แต่ไม่พบหลักฐานตำรา พระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช และยังได้รับราชการต่อมาในราชสำนักพระบาท การแพทยแ์ ผนไทยและการนวดไทย สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ก่อนที่ จะทรงถกู สำเรจ็ โทษในสมยั รัชกาลที่ 2 หลักฐานตำราการแพทย์แผนไทยที่มีการ ในยุคกรุงรัตนโกสินทร์ (พ.ศ.2325- ปัจจุบัน) การแพทย์แผนไทยได้รับการถ่ายทอด เขยี นขนึ้ ในสมยั อยธุ ยาไดแ้ ก่ กำภีธาตพุ ระณะราย ความรมู้ าจากยคุ กรุงศรอี ยุธยา ซึง่ ส่วนหนง่ึ ไดร้ บั การถ่ายทอดจากหมอรุ่นกอ่ น และอกี ส่วนหน่ึงได้ (ตำราพระโอสถพระนารายณ์) ซ่ึงมีตำราพระ มีการรวบรวมคัดลอกข้ึนใหม่โดยการเรียกประชุม หมอและผู้มีความรู้นำตำรายาและคัมภีร์แพทย์ที่ โอสถหลายขนานท่ีปรากฏช่ือหมอหลวงและวัน มีอยู่ตามวัด บ้านเรือนราษฎร ของหมอมาตรวจ ทาน แก้ไข เรียบเรียงข้ึนใหม่เป็นตำราในกรม คืนท่ีต้ังพระโอสถจดไว้ชัดเจนว่าอยู่ระหว่าง หมอหลวง และต่อมาตำราเหล่านี้ได้แพร่หลาย พ.ศ.2202 - 22043 นอกจากน้ี มองสเิ ออร์ เดอ โดยท่วั ไป ลาลูแบร์ เอกอคั รราชทูตของพระเจา้ หลยุ ส์ท่ี 14 สมัยรัชกาลท่ีหนึ่ง (พ.ศ.2325 - 2352) แห่งประเทศฝรั่งเศสเข้ามาในกรุงสยามระหว่าง ได้ทรงปฏิสังขรณ์วัดโบราณช่ือวัดโพธาราม หรือ วัดโพธิ์ ขึ้นเป็นพระอารามหลวงให้ช่ือว่า วัด พ.ศ.2230 - 2231 ได้เขยี นจดหมายเหตพุ ระราช พระเชตุพนวิมลมังคลาราม และโปรดฯ ให้ รวบรวมจารึกตำรายาและฤๅษีดัดตนไว้ตามศาลา พงศาวดารสยามครั้งกรุงศรีอยุธยาในแผ่นดิน ราย มีรูปหมอนวด ตำราแผนนวดเพ่ือให้เป็น สถานท่ีเผยแพร่ความรู้แก่ไพร่ฟ้าประชาชน และ สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ตอนหนึ่งเก่ียวกับ ต่อมาในสมัยรัชกาลท่ีสาม ทรงให้ปฏิสังขรณ์วัด พระเชตุพนวิมลมังคลารามอีกครั้งในปีพ.ศ.2375 หมอนวดไทยว่า “ชอบขยำบบี ไปท่วั ตัว เม่ือใคร โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้รวบรวม ป่วยไข้ลงในกรุงสยาม บางทีก็ขึ้นเดินเอาเท้า เลือกสรรตำรับตำราต่างๆ ซ่ึงสมควรจะเล่าเรียน เหยียบบนกายคนไข ้ แม้ในสตรีก็พอใจให้เด็ก เหยยี บทหี่ ลังเพื่อให้คลอดบตุ รงา่ ย” ในยุคกรุงธนบุรี (พ.ศ. 2311 – 2325) เปน็ ช่วงระยะเวลาส้ัน ๆ เพยี ง 15 ปี มพี ระมหา กษัตริย์ปกครองเพียงพระองค์เดียว คือ สมเด็จ พระเจ้าตากสินมหาราช ภายหลังจากท่ี อาณาจักรอยุธยาล่มสลายไป ไม่ปรากฏหลักฐาน การฟ้ืนฟูเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทย สันนิษฐาน ว่า อาจเน่ืองมาจากเปน็ ชว่ งที่กำลังกอบกู้เอกราช และต้องทำสงครามกับพม่า อย่างไรก็ตามในสมัย รัชกาลน้ีมีเจ้านายช้ันสูง 2 พระองค์ผู้มีความ

6 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก ปีท่ี 10 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม-เมษายน 2555 เป็นช้ันวิสามัญศึกษามาตรวจตราแก้ไข ใช้ของ ตรวจสอบชำระให้ตรงกันกับฉบับดั้งเดิม คัมภีร์ที่ เดิมบ้างหรือประชุมผู้รู้หลักในวิชานั้นๆ ให้แต่ง ชำระแล้วเหล่านี้รวมเรียกว่า “เวชศาสตร์ฉบับ ข้ึนใหม่บ้าง แล้วโปรดฯให้จารึกแผ่นศิลาประดับ หลวง” ซ่ึงเป็นแบบฉบับของการสร้าง “ตำรา ไว้ในวัด มีรูปเขียนและรูปปั้นประกอบตำราน้ันๆ ฉบับหลวง” อันเป็นท่ีมาของตำราแพทย์ศาสตร์ เพ่ือคนทั้งหลายไม่เลือกว่าตระกูลชั้นใดๆมีใจรัก สงเคราะห์ ที่เป็นตำราหลักในการศึกษาเล่าเรียน วิชาอย่างใดก็สามารถเล่าเรียนได้จากศิลาจารึกท่ี ของแพทยแ์ ผนไทยในยุคตอ่ มากระทัง่ ถึงปจั จบุ ัน3 วัดพระเชตพุ นฯ ในตำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง ได้บรรยาย จารึกวดั โพธแ์ิ บง่ เปน็ 4 หมวด ได้แก่ วชิ า ทางเดินของเส้นประธานสิบไว้ โดยมีชื่อเส้นสิบ ฤๅษดี ัดตน เวชศาสตร์ เภสัชศาสตร์ และแผนนวด ดังนี้ อทิ า ปิงคลา สุสมุ นา กาลทารี สหัศรงั ส ี ซง่ึ ในแผนนวดมภี าพคนแสดงแผนนวด 60 ภาพ4 ทวาร ี ลาวสุ ัง (คอื จันทภสู งั ) อลุ ังกะ (คือ รุชำ) และมคี ำโคลงฤๅษดี ดั ตนท้ังหมด 80 ท่า5 นนั ทกระหวัด (คอื สุขมุ ัง) และคิชฌะ6 ในตำราโรคนิทานคำฉนั ท์ 11 (ฉบบั พิมพ์ โดยสรุป ตำราด้ังเดิมหลักของการนวด 2458) พระยาวิชยาธิบดี (กล่อม) อดีตเจ้าเมือง ไทยที่มีหลักฐานการจารึกและบันทึกท่ีชัดเจน มี จนั ทบูร ในสมยั รชั กาลท่ี 2 ไดก้ ล่าวถงึ เสน้ สิบวา่ ดังน ้ี มี 10 เส้นได้แก่ อิทา ปิงคลา สุมนา กาลทารี 1. ภาพแผนนวด วัดพระเชตุพนวิมล สหสั รงั สี ทวารี อรุ ัง (จนั ทภสู ัง ลาวสุ งั ) สุขมุ อสุ ะ มังคลาราม ซ่ึงรัชกาลที่หนึ่งได้ทรงโปรดเกล้าฯ มา (รชุ ำ อลุ ังกะ) รัตคนิ ี (สกิ ขณิ ี สงั คินี) กังขงุ ให้รวบรวมจารึกไว้ เพื่อให้เป็นสถานท่ีเผยแพร่ (สุขุมัง นันทกระหวัด) โดยให้ความสำคัญกับ 3 ความรู้แก่ไพร่ฟ้าประชาชน และต่อมาในสมัย เส้นหลัก คือ เส้นซ้าย ชื่ออิทา เส้นขวาชื่อ รัชกาลท่ีสาม ทรงให้ปฏิสังขรณ์วัดพระเชตุพน ปิงคลา และเส้นกลาง ช่อื สมุ นา ดังน1ี้ วิมลมังคลารามอีกครั้งในปีพ.ศ.2375 และทรงให้ รวบรวมเลือกสรรตำรับตำราต่างๆ จารึก โดยมี เส้นสามใครรดู้ ี รวู้ ธิ ีเปนแลตาย วิชาฤๅษีดัดตน เวชศาสตร์ เภสชั ศาสตร์ และแผน กำกับสำหรบั กาย ทุกหญิงชายไมเ่ ว้นเลย นวด ซึ่งในแผนนวดมีภาพคนแสดงแผนนวด 60 ภาพ4 และมคี ำโคลงฤๅษดี ดั ตนทงั้ หมด 80 ท่า5 สมัยรัชกาลท่ีห้า (พ.ศ.2411–2453) ได้ 2. ตำราโรคนิทานคำฉันท์ 11 เร่ือง ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ประชุมคณะแพทย์ กล่าวเส้นสิบ เรียบเรียงโดยพระยาวิชยาธิบดี หลวง จัดหารวบรวมคัมภีร์แพทย์ในท่ีต่างๆมา (กล่อม) อดตี เจา้ เมอื งจนั ทบรู ในสมยั รัชกาลท่ี 21

Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine Vol. 10 No. 1 January-April 2012 7 3. คัมภีร์แผนนวดเล่ม 1-2 ในเวช สสุ มุ นา (สมุ นา) สว่ น Ganhari (คานธาร)ี นัน้ ศาสตร์ฉบบั หลวง (รชั กาลที่ 5)7 ออกเสียงคล้ายกับเส้นกาลทารีหรืออาจเป็นช่ือ เม่ือพิจารณาเส้นสิบจากตำราด้ังเดิมหลัก เดยี วกัน แต่แนวทางเดินของเสน้ ไม่เหมือนกนั พบว่า ไม่มีการกล่าวอ้างถึงตำราการนวดไทยที่ 4. ตำราการนวดไทยกล่าวถึงเส้นที่ เก่าแก่เกินกว่านั้น จึงต้องพิจารณาว่า เส้นสิบนั้น สำคัญ 3 เสน้ หลัก คอื อทิ า ปิงคลา และสมุ นา มคี วามใกลเ้ คยี งกบั ตำราอื่นใด หรอื องคค์ วามร้ใู ด ซ่ึงตรงกบั นาฑี อิฑา ปิงคลา และ สษุ ุมนา ซง่ึ อย่างไร เป็นนาฑี 3 เส้นหลักที่เช่ือมต่อจักระทั้ง 7 (มูลา ข้อสังเกตเบ้ืองต้น พบว่า ทฤษฎีเส้น ธาระ จกั ระ, สวาธิษฐานะ จักระ, มณปิ ุระ จกั ระ, ประธานสิบมีหลายสิ่งที่ใกล้เคียงกับโยคศาสตร์ อนาหตะ จักระ, วศิ ทุ ธะ จกั ระ หรอื วิศทุ ธิ จักระ, ของอนิ เดีย ไดแ้ ก ่ อาชญา จักระ หรืออาชญะ จักระ บวกตำแหน่ง 1. ตำราการนวดไทยกล่าวว่า เส้นซึ่ง สูงสดุ คอื สหสราระ) 8 เป็นทางเดินของลมน้ัน ตรงกับโยคศาสตร์ท่ ี 5. ตำแหน่งหรือทางเดินของเส้นอิทา กลา่ วถึง นาฑี (Nadi อา่ นออกเสียงวา่ นาด)ี วา่ ของการนวดไทย อยู่ทางซ้ายของร่างกาย เริม่ ตน้ เป็นชอ่ งทางผา่ นของพลงั ปราณ8 จากข้างสะดือด้านซ้าย 1 น้ิวมือ แล่นลงไป 2. ตำราการนวดไทยเช่ือว่ามีเส้นทางเดิน บริเวณหัวเหน่า ลงไปต้นขาซ้ายด้านในค่อนไป ของลมอยู่ในร่างกายถึง 72,000 เส้น ซึ่งตรงกับ ดา้ นหลัง แลว้ เล้ยี วขึ้นไปแนบข้างกระดูกสนั หลงั โยคศาสตร์ของอินเดีย ที่กล่าวว่า ทางเดินของ ด้านซ้ายข้ึนไปบนศีรษะ แล้วกลับลงมาส้ินสุดที่ ปราณนัน้ มีมากมายถึง 72,000 เส้น บางคมั ภรี ว์ ่า ขา้ งจมกู ซ้าย ตำแหน่งหรือทางเดนิ ของเสน้ ปงิ คลา ของ มี 350,000 เส้น แล้วแต่คัมภีร์แต่ไม่มีการ การนวดไทยอยู่ทางขวาของร่างกาย เร่ิมต้นจาก อธิบายวา่ มีการนบั จำนวนเสน้ อยา่ งไร ข้างสะดือข้างขวา 1 น้ิวมือ แล่นลงไปตาม 3. ทางเดินหรือนาฑีในโยคศาสตร์นั้น มี แนวทางเหมือนเส้นอิทา แต่อยู่ด้านขวา และส้ิน 14 เส้นท่ีสำคัญได้แก่ Ida (อิฑา), Pingala สดุ ทข่ี า้ งจมกู ขวา (ปิงคลา), Sushumna (สุษุมนา), Sarasvati, นาฑีอิฑาและปิงคลาของโยคะจะแล่นไขว้ Varuni, Pusha, Hastijhva, Yavasvini, กันหรือเวียนไปรอบแกนกลางของร่างกาย (ซึ่ง Visvodara, Kuhu, Shankini, Payasvini, ตรงกับตำแหน่งของกระดูกสันหลัง) ตำแหน่งที่ Alamousha, Gandhari.9 ซึ่งมีชื่อของทางเดินที่ นาฑีท้ังสองไขว้กันคือส่ิงท่ีเรียกว่า “จักระ” ซ่ึง ตรงกบั เส้นสิบของไทย 3 เส้น คือ อทิ า ปิงคลา แปลวา่ กงลอ้ หรอื การหมุน

8 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ปีที่ 10 ฉบบั ที่ 1 มกราคม-เมษายน 2555 จะเห็นว่า เส้นอิทาและปิงคลาของการ 9. เส้นประธานทั้งสิบมีจุดเร่ิมต้นท่ีรอบ นวดไทย จะอยู่ในแนวก่ึงกลางลำตัวของร่างกาย สะดือ ซง่ึ ตรงกบั ตำแหน่งจักระช่ือ มณปิ รุ ะ ซ่ึง เพียงแต่อย่ดู ้านซา้ ยและขวา ในขณะที่นาฑี อฑิ า ตั้งอยู่หน้ากระดูกสันหลังระดับสะดือ ตรงกับ และปิงคลาของโยคะจะไขว้กันในแนวกึ่งกลางลำ Solar Plexus (บรเิ วณ Lumbar Plexus และ ตวั ต่อมหมวกไต) ศูนย์น้ีจะควบคุมระบบการย่อย 6. ตำราการนวดไทยกล่าววา่ เส้นอิทา มี อาหาร ควบคมุ พลงั ขับเคล่ือนในการทำกจิ กรรม ลมจันทะกาลาเป็นลมประจำเส้น ซ่ึงตรงกับ ต่างๆ อารมณ์ที่ไม่ดี ความคิดสร้างสรรค์ โยคศาสตร์ที่กล่าวว่า นาฑีอิฑาคือ นาฑีท่ีเป็น ความรู้สึกเด่น ความสามารถพเิ ศษตา่ งๆ8 ช่องให้พลังเย็นแห่งดวงจันทร์ไหลเวียนไปใน จากขอ้ คน้ พบเบอื้ งตน้ เช่ือว่า องค์ความ ร่างกาย และ จันทระ เภทนะ ปราณายามะ รู้การนวดไทยมีรากที่มาจากโยคศาสตร์ โดย เป็นการหายใจเข้าทางรูจมูกซ้ายหรือช่อง อาจเก่ียวโยงกับฤๅษีดัดตนที่รัชกาลท่ีหน่ึง ทรง พระจันทร์ ซง่ึ เป็นช่องทางของนาฑอี ฑิ า8 พระราชทานไว้ ณ วัดพระเชตุพนฯ ซึ่งสมเด็จฯ 7. ตำราการนวดไทยกล่าวว่า เส้น กรมพระยาดำรงราชานภุ าพ ทรงอธบิ ายเรอื่ งนี้ว่า ปงิ คลา มลี มสรู ย์กาลา (สูรยะ กะลา หรอื สูรยะ ท ร ง เ ค ย เ ห็ น รู ป ปั้ น ฤ ๅ ษี บ ำ เ พ็ ญ ต บ ะ ใ น กลา) (soorya kalaa) เป็นลมประจำเสน้ ซึง่ ตรง พิพิธภัณฑสถานของเมืองชัยปุระ ประเทศอนิ เดยี กบั โยคศาสตรท์ ก่ี ลา่ วว่า นาฑีปิงคลา คอื นาฑี ทำท่าทางต่างๆ เหมือนอย่างรูปฤๅษีดัดตนในวัด ทพี่ ลงั ร้อนไหลไปในรา่ งกาย และ สูรยะ เภทนะ พระเชตุพนฯ จึงสันนิษฐานว่า ท่าฤๅษีดัดตน ปราณายามะ เป็นการหายใจเข้าทางรูจมูกขวา ของไทยได้ต้นแบบมาจากฤๅษีในยุคอินเดีย หรอื ชอ่ งสุริยะ ซึง่ เปน็ ชอ่ งทางของนาฑปี ิงคลา8 โบราณ แต่มีวัตถุประสงค์ต่างกันกล่าวคือ ของ 8. ตำแหน่งหรือทางเดินของเส้นสุมนา อินเดียเป็นแบบท่าต่างๆที่พวกดาบสใช้ดัดตน ของการนวดไทยอยู่ตรงกลางของร่างกาย จาก หลังจากอยู่ในอาสนโยคะท่าใดท่าหน่ึงเป็นเวลา เหนอื สะดือ 2 นว้ิ มอื แลน่ ขึ้นไปภายในอก ผา่ น นานในการบำเพญ็ ตบะเพ่อื บรรลุโมกขธรรม แต่ ลำคอขึ้นไปส้ินสุดที่โคนล้ิน ใกล้เคียงกับนาฑีสุ ของไทยนั้นมีวัตถุประสงค์เพื่อแก้โรคเมื่อยที่จารึก ษุมนาของโยคศาสตร์ท่ีเช่ือมจักระท้ัง 7 ในแนว ไว้ใน “โคลงฤๅษดี ดั ตน” สมยั รัชกาลทส่ี าม3, 5 ตรงกลางของร่างกาย8 ในทางโยคศาสตร์ บาง อย่างไรก็ตาม ไม่พบหลักฐานที่เก่ียวกับ ตำราถือว่า นาฑีสุษุมนาเป็นเส้นท่ีสำคัญที่สุดใน เสน้ ประธานอืน่ ๆนอกเหนือจากเสน้ อทิ า ปงิ คลา 3 เส้นหลัก สุมนา ว่ามีท่ีมาจากท่ีใด รวมทั้งตำราการนวด

Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine Vol. 10 No. 1 January-April 2012 9 ไทยมีการกล่าวถึงจุดต่างๆ ในแผนนวดท่ีใช้ เอกสารอา้ งองิ รักษาอาการต่างๆ และการท่ีเส้นสัมพันธ์กับ 1. มูลนิธิสาธารณสุขกับการพัฒนา. ตำราการนวดไทย เล่ม 1. พมิ พค์ รัง้ ที่ 4. กรุงเทพมหานคร: พิมพ์ด;ี 2552. (444 หน้า) กองธาตุสมุฏฐานต่างๆ ที่ กำเริบ หย่อน พิการ 2. สุจิตต์ วงศ์เทศ. สุวรรณภูมิ ต้นกระแสประวัติศาสตร์ไทย. ฤดูกาล ซ่ึงในโยคศาสตร์ไม่มีการกล่าวถึง แต่ กรงุ เทพมหานคร: สำนักพิมพ์มติชน; 2549. เป็นองค์ความรู้ที่เกี่ยวกับสมุฏฐานวินิจฉัย6 ซ่ึง 3. วชิ ยั โชคววิ ฒั น สวุ ทิ ย์ วบิ ลุ ผลประเสรฐิ และ ประพจน์ เภตรากาศ, เข้าใจว่า หมอนวดไทยได้นำองค์ความรู้จาก (บรรณาธิการ). รายงานการสาธารณสุขไทย ด้านการแพทย์ สมุฏฐานวินิจฉัยมาประยุกต์และพัฒนาจน แผนไทย การแพทย์พ้ืนบ้าน และการแพทย์ทางเลือก 2552 กลายเป็นภูมิปัญญาการนวดไทยในภายหลัง -2553.นนทบุรี: สามเจริญพาณิชย์ (กรุงเทพฯ); 2553. ทั้งนี้เพราะการนวดในอายุรเวทเป็นการนวดด้วย (456 หน้า) 4. มูลนิธิสาธารณสุขกับการพัฒนา. ตำราเส้นสิบฉบับอนุรักษ์. น้ำมันและเป็นส่วนหน่ึงของปัญจกรรมะ ซึ่งไม่มี พิมพค์ รัง้ ท่ี 1. กรงุ เทพมหานคร: พิมพ์ด;ี 2554. (136 หนา้ ) 5. กรมศิลปากร. สมุดภาพโคลงฤๅษีดัดตน. กรุงเทพมหานคร: การกล่าวถงึ เส้นประธานสบิ หรอื นาฑที ง้ั 14 ตาม อมรินทร์พรินติง้ แอนดพ์ ับลชิ ช่ิง; 2551. (160 หน้า) แบบโยคศาสตร ์ 6. สถาบันภาษาไทย กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. ควรมีการสืบค้นหลักฐานเชิงประจักษ์เพ่ิม แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์: ภูมิปัญญาทางการแพทย์และมรดก เติมท่ีแสดงหรือเช่ือมโยงถึงรากท่ีมาของเส้น ทางวรรณกรรมของชาติ. กรงุ เทพมหานคร: คุรสุ ภาลาดพร้าว; ประธานสิบของการนวดไทย หรืออาจทำการ 2542. (1,010 หน้า) วิเคราะห์ถึงองค์ความรู้ในแผนนวดที่มีอย ู่ เพื่อ 7. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. ตำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง ทำความชัดเจนถึงรากที่มาของภูมิปัญญาการ รัชกาลท่ี 5 เล่ม 1-2. กรงุ เทพมหานคร: กรมศิลปากร; 2542. นวดไทยอยา่ งถอ่ งแท ้ และขจดั มิจฉาทิฐเิ กย่ี วกับ (916 หน้า) 8. แพทย์พงษ์ วรพงศ์พิเชษฐ. โยคะเพ่ือการพัฒนาร่างกายและ จิตใจ. พมิ พค์ รัง้ ท่ี 1. กรงุ เทพมหานคร: เอช.ที.พ.ี เพรส; 2542. องค์ความรู้การนวดไทยทั้งโดยเจตนาและไม่ (242 หนา้ ) เจตนาอันเนอ่ื งจากอวิชชาหรืออหังการมบงั การ 9. Ram Kumar Rai. Shiva Svavodaya. Prachya ผู้เขียนขอขอบคุณนายแพทย์ แพทย์พงษ์ Prakashan, Varanasi; 1997. วรพงศ์พิเชษฐและอาจารย์ธีรเดช อุทัยวิทยรัตน์ ท่ีได้ให้ความร้ ู ความกระจ่างและความคิด วิเคราะหเ์ กยี่ วกับโยคศาสตรก์ บั การนวดไทย

10 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ปีที่ 10 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม-เมษายน 2555 A bsTthreaOctr igin of Sen Prathan Sib Prapoj Patrakard* *Federation of Thai Traditional Medicine, Sport Garden Building, 2nd Floor, Tiwanon Rd., Ministry of Public Health, Nonthaburi 11000 Sen Prathan Sib or ten primary energy lines (paths) in traditional Thai massage are Ida, Pingala, Sushumna, Kalathari, Sahasrangsi, Dwari, Chandabhusang, Rujam, Sukumang, and Sikhini. Knowing about the origin of Sen Prathan Sib or how the knowledge about the ten energy lines was derived is very important because it will connect us to the root of knowledge and the theory of the Sen (energy lines). The traditional standard textbooks of traditional Thai massage which were systematically recorded are Massage Illustrations (Pharb Phaen Nuad) of Wat Phra Chetuphon (a Buddhist temple), the Textbook of Etiology (Rok Nithan Khamchan 11) with a section on Sen Sib (ten energy lines), and Massage Scripture Volumes 1 and 2 in the Royal Medical Textbook (Tamra Vechasart Chabab Luang) of King Rama V, but no mention was made of the energy line’s origin. A comparison Sen Prathan Sib theory with Nadis (energy lines or paths) of yoga shows that both of them have some similarities such as the belief in the routes of wind element, the number of routes or lines (totaling 72,000), and three lines of Sen Prathan Sib and three lines of Nadis having the same names (i.e. Ida, Pingala, Sushumna). The main path of Ida in Thai massage is on the left side of the body and Pingala is on the right side, while the Nadi Ida and Nadi Pingala cross each other on the left and right sides of the body. Moreover, the wind line of Ida in Thai massage and Nadi Ida are the same (wind of the moon); and the wind of Pingala in Thai massage and Nadi Pingala are the same (wind of the sun). The main paths of Sushumna in Thai massage and Nadi Sushumna are in the midline of the body. However, there is no evidence of the other lines of Sen Prathan Sib, except that in the Thai Massage Textbooks there are records of the pressure points in healing symptoms and the relationship between Sen Prathan Sib and the elements including the etiology of their deterioration and malfunctioning as well as the effect of seasonal changes. Such matters are not mentioned in any yoga textbooks, which however contain some information about illness etiology and diagnosis. It is believed that Thai massage therapists have adopted such principles of etiology and diagnosis and got them modified for application; later on they became the Thai massage wisdom. That was because, in Ayurvedic massage, oil is used and it is a part of the Panja Karma (five actions) which do not mention about Sen Prathan Sib or the 14 Nadis in the yoga principle. Key words: Sen Prathan Sib, Thai massage, Ten primary energy lines

วารสารการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine ปีท่ี 10 ฉบบั ที่ 1 มกราคม-เมษายน 2555 Vol. 10 No. 1 January-April 2012 นิพนธ์ตน้ ฉบบั ผลของสารสกดั สมุนไพรพ้นื บา้ นไทยจำนวน 7 ชนดิ ต อ่ การยับยง้ั เชื้อแบคทเี รีย จริ าภรณ์ บุราคร* เรือนแก้ว ประพฤต*ิ * บทคัดย่อ สมุนไพรพื้นบ้านไทยจำนวน 7 ชนิดนำมาสกัดสารโดยใช้น้ำ เมทานอล และเอทานอลเป็นตัวทำละลาย ได้นำมาศึกษา ฤทธิ์การยับย้ังเช้ือแบคทีเรียก่อโรคจำนวน 4 สายพันธุ์ ได้แก่ Escherichia coli ATCC25922, Klebsiella pneumoniae ATCC27736, Staphylococcus aureus ATCC6538, Staphylococcus epidermidis ATCC12228 ด้วยวิธี Agar well diffusion โดยทดลองใชส้ ารสกัด (30 µg/plate) 21 ตัวอยา่ งตอ่ การยับยงั้ เชือ้ แบคทีเรีย 1 สายพันธ์ุ ผลการทดลองพบวา่ สาร สกัดฟักแม้วด้วยเมทานอลแสดงการยับยั้งเชื้อ E. coli และ S. epidermidis ได้ดีที่สุด โดยมีค่าเฉล่ียเส้นผ่านศูนย์กลางของ ฤทธิ์ยับยั้ง 20.46 มิลลิเมตร และ 35.23 มิลลิเมตร ตามลำดับ สารสกัดสะระแหน่ด้วยน้ำและสารสกัดชะพลูด้วย เมทานอล แสดงฤทธิ์ยับยั้งเชื้อ K. pneumoniae และ S. aureus ได้ดีท่ีสุด โดยมีค่าเฉลี่ยเส้นผ่านศูนย์กลางของฤทธ์ิยับย้ัง 19.15 มิลลิเมตร และ 24.77 มิลลิเมตร ตามลำดับ เม่ือทดสอบหาความเข้มข้นต่ำสุดของสารสกัดที่สามารถยับยั้งเช้ือ แบคทีเรียด้วยวิธี Microdilution assay พบว่า ค่า Minimum Inhibitory Concentration (MIC) ของสารสกัดจากฟักแม้ว ดว้ ยเมทานอลในการยับยั้งเชอื้ E. coli และ S. epidermidis เท่ากบั 7.81 มิลลกิ รมั /มลิ ลิลิตร และ 62.50 มลิ ลกิ รมั /มิลลลิ ติ ร ตามลำดบั สารสกดั สะระแหนด่ ้วยน้ำและสารสกดั ชะพลดู ้วยเมทานอลในการยับย้งั เช้อื K. pneumoniae และ S. aureus มีคา่ MIC เท่ากับ 15.62 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร และค่า MIC ของสารมาตรฐาน Chloramphenicol ท่ียับย้ังเชื้อ E. coli, K. pneumoniae, S. epidermidis และ S. aureus เทา่ กบั 15, 7, 31 และ7 ไมโครกรมั /มลิ ลิลิตร ตามลำดบั ภมู ิหลงั และเหตผุ ล 1) Escherichia coli เปน็ เชอื้ ประจำถิ่น ในระบบทางเดินอาหาร ส่วนใหญ่เปน็ สายพันธุ์ไม่ ในปัจจุบันมีเชื้อจุลินทรีย์ที่ก่อให้เกิดโรค ก่อโรค แต่พบสายพันธุ์ท่ีก่อให้เกิดโรคอุจจาระ มากมายทั้งในดิน น้ำ อากาศ เชื้อแบคทีเรียท่ี ร่วง โรคติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ1,2 เป็นสาเหตุสำคัญท่ีทำให้ก่อโรคที่มักพบปนเป้ือน สามารถติดต่อได้ทางอาหารหรือผักผลไม้สดท่ีปน ในห้องน้ำและตามสถานท่ตี ่างๆ ได้แก่ เปื้อนเชื้อ โดยมีการกระจายเชื้อผ่านมือท่ีปน เป้อื นหรือแมลงสาบและแมลงวนั *สำนักเทคโนโลยีชุมชน กรมวิทยาศาสตร์บริการ เขตราชเทวี ก**ทศมูน.1ย0์เท40ค0โ นโลยีชีวภาพและสถาบันบริการตรวจสอบคุณภาพ และมาตรฐานผลติ ภัณฑ์ มหาวทิ ยาลยั แม่โจ ้ *Corresponding author: [email protected] 11

12 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก ปีท่ี 10 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม-เมษายน 2555 2) Klebsiella pneumoniae พบได้ทั้ง ใช้ได้ และเป็นการเพิ่มมูลค่าสมุนไพรของไทยอีก ในสง่ิ แวดลอ้ ม ได้แก่ แหล่งน้ำ ดนิ พืช และพบได้ ด้วย สมุนไพรพนื้ บา้ นไทยมีการนำมาใช้ประโยชน์ ในเยือ่ เมือกของสิง่ มชี ีวิต ระบบทางเดินอาหารใน ต่าง ๆ มากมาย ได้แก่ นำมาเป็นอาหาร เครื่อง สตั วห์ ลายชนดิ เชน่ หนแู รต หนเู มาส์ และมนษุ ย3์ เทศ ใช้เป็นยา เป็นต้น ซึ่งมีรายงานการพบสาร จากทางเดินหายใจหรือลำไส้ เป็นสาเหตุของโรค สำคัญหลายชนิดท้ังน้ำมันระเหยง่าย สารต้าน ปอดบวม ปอดอักเสบ โรคติดเช้ือในทางเดิน อนุมูลอิสระ สารยับยั้งเช้ือแบคทีเรียและเชื้อรา9 ปสั สาวะ ท่ีบาดแผล ในกระแสเลือด และเยื่อหุม้ จึงได้คัดเลือกสมุนไพรพื้นบ้านไทย 7 ชนิดมา สมอง เป็นเชื้อก่อโรคแกรมลบที่เกี่ยวข้องกับการ ทำการศึกษา ดงั นี้ ติดเชื้อในโรงพยาบาลในระบบทางเดินหายใจส่วน 1) ผักชีฝร่ัง (Eryngium foetidum L.) ล่างมากทสี่ ดุ 4,5 อยใู่ นวงศ์ Apiaceae (Umbelliferae) มสี ารสำคญั 3) Staphylococcus aureus เป็นเชื้อ acetophenon, aldehyde, benzaldehyde ก่อโรคที่สำคัญ เป็นสาเหตุของการติดเชื้อที่ เปน็ ตน้ รากชว่ ยเจริญอาหาร ผิวหนัง แผลและเนื้อเย่ือ และโรคอาหารเป็นพิษ 2) ชะพลู (Piper sarmentosum นอกจากนี้ยังเป็นเชื้อฉวยโอกาสในผู้ป่วยที่มี Roxb.) อยู่ในวงศ์ Piperaceae มีสารสำคัญ ร่างกายอ่อนแอ ทำให้เกิดโรคปอดบวมที่ทำให้มี neolignan, sarmentosine เป็นต้น รายงาน อัตราการเสียชีวิตสงู ถงึ ร้อยละ 50 6,7 การวิจัยพบว่าการสกัดใบชะพลูด้วยปิโตรเลียม 4) Staphylococcus epidermidis อีเทอร์มีสาร hydrocinnamic acid และ เป็นสาเหตุก่อให้เกิดโรคสิวอักเสบเป็นหนอง ß-sitosterol10 และสารสกัดลูกชะพลูมีสาร พบได้ตามผิวหนังท่ัวไปและเย่ือบุบางแห่ง เช่น pellitorine11 ใบทำให้เสมหะงวดและแห้งเข้า จมูก หู ปาก และหลอดปัสสาวะส่วนปลาย7,8 บำรุงธาตุ แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ จุกเสียด มีฤทธ์ิ จากการที่มีเช้ือโรคกระจายอยู่ท่ัวไปตาม ต้านเช้ือแบคทีเรีย ลดน้ำตาลในเลือด ต้านการ แหล่งต่าง ๆ ควรมีการป้องกันเชื้อโรคเข้าสู่ เกาะกลุม่ ของเกล็ดเลอื ด ร่างกาย วิธีการป้องกันเช้ือโรคท่ีดีทางหนึ่งคือ 3) สะระแหน่ (Mentha cordifolia การล้างมือให้สะอาดโดยใช้ผลิตภัณฑ์สบู่เหลว Opiz.) อยู่ในวงศ์ Lamiaceae มีสารสำคัญ หรือน้ำยาล้างมือท่ีสามารถฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค cadinene, carvone, coumarin เป็นต้น และ ซ่ึงผลิตภัณฑ์ที่จำหน่ายท่ัวไปมีการเติมสารเคมีที่ ในใบสะระแหน่มี amino acid ได้แก่ leucine, ช่วยฆ่าเช้ือจุลินทรีย์ ซึ่งผู้บริโภคอาจเกิดการแพ้ methionine, proline, asparagine เป็นต้น12 สารเคมี หากมีการนำสารสกัดสมุนไพรมาใช้เป็น ใบขบั ลม ผายลม แกท้ อ้ งข้นึ ทอ้ งเฟ้อ มฤี ทธ์ติ ้าน ส่วนประกอบในผลิตภัณฑ์น้ำยาล้างมือจะช่วยใน การเจริญของเน้ืองอก ลดความดันโลหิต กระตุ้น การลดการใช้สารเคมี ผู้ที่มีผิวแพ้ง่ายสามารถ การบบี ตวั ของมดลกู

Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine Vol. 10 No. 1 January-April 2012 13 4) ฟักแมว้ (Sechium edule Sm.) อยู่ ระเบยี บวิธีศกึ ษา ในวงศ์ Cucurbitaceae สารสำคัญ ท่พี บ ไดแ้ ก ่ สถานที่ทดลอง flavonoids, 3 C-glycosyl, 5 o-glycosyl 1. ห้องปฏิบัติการสำนักเทคโนโลยีชุมชน flavones ใบและผลใช้ดองยา มีคุณสมบัติ ช่วย กรมวทิ ยาศาสตร์บริการ ขับปัสสาวะ บำรุงหัวใจและหลอดเลือด แก้ 2. ห้องปฏิบัติการศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพ อักเสบ น้ำต้มใบและผลนำมาใช้ในอาการ และสถาบันบริการตรวจสอบคุณภาพและ เส้นเลือดแข็งตัว ความดันโลหิตสูง และสลายนิ่ว มาตรฐานผลติ ภณั ฑ์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ในไต 5) โหระพา (Ocimum basilicum L.) วัสดแุ ละสารเคมี อยู่ในวงศ์ Lamiaceae ใบมีน้ำมันหอมระเหย 1. การสกัดสารจากสมุนไพร methyl chavicol และ linalool ขบั ลมแก้ท้อง 1.1 สมุนไพรที่ใช้ในการทดลอง 7 อืดเฟอ้ เมลด็ เมื่อแชน่ ้ำจะพองเปน็ เมอื ก เป็นยา ชนิด ได้แก่ ใบผกั ชีฝร่ัง ใบชะพลู ใบและลำตน้ ระบาย เนือ่ งจากไปเพมิ่ จำนวนกากอาหาร สะระแหน่ ใบฟักแม้ว ใบโหระพา ใบกะเพรา 6) กะเพรา (Ocimum tenuiflorum และใบเตย จากตลาดในกรุงเทพมหานคร L.) อยู่ในวงศ์ Lamiaceae มีสารสำคัญ 1.2 เมทานอล (Methanol) anethole, benzaldehyde, ascorbic acid, 1.3 เอทานอล (Ethanol) essential oil, eugenol13 เป็นตน้ ใบบำรงุ ธาตุ 1.4 ไดเมทิลซัลฟอกไซด์ (Dimethyl เป็นยาธาตุรักษาโรคกระเพาะ ช่วยย่อยอาหาร sulfoxide, DMSO) แก้ปวดท้อง มีฤทธ์ิต้านเช้ือราและแบคทีเรีย 1.5 กระดาษกรอง Whatman® ยับย้ังการเจริญเซลล์มะเร็ง14 ฤทธิ์ลดการ เบอร์ 4 อักเสบ15 กระตุ้นภูมิต้านทาน ลดคอเลสเตอรอล 1.6 แผ่นกรองท่ีผ่านการฆ่าเช้ือ ลดไขมันในเลอื ด ขนาด 0.2 ไมครอน 7) เตย (Pandanus amaryllifolium 1.7 เคร่ืองระเหยภายใต้สูญญากาศ Roxb.) อยู่ในวงศ์ Pandanacese มีสารสำคญั (Rotary evaporator) benzylacetate, carotenoids, coumarin, geraniol เปน็ ตน้ ใชแ้ ก้ไข้ แกร้ อ้ นในกระหายน้ำ 2. การเพาะเลย้ี งจุลินทรยี ์ แก้อ่อนเพลีย ขับปัสสาวะ ลดความดันโลหิต 2.1 จุลินทรีย์ท่ีใช้ในงานวิจัยได้รับ ลดอัตราการเต้นของหัวใจ และน้ำสกัดรากเตยมี ความอนเุ คราะหจ์ ากศูนย์จุลนิ ทรยี ์ สถาบันวจิ ยั ฤทธ์ิลดนำ้ ตาลในเลอื ด16 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ได้แก่ Escherichia coli ATCC25922, Klebsiella pneumoniae ATCC27736,

14 วารสารการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ปที ่ี 10 ฉบับท่ี 1 มกราคม-เมษายน 2555 Staphylococcus aureus ATCC6538 และ อบไอร้อน บดตัวอย่างให้ละเอียดแล้วผสมกับ Staphylococcus epidermidis ATCC12228 เมทานอลหรือเอทานอล ดว้ ยอัตราส่วน สมนุ ไพร อาหารเล้ียงเชื้อชนิด Nutrient broth (NB) ตอ่ ตัวทำละลาย เทา่ กับ 1 ตอ่ 4 หมกั ที่อณุ หภมู ิ 3. การทดสอบฤทธิ์ต้านเช้ือแบคทีเรีย ห้องเปน็ เวลา 24 ช่ัวโมง กรองด้วยกระดาษกรอง ของสารสกัดจากสมุนไพร Whatman®เบอร์ 4 เกบ็ ส่วนสารละลายไว้ ทำซ้ำ 3.1 อาหารเลี้ยงเช้ือชนิด Nutrient อีก 2 รอบ แล้วนำสารละลายท้ังหมดทำให้เข้ม agar (NA) ข้นด้วยเครื่องระเหยภายใต้สูญญากาศ ได้สารข้น 3.2 อาหารเล้ียงเชื้อชนิด Muller หนดื เกบ็ ไว้ทอี่ ณุ หภูมิ -20 องศาเซลเซยี ส Hinton broth (MHB) สารสกัดจากข้อ 1.1 และ 1.2 จะ 3.3 ไอโอโดไนโตรเตตระโซเลียม ละลายในสารละลายไดเมทิลซัลฟอกไซด์ร้อยละ คลอไรด์ (Iodonitrotetrazolium chloride) 1 และกรองผ่านแผ่นกรองท่ผี ่านการฆ่าเชอื้ ขนาด 3.4 Cork borer 0.2 ไมครอน ก่อนนำไปใช ้ 3.5 คลอแรมเฟนิคอล (Chloram- 2. การทดสอบฤทธ์ิต้านเชื้อแบคทีเรีย phenicol) Escherichia coli, Klebsiella pneumoniae, Staphylococcus epidermidis และ Staphy- วธิ ีการ lococcus aureus ของสารสกัดสมนุ ไพร 1. การสกดั สารจากสมนุ ไพร 2.1 การเพาะเลี้ยงแบคทีเรียแต่ละ นำสมุนไพรสดทั้ง 7 ชนิด มาล้างให้ ชนิดในอาหารเล้ียงเชื้อชนิด Nutrient broth ที่ สะอาดผ่งึ ให้แหง้ ในทรี่ ม่ แล้วนำไปสกดั ดังน้ ี ความเร็วรอบการเขย่า 200 รอบต่อนาที เป็น 1.1 การสกดั สมุนไพรดว้ ยนำ้ เวลา 12 ช่วั โมง ท่ีอณุ หภูมิ 37 องศาเซลเซียส นำสมุนไพรสดมาหั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ สกัด 2.2 การตรวจสอบฤทธิ์ของสารสกัด ดว้ ยน้ำในอตั ราสว่ นสมุนไพรตอ่ นำ้ เทา่ กับ 1 ต่อ ดว้ ยวิธี Agar well diffusion 4 นำไปต้มท่ี 100 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 10 วธิ ี Agar well diffusion ดดั แปลงจาก17 นาที กรองด้วยผ้าขาวบางแล้วกรองด้วยกระดาษ Rauha et al., 2000 โดยนำแบคทีเรียท่ีเล้ียง กรอง Whatman® เบอร์ 4 เก็บตัวอย่างท่ีจะ ในข้อ 2.1 จำนวนเซลล์ 108 CFU/ml มาเกล่ยี ให้ ทดสอบไวท้ ี่ -20 องศาเซลเซียส ท่ัวบนอาหารเลี้ยงเช้ือชนิด Nutrient agar ด้วย 1.2 การสกัดสมุนไพรด้วยเมทานอล sterile cotton swab จากน้ันเจาะหลุมขนาด และเอทานอล เส้นผ่านศูนย์กลาง 8 มิลลิเมตร ด้วย Cork นำสมุนไพรสดมาห่ันเป็นชิ้นเล็กๆ อบ borer แล้วเติมสารสกัดสมุนไพรความเข้มข้น ให้แหง้ ที่อณุ หภูมิ 50 องศาเซลเซยี ส โดยใชเ้ ครื่อง 300 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร ปริมาณ 100

Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine Vol. 10 No. 1 January-April 2012 15 ไมโครลิตร ลงในหลุม บ่มเลี้ยงเชื้อท่ีอุณหภูมิ 37 สกัดสามารถยับย้ังเชื้อจุลินทรีย์ได้เนื่องจาก องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24 ช่ัวโมง ตรวจวัดผล จุลินทรีย์ตาย การทดลองแต่ละตัวอย่างทำซ้ำ 3 โ ด ย วั ด ข น า ด เ ส้ น ผ่ า น ศู น ย์ ก ล า ง ฤ ท ธ์ิ ยั บ ย้ั ง ครง้ั (Inhibition zone) การทดลองแต่ละตัวอย่างทำ ซำ้ 3 ครัง้ 2.3 ถูกแล้วค่าความเข้มข้นต่ำสุดของ ผลการศกึ ษา สารสกัดท่ียับย้ังเชื้อแบคทีเรีย (Minimum inhibitory concentration; MIC) ด้วยวิธี 1. การสกดั สารจากสมนุ ไพร Microdilution assay สมุนไพรพื้นบ้านจำนวน 7 ชนิด เม่ือ ค่า MIC เป็นคา่ ของสารสกดั ความเข้ม นำมาสกัดด้วยน้ำ เอทานอล และเมทานอล ได้ ข้นต่ำท่ีสุดในการยับย้ังเช้ือแบคทีเรียได ้ ซ่ึงใน สารสกัดที่มีลักษณะ ดังแสดงในตารางท่ี 1 ซึ่ง การนำสารสกัดไปประยุกต์ใช้เป็นส่วนประกอบ ส า ร ส กั ด โ ห ร ะ พ า ด้ ว ย เ อ ท า น อ ล ไ ด้ ผ ล ผ ลิ ต ในผลิตภัณฑ์ชนิดต่าง ๆ เช่น สบู่เหลวหรือเจล (%yield) สงู สดุ คอื รอ้ ยละ 34.65 อาบน้ำต้านเชื้อ จะทำให้ทราบปริมาณสารสกัด อยา่ งนอ้ ยทสี่ ดุ ทีค่ วรเตมิ ในผลติ ภัณฑ์ 2. ฤทธิ์ต้านเช้ือแบคทีเรียของสารสกัด การหาค่าความเข้มข้นต่ำสุดของสาร จากสมุนไพร สกัดที่ยับย้ังเช้ือแบคทีเรีย ดัดแปลงจากวิธีของ เมอ่ื นำสารสกดั สมุนไพรทงั้ 7 ชนดิ ความ Sahin et al.,18 2003 โดยนำสารสกัดสมุนไพร เขม้ ขน้ 300 ไมโครกรัมต่อมิลลิลติ ร มาศกึ ษาการ มาเจือจางแบบเจือจางลงทีละ 2 เท่าด้วยอาหาร ยับยั้งเช้ือแบคทีเรียท้ัง 4 สายพันธุ์ ได้แก่ เล้ียงเชื้อ Muller Hinton broth (MHB) ใน Escherichia coli, Klebsiella pneumoniae, micro plate ขนาด 96 หลมุ ใหม้ ีคา่ ความเข้ม Staphylococcus epidermidis และ ข้นระหว่าง 0-2.5x104 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร Staphylococcus aureus พบว่ามีสารสกัด ปรมิ าณ 50 ไมโครลิตร เตมิ เชื้อแบคทเี รีย จำนวน จำนวน 6, 12, 14 และ 9 ตัวอย่างตามลำดับ เซลล์ 108 CFU/ml ลงไปในหลุมปริมาณ 50 (ตารางที่ 2) ที่สามารถยับยั้งเช้ือแบคทีเรียแต่ละ ไมโครลิตร บ่มเล้ียงเช้ือท่ีอุณหภูมิ 37 องศา สายพันธ์ุได้ ค่าเฉลี่ยเส้นผ่านศูนย์กลางของฤทธ์ิ เซลเซียส เป็นเวลา 24 ช่ัวโมง จากน้ันใส่ ยับย้ังอยู่ในช่วง 14.45 ถึง 20.46 มิลลิเมตร สารละลายไอโอโดไนโตรเตตระโซเลียม คลอไรด์ 11.69 ถึง 19.15 มิลลิเมตร 16.42 ถึง 35.03 ความเข้มข้น 0.06 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร หลุม มิลลิเมตร และ 15.39 ถึง 24.77 มิลลเิ มตร ตาม ละ 6 ไมโครลิตร สงั เกตผลโดยถา้ มสี ีแดงแสดงวา่ ลำดับ สารสกัดมีฤทธ์ิการยับยั้งเชื้อต่างๆ ดังนี้ เชื้อแบคทีเรียไม่ตายและถ้าไม่มีสีแสดงว่าสาร (ตารางที่ 2-3) การยบั ยง้ั เชอ้ื E. coli มีสารสกัดจำนวน 6 ตวั อย่างท่ีมีฤทธิก์ ารยบั ยง้ั เชอ้ื E. coli โดยสาร

16 วารสารการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ปที ่ี 10 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม-เมษายน 2555 ตารางท่ี 1 แสดงลักษณะของสารสกัดสมุนไ พรและรอ้ ยละของสารสกดั ต่อน้ำหนักแหง้ ชนิดของสมนุ ไพร ตัวทำละลายท่ใี ช้ในการ ลักษณะของสารสกดั รอ้ ยละของสารสกดั ผกั ชีฝรัง่ สกัด ชะพล ู นำ้ สนี ำ้ ตาลเขม้ หนืด 2.24 สะระแหน่ 19.25 ฟักแมว้ เอทานอล สเี ขียวเขม้ หนดื 8.5 โหระพา เมทานอล สีนำ้ ตาลดำหนดื 7.12 กะเพรา 20.56 เตย นำ้ สีน้ำตาลดำเหลวหนดื 4.19 เอทานอล สเี ขียวเขม้ หนืด 3.23 เมทานอล สเี ขยี วเขม้ หนดื 23.00 9.67 นำ้ สนี ้ำตาลหนืด 3.33 เอทานอล สีเขยี วหนืด 18.54 เมทานอล สเี ขียวหนดื 20.82 4.21 นำ้ สนี ำ้ ตาลหนดื 34.65 เอทานอล สีเขยี วเข้มข้น 20.00 เมทานอล สเี ขยี วข้น 3.21 23.67 น้ำ สนี ้ำตาลข้น 3.49 เอทานอล สีเขยี วเข้มหนดื 4.11 เมทานอล สเี ขียวเข้มหนดื 22.12 28.00 นำ้ สนี ้ำตาลหนดื เอทานอล สีเขยี วเขม้ หนืด เมทานอล สีเขียวเขม้ หนืด น้ำ สนี ำ้ ตาลขน้ เอทานอล สีเขยี วเขม้ ขน้ เมทานอล สเี ขยี วเขม้ ข้น

Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine Vol. 10 No. 1 January-April 2012 17 สกัดฟักแม้วด้วยเมทานอลมีค่าเฉลี่ยเส้นผ่าน ว่ามีค่า MIC เท่ากับ 62.50 มิลลิกรมั ต่อมลิ ลิลิตร ศูนย์กลางของฤทธิ์ยับยั้งสูงท่ีสุด เท่ากับ 20.46 การยับย้ังเชื้อ S.aureus มีสารสกัด มิลลิลิเมตร ซึ่งทุกตัวอย่างมีค่าเฉล่ียเส้นผ่าน จำนวน 9 ตัวอย่าง ท่ีมีฤทธิ์การยับย้ังเชื้อ ศูนย์กลางของฤทธิ์ยับย้ังน้อยกว่าสารมาตรฐาน S. aureus โดยสารสกัดชะพลูด้วยเมทานอลมี Chloramphenicol ความเข้มข้น 100 ไมโคร ค่าเฉลี่ยเส้นผ่านศูนย์กลางของฤทธ์ิยับยั้งสูงที่สุด กรมั ต่อมิลลิลิตร (26.81 มลิ ลิเมตร) เม่ือทดสอบ เท่ากับ 24.77 มิลลิลิเมตร ซึ่งมีค่าเฉล่ียเส้นผ่าน ความเข้มข้นต่ำสุดของสารสกัดฟักแม้วด้วย ศูนย์กลางของฤทธ์ิยับยั้งกว้างกว่าสารมาตรฐาน เมทานอลต่อเชื้อ E. coli พบวา่ มีค่า MIC เทา่ กับ Chloramphenicol ความเข้มข้น 100 ไมโคร 7.81 มิลลกิ รมั ต่อมิลลิลติ ร กรมั ต่อมิลลลิ ิตร (14.56 มิลลิเมตร) เมื่อทดสอบ การยับยั้งเช้ือ K. pneumoniae มีสาร ความเข้มข้นต่ำสุดของสารสกัดสะระแหน่ด้วยน้ำ สกัดจำนวน 12 ตัวอย่างท่ีมีฤทธิ์การยับย้ังเช้ือ ต่อเช้ือ K. pneumoniae พบว่ามีค่า MIC K. pneumoniae โดยสารสกัดสะระแหน่ด้วย เทา่ กับ 15.62 มลิ ลิกรัมต่อมลิ ลลิ ิตร น้ำมีค่าเฉลี่ยเส้นผ่านศูนย์กลางของฤทธ์ิยับยั้งสูง ท่ีสดุ เท่ากบั 19.15 มลิ ลิลิเมตร ซ่ึงมีคา่ เฉลยี่ เส้น ผ่านศูนย์กลางของฤทธ์ิยับยั้งกว้างกว่าสาร มาตรฐาน Chloramphenicol ความเข้มข้น 100 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร (15.95 มิลลิเมตร) เม่ือทดสอบความเข้มข้นต่ำสุดของสารสกัด สะระแหน่ด้วยน้ำต่อเชื้อ K. pneumoniae พบ ว่ามีค่า MIC เท่ากับ 15.62 มิลลกิ รัมต่อมิลลิลิตร การยับยั้งเช้ือ S. epidermidis มีสาร สกัดจำนวน 14 ตัวอย่างทม่ี ฤี ทธ์กิ ารยบั ยง้ั เชือ้ S. epidermidis โดยสารสกัดฟักแม้วด้วยเมทานอ ลมีค่าเฉลี่ยเส้นผ่านศูนย์กลางของฤทธิ์ยับย้ังสูง ท่ีสุด เท่ากับ 35.23 มิลลิลิเมตร ซ่ึงกว้างกว่าค่า เฉล่ียเส้นผ่านศูนย์กลางของฤทธิ์ยับย้ังของสาร มาตรฐาน Chloramphenicol ความเข้มข้น 100 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร (22.98 มิลลิเมตร) เมื่อทดสอบความเข้มข้นต่ำสุดของสารสกัด สะระแหน่ด้วยน้ำต่อเช้ือ K. pneumoniae พบ

18 วารสารการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก ปีที่ 10 ฉบับท่ี 1 มกราคม-เมษายน 2555 ตารางท่ี 2 คา่ เฉล่ยี เส้นผ่านศูนย์กลางฤทธ์ิการยบั ยง้ั เช้อื แบคทเี รยี ของสารสกัดสมนุ ไพร ชนิดของ ตัวทำละลาย คา่ เฉลย่ี เสน้ ผ่านศนู ย์กลางฤทธก์ิ ารยับยั้งเชอ้ื ± SD (มม. ) สมนุ ไพร/ ที่ใช้ใน E. coli K. pneumoniae S. epidermidis S. aureus ยาปฏิชีวนะ การสกัด ผกั ชฝี รง่ั - 14.04±0.12 16.42±0.38 15.39±0.58 น้ำ - - 22.99±1.77 15.73±1.03 ชะพล ู เอทานอล 18.49±0.04 - 30.71±0.51 19.60±1.21 เมทานอล - สะระแหน่ 14.45±0.85 13.58±1.19 - - นำ้ 19.65±0.46 - 26.29±0.17 - ฟกั แมว้ เอทานอล - - 35.17±1.20 24.77±2.72 เมทานอล 14.62±0.12 24.77±3.72 - โหระพา - 19.15±0.53 21.5±0.96 - นำ้ - 15.15±0.17 29.29±0.18 17.6±0.11 กะเพรา เอทานอล - 13.68±0.33 - เมทานอล 20.46±0.15 13.34±2.71 - 22.40±1.81 เตย - 29.44±0.07 21.64±2.30 นำ้ - - 35.23±1.93 - Chloramph- เอทานอล - 18.38±0.12 - enicol เมทานอล - 13.56±0.55 - 20.67±0.28 - - - 1% DMSO นำ้ 19.76±1.06 - 31.72±0.21 - - = No zone เอทานอล - 16.59±0.12 - 21.23±1.59 เมทานอล - - - - - 30.39±2.84 - น้ำ 26.81 14.48±0.21 - - เอทานอล 17.77±0.12 14.56 เมทานอล - 17.93±0.32 11.69±0.33 229.8 นำ้ 13.99±0.09 เอทานอล เมทานอล - 15.95 70% เมทานอล - - - - น้ำ

Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine Vol. 10 No. 1 January-April 2012 19 ตารางท่ี 3 ความเข้มขน้ ต่ำสดุ ของสารสกัดสมนุ ไพรต่อการยับย้ังเชอ้ื แบคทเี รยี ทนี่ ำมาทดสอบ เชื้อแบคทเี รีย ค่า MIC (มก./มล.) ทท่ี ำการทดสอบ สารสกดั ฟักแมว้ สารสกัดสะระแหน่ สารสกัดชะพลู Chloramphenicol ดว้ ยเมทานอล ด้วยน้ำ ด้วยเมทานอล E. coli 7.81 - - 0.015 0.007 K. pneumoniae - 15.62 - 0.031 0.007 S. epidermidis 62.50 - - S. aureus - - 15.62 วิจารณแ์ ละสรปุ ผลการทดลอง เสน้ ผ่านศนู ย์กลางของฤทธยิ์ บั ย้ังสงู สดุ คอื 20.46 จากการทดลองสกดั สารจากสมนุ ไพรพน้ื บา้ น มิลลิเมตร และ 35.23 มิลลิเมตร ตามลำดับ จำนวน 7 ชนิด นำสารสกดั สมุนไพรความเขม้ ข้น และสารสกัดจากน้ำด้วยสะระแหน่ สารสกัดจาก 300 ไมโครกรมั ตอ่ มลิ ลลิ ติ ร มาทดสอบประสทิ ธผิ ล ชะพลูด้วยเมทานอลมีฤทธ์ิยับย้ังดีที่สุดต่อเชื้อ ในการยับยงั้ เชอื้ แบคทีเรยี จำนวน 4 สายพันธ์ุ พบ K. pneumoniae และ S. aureus โดยมีคา่ เฉล่ยี วา่ ชนดิ ของสมนุ ไพรและสารละลายทใ่ี ชใ้ นการสกดั เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางของฤทธย์ิ บั ยงั้ 19.15 มลิ ลเิ มตร มีผลต่อประสิทธิผลในการยับย้ังเชื้อแบคทีเรีย และ 24.77 มลิ ลเิ มตร ตามลำดบั เมอ่ื เปรยี บเทยี บ การสกดั สมนุ ไพรดว้ ยเมทานอลมปี ระสทิ ธผิ ลในการ กับยาคลอแรมเฟนิคอล ความเข้มข้น 100 ยบั ยง้ั เชอ้ื มากทส่ี ดุ จำนวน 21 ตวั อยา่ งจากทง้ั หมด ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร พบว่า สารสกัดจาก 28 ตัวอยา่ ง ในขณะท่สี กัดดว้ ยนำ้ มปี ระสทิ ธผิ ลใน สมุนไพรที่สามารถยับยั้งเช้ือ K. pneumoniae, การยับยั้งเชื้อน้อยท่ีสุดเพียงจำนวน 9 ตัวอย่าง S. epidermidis และ S. aureus ได้ค่าเฉลี่ย สารสกัดสมุนไพรท่ีมีประสิทธิภาพยับยั้งเชื้อ ทั้ง เ ส้ น ผ่ า น ศู น ย์ ก ล า ง ฤ ท ธ์ิ ยั บ ยั้ ง ก ว้ า ง ก ว่ า 4 ชนดิ ได้แก่ สารสกดั ผักชีฝร่งั ดว้ ยเมทานอลและ ยาคลอแรมเฟนิคอลมีจำนวน 3, 10 และ 9 ชนดิ สารสกัดฟกั แม้วดว้ ยเมทานอล ในขณะทส่ี ารสกดั ตามลำดับ ในขณะที่ไม่มีสารสกัดสมุนไพรชนิดใด กะเพราดว้ ยน้ำไมส่ ามารถยบั ยัง้ เช้อื จุลนิ ทรยี ์ท้ัง 4 สามารถยับย้ังเชอื้ E. coli ไดค้ ่าเฉลี่ยเส้นผา่ นศูนย์ ชนดิ เมอ่ื ทดสอบประสทิ ธภิ าพของสารสกดั สมนุ ไพร กลางฤทธิ์ยับย้ังกว้างกว่ายาคลอแรมเฟนิคอล ในการยับยั้งเชื้อ E. coli และ S. epidermidis เม่ือทดสอบหาความเข้มข้นสารสกัดต่ำสุดที่ พบวา่ สารสกดั จากฟกั แมว้ ดว้ ยเมทานอล มคี า่ เฉลย่ี สามารถยบั ยง้ั เชอ้ื E. coli และ S. epidermidis

20 วารสารการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก ปที ่ี 10 ฉบับท่ี 1 มกราคม-เมษายน 2555 พบวา่ สารสกดั ฟกั แมว้ ดว้ ยเมทานอลสามารถยบั ยงั้ พนั ธ์ุ ICR. [ออนไลน์]. ศนู ย์สตั ว์ทดลองแห่งชาติ มหาวทิ ยาลัย ได้ดีท่ีสุด มีค่า MIC เท่ากับ 7.81 และ 62.50 มหิดล. 2555. มลิ ลกิ รมั ตอ่ มลิ ลิลิตร ตามลำดบั และความเข้มขน้ 4. นงลักษณ์ สุวรรณพินิจ. แบคทีเรียท่ีเก่ียวข้องกับโรค. พิมพ์ ตำ่ สดุ ของสารสกดั ทส่ี ามารถยบั ยง้ั เชอ้ื K. pneumo- คร้ังท่ี 3. กรุงเทพฯ: ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; niae และ S. aureus ได้จากสารสกัดสะระแหน่ 2547. ดว้ ยนำ้ และสารสกดั ชะพลดู ว้ ยเมทานอล มคี า่ MIC 5. จิตตะวัน กุโบลา. การวิเคราะห์สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพใน เทา่ กับ 15.62 มลิ ลิกรมั ตอ่ มลิ ลิลติ ร มะระข้ีนก และความสามารถในการนำไปใช้เชิงชีวภาพ. จากผลงานวิจัยนี้เป็นข้อมูลสามารถนำ วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยี สารสกัดท่ีมีฤทธิ์ยับย้ังเช้ือแบคทีเรียก่อโรคไปใช้ การอาหาร มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม; 2551. เป็นส่วนประกอบในผลิตภัณฑ์ทำความสะอาด 6. นิติพงษ์ ศิริวงศ์, เอกชัย ชูเกียรติโรจน์. อุบัติการณ์ของ ร่างกายต้านเช้ือ เช่น น้ำยาหรือสบู่เหลวล้างมือ เชื้อ Staphylococcus aureus ท่ีสามารถต้านทานต่อยา เจลอาบนำ้ เป็นต้น เพอ่ื ลดปรมิ าณแบคทเี รยี ปฏิชีวนะและโลหะซึ่งแยกได้จากโรงพยาบาลในจังหวัด ก่อโรค ซึ่งวัตถุดิบสมุนไพรพ้ืนบ้านมีราคาถูก เชียงราย ประเทศไทย. [ออนไลน์]. การประชุมวิชาการ 33rd ปลูกง่ายและมีปริมาณมาก หากนำมาพัฒนาเป็น Congress on Science and Technology of Thailand; ส า ร ส กั ด ใ ช้ เ ป็ น ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ใ น ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ 2554. ดังกล่าว จะเป็นการเพิ่มมูลค่าสมุนไพรพ้ืนบ้าน 7. ปาริชาติ ผลานิสงค์. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตร์มหา ไทยอีกทางหนึ่งด้วย บณั ฑติ สาขาวิชาชีววทิ ยา มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่; 2551. 8. โ ส ภ ณ ค ง ส ำ ร า ญ . แ บ ค ที เ รี ย ท า ง ก า ร แ พ ท ย์ . คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล. กติ ตกิ รรมประกาศ กรุงเทพฯ; 2524. 9. คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและศูนย์พันธุวิศวกรรม ขอขอบคุณกรมวิทยาศาสตร์บริการในการ และเทคโนโลยชี วี ภาพแห่งชาติ. สมนุ ไพรไมพ้ ื้นบ้าน เล่ม 1-4. ให้ทนุ สนับสนุนการวิจัยน ี้ พมิ พ์ครง้ั ที่ 1-4. บริษัทประชาชนจำกัด; 2539-2543. 10. น้อย เนียมสา, ก้าน จันทร์พรหมมา. การศึกษาสารเคมีจาก เอกสารอา้ งอิง ชะพลู Piper sarmentosum Roxb. วารสารสงขลา นครนิ ทร.์ 2526;5(2):151-2. 1. ชมรมรักสุขภาพ. อุจจาระร่วงจากเชื้อ Escherichia coli. 11. มยุรี ตันติสิระ, บุญยงค์ ตันติสิระ, ธงชัย สุขเศวต, ปิยะรัตน์ [ออนไลน์]. 2554. [อ้างถงึ วันท่ี 12 มถิ ุนายน 2554]. เขา้ ถงึ น่ิมพิทักษ์พงศ์, พรทิพย์ บุญชัยพา, รุ่งทิพย์ เทพเลิศบุญ. ได้จาก: www.thailabonline.com/sec51ecoli.htm. การทดสอบเบื้องต้นในการมีฤทธิ์เป็นยาชาเฉพาะท่ีของ 2. ปาริชาติ ผลานิสงส์. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหา สารสกัดกึ่งบริสุทธิ์จากลูกชะพลู. ไทยเภสัชสาร. 2542;23(1) บัณฑิต สาขาวชิ าชีววิทยา มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม;่ 2554. :41-45. 3. วลั ลภ ลขิ ติ สนุ ทรวงศ,์ สเุ มธ อำภาวงษ,์ อรอมุ า สงิ หะ ทวศี กั ด ิ์ 12. ประจวบ สุขสมบูรณ์. การศึกษาสารต่างๆในใบสะระแหน่ เขตเจริญ, เยาวลักษณ์ พนาเวชกิจกุล และกาญจนา เข่งคุ้ม. (Mentha viridis). วิทยานิพนธ์ปริญญา วิทยาศาสตรมหา การตรวจพบเชื้อ Klebsiella pneumoniae ในหนเู มาสส์ าย บณั ฑติ สาขาวิชาการสอนเคมี มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่. 2521. 13. Dey BB, Choudhuri MA. Effect of leaf development stage on changes in essential oil of Ocimum sanctum L. Biochem Physiol Pflanz. 1983;178(5): 331-5. 14. พรทิพย์ ฐิตะพานิชย์. ผลของสารสกัด 70% เอธานอล จาก ใบกะเพรา ต่อการเจริญของเซลล์มะเร็งตับสายพันธุ์ AS-30D

Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine Vol. 10 No. 1 January-April 2012 21 ท่ีได้รับการปลูกถ่ายในช่องท้องหนู Sprague dewley. 17. Rauha, J, Remes S, Heinonen M, Hopia A, Kahaonen M, วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพิษวิทยา Kujala T, et al. Antimicrobial effects of finished plant ทางอาหารและโภชนาการ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล. 2545. extracts containing flavonoids and other phenolic 15. Burstein S, Taylor P, EL-Feraly FS, Tumer C. compounds. Int J Food microbiol 2000;56(1):3-12. Prostaglandins and cannabis V. Identification of 18. Sahin F, Karaman I, Gulluce M, Ogutcu p-vinylphenol as a potent inhibitor of prostaglandin H, Sengul M, Adiguzel A, et al. Evaluation of synthesis. Biochem Pharmacol 1976; 25(17): 2003-4. antimicrobial activities of Satureja hortensis L. 16. เพ็ญโฉม พึ่งวิชา, ยุวดี วงษ์กระจ่าง, อรวรรณ เรืองสมบูรณ ์ J Ethnopharmacol 2003; 87:61-5. และวิสุดา สุวิทยาวัฒน์. ฤทธิ์ลดน้ำตาลในเลือดของน้ำสกัด รากเตยหอม II: หนูเบาหวาน. วารสารเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. 2533;17(2):29-35

22 วารสารการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ปที ี่ 10 ฉบบั ที่ 1 มกราคม-เมษายน 2555 A Abnstitbraacctetr ial Activities of Seven Indigenous Vegetables Jiraporn burakorn*, Rueankeaw Praphruet** *Department of Science Service, Bureau of Community Technology, Bangkok **Institute of Product Quality and Standardization, Maejo University, Chiang Mai Aqueous, methanolic and ethanolic extracts of seven medicinal plant species commonly consumed in Thailand were evaluated for antimicrobial activity against four pathogenic bacteria, i.e. Escherichia coli ATCC25922, Klebsiella pneumoniae ATCC27736, Staphylococcus aureus ATCC6538 and Staphylococcus epidermidis ATCC12228, using the agar well diffusion method with 21 medicinal plant extract samples (30 µg/plate) for each bacterial strain. The results showed that the methanolic extract of Sechium edule caused the largest inhibition zones with E. coli and S. epidermidis of 20.46 mm and 35.23 mm in diameter, respectively; while the aqueous extract of Mentha cordifolia and the methanolic extract of Piper sarmentosum caused the largest inhibition zones with K. pneumoniae and S. aureus at 19.15 mm and 24.77 mm in diameter, respectively. The analysis of the minimum inhibitory concentration (MIC) which inhibited the four pathogenic bacteria using the microdilution assay showed that MICs of the methanolic extract of Sechium edule for E. coli and S. epidermidis were 7.81 mg/ml and 62.50 mg/ml, respectively, while the MIC of the aqueous extract of Mentha cordifolia and the methanolic extract of Piper sarmentosum for K. pneumoniae and S. aureus was 15.62 mg/ml. In addition, the MICs of chloramphenicol for E. coli, K. pneumoniae, S. epidermidis and S. aureus were 15, 7, 31 and 7 µg/ml, respectively. Keywords: Escherichia coli, Klebsiella pneumonia, Staphylococcus aureus, Staphylococcus epidermidis

วารสารการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine ปที ่ี 10 ฉบบั ที่ 1 มกราคม-เมษายน 2555 Vol. 10 No. 1 January-April 2012 นพิ นธ์ต้นฉบบั การศึกษากระบวนการตรวจ วินิจฉัยและรักษาผูป้ ่วย ตามทฤษฎีเส้นประธานสิบและทฤษฎีธาตุของหมอนวดไทย มกร ลมิ้ อุดมพร*, ผกากรอง ขวัญข้าว*, บญุ ทำ กิจนิยม**, ยงศักดิ์ ตันตปิ ิฏก***, พนิ ิต ชินสร้อย****, กาญจนา บัวดอก*, จิราภรณ์ โยวทติ ย์*****, คณุ นษิ ฐ์ หอ้ งตรง*****, ปวัชสรา คัมภรี ะธมั *, สุดารัตน์ สวุ รรณพงศ์** บทคดั ย่อ การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการตรวจ วินิจฉัย และรักษาผู้ป่วยตามทฤษฎี เส้นประธานสิบและทฤษฎี ธาตุของหมอนวดไทย โดยคัดเลือกอาสาสมัครตามกลมุ่ อาการ 12 กลมุ่ จำนวน 200 คน เพศชายและหญงิ อายุ 18-70 ปี ท่ี สมคั รใจเข้าร่วมโครงการ จากผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภยั ภเู บศร โดยผชู้ ่วยแพทยแ์ ผนไทยซกั ประวัติเบือ้ งต้น กอ่ นจะส่งตอ่ ใหแ้ พทย์แผนปัจจบุ ันตรวจ วินิจฉยั แล้วจงึ ส่งตอ่ ให้หมอนวดไทย 6 คน ตรวจ วินิจฉัย รกั ษา และประเมินผล การรักษา จากการศกึ ษา พบว่า มกี ารตรวจเสน้ ประธานสบิ 2 แบบ คอื กดทจี่ ดุ กำเนิดของเสน้ ประธานสิบและกดตำแหน่งที่มี อาการผิดปกติตามแนวเส้นประธานสิบ เพ่ือดูอาการผิดปกติสัมพันธ์กับเส้นประธานสิบเส้นใด ส่วนการวินิจฉัยโรคตาม ทฤษฎีธาตุนน้ั หมอนวดไทยวนิ จิ ฉัยจากอาการเป็นหลกั ว่าสมั พนั ธก์ ับธาตใุ ด สว่ นใหญว่ ินิจฉัยเป็นธาตดุ ินพิการ ร้อยละ 49.5 รองลงมาคือธาตุลมพิการ ร้อยละ 29.5 การรักษาจะใช้การนวดไทยโดยกดจุดตามแนวเส้นประธานสิบที่ผิดปกติ ทว่าหมอ นวดแตล่ ะคนมวี ิธีการนวดแตกตา่ งกัน แล้วยังใช้การประคบร่วมดว้ ยรอ้ ยละ 14.5 และบางคนใหค้ ำแนะนำการปฏิบตั ติ วั รว่ ม ด้วย การวินิจฉัยของหมอนวดไทยส่วนใหญ่จะวินิจฉัยตามอาการแสดงและตำแหน่งท่ีมีอาการ ส่วนแพทย์แผนปัจจุบันจะ วนิ ิจฉัยตามสาเหตขุ องโรคเปน็ หลกั แตใ่ นบางรายก็วนิ จิ ฉยั ตามอาการแสดงเชน่ กัน คำสำคญั เสน้ ประธานสบิ , ทฤษฎีธาต,ุ หมอนวดไทย ภูมหิ ลงั และเหตผุ ล สมัยรัชกาลท่ี 3 พ.ศ.2375 สาม แผนนวดฉบับ องค์ความรู้เก่ียวกับการนวดไทยมีแหล่ง หลวง พระราชทานสมัยรชั กาลท่ี 5 พ.ศ.2449 สี่ ที่มาจาก คัมภีร์และตำราการนวดไทย ได้แก่ แผนนวดพ้ืนบ้าน ส่วนใหญ่คัดลอกสืบต่อกันมา1 หนึ่ง ตำราโรคนิทาน คำฉันท์ 11 ของพระยา อย่างไรก็ตาม คัมภีร์และตำราท่ีมีอยู่ส่วนใหญ่จะ วิชยาธิบดี (กล่อม) เจ้าเมืองจันทบูร สมัยรัชกาล เป็นภาพแผนนวด ซ่ึงแสดงแนวเส้นประธานสิบ ท่ี 2 สอง ศิลาจารึกแผนนวด วัดพระเชตุพนฯ และการรักษาโรคตามเสน้ ประธานสบิ โดยไม่มีคำ อธิบายเกี่ยวกับทฤษฎีธาตุ และการวินิจฉัยโรค *โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภเู บศร ตามทฤษฎีเส้นประธานสิบ นอกจากนี้ความเห็น **มลู นธิ สิ าธารณสขุ กบั การพัฒนา เก่ียวกับแนวของ เส้นประธานสิบและการนวด ***นักวิชาการอิสระ ตามแนวเส้นประธานสิบของหมอนวดไทยแต่ละ ****โรงพยาบาลวงั นำ้ เยน็ *****วิทยาลัยการแพทย์แผนไทยอภัยภูเบศร สถาบันพระบรม ราชชนก 23

24 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก ปีท่ี 10 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม-เมษายน 2555 คนยังมีความแตกต่างกัน องค์ความรู้ในการตรวจ 5. ปวด/ยอก/เสียวชา หลัง เอว เกลียว วินิจฉัยโรคของการนวดไทย รวมท้ังการรักษา ข้างท้อง ด้วยการนวดเส้นประธานสิบจึงมักข้ึนอยู่กับความ 6. ปวด/ขัด/ยอก ข้อสะโพก สลักเพชร รู้ความเข้าใจและการถ่ายทอดจากครูบาอาจารย์ กระเบนเหน็บ หมอดั้งเดมิ ทลี่ ่วงลบั ไป 7. ปวด/ขดั /เคล็ด/เสยี วชา ข้อเขา่ นอกจากนี้ครูหมอนวดไทยท่ีมีความรู้เร่ือง 8. ปวด/เคล็ด/ขัด/เสียวชา ขา ข้อเท้า เส้นประธานสิบที่ยังมีชีวิตอยู่ก็มีเป็นจำนวนน้อย เท้า และมีอายุมากจึงมีความจำเป็นต้องประมวลองค์ 9. อัมพฤกษ์ อัมพาต ความรู้และประสบการณ์เร่ืองเส้นประธานสิบ 10. เอน็ อกั เสบ จากครูหมอนวดท่ีมีอยู่ เพ่ือนำมาจัดระบบและ 11. ปวด/เจบ็ /ขดั บริเวณสน้ เท้า ฝ่าเท้า สังเคราะห์เป็นองค์ความรู้เก่ียวกับการวินิจฉัยโรค 12. น้วิ ไกปืน ตามหลกั ของการนวดไทย รวมท้งั การรักษาดว้ ย งานวิจัยน้ีได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการ การนวดไทยตามทฤษฎีเส้นประธานสิบ เพื่อให้ พิจารณาการศึกษาวิจัยในคนด้านการแพทย์แผน หมอนวดไทยรุ่นใหม่ได้ศึกษาเรียนรู้สืบไป คณะผู้ ไทยและการแพทย์ทางเลือก เม่ือวันที่ 19 วิจัยจึงดำเนินการศึกษากระบวนการตรวจ สิงหาคม พ.ศ. 2553 ระยะเวลาดำเนินการวิจัย วินิจฉัย และการรักษาโรคและอาการตามทฤษฎี ระหว่าง 8 กันยายน พ.ศ.2553 ถึง 14 เสน้ ประธานสิบและทฤษฎธี าตุของหมอนวดไทย. พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ระเบียบวธิ ีวจิ ัย การศกึ ษาครง้ั นเี้ ปน็ การวจิ ยั แบบสงั เกตการณ์ ประชากรท่ศี กึ ษา (Observational study) โดยคณะผวู้ จิ ยั สว่ นหนง่ึ เปน็ การศึกษานี้กลุ่มตัวอย่าง คืออาสาสมัคร ผสู้ งั เกตการซกั ประวตั ิ ตรวจรา่ งกาย วนิ จิ ฉยั และการ ท่ีมารับบริการที่งานการแพทย์แผนไทยและการ รกั ษาของหมอนวดไทย กลมุ่ ประชากรคอื อาสาสมคั ร แพทย์ทางเลือกของโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัย จำนวน 200 คน เพศชายและเพศหญงิ อายุ 18-70 ปี ภูเบศร จำนวน 200 คน ซ่ึงมีอาการอยู่ใน 12 ทสี่ มคั รใจในการเขา้ รว่ มโครงการและมอี าการใดอาการ กลุ่มอาการ2 หนง่ึ ตามกลมุ่ อาการ 12 กลมุ่ 2 คอื วธิ กี าร 1. ปวดศรี ษะ 1. ผู้ช่วยแพทย์แผนไทย3 ซักประวัติเบ้ือง 2. ปวด/เคล็ด บรเิ วณคอ บา่ ตน้ วัดสัญญาณชพี และสอบถามระดับความเจบ็ 3. ปวด/ขัด/เสียวชา/ติดบริเวณหัวไหล่ ปวดของอาสาสมัคร สะบกั 2. ตัวแทนคณะวิจัยส่งอาสาสมัครไปรับ 4. ปวด/เคล็ด แขน ขอ้ ศอก ขอ้ มอื มือ การตรวจวินิจฉัย และวางแผนการรักษากับ แพทย์แผนปจั จุบนั และบนั ทึกผลลงในแบบบันทึก

Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine Vol. 10 No. 1 January-April 2012 25 ของแพทยแ์ ผนปัจจุบนั โดยแพทย์ผูต้ รวจ ป ร ะ ช า ก ร ตั ว อ ย่ า ง โ ด ย ใ ช้ ส ถิ ติ เ ชิ ง พ ร ร ณ น า 3. เม่ืออาสาสมัครตรวจกับแพทย์แผน คำนวณหาค่าร้อยละ, ค่าเฉล่ีย เพ่ือใช้ในการ ปัจจุบันแล้ว จากนั้นตัวแทนคณะวิจัยส่งอาสา อธิบายคุณลักษณะการเจ็บป่วยของอาสาสมัคร สมัครไปรับการตรวจ วินิจฉัย และรักษา ตาม สถติ ิไฆสแคว์ เพ่ือเปรียบเทียบ ความเจ็บปวดของ ทฤษฎีเส้นประธานสิบและทฤษฎีธาตุ โดยจะมี อาสาสมคั รก่อนและหลงั การรกั ษา การบันทึกผลลงในแบบบันทึกของหมอนวดไทย ผลการศึกษา ซึ่งในกระบวนการจะมีผู้ช่วยแพทย์แผนไทย ส่วนที่ 1 ข้อมูลเบอ้ื งต้น สังเกตและมีส่วนร่วมในการรักษาภายใต้คำ 1.1 ขอ้ มูลทว่ั ไป แนะนำของหมอนวดไทยดว้ ย อาสาสมัคร จำนวน 200 คน มีอาการ 4. ตัวแทนคณะวิจัยสอบถามระดับความ สำคัญอยู่ใน 12 กลุ่มอาการ ดังนี้ ปวดศีรษะ 6 เจ็บปวด และระดับความพงึ พอใจของอาสาสมัคร คน ปวด/เคลด็ บริเวณคอ บา่ 41 คน ปวด/ หลังได้รับการรักษาของอาสาสมัครและบันทึกผล ขัด/เสียวชา/ติดบริเวณหัวไหล่ สะบัก 25 คน การเกบ็ ข้อมูล ปวด/เคล็ด แขน ข้อศอก ข้อมือ มือ 15 คน 5. การเก็บข้อมูลจะมีการเก็บข้อมูลใน ปวด/ขัด/เสียวชา หลัง เอว เกลียวข้างท้อง 47 แบบบันทกึ ของหมอนวดไทย แบบบนั ทึกจากการ คน ปวด/ขัด/ยอก ข้อสะโพก สลักเพชร สังเกตของผู้ช่วยแพทย์แผนไทย และแบบบันทึก กระเบนเหน็บ 9 คน ปวด/ขดั /เคล็ด/เสยี วชา ขอ้ ของแพทยแ์ ผนปัจจุบนั เข่า 23 คน ปวด/เคล็ด/ขัด/เสียวชา ขา ข้อเท้า เท้า 10 คน อัมพฤกษ์ อัมพาต 11 คน เอ็น การวิเคราะหข์ อ้ มูล อักเสบ 1 คน ปวด/เจ็บ/ขัด บริเวณ ส้นเท้า การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของกลุ่ม ฝ่าเท้า 9 คน และนิว้ ไกปนื 3 คน ตารางท่ี 1 อาการปว่ ยของอาสาสมคั รทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการแยกตามกลุ่มอาการ 12 กลุ่ม อาการป่วยที่มาพบแพทย์ อเาปส(้าคาหสนมม)า ัคยร อาสาสมคั รท่เี ข้ารว่ ม เพศชาย เพศหญงิ รวม (คน) 1. ปวดศีรษะ (คน) (คน) 2. ปวด/เคล็ด บริเวณ คอ บ่า ส3.ะบปกัวด /ขดั /เสียว/ชา/ตดิ บริเวณหัวไหล่ 10 2 4 6 4. ปวด/เคลด็ แขน ขอ้ ศอก ขอ้ มอื มอื 40 9 32 41 20 5 20 25 10 4 11 15

26 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก ปที ี่ 10 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม-เมษายน 2555 อาการปว่ ยที่มาพบแพทย ์ อเาปส(้าคาหสนมม)า คั ยร อาสาสมัครที่เข้าร่วม เพศชาย เพศหญงิ รวม (คน) (คน) (คน) 5. ปวด/ยอก/เสียวชา หลงั เอว เกลียวขา้ ง 40 14 33 47 ทอ้ ง 6. ปวด/ขดั /ยอก ข้อสะโพก สลกั เพชร 10 4 5 9 7. ปวด/ขดั /เคลด็ /เสียวชา ขอ้ เข่า 20 5 18 23 8. ปวด/เคล็ด/ขัด/เสียวชา ขา ขอ้ เท้า เท้า 10 3 7 10 9. อัมพฤกษ์ อมั พาต 10 10 10 11 10. เอ็นอักเสบ 10 1 0 1 11. ปวด/เจบ็ /ขดั บริเวณส้นเทา้ ฝา่ เท้า 10 0 9 9 12. นิ้วไกปืน 10 1 2 3 รวม 200 49 151 200 * ในอาสาสมคั ร 1 รายอาจมอี าการของโรคมากกวา่ 1 ประการ ในอาสาสมัครท้ังหมดเป็นเพศหญิงร้อยละ ประการตามทฤษฎีการแพทย์แผนไทย พบว่า 76.5 ท่เี หลือเปน็ เพศชาย จากการจำแนกตามวัย สาเหตุความเจ็บป่วยของอาสาสมัครเกิดจาก พบว่า ช่วงปัจฉิมวัย (32-70 ปี) ร้อยละ 89.0 อริ ยิ าบถ ร้อยละ 85.5 และทำงานเกนิ กำลงั รอ้ ย ส่วนใหญ่ร้อยละ 67.5 ประกอบอาชีพใช้แรงมาก ละ 68.0 (เชน่ เกษตรกรรม รับจา้ ง) จากมูลเหตุของโรค 8

Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine Vol. 10 No. 1 January-April 2012 27 ตารางท่ี 2 ข้อมลู ทั่วไปของอาสาสมัคร จำนวน รอ้ ยละ ขอ้ มูลสว่ นบุคคลของอาสาสมคั ร เพศ 47 เพศชาย 23.5 เพศหญิง 153 76.5 อายุ (กลมุ่ ตัวอยา่ ง 18-70ป)ี ปฐมวัย (แรกเกดิ -16 ปี) 0 มัชฌิมวัย (มากกว่า 16-32 ปี) 0 ปจั ฉมิ วัย (มากกวา่ 32-70 ป)ี 22 11.0 อาชีพ ใชแ้ รงงานมาก 178 89.0 ใช้แรงงานปานกลาง 135 67.5 ใช้แรงงานนอ้ ย 56 28.0 มูลเหตขุ องโรค 8 ประการ 9 4.5 อาหาร อิรยิ าบถ 12.5 กระทบร้อนกระทบเยน็ 25 85.5 อดนอน อดขา้ ว อดน้ำ 171 2.0 กล้นั อจุ จาระ ปัสสาวะ 4 42.5 ทำงานเกินกำลัง 85 32.0 เศรา้ โศกเสยี ใจ 64 68.0 โทสะ 136 5.5 อนื่ ๆ (อบุ ตั ิเหต)ุ 11 37.5 75 5.5 11 ส่วนที่ 2 กระบวนการตรวจและวินิจฉัยตาม การเดนิ การพูด การหายใจ กอ่ นทีจ่ ะลงมอื ตรวจ ทฤษฎีเส้นประธานสิบและทฤษฎีธาตุของหมอ วินจิ ฉยั และให้การรักษาผปู้ ่วย โดยจะซกั ประวตั ิ นวดไทย ของผูป้ ่วยในประเดน็ ตอ่ ไปน ้ี 2.1 การซักประวตั แิ ละตรวจรา่ งกาย 1. อาการสำคัญ หรืออาการหลักของผู้ 2.1.1 การซักประวตั ิ ป่วยที่ทำให้รู้สึกรำคาญหรือทรมานจนทำให้ผู้ หมอนวดไทยมีการสังเกตอาสาสมัคร ป่วยมาพบหมอโดยจะถามถึงตำแหน่งท่ีมีอาการ ต้ังแต่เข้ารับการรักษา ได้แก่ การสังเกตท่าทาง สำคัญนัน้ ๆ

28 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ปที ่ี 10 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม-เมษายน 2555 2. ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน ซึ่ง หายใจ หรือบุคลิกของอาสาสมัคร ซ่ึงสามารถ เกยี่ วขอ้ งกบั อาการสำคญั โดยหมอนวดจะถามถึง สะท้อนให้เห็นความผดิ ปกติในรา่ งกายบางสว่ นได ้ ลักษณะของการเจ็บป่วยว่า เป็นทันทีหรือค่อย - ตรวจดูการเคลื่อนไหวของข้อต่อต่างๆ เป็นค่อยไป ความรุนแรงของอาการ ระยะเวลาที่ ทั้งสว่ นทมี่ ีปัญหา และส่วนที่ปกต ิ เป็น สาเหตุที่ทำให้เกิดอาการ (อุบัติเหตุ ยกของ - ตรวจด้วยการคลำตำแหน่ง หรือ ผิดท่า ยกของหนักเกินไป) อิริยาบถท่ีทำให้ บริเวณที่มีอาการผิดปกติ เปรียบเทียบกับบริเวณ อาการเพิ่มมากข้ึนหรือลดลง รวมทั้งเคยมีการ ท่ีปกต ิ อักเสบ (ปวด บวม แดง ร้อน) บริเวณน้ันหรือ - ตรวจดูโครงสร้างของร่างกายเพื่อ บรเิ วณอื่นหรือไม่ ตรวจสอบลักษณะและคน้ หาสาเหตขุ องอาการ 3. ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต เช่น เคย - หมอบางคนจับชีพจรที่ข้อมือของผู้ ได้รับอุบัติเหตุ ได้รับการผ่าตัด ป่วยเป็นโรคอะไร ป่วยร่วมด้วย โดยท่ีบางคนตรวจเฉพาะความแรง บา้ ง ฯลฯ ทงั้ น้ีเนอื่ งจากการเจบ็ ป่วยในอดตี อาจมี ของชีพจร บางคนตรวจท้ังจังหวะและความแรง ส่วนเกี่ยวขอ้ งกับการเจบ็ ป่วยในปจั จบุ นั นอกจากน้บี างคนตรวจชพี จรโดยใช้นิ้วชี้ นวิ้ กลาง 4. ประวัติส่วนตัวและประวัติครอบครัว และนิ้วนางแตะบริเวณข้อมือ เพ่ือรู้สึกถึงการเต้น เชน่ หอบหดื โรคปอด โรคหวั ใจ (ความดนั โลหติ ของชีพจรเช่ือมโยงกับวาตะ ปิตตะ เสมหะ สูง-ตำ่ ) โรคเบาหวาน โรคคอพอกเป็นพษิ การสูบ (ตรีโทษะ) ด้วย บุหร่ี การเสพสรุ า การออกกำลังกาย ปัญหาส่วน - หมอบางคนดูลิ้นประกอบด้วย โดยดูถึง ตัว ครอบครัว หรือการงานเป็นสาเหตุให้เกิด ลักษณะของล้ิน เช่น ดูความซีด/ไม่ซีด บวม/ไม่ ความเครียดอยู่เสมอ ซึ่งจะนำไปสู่การป่วยเป็น บวม รวมทั้งดูว่ามีคราบและสีของคราบบนล้ิน โรคตา่ งๆ ได้อกี ทเี่ รยี กว่า โรคทางกายอนั เนอ่ื งมา เช่น ผู้ป่วยท่ีมีคราบสีขาวบนลิ้น หมอจะวินิจฉัย จากจิตใจท่ีเครียด ว้าวุ่น เจ้าอารมณ์ เช่น โรค ว่าอาจมีปัญหาเกี่ยวกับเรื่องการทำงานของไต แผลในกระเพาะอาหาร อาการหอบหืด นอนไม่ เป็นต้น หลบั กนิ ไม่ได้ ลำไสใ้ หญ่อักเสบ หลอดเลอื ดแดง ทั้งน้ีการตรวจร่างกายของหมอจะสัมพันธ์ ของหัวใจตีบตัน โรคผิวหนังบางชนิด ความดัน กับการตรวจความเคลื่อนไหวของข้อ (ตามท่ีผู้ โลหิตสูง ฯลฯ ช่วยแพทย์แผนไทยบันทึกไว้) ซึ่งเป็นการหา 2.1.2 การตรวจรา่ งกายทัว่ ไป ตำแหน่งท่ีมีปัญหาหรือมีอาการ เพ่ือวินิจฉัยและ หลังจากซักประวัติผู้ป่วยแล้ว หมอจะ ทำการรักษา เช่น ควรจะเร่ิมรักษาจากตำแหน่ง ทำการตรวจร่างกายท่ัวไปตามขั้นตอนและวิธีต่อ ใด รวมทั้งการลงน้ำหนักมากหรือน้อยใน ไปนี ้ ตำแหน่งท่ีมีอาการ มีข้อสังเกตว่าหมอบางท่าน - สงั เกตทา่ ทาง เชน่ ทา่ เดนิ ทา่ นั่ง การ ทำการตรวจร่างกายน้อย แต่จะใช้วิธีนวดรักษา

Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine Vol. 10 No. 1 January-April 2012 29 และประเมินอาการไปพร้อมๆ กนั ด่งิ ก่อน จากน้นั จะกดนงิ่ โดยลงนำ้ หนักที่ปลายนิว้ 2.2 การตรวจและวินิจฉัยตามทฤษฎีเส้น ระหว่างท่ีกดน่ิง จะส่งแรงไปในทิศทางเดียวกับ ประธานสิบ จุดท่ีมีความผิดปกติในแนวเส้นประธานนั้น จาก การตรวจและวินิจฉัยโรค/อาการตาม นั้นจึงค่อยๆ ผ่อนแรงกดก่อนจะถอนนิ้วออก ทฤษฎีเส้นประธานสิบของหมอนวดไทย มี 2 วิธี ระหว่างที่กดลงตามแนวด่ิงรวมทั้งขณะท่ีส่งแรง คอื ไปจากตำแหน่งท่ีกด หมอจะถามผู้ป่วยว่ามีความ 2.2.1 ตรวจท่ีจุดกำเนิดของเส้น รู้สึกแล่นไปไหนหรือไม่ และรู้สึกตึงหรือไม่ เช่น ประธาน ในแนวเสน้ อทิ าและปงิ คลา หมอนวดจะสง่ แรงลง หลังจากตรวจอาการของผู้ป่วยแล้ว ด้านล่าง (ไปทางปลายเท้า) ส่วนเส้นกาลทารีจะ หมอนวดมักเทียบกับแนวทางเดินของเส้น ส่งแรงท้ังลงข้างล่างและข้ึนข้างบน (ตามแนวเส้น ประธานสิบว่า ตำแหน่งท่ีมีอาการมีเส้นประธาน ประธานนั้น) และถามผู้ป่วยวา่ มคี วามรู้สกึ วา่ แลน่ ใดพาดผ่านบ้าง จากน้ันจะทำการกดท่ีจุดกำเนิด ไปไหน หรอื มีความรู้สกึ อยา่ งไร ของเส้นประธานท่ีคาดว่าจะติดขัดหรือมีปัญหา 2.2.2 ตรวจตามแนวเส้นประธาน (หมอนวดบางคนจะนวดโกยท้องก่อนกดเส้น สิบทมี่ ีอาการ ประธานสิบ) และดูว่าผู้ป่วยมีความรู้สึกอย่างไร การตรวจและวินิจฉัยโรคตามทฤษฎีเส้น และสอบถามผู้ป่วยว่ามีความรู้สึกแล่นหรือไม่ ประธานสิบอีกวิธีหนึ่งคือ การกดบริเวณท่ีอยู่ใน แล่น (“ความรู้สึกแล่น” หมายถึง มีความรู้สึกว่า แนวเส้นประธานซ่งึ มีท้งั การกดตรงตำแหนง่ ทใ่ี กล้ มีความร้อนแล่นจากจุดที่กดไปตามเส้นประธาน หรือห่างจากจุด/บริเวณที่มีอาการ (ไม่กดจุดที่มี น้นั สว่ น “ความรสู้ ึกไม่แล่น” หมายถงึ ไมร่ ้สู กึ ว่า อาการ) เพื่อดูว่าเป็นเส้นประธานสิบเส้นอะไร มีความรอ้ นแลน่ ไป หรือมีความรู้สึกตอ้ื หรือหนว่ ง และถามผู้ป่วยว่ามีความรู้สึกแล่น/ไม่แล่นอย่างไร บริเวณทกี่ ด) (แต่ถ้าหากกดตรงตำแหน่งท่ีมีอาการ จะดูว่าเกิด หากผู้ป่วยมีความรู้สึกแล่น รวมท้ังถ้ากด จากลมหรือเส้น) ในช่วงแรกแล้วไม่รู้สึกตรงตำแหน่งที่กด แต่มา การกดจุดใกล้กับตำแหน่งที่มีอาการ เช่น รู้สึกในจุดที่ห่างออกไปบนแนวเส้นประธานน้ัน ผู้ป่วยคนหน่ึงมีอาการปวดท่ีบ่าและต้นคอ หมอ แสดงว่าเส้นประธานน้ันปกติ แต่ถ้าไม่แล่นหรือ ตรวจโดยกดจุดตามแนวสะบัก แต่ห่างจากสะบัก ไม่รู้สึกอะไรเลย แสดงว่ามีการติดขัดของแนวเส้น 2 นว้ิ กดโดยหนั น้ิวหัวแม่มือชขี้ นึ้ และถามผู้ป่วย ประธานนั้น ว่ามีความรู้สึกแล่นข้ึนถึงคอหรือไม่ (แล่นไปจุดท่ี การกดท่ีจุดกำเนิดของเส้นประธาน หมอ มีปัญหาหรือไม่) เป็นต้น โดยหมอนวดอธิบายว่า นวดจะใช้แรงกดเท่ากันตลอด ซ่ึงจะดูระยะทาง ในกรณีที่มีการติดขัดของลม ผู้ป่วยอาจมีความ และความแรงด้วยโดยที่เวลากดจะกดลงตามแนว รู้สึกแล่นหรือไม่แล่นก็ได้ แต่หากกดตรงตำแหน่ง

30 วารสารการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ปีที่ 10 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม-เมษายน 2555 ที่เจ็บแล้ว ผู้ป่วยมีความรู้สึกว่ามีการแล่นของลม ไม่ ปรากฏว่าผู้ป่วยรู้สึกดีข้ึน ตำแหน่งที่กดน้ี แสดงว่าลมไม่ผิดปกติ แต่มีการติดขัดตามแนว หมอนวดไทยบอกว่าเป็น “จดุ ปศั ฆาต” (จุดซง่ึ อยู่ เส้นประธาน ในแนวเดียวกับสะบัก แต่อยู่บริเวณใต้สะบัก) การกดจุดไกลจากตำแหน่งที่มีอาการ ใน ทั้งน้ ี หมอนวดอธิบายว่า ถ้ากดแล้วผู้ป่วยรู้สึก กรณีท่ีกดจุดใกล้กับตำแหน่งท่ีมีอาการ (แต่อยู่ใน เจ็บหรือแล่นบ้างแสดงว่ามีความผิดปกติเล็กน้อย แนวเสน้ เดยี วกนั ) แลว้ ผู้ป่วยไมร่ ู้สกึ ว่ามกี ารแลน่ แต่ถ้ากดแล้วมีความรู้สึกตื้อหรือปวดมาก แสดง หมอนวดจะกดตรงจุดที่ไกลออกมา โดยไล่จาก ว่ามคี วามผดิ ปกติ ส่วนปลายเข้ามา คือจากจุดซ่ึงอยู่ในแนวเส้นที่ พาดผ่านจุดผิดปกติซึ่งอยู่ห่างออกไปหรือตรง หมายเหตุ อวัยวะท่ีแตกต่างกันกับจุดที่มีอาการ เช่น กดจุด ในการตรวจด้วยทฤษฎีเส้นประธานสิบ ที่สะบักแล้วไม่แล่น หมอจะกดจุดที่ศีรษะว่าแล่น ของหมอนวดไทย พบว่ามีบางอาการที่เม่ือตรวจ (ในแนวเส้นอิทา) หรือไม่ เปน็ ต้น โดยการกดตามแนวเสน้ ประธานสบิ แล้ว ไมพ่ บว่า อีกตัวอย่างหน่งึ คือ ผปู้ ่วยมอี าการปวดบ่า มีความผิดปกติของเส้นประธานสิบ แต่มีความผิด หมอนวดกดไล่ลงมาที่หลัง หากพบว่ากล้ามเนื้อมี ปกติในแนวเส้นอื่น เช่น เส้นรัตฆาต เส้น ลักษณะเป็นไตหรือเป็นก้อน หมอจะกดตรง สันทฆาต เส้นปัศฆาต เปน็ ตน้ เส้นเหล่าน้ีถอื เป็น ตำแหน่งนั้น แล้วถามผู้ป่วยว่ารู้สึกดีข้ึนหรือไม่ เส้นอื่นๆ ซึ่งมีความสัมพันธ์กับ เส้นประธานสิบ หากผู้ป่วยยังไม่รู้สึกดีข้ึน ก็จะกดจนผู้ป่วยรู้สึกดี คือมีจุดท่ีเกี่ยวเนื่องกับเส้นประธานสิบ โดยอยู่ใน ขึ้น จากนั้นหมอถามว่าอาการที่บ่าดีขึ้นด้วยหรือ แนวขวางทพ่ี าดผ่านเส้นประธานสิบ ตารางที่ 3 เสน้ ประธานสิบทต่ี ิดขดั จากการวนิ ิจฉัยของหมอนวดไทย เสน้ ทร่ี ะบวุ ่ามีการติดขดั จำนวน ร้อยละ อทิ า-ปิงคลา 40 20.0 กาลทาร ี 38 19 อิทา-ปิงคลา-กาลทารี 31 15.5 อทิ า-กาลทารี 11 5.5 อทิ า 10 5.0 อิทา-ปงิ คลา-สมุ นา 8 4.0 อทิ า-ปงิ คลา-สมุ นา-กาลทาร ี 7 3.5

Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine Vol. 10 No. 1 January-April 2012 31 เส้นทร่ี ะบุวา่ มกี ารติดขดั จำนวน จำนวน ปงิ คลา-กาลทาร ี 7 3.5 อทิ า-ปิงคลา-กาลทารี-สหัสรงั ส-ี ทวารี 7 3.5 กาลทารี-สหัสรงั ส-ี ทวาร ี 4 2.0 อิทา-กาลทาร-ี สหสั รังสี 4 2.0 กาลทารี-สิกขณิ ี 4 2.0 ปงิ คลา 3 1.5 เส้นประธานทงั้ 10 เสน้ 3 1.5 กาลทาร-ี สหัสรังส ี 2 1.5 ปิงคลา-กาลทารี-ทวารี 2 1.0 อิทา-สหัสรงั สี 2 1.0 อิทา-ปงิ คลา-สุมนา-กาลทารี-สหสั รังส-ี ทวาร ี 2 1.0 อทิ า-ทวาร ี 1 0.5 จนั ทภูสัง-รชุ ำ 1 0.5 อิทา-ปิงคลา-สหสั รังสี-ทวาร ี 1 0.5 อิทา-กาลทาร-ี สหัสรังสี 1 0.5 อทิ า-ปิงคลา-กาลทาร-ี สุขมุ งั 1 0.5 ปงิ -สหัสรงั สี-ทวารี 1 0.5 อทิ า-ปิงคลา-กาล-สิกขิณี 1 0.5 อิทา-ปงิ คลา-กาลทารี-สกิ ขิณี-สขุ ุมงั 1 0.5 อทิ า-ปงิ คลา-สกิ ขณิ ี 1 0.5 ปิงคลา-สุมนา 1 0.5 จากตาราง พบว่า เส้นประธานสิบที่มีการ วินิจฉัยโรคและอาการโดยใช้ทฤษฎีธาตุสี่เป็นส่วน ติดขัดมากท่ีสุด คือ เส้นอิทา และเส้นปิงคลา น้อย แต่จะใช้การวินิจฉัยด้วยการนวดไทยและ รอ้ ยละ 20 รองลงมาคือ เส้นกาลทารี รอ้ ยละ 19 การวนิ ิจฉัยตามทฤษฎเี ส้นประธานสิบเปน็ หลัก 2.3 การวินจิ ฉยั ตามทฤษฎธี าตุส่ี อย่างไรก็ตาม จากการศึกษาการวินิจฉัย กล่าวในทางปฏบิ ตั ิ หมอนวดไทยใช้วธิ ีการ อาการของผปู้ ่วยด้วยทฤษฎีธาตขุ องหมอนวดไทย

32 วารสารการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก ปที ี่ 10 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม-เมษายน 2555 โดยให้ผู้ช่วยแพทย์แผนไทยสัมภาษณ์และบันทึก ในการประเมนิ สภาวะโดยรวมของผปู้ ว่ ย และใหค้ ำ ข้อมูลการวินิจฉัยอาการด้วยทฤษฎีธาตุของหมอ แนะนำเพอื่ ปอ้ งกนั ไมใ่ หเ้ กดิ อาการซำ้ ทง้ั นหี้ มอนวด นวดไทย พบว่า หมอนวดไทยใช้ หลักสมุฏฐาน แตล่ ะคนจะใชห้ ลกั การเหลา่ นแ้ี ตกตา่ งกนั ตามความ วนิ จิ ฉยั ธาตเุ จา้ เรอื น และความสมั พนั ธข์ องตรโี ทษะ รคู้ วามชำนาญของตน ตารางท่ี 4 การจำแนกตรโี ทษะตามเจ้าเรอื นของอาสา สมคั ร ลกั ษณะ เสมหะ ปิตตะ วาตะ จำนวนทั้งหมด จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ เจ้าเรือน 49 19.6 122 48.8 79 31.6 250 การศึกษา พบว่าอาสาสมัครมีเจ้าเรือนแตกต่างกัน โดยบางคนที่มีลักษณะเจ้าเรือนมากกว่า 1 ตรโี ทษะ จงึ ทำใหม้ ีเจ้าเรือนปติ ตะมากที่สุด จำนวน 122 รอ้ ยละ 48.8 เจา้ เรือนวาตะ จำนวน 79 ร้อย ละ 31.6 เจ้าเรอื นเสมหะ จำนวน 49 ร้อยละ 19.6 ตารางท่ี 5 การจำแนกตรีโทษะตามฤดูกาล ลักษณะ เสมหะ ปิตตะ วาตะ จำนวนทง้ั หมด 185 ฤดูกาล จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ 29 15.68 1 0.54 155 83.78 การศึกษา พบว่าอาสาสมัครมีอาการในฤดูท่ีเป็นวาตะมากท่ีสุดร้อยละ 83.78 เสมหะร้อยละ 15.68 ปติ ตะร้อยละ 0.54 โดยอาสาสมัครบางคนจะมีอาการในหลายช่วงฤด ู ตารางที่ 6 การจำแนกตรีโทษะตามอายุของอาสาสมคั ร ลักษณะ เสมหะ ปติ ตะ วาตะ จำนวนทั้งหมด 200 อาย ุ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ 0 0 23 11.5 177 88.5 การศึกษา พบว่า อาสาสมัครมีอายุอยู่ในลักษณะวาตะมากที่สุด ร้อยละ 88.5 ปิตตะ ร้อยละ 11.5

Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine Vol. 10 No. 1 January-April 2012 33 ตารางท่ี 7 การจำแนกตรีโทษะตามช่วงเวลาของการเจบ็ ป่วย ลกั ษณะ เสมหะ ปิตตะ วาตะ จำนวนทัง้ หมด 276 เวลา จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ 93 33.70 74 26.81 109 39.49 การศกึ ษา พบวา่ เวลาที่อาสาสมคั รมอี าการอยู่ในลักษณะวาตะ รอ้ ยละ 39.49 เสมหะ ร้อยละ 33.70 ปิตตะ รอ้ ยละ 74 ตารางที่ 8 การจำแนกตรโี ทษะตามรสชาติของอาหารทอี่ าสาสมัครชอบรบั ประทาน ลักษณะ เสมหะ ปิตตะ วาตะ จำนวนทง้ั หมด 237 อาหาร จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ 78 32.91 115 48.52 44 18.57 การศกึ ษา พบวา่ อาสาสมัครมีลักษณะการรบั ประทานอาหารปิตตะรอ้ ยละ 48.52 เสมหะรอ้ ย ละ 32.91 วาตะรอ้ ยละ 18.57 ตารางท่ี 9 การจำแนกตรีโทษะตามพฤตกิ รรมของอาสาสมคั ร ลักษณะ เสมหะ ปิตตะ วาตะ จำนวนทัง้ หมด 239 พฤติกรรม จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ 44 18.41 47 19.67 148 61.92 การศึกษาพบว่า อาสาสมัครมีลักษณะพฤติกรรมเป็น วาตะ ร้อยละ 61.92 ปิตตะ ร้อยละ 19.67 เสมหะ ร้อยละ 18.41 ในส่วนของการวินิจฉัยอาการตามทฤษฎีธาตุของหมอนวดไทย 6 คน พบว่าส่วนใหญ่หมอนวด จะระบอุ าการของผปู้ ่วยว่าสมั พนั ธก์ บั ธาตทุ ี่ผิดปกติ คอื ธาตุดนิ (ปถวี) ธาตุลม (วาโย)และธาตุนำ้ (อา โป) กลา่ วคือ ในกรณที ผ่ี ูป้ ว่ ยมอี าการปวด หมอนวดจะวนิ ิจฉัยว่าสัมพันธก์ ับธาตุลม (วาโย) กำเริบ ถา้ มี อาการตึงหรือแข็งเกร็ง แสดงว่าธาตุดิน (ปถวี) กำเริบ และหากอาการนั้นมีส่วนเกี่ยวข้องกับเลือดไป

34 วารสารการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ปที ี่ 10 ฉบบั ที่ 1 มกราคม-เมษายน 2555 เล้ียงบริเวณนั้นไม่พอ แสดงว่ามีความผิดปกติ ปวดเข่าและขา หมอวินิจฉัยว่ากล้ามเน้ือ (ดิน) เก่ยี วกบั ธาตนุ ้ำ (อาโป) ตัวอยา่ งเชน่ ดนิ คือกล้าม แข็งเกร็ง ร่วมกับมีอาการปวด คือ ลม (อัง เนอื้ (มังสัง) แข็งเกรง็ ทำให้ลมและเลือดเดิน มิ คมังคานุสารวี าตา) กำเรบิ เปน็ ตน้ สะดวก จึงเกิดอาการปวดขึ้น ผู้ป่วยท่ีมีอาการ ตารางท่ี 10 จำนวนอาสาสมัครทม่ี ีความผิดปกติของธาตสุ ่ตี ามการวนิ จิ ฉยั ของหมอนวดไทย ลักษณะ จำนวน ร้อยละ ธาตุ 4 ท่ผี ดิ ปกติ ธาตดุ นิ 99 ธาตนุ ำ้ 32 49.5 ธาตลุ ม 59 16.0 ธาตไุ ฟ 8 29.5 มากกวา่ 1 ธาต ุ 2 4.0 1.0 รวม 200 100 การศึกษา พบว่า ธาตุที่มีความผิดปกติ โดยนวดไม่เกิน 3 รอบ ซ่ึงจะทำการประเมิน มากที่สุดคือ ธาตุดิน ร้อยละ 49.5 รองลงมาคือ อาการหลังจากนวดเสรจ็ แตล่ ะรอบ ธาตลุ ม รอ้ ยละ 29.5 ธาตนุ ้ำ รอ้ ยละ 16.0 ธาตุ 2. การรักษาตามอาการ ด้วยการกดจุด ไฟ ร้อยละ 4.0 ตามลำดับ หรือกดจุดตามแนวเส้นที่ผิดปกติ โดยเน้นที่จุด สันทคาต จุดปัศฆาตและจุดรัตฆาต ซ่ึงจะมีการ ส่วนที่ 3 การรักษา ประเมนิ อาการหลงั จากนวดแตล่ ะคร้งั จากการสังเกตการรักษาของหมอนวดไทย 3. การรักษาโดยใช้วิธีอื่นๆ ร่วมด้วย 6 คน พบว่ามีวิธีการรักษาเฉพาะตนแตกต่างกัน ได้แก่ การประคบ การอบสมุนไพร หรือนวด ไป สรปุ ไดด้ งั น้ี น้ำมัน ก่อนท่ีจะทำการนวด เพ่ือคลายกล้าม 1. การรักษาโดยเน้นการเปิดประตูลม ท่ี เนื้อท่ีมีความตึงเกร็งมาก นอกจากน้ี หมอนวด ขา แขน หัวไหล่ เพื่อช่วยให้เลือดลมเดินสะดวก บางท่านมีการสั่งยาสมนุ ไพรให้ผปู้ ่วยด้วย (การไหลเวียนดีข้ึน) แล้วจึงรักษาตามอาการของ 4. การรักษาโดยเน้นการนวดตามหลัก ผู้ป่วย ด้วยการกดจุดหรือกดจุดตามแนวเส้น การนวดเพ่ือส่งเสริมสุขภาพ (เฉพาะส่วน) ซ่ึง ประธานสิบทว่ี ินิจฉัยว่าเกดิ ความผดิ ปกติ (ตดิ ขดั ) หมอนวดบางท่านเช่ือม่ันว่าเป็นการนวดตามแนว

Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine Vol. 10 No. 1 January-April 2012 35 เส้นประธานสิบ และเสริมด้วยการนวดบำบัด ปว่ ยไมด่ ีขน้ึ ก็จะรักษาซำ้ นอกจากนี้ ในการรักษา อาการที่เจ็บป่วย โดยจะมี การประเมินอาการ ด้วยการกดจุดหรือกดจุดตามเส้นที่ผิดปกติ หลงั การรกั ษาทกุ ครั้ง สำหรับผู้ป่วยท่ีเป็นผู้หญิง หมอนวดจะให้ความ 5. การรักษาด้วยวิธีการดัด ดึง เม่ือดัด ใส่ใจเป็นพิเศษ โดยการสอบถามอย่างละเอียด ดึงแล้วจึงให้ผู้ช่วยแพทย์แผนไทยนวดตามแนว เกี่ยวกับเร่ืองของเพศหญิง เพื่อท่ีจะสามารถ เส้น โดยหมอจะเป็นผู้บอกแนว และมีการ ใหก้ ารรกั ษาไดต้ รงจุดมากข้ึน ประเมินหลังการรักษาทุกคร้ัง หากอาการของผู้ ตารางที่ 11 การรกั ษาโรค/อาการตามวิธีของหมอนวดไทย จำนวน ร้อยละ การรักษา ยาทใ่ี ชใ้ นการรกั ษาชนิดยาภายนอก 2 1.0 ใช ้ 1 0.5 ครีมไพล ข้ผี ึ้ง ลกู ประคบ 197 98.5 ไมใ่ ช ้ การประคบ ประคบ 29 14.5 ไม่ประคบ 171 85.5 การอบ อบ 4 ไมอ่ บ 196 3.5 96.5 การใช้ยาสมนุ ไพรชนิดรบั ประทาน ใช ้ 7 ไมใ่ ช ้ 193 3.5 96.5 การศึกษา พบว่า ใช้การนวดไทยในการรักษาเพียงวิธีเดียวร้อยละ 98.5 และใช้ยาภายนอกใน การรกั ษาร่วมดว้ ย ร้อยละ 1.5 ใชก้ ารประคบรว่ มดว้ ย ร้อยละ 14.5 ใช้การอบร่วมด้วย ร้อยละ 2.0 ใช้ การรบั ประทานยาสมุนไพรรว่ มดว้ ย รอ้ ยละ 3.5

36 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2555 ตารางที่ 12 ความพงึ พอใจของผ้ปู ่วยท่ีรบั การรักษาจากหมอนวดไทย ผลการรกั ษา จำนวน รอ้ ยละ ระดับความพึงพอใจ ปานกลาง 13 6.5 มาก มากทีส่ ุด 117 58.5 70 35.0 รวม 200 100 ผลการรกั ษาพบวา่ ความพึงพอใจของอาสาสมัครส่วนใหญอ่ ยู่ในระดบั มาก รอ้ ยละ 58.5 รองลง มาอยู่ในระดบั มากทส่ี ุด ร้อยละ 35.0 ในส่วนของระดบั ความเจ็บปวดหลังเข้ารบั การรักษาลดลงอยา่ งมี นัยสำคัญทางสถติ ิ (p < 0.05) โดยอาสาสมัครทั้ง 200 คน มรี ะดบั ความเจบ็ ปวดก่อน และหลงั เข้ารบั การรกั ษาเป็น 5.05 และ 1.515 ตามลำดบั แผนภาพท่ี 1 การเปรยี บเทียบระดบั ระดบั ความเจบ็ ปวด (pain scale) กอ่ นและหลังการนวด

Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine Vol. 10 No. 1 January-April 2012 37 การศึกษา พบว่า ระดับความเจบ็ ปวดหลงั เขา้ รับการรักษาลดลง โดยอาการปวดลดลงมากกวา่ รอ้ ยละ 80 จำนวน 70 คน รองลงมาอาการปวดลดลง รอ้ ยละ 60-80 จำนวน 67 คน ตารางท่ี 13 การเปรยี บเทยี บระดบั ระดับความเจบ็ ปวด (pain scale) ก่อนและหลังการนวด ระยะการนวด ระดบั ความ จำนวนอาสา คา่ เบ่ียงเบน Correlation P เจบ็ ปวด(เฉลยี่ ) สมคั ร มาตรฐาน 0.427 <0.05 ก่อนการรกั ษา 5.050 200 1.561 หลงั การรักษา 1.515 200 1.279 การศึกษา พบว่า อาสาสมัครทัง้ 200 คน ลักษณะ กล่าวคือ วินิจฉัยโดยระบุอาการแสดง มีระดับความเจ็บปวดก่อน และหลังเข้ารับการ รว่ มกับตำแหน่งทีม่ ีอาการ เช่น ปวดบ่า ปวดหลัง รกั ษาเฉล่ียเป็น 5.05 และ 1.515 ตามลำดับ ปวดเอว ปวดศรี ษะ เปน็ ต้น ในขณะทบ่ี างอาการ หมอนวดไทยวินิจฉัยโดยระบุชื่ออาการหรือโรค ส่วนท่ี 4 การเปรียบเทยี บการวนิ ิจฉยั อาการ/โรค ตามคัมภีร์ โดยเฉพาะโรคท่ีเกี่ยวกับลม เช่น ลม ของหมอนวดไทยกบั แพทยแ์ ผนปัจจบุ ัน ปะกงั ลมจบั โปง ลมดดู สะบัก เปน็ ต้น นอกจากน้ี จากการเปรียบเทียบการวินิจฉัยอาการ/ หมอนวดไทยบางคนวินิจฉัยอาการ/โรคโดย โรคของหมอนวดไทยกับแพทย์แผนปัจจุบันใน สัมพันธ์กับธาตุส่ี เช่น นหารูพิการ อัฏฐิพิการ กลุ่มอาการท้ัง 12 กลุ่มของอาสาสมัคร พบว่า ปถวธี าตพุ กิ าร เป็นตน้ แพทย์แผนปัจจุบันวินิจฉัยอาการ/โรคใน 2 ลักษณะ กล่าวคือ ในกรณีที่อาการนั้น สามารถ วินิจฉัยโดยระบุช่ือโรคได้ แพทย์แผนปัจจุบันจะ ขอ้ สงั เกตและวิจารณ์ วินิจฉัยโดยระบุช่ือโรค เช่น tendonitis, osteoarthritis เป็นต้น แต่หากอาการน้ันเป็น 1. ความสัมพันธ์ระหว่างอาการของอาสาสมัคร กับสาเหตแุ ละปจั จยั ของการเจบ็ ป่วย จากการศึกษาอาสาสมัคร 200 คนท่ีเข้า อาการที่ยังไม่สามารถวินิจฉัยโดยระบุช่ือโรคได้ ร่วมโครงการซ่ึงมีอาการเจ็บป่วยตามกลุ่มอาการ แพทย์แผนปัจจุบันจะวินิจฉัยโดยระบุเป็นอาการ 12 กล่มุ จำแนกตามวยั พบวา่ อยู่ในปจั ฉมิ วัย (32 เช่น myalgia, fibromyalgia, cervical pain, - 70 ปี) ถึงร้อยละ 89.0 ที่เป็นเช่นน้ีส่วนหน่ึง knee pain เปน็ ตน้ อาจเพราะปัจฉิมวัย (ตามการแบ่งช่วงอายุของ ส่วนการวินิจฉัยอาการ/โรคของหมอนวด การแพทย์แผนไทย) ครอบคลุมช่วงอายุมากกว่า ไทย จะวินิจฉัยโดยระบุอาการ/โรคในหลาย อกี สองกลมุ่ คอื ปฐมวยั (แรกเกดิ - 16 ป)ี และ

38 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก ปที ่ี 10 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม-เมษายน 2555 มัชฌมิ วยั (16 – 32 ปี) ครอบคลมุ ช่วงอายุ 16 ปี ส่วนใหญ่มีอาการปวดบริเวณคอและบ่า ร้อยละ ในขณะทป่ี จั ฉิมวัยครอบคลุมชว่ งอายุ 48 ปี4 20.5 และปวดหลังร้อยละ 23.5 รวมเป็น รอ้ ยละ นอกจากนี้ ตามทฤษฎีการแพทย์แผนไทย 44 ซ่ึงเป็นทางเดนิ ของเส้นอทิ า ปิงคลา และกาล ปัจฉิมวัยเป็นช่วงอายุของวาตะ4 ซึ่งจะมีโอกาส ทารี สอดคลอ้ งกบั การวนิ จิ ฉัยของหมอนวดไทยท่ี เจ็บป่วยเนื่องจากธาตุลมหรือวาตะกำเริบได้ง่าย วินิจฉัยว่ามีการติดขัดของเส้นอิทามากท่ีสุด 122 จงึ เปน็ ไปได้ที่อาสาสมคั รส่วนใหญ่ (ซง่ึ อย่ใู นวัยนี)้ คน เสน้ กาลทารี 113 คน และเสน้ ปงิ คลา 107 มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูกและกล้ามเน้ือเป็นส่วน คน เส้นประธานทั้ง 3 เส้นจึงเป็นเส้นที่มีความ ใหญ่ อีกท้ังอาการปวดตามกล้ามเน้ือและข้อต่อ สำคัญและเป็นสาเหตุหลักของอาการปวด การ เองก็เปน็ อาการท่สี มั พันธ์กบั การกำเริบของธาตุ ศึกษาวิจัยเพ่มิ เติมของเสน้ ประธานท้งั สามและจดุ ลมดว้ ย ท่ีเก่ียวข้องในการรักษาโรคต่างๆ ตามแผนนวด ปัจจัยที่เกี่ยวกับอาชีพ มีส่วนสัมพันธ์กับ ไทยในคมั ภีร1์ เดิมที่มีอยจู่ งึ มีความสำคัญสงู อาการเจ็บป่วยของอาสาสมัครเช่นกัน กล่าวคือ อาสาสมคั รร้อยละ 67.5 ระบุวา่ ประกอบอาชีพท่ี 2. การตรวจ วินิจฉัย และรักษาผู้ป่วยตาม ต้องใช้แรงงานมาก ร้อยละ 28.0 ใช้แรงงานปาน ทฤษฎีเส้นประธานสิบและทฤษฎีธาตุของหมอ กลาง ซึ่งอาจอธิบายไดว้ า่ การใช้แรงงานมากและ นวดไทย ปานกลางเป็นปัจจัยหน่ึงท่ีทำให้เกิดอาการปวด จากการศึกษาในครั้งนี้พบว่าหมอนวดไทย ของกล้ามเนอื้ และกระดูก มีการใช้องค์ความรู้ในส่วนของเส้นประธานสิบใน อย่างไรก็ตาม การกำหนดเกณฑ์ในการใช้ การตรวจ วินิจฉัยรวมท้ังการรักษา โดยหลังจาก แรงงานมาก แรงงานปานกลาง หรือใช้แรงงาน ซักประวัติในเบ้ืองต้นแล้ว หมอนวดจะทำการ น้อย1 ยังมีความจำกัดอยู่มาก คือไม่มีการระบุตัว ตรวจอาการของผู้ป่วยและตำแหน่งที่เป็น เพื่อดู ชี้วัดในการใช้แรงงานที่ชัดเจน ทำให้การให้ข้อมูล ว่าสัมพันธ์กับเส้นประธานใด ก่อนจะวินิจฉัยว่า ของอาสาสมัครอาจมีความคลาดเคลื่อนได้ อาการของอาสาสมัครเก่ียวข้องกับ การติดขัด เนื่องจากอาสาสมัครอาจมีเกณฑ์ในการบอกว่าใช้ ของเส้นประธานใด ถ้าอาการปวดมีหลาย แรงงานมาก ปานกลาง หรือนอ้ ย แตกตา่ งกนั ใน ตำแหน่งก็จะสัมพันธ์กับหลายเส้น เส้นประธานที่ ส่วนของมูลเหตุของการเกิดโรค 8 ประการ5 พบ มีการวินิจฉัยว่ามีความผิดปกติมากท่ีสุด แนวเส้น ว่าเกิดจากอิริยาบถร้อยละ 85.5 และทำงานเกิน อทิ าและปิงคลา เปน็ แนวกลางดา้ นหลังศรี ษะ คอ กำลังร้อยละ 68.0 ซ่ึงสามารถอธิบายได้ว่า และหลังด้านซ้ายขวา ซ่ึงอาการปวด ส่วนใหญ่ อิริยาบถและการทำงานเกินกำลังเป็นสาเหตุของ ของอาสาสมัครจะเป็นการปวดศีรษะ คอ หลัง อาการปวดของอาสาสมัคร ส่วนเส้นกาลทารีเป็นแนวเส้นด้านหน้าของร่าง สำหรับกลุ่มอาการป่วยของอาสาสมัคร กายไปยังแขนขาซ้ายขวา และยังมีจุดด้านหลังท่ี

Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine Vol. 10 No. 1 January-April 2012 39 ตรงกับแนวเส้นด้านหน้า จึงทำให้ครอบคลุมส่วน ใหญ ่ หมอนวดไทยมักไม่นิยมกดจุดเพ่ือดูการ ต่างๆ ของร่างกายมาก6 ดังน้ัน เส้นอิทา ปิงคลา แล่นของความรู้สึกบนเส้นประธานสิบท่ีพาดผ่าน และกาลทารี เป็นเส้นทม่ี คี วามสำคัญสำหรบั หมอ จุดท่ีมีอาการ สังเกตได้จากในช่วงแรกของการ นวดไทยท่ีจะต้องรู้จักแนวและวิธีการนวดเป็น วิจัย เม่ือมีการซักประวัติการเจ็บป่วยและตรวจ อย่างดี ร่างกายแล้ว หมอนวดไทยสามารถบอกเส้น แต่หากตรวจแล้วไม่พบว่ามีการติดขัดของ ประธานสิบที่มีการติดขัดได้ทันทีโดยไม่จำเป็น เส้นประธานใด หมอนวดจะวินิจฉัยว่าเกิดจาก ตอ้ งกดจุดใดๆ โดยให้เหตุผลว่ารอู้ ยแู่ ลว้ ว่าอาการ ปัญหาเกีย่ วกบั ทางเดินของลม ที่ผิดปกติอยู่บนหรือสัมพันธ์กับเส้นประธานใด หลังจากตรวจและวินิจฉัยอาการของผู้ จึงไม่จำเป็นต้องกดให้เสียเวลา หมอนวดบางคน ป่วยโดยสัมพันธ์กับเส้นประธานหรือทางเดินของ อธิบายว่ากรณีน้ีอาจเปรียบได้กับการคิดเลขตอน ลมแล้ว หมอนวดไทยจะทำการรักษาด้วยการ ท่ียังคิดเลขไม่เป็นก็ต้องคิดในกระดาษ แต่เมื่อมี นวด รวมทงั้ การใชว้ ิธีการอื่นๆ ร่วมดว้ ย เช่น การ ความชำนาญมากก็สามารถคิดในใจได้ คณะผู้ ประคบ การอบสมุนไพร1 และการนวดน้ำมัน วิจัยจึงทำความเข้าใจกับหมอนวดไทยว่า ในการ จากการสังเกตการตรวจ วินจิ ฉยั และการ ศึกษาต้องการศึกษากระบวนการตรวจวินิจฉัย รักษาของหมอนวดไทยท้ัง 6 คน กล่าวได้ว่ามี ด้วยเส้นประธานสิบ หมอนวดไทยจึงยินดีตรวจ แบบแผนทีค่ ลา้ ยคลึงกัน กลา่ วคอื หมอนวดจะใช้ เสน้ ประธานสบิ ใหแ้ กอ่ าสาสมัคร ขอ้ มลู จากการซกั ประวตั ิเปน็ หลักในเบ้อื งตน้ รว่ ม สำหรับการตรวจและวินิจฉัยโดยใช้ทฤษฎี กับการสังเกตท่าทาง สีหน้า และแววตาของผู้ ธาตุน้ัน หมอนวดไทยมีการใช้ทฤษฎีธาตุค่อนข้าง ป่วย ประกอบการตรวจร่างกายด้วยการดู ฟัง น้อย ซ่ึงคณะผู้วิจัยตระหนักในเรื่องน้ี จึงมีการ เคาะ คลำ อย่างไรก็ตาม หมอนวดไทยบางคน พัฒนาแบบบันทึกข้อมูลซึ่งสัมพันธ์กับทฤษฎีธาตุ อาจมีเทคนิคพิเศษที่ต่างจากคนอ่ืน เช่น การจับ ใ น ก า ร แ พ ท ย์ แ ผ น ไ ท ย ใ น ป ร ะ เ ด็ น เ กี่ ย ว กั บ ชีพจร การดลู ิน้ สมุฏฐานวินิจฉัย1,5 ดังตารางที่ปรากฏในผลการ ข้อสังเกตอีกประการหนึ่งคือ หมอนวด ศึกษา ไทยท้ังหกคนใช้การนวดในการวินิจฉัย และการ โดยในการศึกษาเก่ียวกับสมุฏฐาน พบว่า รักษา รวมทั้งการประเมินความรุนแรงของโรค อาการของอาสาสมัครเกี่ยวข้องกับปัจจัยของ ดว้ ย จึงอาจกล่าวไดว้ ่า การวินจิ ฉัยและการรกั ษา วาตะเป็นหลัก ซึ่งอาจเป็นเพราะอาสาสมัครส่วน ของหมอนวดไทยไม่สามารถแยกขาดออกจากกัน ใหญ่อยู่ในปัจฉิมวัย ระยะเวลาของการศึกษาวิจัย ไดเ้ ชน่ เดียวกบั แพทยแ์ ผนปจั จุบัน อยู่ในช่วงฤดูฝน ซึ่งเป็นฤดูที่วาตะกำเริบได้ง่าย ในส่วนของการตรวจเส้นประธานสิบซึ่ง อาสาสมัครส่วนใหญ่มีอาชีพใช้แรงงาน ซึ่งเป็น เป็นสาระสำคัญของการวิจัยชิ้นน้ีน้ัน พบว่าส่วน ปัจจัยท่ีทำให้วาตะกำเริบ จนทำให้เกิดอาการ

40 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก ปีท่ี 10 ฉบบั ที่ 1 มกราคม-เมษายน 2555 ปวดตามร่างกายได้ อีกท้ังอริ ิยาบถและพฤตกิ รรม 4. การเปรียบเทียบการวินิจฉัยโรคและอาการ ที่ใช้กำลังมากก็เป็นปัจจัยให้เกิดอาการปวดได้ ของหมอนวดไทยเทยี บกบั แพทย์แผนปจั จบุ ัน เชน่ กัน ซงึ่ ตรงกบั มลู เหตุ 8 ประการของการเกดิ เป็นท่ีน่าสังเกตว่า แพทย์แผนปัจจุบัน โรคตามทฤษฎีแพทย์แผนไทย วินิจฉัยอาการ/โรคใน 2 ลักษณะ กล่าวคือ ใน ส่วนการวินิจฉัยอาการของอาสาสมัครโดย กรณีที่อาการนั้นสามารถวินิจฉัยโดยระบุชื่อโรค ใช้ทฤษฎีธาตุของหมอนวด พบว่าหมอนวด ได้ แพทย์แผนปัจจุบันจะวินิจฉัยโดยระบุชื่อ วินิจฉัยว่าเกิดจากความผิดปกติของธาตุดินพิการ อาการหรอื โรค เช่น tendonitis, osteoarthritis ธาตุน้ำกำเริบ และธาตุลมกำเรบิ ซงึ่ อาจเป็นไปได้ เป็นต้น แต่หากอาการน้ันเป็นอาการท่ียังไม่ ว่าอาการของอาสาสมัครเป็นอาการปวดตาม สามารถวินิจฉัยโดยระบุช่ือโรคได้ แพทย์แผน กล้ามเน้ือและข้อต่อ ซ่ึงเมื่อเทียบเคียงกับทฤษฎี ปัจจุบันจะวินิจฉัยโดยระบุเป็นอาการ เช่น ธาตุแล้ว จะตรงกับธาตุลมกำเริบ (จากอาการ myalgia, fibromyalgig, cervical pain, knee ปวด) ธาตุน้ำ (การไหลเวียนของเลือด) และธาตุ pain เปน็ ต้น ดิน (เน่ืองจากกล้ามเน้ือ เส้นเอ็น ถือว่าเป็นส่วน ส่วนการวินิจฉัยอาการ/โรคของหมอนวด ประกอบของธาตดุ ิน) ไทย จะวินิจฉัยโดยระบุอาการ/โรคในหลาย ลักษณะ กล่าวคือวินิจฉัยโดยระบุอาการแสดง 3. ผลการรกั ษา ร่วมกบั ตำแหนง่ ทมี่ ีอาการ เช่น ปวดบ่า ปวดหลงั จากการศึกษาพบว่า หลังจากอาสาสมัคร ปวดเอว ปวดศรี ษะ เปน็ ต้น ในขณะท่ีบางอาการ ได้รับการรักษาจากหมอนวดไทยแล้ว มีการ หมอนวดไทยวินิจฉัยโดยระบุช่ืออาการหรือโรค เคล่ือนไหวดีข้ึน 199 คน และอาสาสมัคร มี ตามคัมภีร์ โดยเฉพาะโรคที่เก่ียวกับลม เช่น ลม ระดับความพึงพอใจ มากท่ีสุด ร้อยละ 35 มาก ปะกงั ลมจับโปง ลมดูดสะบกั เปน็ ตน้ นอกจากน้ี ร้อยละ 58.5 ปานกลาง ร้อยละ 6.5 ไม่มีระดับ หมอนวดไทยบางคนวินิจฉัยอาการ/โรคโดย ความพึงพอใจน้อยและน้อยที่สุด อีกท้ังอาการ สัมพันธ์กับธาตุส่ี เช่น นหารูพิการ อัฏฐิพิการ ปวดลดลงอย่างมีนัยสำคัญหลังจากเข้ารับ การ ปถวีธาตุพกิ าร เปน็ ตน้ 4,5 รกั ษา ผลดังกล่าวแสดงว่า การนวดไทยมี สรุป ประสิทธิผลในการรักษาการเจ็บปวดได้มากและ เห็นผลในเวลารวดเร็ว อย่างไรก็ตาม คงไม่อาจ จากการศึกษาพบว่า หมอนวดไทยมีการ สรุปได้ว่าการนวดไทยมีประสิทธิผลดีกว่าการ ใช้กระบวนการตรวจและวินิจฉัย อาการของ รักษาวิธีอ่ืนๆ เพราะการวิจัยนี้ไม่ได้ทำการศึกษา อาสาสมัครโดยใช้ทฤษฎีเส้นประธานสิบและ เปรียบเทยี บ ทฤษฎีธาตุ โดยจะมีการซักประวัติ ตรวจร่างกาย เบื้องต้น และตรวจตำแหน่งของร่างกายที่มี อาการ และวินิจฉัยตามทฤษฎีเส้นประธานสิบ

Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine Vol. 10 No. 1 January-April 2012 41 หรือทฤษฎีธาตุแล้วแต่กรณี จากนั้นจึงทำการ หมอกรกมล เอี่ยมธนะมาศ และหมอสนิท รักษาดว้ ยการนวดร่วมกับการใช้วธิ อี ื่นๆ เชน่ การ วงษกะวนั . ผชู้ ว่ ยแพทย์แผนไทย ทงั้ 5 ท่านของ ประคบ อบสมุนไพร โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร คือ นายนุกูล ท้ังน้ีในการรักษาด้วยการนวด หมอนวด บุตรศรี นางสาวไทรงาม รสแกน่ นางสาวจริ าพร ไทยจะนวดโดยอาศัยการกดจุด7 ทั้งตรงตำแหน่ง นุตศิริ นางวรลักษณ์ สวยขุนทด และ นางวิมล ที่มีอาการหรือจุดท่ีใกล้เคียง และกดจุดตามแนว สขุ ประเสรฐิ . ผศ.สำลี ใจด,ี นพ.ประพจน์ เภตรากาศ, เส้นประธานที่พบว่ามีความผิดปกติ โดยจะมีการ นพ.วิชาญ เกิดวิชัย, ดร.ภญ.สุภาภรณ์ ปิติพร ประเมินอาการของอาสาสมัครหลังจากทำการ ที่ได้ให้คำปรึกษา ให้แนวคิด. โรงพยาบาล นวดแต่ละคร้ัง นอกจากน้ียังมีการให้คำแนะนำ เจ้าพระยาอภัยภูเบศร มูลนิธิโรงพยาบาล เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวแก่อาสาสมัครเพื่อป้องกัน เจ้าพระยาอภัยภูเบศร วิทยาลัยการแพทย์แผน การเกดิ อาการซ้ำ ไทยอภัยภูเบศรให้ความช่วยเหลือด้านที่พัก และ ในการศึกษาคร้ังน้ีพบว่าหมอนวดไทยมี ยานพาหนะในระหว่างเก็บขอ้ มูล. หลักการในการตรวจ การวินิจฉยั และการรักษา ทเี่ ป็นแบบแผนท่ชี ัดเจน ซ่งึ ในอนาคตควรมีการ เอกสารอ้างอิง ถอดองค์ความรู้ของหมอนวดไทยในการรักษา 1. ยงศักดิ์ ตันติปิฎก (บรรณาธิการ). ตำราการนวดไทยเล่ม 1. โรคต่างๆ โดยเฉพาะโรคท่ีเป็นปัญหา พิมพ์ครั้งท่ี 4. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสาธารณสุขกับการพัฒนา สาธารณสุข เพ่ือนำมาผสมผสานกับการรักษา : 2552. 2. มูลนิธิสาธารณสุขกับการพัฒนา. คู่มือครูหมอนวดไทย เล่มที ่ 1. พิมพ์ครั้งท่ี 2. นนทบุรี: มูลนิธิสาธารณสุขกับการพัฒนา ในแผนปัจจุบัน อันจะนำไปสู่การเพิ่มคุณภาพ : 2553 ชีวิตของผู้ป่วย ลดการใช้ยาจากต่างประเทศ 3. ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 116 ตอนท่ี 39 ก วันที่ 18 และธำรงไวซ้ ่งึ อัตลกั ษณข์ องประเทศชาตติ อ่ ไป พฤษภาคม 2542, พระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2542 : 2542. 4. นายสร้อยจ๊ัว แซ่เดียว. ตำราแพทย์แผนโบราณ.กรุงเทพฯ: โรงพมิ พว์ ฒั นาพานิช: 2500. กติ ติกรรมประกาศ 5. กองการประกอบโรคศิลปะ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. โครงการพัฒนาผู้พิการทางสายตาให้เป็นผู้ ตำราแพทย์แผนโบราณท่ัวไป สาขาเวชกรรม เล่ม 1. ประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทย์แผนไทย พิมพ์คร้ังที่ 1. กองการประกอบโรคศิลปะ กรมสนับสนุน ประเภท การนวดไทย (หมอนวดไทย) ภายใตก้ าร บริการสุขภาพ; 2549 6. ยงศักด์ิ ตันติปิฎก (บรรณาธิการ). สัมมนานวดไทย. รายงาน สนับสนุนทุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการ การสัมมนาวิชาการนวดไทยครั้งที่ 1.เส้นประธานสิบ; สร้างเสริมสุขภาพได้ให้ทุนสนับสนุนการทำวิจัย 11- 13 กุมภาพันธ์ 2553; ณ ศูนย์คณะพระมหาไถ ่ ครั้งนี้. หมอหมอนวดไทยทั้ง 6 ท่าน คือ หมอ เมืองพัทยา จ.ชลบุรี.กรุงเทพฯ. โครงการฟื้นฟูการนวดไทย มูลนิธสิ าธารณสุขกับการพฒั นาและคณะ; 2538. ถวิล อภัยนิคม หมอบุญทำ กิจนิยม หมอพิศิษฐ 7. โครงการฟื้นฟูการนวดไทย. คู่มือการนวดไทย. พิมพ์ครั้งที่ 7. เบญจมงคลวารี หมอประทิน ทรัพย์บุญม ี กรงุ เทพฯ : หมอชาวบา้ น: 2551.

42 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ปที ี่ 10 ฉบับท่ี 1 มกราคม-เมษายน 2555 S Aentbuesrdtgyryaolcnintte hse(seexnapmriantahtaionns,ibd)iaagnndoesilsemanendtstr(etaatrmd)enoft Tbhasaeidmoansstahgee tthheeorraipeisstosf 10 main Makorn Limudomporn*, Pakakrong Kwankhao*, Boontam Kitniyom**, Yongsak Tantipidok***, Pinit Chinsoi**** Kanchana Buadok*, Jiraporn Yovatit*****, Kunanit Hongtrong*****, Pawatsara Kampheratham*, Sudarat  Suwanpong* * * Chaophraya Abhaibhubejhr Hospital, Mueang district, Prachin Buri province ** Association of Thai Massage, Nonthaburi province *** Academician, Yan Nawa district, Bangkok ****Wangnamyen Hospital, Wang Nam Yen district, Sa Kaeo province *****Abhaibhubejhr Thai Traditional Medicine College Praboromarajchanok Institute of Health Workforce Development, Mueang district, Prachin Buri province ****** Health and Development Foundation (HDF), Bangkok Yai district, Bangkok The objectives of this study were to observe the procedures of examination, diagnosis and treatment based on the 10 main energy lines (sen prathan sib) theory and the element (tard) theory of Thai traditional massage pratised by Thai massage therapists and to compare the diagnosis performed by Thai massage therapists with that performed by modern medical doctors. The study was carried out on 200 volunteers selected according to 12 groups of symptoms from outpatients at Abhaibhubejhr Hospital with the help of the assistants of Thai massage therapists in screening and documenting the initial case history before referring to the modern doctor for the examination and diagnosis; after that the volunteers were sent to six Thai massage therapists for examination, diagnosis, treatment and evaluation of the treatment. The study showed that Thai massage therapists had two different techniques of examination related to the 10 main energy lines: one was pressing on the origin of the 10 main energy lines and the other was pressing on the affected area to determine whether the affected area was related to which main energy line. Whereas the diagnosis based on the theory of elements showed that most of the volunteers (49.5%) were diagnosed with the vitiation of earth element (tard din pikarn) and 29.5% with the vitiation of wind element (tard lom pikarn). By comparison, Thai massage therapists diagnosed the volunteers according to the symptoms and the areas with the presenting symptoms whereas modern medical doctors diagnosed according to the cause of illness or sometime according to the symptoms. Regarding the treatment, Thai massage therapists treated the volunteers by pressing on the points on the affected main energy lines, but each therapist had a different technique for the massage. Apart from Thai massage, other supplementary techniques were also used such as fomentation with herbal poultice (14.5%). Some doctors also advised the volunteers about the regimen to be followed. Keywords: 10 main energy lines (sen prathan sib), theory of element (tard), Thai massage therapist

วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine ปที ี่ 10 ฉบับท่ี 1 มกราคม-เมษายน 2555 Vol. 10 No. 1 January-April 2012 นิพนธต์ น้ ฉบบั คุณภาพชีวติ ผปู้ ่วยเบาหวานทีไ่ ด้รับการสง่ เสรมิ สขุ ภาพ ดว้ ยแพทยแ์ ผนไทยชุดหลักธรรมานามัย ประภา พทิ ักษา* ปัณสขุ สาลติ ุล* บทคดั ย่อ การศึกษาคร้ังน้เี ป็นการศกึ ษาวจิ ยั กงึ่ ทดลอง (Quasi Experimental Research) มวี ัตถปุ ระสงค ์ เพอื่ ศกึ ษาคุณภาพ ชีวิตของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการส่งต่อสู่ชุมชน จำนวน 676 คน และศึกษาผลของคุณภาพชีวิตหลังได้รับการส่งเสริมสุข ภาพด้วยการแพทย์แผนไทยชุดหลักธรรมานามยั รปู แบบการศึกษาแบง่ เป็นกลุม่ ทดลอง 385 คน กลุ่มควบคมุ 291 คน โดย กลุ่มทดลองจะได้รับการสอนโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยชุดหลักธรรมานามัย 2 ครั้ง ห่างกัน 2 เดือน ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับบริการตามปกติ เคร่ืองมือท่ีใช้เป็นแบบสอบถามท่ัวไป และ แบบวัดคุณภาพชีวิตชุดย่อของ องค์การอนามัยโลก WHO QOL-BREF (WHO,2004) วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติร้อยละ, Paired-Samples T-test และ Independent–Samples T-test ผลการศึกษาพบว่า คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยเบาหวานที่ถูกส่งต่อสู่ชุมชนมีคุณภาพชีวิตอยู่ในระดับปานกลาง ท้ัง ก่อนและหลังได้รับการส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย และพบว่าภายหลังได้รับการส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์ แผนไทย กลุ่มทดลองมีคุณภาพชีวิตโดยรวม คุณภาพชีวิตด้านจิตใจ คุณภาพชีวิตด้านสัมพันธภาพทางสังคมและด้านส่ิง แวดล้อม ดกี วา่ กอ่ นการทดลอง และดีกว่ากลมุ่ ควบคมุ อยา่ งมนี ัยสำคัญทางสถิติ ท่รี ะดับ 0.05 การศึกษาครั้งนี้ยังไม่สามารถสรุปได้ว่าโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยชุดหลักธรรมานามัย เป็นเครื่องมือท่ีมีผลต่อการเพ่ิมขึ้นของคุณภาพชีวิตผู้ป่วยเบาหวานได้อย่างชัดเจนเน่ืองจากคุณภาพชีวิตที่วัดได้อยู่ในระดับ ปานกลางท้ังก่อนและหลังทดลอง แต่มีความเหมาะสมต่อการดูแลด้านจิตใจและการสร้างสัมพันธภาพทางสังคม สามารถ เปน็ ทางเลือกหนง่ึ ในกระบวนการดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหวาน คำสำคญั : ผปู้ ว่ ยเบาหวาน, คณุ ภาพชวี ติ , การแพทยแ์ ผนไทยชดุ หลักธรรมานามัย ภมู ิหลงั และเหตผุ ล (ปัณสุข สาลิตุล, 2552) แต่ยังไม่มีการศึกษา การดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหวานในปัจจุบัน อย่างเป็นระบบว่าคำแนะนำดังกล่าวมีผลอย่างไร เป็นการรักษาโดยการใช้ยาเป็นส่วนใหญ่ โรง หากนำมาใช้ในกระบวนการส่งเสริมสุขภาพรวม พยาบาลกันทรลักษ์มีการส่งเสริมสุขภาพโดยการ ถึงศาสตร์การแพทย์แผนไทยด้านอ่ืนๆ ดังน้ันผู้ ให้คำแนะนำเร่ืองอาหาร การออกกำลังกายโดย วิจัยจึงได้ทดลองนำองค์ความรู้ด้านการแพทย์ ทั่วไป และกายบริหารท่าฤา ษีดัดตนพื้นฐาน 15 แผนไทยมาใช้ในการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยเบา ท่า ซ่ึงพบว่ามีความเหมาะสมกับผู้ป่วยเบาหวาน หวานในเขตอำเภอกันทรลักษ์ท่ีควบคุมระดับ *โรงพยาบาลกันทรลักษ์ จงั หวัดศรสี ะเกษ 43

44 วารสารการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก ปที ่ี 10 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม-เมษายน 2555 น้ำตาลได้และส่งต่อสู่ชุมชนในระหว่าง วันท่ี 1 จิตตานามัย และดา้ นชีวติ านามยั เมษายน – 31 กันยายน พ.ศ.2553 เพ่ือศึกษา กายานามยั คุณภาพชีวิตก่อนและหลังได้รับการสอนแนะนำ • รับประทานอาหารท่ีมีประโยชน์ครบ ด้วยโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์ 5 หมู่ , รบั ประทานอาหารเพอ่ื สุขภาพ เชน่ ปลา แผนไทยชุดหลักธรรมานามัยที่ดัดแปลงข้ึนใหม่ ผักพ้ืนบ้าน ไม่รับประทานอาหารรสเผ็ด อาหาร โดยคาดหวังว่าจะได้รูปแบบการส่งเสริมสุขภาพ หมักดอง , ลดอาหารหวาน อาหารเค็ม ด้วยการแพทย์แผนไทยที่เหมาะสมสามารถ • ออกกำลังกายสม่ำเสมอ อยา่ งนอ้ ยวนั กำหนดเป็นนโยบายนำสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็น เว้นวัน ครั้งละไม่น้อยกว่า 30 นาที ให้หัวใจเต้น รปู ธรรม เร็วไม่น้อยกว่า 80 คร้ังต่อนาที ดว้ ย กายบรหิ าร นยิ ามศัพท์ ทา่ ฤา ษีดัดตนแบบกันทรลักษ ์ ผู้ป่วยเบาหวาน หมายถึง ผู้ป่วยท่ีได้รับ • ไม่ทำงานหนักเกินกำลัง ไม่มีกิจกรรม การวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็นโรคเบาหวาน มี ทางเพศมากเกินไป ระยะเวลาป่วยเป็นโรคเบาหวานมาไม่น้อยกว่า 1 • หลีกเล่ียงพฤติกรรมท่ีทำให้เกิดโรค ปี เดิมรักษาที่คลินิกเบาหวานโรงพยาบาล ทำให้รา่ งกายเสียสมดลุ และเส่อื มโทรม กันทรลักษ์ จนควบคุมได้ (FBS <150 Mg%, B.P จิตตานามัย <=140/90 mmHg และไม่มีโรคแทรกซ้อน) จึง • ทำจิตใจใหร้ า่ เรงิ ไมเ่ ครยี ด ได้รับการส่งต่อจากโรงพยาบาลกันทรลักษ์กลับสู่ • รู้จักระงับอารมณ์ ไม่โกรธหรือเสียใจ ชุมชนเพ่ือมารับบริการที่ศูนย์สุขภาพชุมชนใกล้ มากเกนิ ไป บ้านแทน • ฝึกสมาธิ สวดมนต์ภาวนาคาถาชิน คณุ ภาพชีวติ หมายถึง ระดับของการรบั รู้ บัญชร เดินจงกรม สงบจิตใจ วันละ 15 นาที ความรู้สึกของการมีชีวิตที่ดี มีความสุขและความ แนะนำใหเ้ ดินบนพนื้ กรวดกลมเพ่อื นวดเทา้ ทุกวนั พึงพอใจ ซ่ึงเป็นความรู้สึกท่ีผู้ป่วยรับรู้ด้วยตนเอง ชวี ติ านามยั ในด้านสุขภาพกาย ด้านจิตใจ ด้านสัมพันธภาพ • รักษาศลี 5 ประกอบอาชีพสจุ ริต ทางสังคมและด้านส่ิงแวดล้อม อยู่ภายใต้ค่านิยม • พักผ่อนให้เพียงพอ ไม่อดน้ำ ไม่อด วฒั นธรรม และเปา้ หมายในชีวิตของแตล่ ะบุคคล อาหาร ไมอ่ ดนอน การแพทย์แผนไทยชุดหลักธรรมานามัย • อยู่ในที่อากาศถ่ายเทสะดวก อากาศ เปน็ หลกั ปฏบิ ตั ิ เพ่อื ใหก้ ารบำบัดรกั ษา และฟน้ื ฟู ไมร่ อ้ นหรือเยน็ เกินไป สภาพให้ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน • รักษาส่ิงแวดล้อมให้ดี มีต้นไม้ ผัก ชว่ ยสง่ เสริมสุขภาพและป้องกนั โรค ประกอบด้วย สมุนไพร ไม้หอม ไมป้ ระดบั รอบร้วั บา้ น หลักปฏิบัติ 3 ด้าน คือ ด้านกายานามัย ด้าน กายบริหารท่าฤา ษีดัดตนแบบกันทรลักษ์