Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore doc01

doc01

Description: doc01

Search

Read the Text Version

พระราชประวตั ใิ นสมเดจ็ พระนางเจ้าสิริกติ ์ิ พระบรมราชินีนาถ พระราชสมภพ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ทรงเป็ นพระธิดาองค์ท่ี ๓ ของหม่อมเจ้า นกั ขตั รมงคล กิติยากร (ต่อมาไดร้ ับการสถาปนาเป็น พลเอก พระวรวงศเ์ ธอ กรมหม่ืนจนั ทบุรีสุรนาถ) และ หม่อมหลวงบวั กิติยากร (สนิทวงศ)์ พระราชสมภพ เมื่อวนั ศุกร์ที่ ๑๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๗๕ (เดือน ๙ ข้ึน ๑๑ ค่าํ ปี วอก จตั วาศก จ.ศ. ๑๒๙๔) ณ บา้ นของ พลเอก เจา้ พระยาวงศานุประพทั ธ์ บา้ นเลขท่ี ๑๘๐๘ ถนนพระรามหก จังหวัดพระนคร พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระกรุ ณา โปรดเกลา้ ฯ พระราชทานนามว่า “สิริกิต์ิ” มีความหมายว่า “ผูเ้ ป็ นศรีแห่งราชสกุลกิติยากร” หรือ “ผูท้ ี่มี ผสู้ รรเสริญเล่าลืออนั เป็นสิริมงคล” ทรงมีพระเชษฐาและพระขนิษฐาร่วมชนกชนนี ดงั น้ี ๑. หม่อมราชวงศก์ ลั ยาณกิต์ิ กิติยากร ๒. หม่อมราชวงศอ์ ดุลยกิต์ิ กิติยากร ๓. หม่อมราชวงศส์ ิริกิต์ิ กิติยากร ๔. หม่อมราชวงศบ์ ุษบา กิติยากร

รัชกาลท่ี ๕ + เจา้ จอมมารดาอ่วม แผนผงั ราชสกลุ ในสมเดจ็ พระ กรมพระจนั ทบุรีนฤนาถ รัชกาลที่ ๔ + สมเดจ็ พระปิ ยม [พระเจา้ ลูกยาเธอ พระองคเ์ จา้ กิติยากรวรลกั ษณ์] สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาเทวะวง ม.จ. อปั ษรสมาน กรมหมื่นจนั ทบุรีสุรนาถ [ม.จ. นกั ขตั รมงคล กิติยา ม.ร.ว. กลั ยาณกิต์ ิ กิติยากร ม.ร.ว. อดุลยกิต์ ิ กิติยากร

ะนางเจ้าสิริกติ ์ิ พระบรมราชินีนาถ มาวดีศรีพชั รินมาตา [เจา้ จอมมารดาเปี่ ยม] รัชกาลท่ี ๒ + เจา้ จอมมารดาปรางใหญ่ งศว์ โรปการ + หม่อมใหญ่ กรมหลวงวงศาธิราชสนิท + หม่อมแยม้ เทวกลุ พระองคเ์ จา้ สายสนิทวงศ์ + หม่อมเขียน พลเอก เจา้ พระยาวงศานุประพทั ธ์ + ทา้ ววนิดาพิจาริณี [ม.ร.ว. สทา้ น สนิทวงศ]์ [บาง สนิทวงศ]์ ากร] + ม.ล. บวั สนิทวงศ์ สมเดจ็ พระนางเจา้ สิริกิต์ ิ พระบรมราชินีนาถ ม.ร.ว. บุษบา กิติยากร [ม.ร.ว.สิริกิต์ ิ กิติยากร]

หม่อมเจา้ นกั ขตั รมงคล กิติยากร ในขณะน้นั ทรงดาํ รงตาํ แหน่ง ผชู้ ่วยเสนาธิการกองทพั บกมียศเป็น พนั เอก ภายหลงั เกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ในวนั ที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕ ทรงลาออกจาก ราชการทหาร และต่อมารัฐบาลไดแ้ ต่งต้งั ให้พระองคเ์ ดินทางไปดาํ รงตาํ แหน่งเลขานุการเอก ณ สถานทูต ไทยประจาํ กรุงวอชิงตนั ประเทศสหรัฐอเมริกา ซ่ึงขณะน้นั หม่อมหลวงบวั กาํ ลงั มีครรภใ์ กลค้ รบกาํ หนด จึงมิไดต้ ิดตามไปดว้ ย และไดย้ า้ ยจากวงั เทเวศร์กลบั ไปพกั อยู่กบั บิดา จนให้กาํ เนิดหม่อมราชวงศส์ ิริกิต์ิ กิติยากร แลว้ จึงเดินทางไปสมทบ และให้หม่อมราชวงศ์สิริกิต์ิ กิติยากร อยู่ในความดูแลของ พลเอก เจา้ พระยาวงศานุประพทั ธ์ และทา้ ววนิดาพจิ าริณี ผเู้ ป็นบิดาและมารดาของหม่อมหลวงบวั หม่อมราชวงศส์ ิริกิต์ิ กิติยากร เจริญวยั ข้ึนท่ามกลางความผนั ผวนทางการเมืองของประเทศ เพราะ หลงั จากมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในวนั ท่ี ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕ ไดเ้ กิดกบฏ พระองคเ์ จา้ บวรเดช เหตุการณ์บา้ นเมืองเขา้ สู่ภาวะตึงเครียด พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เสดจ็ แปรพระราชฐานไป ประทบั ที่จงั หวดั สงขลา โดยมีพระบรมวงศานุวงศฝ์ ่ ายในตามเสดจ็ ดว้ ย ซ่ึงในคร้ังน้ี หม่อมเจา้ อปั ษรสมาน หรือท่านยา่ ไดท้ รงรับนดั ดาตามเสดจ็ ไปดว้ ย เม่ือเหตุการณ์สงบจึงไดก้ ลบั มาอยกู่ บั ท่านตาและท่านยายที่ บา้ น ถนนพระรามหก อีกคร้ังหน่ึง ในปลายปี พ.ศ. ๒๔๗๗ หม่อมเจา้ นกั ขตั รมงคล กิติยากร ทรงลาออก จากราชการและเดินทางกลบั ประเทศไทย จึงมารับหม่อมราชวงศส์ ิริกิต์ิ กิติยากร ซ่ึงมี อายไุ ด้ ๒ ปี ๖ เดือน จากหม่อมเจา้ อปั ษรสมาน กลบั มาอยรู่ วมกนั ท่ีวงั เทเวศร์ ซ่ึงต้งั อยทู่ ่ีถนนกรุงเกษม ปากคลองผดุงกรุงเกษม ริมแม่น้าํ เจา้ พระยา ทรงศึกษา หม่อมราชวงศส์ ิริกิต์ิ กิติยากร เร่ิมเรียนช้นั อนุบาล ณ โรงเรียนราชินี ปากคลองตลาด เม่ือปี พ.ศ. ๒๔๗๙ และสอบไล่ไดช้ ้นั ประถมปี ที่ ๑ ในปี เดียวกนั น้นั โดยศึกษาที่โรงเรียนราชินีไดเ้ พียง ๑ ปี ต่อมา เม่ือเกิดสงครามมหาเอเชียบูรพาข้ึน ทาํ ให้การคมนาคมขาดความสะดวกและความปลอดภยั หม่อมราชวงศ์ สิริกิต์ิ กิติยากร จึงตอ้ งยา้ ยไปศึกษาในช้ันประถมปี ท่ี ๒ ที่โรงเรียนเซนต์ฟรังซิสซาเวียร์คอนแวนต์ ถนนสามเสน ในปี พ.ศ. ๒๔๘๓ เนื่องจากอยู่ใกลบ้ า้ นในระยะท่ีเดินไปโรงเรียนเองได้ และศึกษาอยู่ท่ี โรงเรียนแห่งน้ีถึง ๘ ปี จนจบช้นั มธั ยมปี ที่ ๓ โดยมีเลขประจาํ ตวั นกั เรียน ๓๗๑ และมีเพ่ือนร่วมช้นั เรียน จาํ นวน ๓๗ คน

ณ โรงเรียนเซนตฟ์ รังซิสซาเวียร์คอนแวนต์ นอกจากการศึกษาวิชาสามญั แบบโรงเรียนทวั่ ไปโดย เนน้ ดา้ นภาษาองั กฤษและภาษาฝร่ังเศสแลว้ หม่อมราชวงศส์ ิริกิต์ิ กิติยากร ยงั ไดเ้ รียนวิชาพิเศษ คือเปี ยโน โดยสมคั รเขา้ เรียนเปี ยโนต้งั แต่ปี แรกที่เขา้ เป็นนกั เรียน เพราะมีพรสวรรคแ์ ละความสนใจ สามารถเรียนไดด้ ี และเร็วเป็ นพิเศษ โดยมีมาดามเรอเนยแ์ ละมาดามฟรังซิสากา้ เป็ นอาจารยผ์ ฝู้ ึ กสอนดนตรี นอกจากดนตรี แลว้ หม่อมราชวงศส์ ิริกิต์ิยงั สามารถเรียนไดด้ ีท้งั วิชาภาษาองั กฤษและภาษาฝรั่งเศส ขณะที่มีอายเุ พียง ๑๓ ปี นอกจากน้นั ยงั ไดร้ ับการอบรมในดา้ นวิชาการเรือนมาโดยเฉพาะท้งั ท่ีบา้ นและที่โรงเรียน จึงมีความสันทดั เป็นพิเศษ สามารถประกอบอาหารไดท้ ้งั อาหารไทยและอาหารฝร่ัง

ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๘๙ หม่อมเจา้ นกั ขตั รมงคล กิติยากร ทรงไปดาํ รงตาํ แหน่งเอกอคั รราชทูตไทย ประจาํ ราชสาํ นกั เซนตเ์ จมส์ ประเทศองั กฤษ และทรงพาครอบครัวไปดว้ ย ซ่ึงขณะน้นั หม่อมราชวงศส์ ิริกิต์ิ กิติยากร มีอายไุ ด้ ๑๓ ปี เศษ และจบการศึกษาช้นั มธั ยมปี ท่ี ๓ ของโรงเรียนเซนตฟ์ รังฯ แลว้ ในระหว่างที่อยู่ ในประเทศองั กฤษหม่อมราชวงศส์ ิริกิต์ิ กิติยากร ไดเ้ รียนภาษาองั กฤษและภาษาฝร่ังเศสกบั ครูพิเศษควบคู่ ไปกบั การเรียนเปี ยโน ดว้ ยความมุ่งหวงั ที่จะเรียนเปี ยโนเป็นวิชาชีพ โดยสามารถใชภ้ าษาองั กฤษและภาษา ฝร่ังเศสไดเ้ ป็ นอย่างดีท้งั สองภาษา ทางดา้ นการดนตรีน้ันไดศ้ ึกษาประวตั ิเพลงและชีวประวตั ิของนักแต่ง เพลงเอกของโลก และโปรดปรานการเรียนเปี ยโนมากที่สุด

ในปี พ.ศ. ๒๔๙๐ หม่อมเจา้ นกั ขตั รมงคล กิติยากร ทรงยา้ ยไปดาํ รงตาํ แหน่งเอกอคั รราชทูตไทย ประจาํ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส หม่อมราชวงศส์ ิริกิต์ิ กิติยากร ยงั คงศึกษาเปี ยโนเป็ นพิเศษและฝึ กซอ้ ม มากข้ึน เพ่ือจะเขา้ ศึกษาต่อในวิทยาลยั Conservatoire National De Musique ซ่ึงเป็นวิทยาลยั การดนตรีที่มี ชื่อเสียงของกรุงปารีส และที่ประเทศฝรั่งเศสน้ีเองหม่อมราชวงศส์ ิริกิต์ิ กิติยากร และครอบครัวไดม้ ีโอกาส เขา้ เฝ้ าถวายการปฏิบตั ิพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวภูมิพลอดุลยเดช และเป็ นท่ีตอ้ งพระราชอธั ยาศยั ต่อมา ในปี พ.ศ. ๒๔๙๑ ไดเ้ ขา้ ศึกษาในโรงเรียน Pensionnat Rinate Rive ซ่ึงเป็นโรงเรียนประจาํ ที่มีช่ือเสียงแห่ง หน่ึงของเมืองโลซานน์ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ท่ีสอนวิชาพิเศษแก่กุลสตรี โดยสมเด็จพระศรีนครินทรา บรมราชชนนีทรงเป็ นธุระจดั การในการศึกษาต่อคร้ังน้ี และศึกษาอยจู่ นถึงวนั ท่ี ๒๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๙๓ จึงได้ตามเสด็จ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวนิวตั สู่ประเทศไทย เพื่อการพระราชพิธีถวายพระเพลิง พระบรมศพพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั อานนั ทมหิดล ทรงหม้ัน ในปี พ.ศ. ๒๔๙๑ ขณะท่ีหม่อมเจา้ นักขตั รมงคล กิติยากรและครอบครัว พาํ นกั อยู่ในกรุงปารีส ไดม้ ีโอกาสเฝ้ ารับเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู ัว ซ่ึงโปรดเสด็จประพาสกรุงปารีสเพื่อทอดพระเนตร การแสดงของวงดนตรีที่มีชื่อเสียงอยู่เสมอ และโปรดประทบั ท่ีสถานเอกอคั รราชทูตไทยเช่นเดียวกับ นกั เรียนไทยคนอ่ืน ๆ และทรงร่วมสังสรรคก์ บั หมู่นกั เรียนไทยอย่างใกลช้ ิดโดยมิไดถ้ ือพระองค์ จึงทาํ ให้ ทรงมีโอกาสพบกบั หม่อมราชวงศส์ ิริกิต์ิ กิติยากร เนื่องดว้ ยพระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู ัวทรงโปรดการ ดนตรีเป็นพิเศษและหม่อมราชวงศส์ ิริกิต์ิ กิติยากร ก็มีความสนใจในศิลปะการดนตรีเป็ นพิเศษเช่นเดียวกนั จึงเป็นจุดเร่ิมแรกท่ีทาํ ใหพ้ ระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ทรงสนพระราชหฤทยั ในหม่อมราชวงศส์ ิริกิต์ิ กิติยากร ซ่ึงขณะน้ันมีอายุเพียง ๑๕ ปี เศษ แทบทุกคร้ังที่เสด็จพระราชดาํ เนินไปประทบั แรม ณ สถานทูตไทยใน กรุงปารีส หม่อมเจา้ นักขตั รมงคล กิติยากรและครอบครัว ได้เฝ้ าถวายการรับรองตลอดเวลาท่ีประทบั จนเป็ นท่ีคุน้ เคยต่อเบ้ืองพระยคุ ลบาทและเป็ นท่ีตอ้ งพระราชอธั ยาศยั ในเวลาต่อมาหม่อมเจา้ นกั ขตั รมงคล กิติยากร ทรงยา้ ยไปดาํ รงตาํ แหน่งเอกอัครราชทูตไทย ประจาํ ราชสํานักเซนต์เจมส์ ประเทศอังกฤษ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวยงั เสด็จเย่ียมครอบครัวหม่อมเจา้ นักขตั รมงคล กิติยากร อยู่เสมอ ในเดือน ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๙๑ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงประสบอุปัทวเหตุทางรถยนต์ ท่ีเมืองบอนเน ประเทศ สวติ เซอร์แลนด์ ในระหวา่ งที่ประทบั รักษาพระองคอ์ ยนู่ ้นั ไดท้ รงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ให้ หม่อมหลวงบวั กิติยากร พาบุตรีท้งั สอง คือหม่อมราชวงศส์ ิริกิต์ิและหม่อมราชวงศบ์ ุษบา กิติยากร เขา้ เฝ้ าเยีย่ มพระอาการ เป็ นประจาํ จนพระอาการประชวรทุเลาลง สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ไดท้ รงขออนุญาตต่อ หม่อมเจา้ นกั ขตั รมงคล กิติยากร ใหห้ ม่อมราชวงศส์ ิริกิต์ิ กิติยากร อยชู่ ่วยเฝ้ าถวายการพยาบาล และทรงดูแล จดั การเร่ืองความเป็นอยทู่ ุกประการ รวมท้งั ดา้ นการศึกษา ซ่ึงหม่อมเจา้ นกั ขตั รมงคล กิติยากร กท็ รงอนุญาต ตามพระประสงค์

เมื่อทรงหายจากพระอาการประชวร พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ให้หม่อมเจา้ นกั ขตั รมงคล และหม่อมหลวงบวั กิติยากร เขา้ เฝ้ า ณ เมืองโลซานน์ สมเด็จพระศรีนครินทรา บรมราชชนนีไดร้ ับสั่งสู่ขอหม่อมราชวงศส์ ิริกิต์ิ กิติยากร และทรงมีรับส่ังตอนหน่ึงว่า “ขอให้ทาํ กนั เฉพาะ ภายในครอบครัวเท่าน้นั เพราะเม่ือคราวฉันเองก็ทาํ อย่างน้ีเหมือนกนั จะมีอะไรขดั ขอ้ งไหม” หม่อมเจา้ นกั ขตั รมงคล กิติยากร กราบทูลตอบวา่ “ตามแต่จะมีพระราชประสงค”์ พิธีหม้นั จึงจดั เป็นการภายในเงียบ ๆ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวทรงมอบพระธํามรงค์เพชร น้ําใสบริสุทธ์ิรูปหัวใจเกาะไวด้ ้วยหนามเตย แด่หม่อมราชวงศส์ ิริกิต์ิ กิติยากร และพระธาํ มรงคเ์ พชรวงน้ีเป็นพระธาํ มรงคท์ ่ีสมเด็จพระราชบิดาทรงหม้นั สมเด็จพระราชชนนี หลงั จากน้นั ไดม้ ีพระราชกระแสรับสั่งใหแ้ จง้ มายงั รัฐบาลไทยทราบอยา่ งเป็ นทางการ ว่าพระองคไ์ ดท้ รงประกอบพิธีหม้นั กบั หม่อมราชวงศส์ ิริกิต์ิ กิติยากร แลว้ ท่ีเมืองโลซานน์ เมื่อวนั ท่ี ๑๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๙๒ ในการประชุมสภาผูแ้ ทนราษฎร คร้ังท่ี ๒๐/๒๔๙๒ (สามญั ) ชุดที่ ๑ วนั พฤหัสบดีท่ี ๘ กนั ยายน พ.ศ. ๒๔๙๒ ประธานสภาผแู้ ทนไดแ้ จง้ เร่ืองที่ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวทรงหม้นั กบั หม่อมราชวงศ์ สิริกิต์ิ กิติยากร ใหท้ ี่ประชุมทราบ สมาชิกสภาผแู้ ทนในท่ีประชุมรับทราบและปรบมือดว้ ยความชื่นชมยนิ ดี ในการคร้ังน้ีประธานสภาผูแ้ ทน และประธานวุฒิสภา ได้มีโทรเลขถวายพระพร ดงั มีขอ้ ความ ต่อไปน้ี

โทรเลขถวายพระพรจากประธานสภาผู้แทน* สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั แห่งประเทศไทย ณ พระตาํ หนกั ที่ประทบั โลซานน์ สวิตเซอร์แลนด์ ขอเดชะฝ่ าละอองธุลีพระบาท สภาผแู้ ทนไดร้ ับทราบเรื่องพิธีหม้นั ของใตฝ้ ่ าละอองธุลีพระบาทกบั หม่อมราชวงศ์หญิงศิริ กิต กิติยากร ด้วยความช่ืนชมยินดีโดยพร้อมเพรี ยง ในนามของสภาผูแ้ ทน ขา้ พระพทุ ธเจา้ ขอพระราชทานต้งั สตั ยาธิษฐานขอใหใ้ ตฝ้ ่ าละอองธุลีพระบาท อีกท้งั คูห่ ม้นั ของพระองคจ์ ง ทรงประสพแด่ความสุขสาํ ราญและเจริญดว้ ยพระชนมายยุ งิ่ ยนื นาน เทอญ ดว้ ยเกลา้ ดว้ ยกระหม่อม ขอเดชะ ขา้ พระพทุ ธเจา้ เพยี ร ราชธรรมนิเทศ ประธานสภาผแู้ ทน (*จากรายงานการประชุมสภาผูแ้ ทน คร้ังท่ี ๒๑/๒๔๙๒ (สามัญ) ชุดที่ ๑ วนั จันทร์ท่ี ๑๒ กันยายน พทุ ธศกั ราช ๒๔๙๒)

โทรเลขถวายพระพรจากประธานวุฒิสภา* ขอเดชะฝ่ าละอองธุลีพระบาทปกเกลา้ ปกกระหม่อม ณ ท่ีประทบั เมืองโลซานน์ สวิสเซอร์แลนด์ ในนามของสมาชิกวุฒิสภา ขา้ พระพุทธเจา้ ขอพระราชทานพระบรมราชวโรกาศกราบบงั คมทูล พระกรุณาดว้ ยความปิ ติยนิ ดีอยา่ งจริงใจในการที่ไดท้ รงกระทาํ พระราชพิธีหม้นั ขอนอ้ มเกลา้ ฯ ถวายพระพร ใหท้ รงพระเกษมสาํ ราญ พร้อมดว้ ยหม่อมราชวงศห์ ญิงศิริกิต กิติยากร ดว้ ยเกลา้ ดว้ ยกระหม่อม ขอเดชะ ขา้ พระพทุ ธเจา้ ศรีธรรมาธิเบศ ประธานวฒุ ิสภา His Majesty The King of Thailand Lausanne Switzerland On behalf of the members of the Senate. I humbly beg to submit to your Majesty our heartfelt felicitation for your Majesty’s betrothal and wish your Majesty and M.R. Sirikit Kitiyakara all happiness. Sritharmathibes President of the Senate (*จากรายงานการประชุมวุฒิสภา คร้ังที่ ๑๐/๒๔๙๒ (สามญั ) ชุดที่ ๑ วนั จนั ทร์ที่ ๑๒ กนั ยายน พุทธศกั ราช ๒๔๙๒)

ฃพระราชพธิ ีราชาภเิ ษกสมรส พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวทรงประกอบพระราชพิธีราชาภิเษกสมรส ณ พระตาํ หนกั ของสมเด็จ พระศรีสวรินทิรา บรมราชเทวี พระพนั วสั สาอยั ยกิ าเจา้ วงั สระปทุม เมื่อวนั ท่ี ๒๘ เมษายน พ.ศ. ๒๔๙๓ เวลา ๙.๓๐ น. พลโท มงั กร พรหมโยธี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ทูลเกลา้ ถวายทะเบียน สมรส พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวทรงลงพระปรมาภิไธยในสมุดทะเบียนสมรสเป็ นพระองคแ์ รกและ โปรดเกลา้ ฯ ให้หม่อมราชวงศ์สิริกิต์ิ กิติยากร ลงนามในลาํ ดับต่อมา หม่อมเจ้านักขตั รมงคล กิติยากร ลงพระนามในฐานะบิดาผใู้ ห้ความยินยอมตามกฎหมาย เนื่องจากหม่อมราชวงศส์ ิริกิต์ิ กิติยากร (ขณะน้นั มีอายุ ๑๘ ปี ) ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ แลว้ ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ให้ราชสักขี คือ พระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมขนุ ชยั นาทนเรนทร และจอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี ลงนามดว้ ย เวลา ๑๐.๔๕ น. สมเด็จพระศรีสวรินทิรา บรมราชเทวี พระพนั วสั สาอยั ยิกาเจา้ เสด็จออกห้อง พระราชพิธีถวายน้าํ พระพทุ ธมนต์ เทพมนต์ และทรงเจิมแด่พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั จากน้นั ทรงรดน้าํ พระพุทธมนต์ เทพมนต์ และทรงเจิมแด่หม่อมราชวงศส์ ิริกิต์ิ กิติยากร ในพระราชพิธีราชาภิเษกสมรสตาม โบราณราชประเพณี การพระราชพิธีราชาภิเษกสมรสคร้ังน้ี พระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู ัว ทรงมีพระบรมราชโองการ โปรดเกลา้ ฯ ผา่ นไปทางสาํ นกั ราชเลขาธิการในพระองค์ ใหพ้ ระราชธรรมนิเทศ ประธานสภาผแู้ ทน พนั ตรี ควง อภยั วงศ์ สมาชิกสภาผแู้ ทน จงั หวดั พระนคร หม่อมราชวงศเ์ สนีย์ ปราโมช สมาชิกสภาผแู้ ทน จงั หวดั พระนคร นายเกษม บุญศรี สมาชิกสภาผแู้ ทน จงั หวดั นครสวรรค์ และนายยกเสียง เหมภูติ สมาชิกสภาผแู้ ทน จงั หวดั ระนอง เป็นผเู้ ขา้ เฝ้ าถวายน้าํ มุรธาภิเษก ในฐานะสมาชิกสภาผแู้ ทนซ่ึงเป็นตวั แทนของปวงชนชาวไทย สาํ หรับผแู้ ทนวฒุ ิสภาซ่ึงไดเ้ ขา้ เฝ้ าถวายน้าํ มุรธาภิเษก ในการพระราชพิธีราชภิเษกสมรสคร้ังน้ี ไดแ้ ก่ พระยา อุดมพงษเ์ พญ็ สวสั ด์ิ พลโท พระยาวชิ ิตวงศว์ ฒุ ิไกร พลโท พระยาศรีศรราช และพระยาอคั รราชทรงศิริ

พระราชโอรสและพระราชธิดา พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั และสมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงมีพระราชโอรสและ พระราชธิดา ๔ พระองค์ ดงั น้ี ๑. สมเด็จพระเจา้ ลูกเธอ เจา้ ฟ้ าอุบลรัตนราชกญั ญา สิริวฒั นาพรรณวดี (ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตน ราชกัญญา) ประสูติ ณ สถานพยาบาลมองต์ซัวซี เมืองโลซานน์ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เม่ือวนั ที่ ๕ เมษายน พ.ศ. ๒๔๙๔ ๒. สมเด็จพระเจา้ ลูกยาเธอ เจา้ ฟ้ าวชิราลงกรณ บรมจกั รยาดิศรสันตติวงศเทเวศร ธาํ รงสุบริบาล อภิคุณูประการมหิตลาตุลเดช ภูมิพลนเรศวรางกรู กิตติสิริสมบูรณสวางควฒั น์ บรมขตั ติยราชกุมาร ประสูติ ณ พระที่นัง่ อมั พรสถาน พระราชวงั ดุสิต เมื่อวนั ที่ ๒๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๙๕ ต่อมาทรงไดร้ ับ พระบรมราชโองการโปรดเกลา้ ฯ ให้สถาปนาข้ึนเป็ นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจา้ ฟ้ ามหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร สิริกิติยสมบูรณสวางควฒั น์ วรขตั ติยราชสันตติวงศ์ มหิตลพงศอดุลยเดช จกั รีนเรศ ยพุ ราชวสิ ุทธ สยามมกฎุ ราชกมุ าร เม่ือวนั ที่ ๒๘ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๑๕ ๓. สมเด็จพระเจา้ ลูกเธอ เจา้ ฟ้ าสิรินธรเทพรัตนสุดา กิติวฒั นาดุลยโสภาคย์ ประสูติ ณ พระท่ีนั่ง อมั พรสถาน พระราชวงั ดุสิต เมื่อวนั ท่ี ๒ เมษายน พ.ศ. ๒๔๙๘ ต่อมาทรงไดร้ ับพระบรมราชโองการ โปรดเกลา้ ฯ ใหส้ ถาปนาข้ึนเป็ น สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา เจา้ ฟ้ ามหาจกั รีสิรินธร รัฐสีมาคุณากรปิ ยชาติ สยามบรมราชกมุ ารี เมื่อวนั ที่ ๕ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๔๒๐ ๔. สมเดจ็ พระเจา้ ลูกเธอ เจา้ ฟ้ าจุฬาภรณวลยั ลกั ษณ์ อคั รราชกุมารี ประสูติ ณ พระท่ีนง่ั อมั พรสถาน พระราชวงั ดุสิต เม่ือวนั ที่ ๔ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๐

การสถาปนาพระอสิ ริยยศ สมเดจ็ พระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ไดร้ ับการสถาปนาพระอิสริยยศ ๓ คร้ัง ตามลาํ ดบั ดงั น้ี คร้ังท่ี ๑ เม่ือวนั ที่ ๒๘ เมษายน พ.ศ. ๒๔๙๓ ในวโรกาสพระราชพิธีราชาภิเษก ทรงมีพระบรมราชโองการโปรดเกลา้ ฯ สถาปนาหม่อมราชวงศ์ สิริกิต์ิ พระอคั รมเหสี เป็น “สมเด็จพระราชินีสิริกติ ์”ิ คร้ังที่ ๒ เมื่อวนั ที่ ๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๙๓ ในวโรกาสพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ทรงมีพระบรมราชโองการโปรดเกลา้ ฯ ประกาศสถาปนา เฉลิมพระเกียรติยศ สมเดจ็ พระราชินีสิริกิต์ิ ข้ึนเป็น “สมเดจ็ พระนางเจ้าสิริกติ ์ิ พระบรมราชินี” คร้ังที่ ๓ เม่ือวนั ที่ ๕ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๔๙๙ ดว้ ยสมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินี ทรงดาํ รงตาํ แหน่งผูส้ ําเร็จราชการแทนพระองค์ ระหว่างท่ีพระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู ัวทรงผนวช (๒๒ ตุลาคม – ๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๙๙) จึงทรงมี พระบรมราชโองการโปรดเกลา้ ฯ ให้เฉลิมพระอภิไธยสมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีว่า “สมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ” เพ่ือเป็ นการเชิดชูพระเกียรติ นบั เป็ นพระบรมราชินีนาถองคท์ ี่สอง แห่งราชวงศ์จักรี (องค์แรก คือ สมเด็จพระศรี พัชริ นทรา พระบรมราชินีนาถ ในพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั )

พระราชกรณยี กจิ ของสมเดจ็ พระนางเจ้าสิริกติ ์ิ พระบรมราชินีนาถ สมเดจ็ พระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ไดแ้ สดงถึงพระราชปณิธานอนั แน่วแน่ที่จะทรงบาํ เพญ็ พระราชกรณียกิจ เพ่ือทาํ นุบาํ รุงราชอาณาจกั รและมรดกวฒั นธรรมไทย ท่ีบรรพบุรุษไดส้ ร้างสมไว้ จนตกทอดมาถึงอนุชนไทยรุ่นหลงั ทรงอุทิศ พระปัญญา พระวรกายและพระราชทรัพย์ ดว้ ยพระวิริยะ อุตสาหะอย่างยิ่งในการทาํ นุบาํ รุงชาวไทยให้อยู่ดีกินดี ทรงเขา้ พระทยั ปัญหาพ้ืนฐานของทุกทอ้ งถิ่นทว่ั ทุกภูมิภาค โดยเฉพาะส่ิงท่ีเป็นสาเหตุทาํ ใหป้ ระชาชนตอ้ งมีชีวิตท่ีขดั สน ทรงตระหนกั วา่ ความยากจน หาก มิไดม้ ีการเยยี วยายอ่ มจะเป็ นอุปสรรคต่อการพฒั นาประเทศในระยะยาว จึงทรงปรารถนาอยา่ งแรงกลา้ ท่ีจะ สงเคราะห์ให้พน้ จากสภาพความยากจน ความเจ็บไข้ ความไม่รู้ โดยช่วยยกฐานะความเป็ นอย่ใู ห้สูงข้ึน ให้สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ดว้ ยเหตุน้ีจึงไดก้ ่อให้เกิดโครงการพฒั นาอนั เน่ืองมาจากพระราชดาํ ริเพ่ือ ปวงประชาข้ึนในแต่ละพ้นื ท่ีของประเทศอยา่ งกวา้ งขวางหลายโครงการและหลายรูปแบบ อยา่ งไรกต็ าม โครงการท่ีสมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงเอาพระทยั ใส่เป็นพเิ ศษ ไดแ้ ก่ โครงการพฒั นาที่ครอบคลุมลกั ษณะงาน ๔ ประการ คือ ๑. การอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม ๒. การศึกษา ๓. สาธารณสุข ๔. ศิลปวฒั นธรรม

สมเดจ็ พระนางเจ้าสิริกติ ์ิ พระบรมราชินีนาถ กบั การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถทรงมีสายพระเนตรกวา้ งไกลทรงเลง็ เห็นคุณค่าของ ธรรมชาติท่ีมีความสาํ คญั ต่อชีวิตมนุษยท์ ี่นบั วนั จะย่งิ เสื่อมโทรมลง อีกท้งั ทรงตระหนกั ดีว่าสภาพแวดลอ้ ม และทรัพยากรธรรมชาติของประเทศท่ีกําลังถูกทําลายลงอย่างน่าเป็ นห่วง เกิดจากการนําเอา ทรัพยากรธรรมชาติมาใชอ้ ยา่ งฟ่ ุมเฟื อย ไร้ขอบเขต และขาดความรู้ความเขา้ ใจในความสาํ คญั ของธรรมชาติ และสิ่งแวดลอ้ ม ก่อให้เกิดผลกระทบต่อการดาํ รงชีวิตของราษฎรและส่ิงมีชีวิตอ่ืน ๆ ท้งั ทางตรงและ ทางออ้ ม จึงไดท้ รงพยายามท่ีจะใหร้ าษฎรมีความผกู พนั ในธรรมชาติและทรัพยากรต่างๆ เช่น พืช ป่ าไม้ และ สตั วป์ ่ า ดงั น้นั โครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดาํ ริที่เกี่ยวกบั ส่ิงแวดลอ้ มจึงเกิดข้ึนมากมาย อาทิ โครงการ ป่ ารักน้าํ โครงการบา้ นเลก็ ในป่ าใหญ่ โครงการพิทกั ษป์ ่ าเพื่อรักษาชีวิต การอนุรักษส์ ตั วน์ ้าํ เป็นตน้ จึงเห็น ไดว้ ่าพระองคท์ ่านทรงเป็ นนกั อนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มสาํ คญั ยงิ่ พระองคห์ น่ึงที่ชาวโลก ยกยอ่ งและสดุดีพระเกียรติคุณ โครงการป่ ารักนํา้ ดว้ ยพระราชปณิธานอนั แน่วแน่ของสมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ที่ทรงห่วงใยถึง ภาวะความแห้งแลง้ ของประเทศ โดยเฉพาะทางภาคอีสานซ่ึงไดท้ อดพระเนตรเห็นแลว้ ว่ามีความแห้งแลง้ ยง่ิ กวา่ ภาคอื่นใด จึงทรงมีพระราชดาํ ริที่จะหาทางแกไ้ ขดว้ ยการปลูกป่ า ณ บริเวณเชิงเขาภูผาเหลก็ ติดต่อกบั อ่างเก็บน้าํ คาํ จวง บา้ นถ้าํ ติ้ว ตาํ บลส่องดาว อาํ เภอส่องดาว จงั หวดั สกลนคร เพ่ือให้ป่ าที่เส่ือมโทรมหรือ หมดสภาพป่ ากลับมามีความอุดมสมบูรณ์เหมือนดังเดิม โดยมีการชักชวนขา้ ราชการส่วนต่างๆ และ ประชาชนทวั่ ไปใหเ้ ขา้ มามีส่วนร่วมในการปลูกป่ าตวั อยา่ ง เพื่อเป็นการปลูกฝังใหป้ ระชาชนเกิดความรู้สึก รักและหวงแหนป่ าไม้อันเป็ นแหล่งต้นน้ําลาํ ธาร และเมื่อวนั ที่ ๒๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๒๕ จึงทรง พระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ให้ประกอบพิธีบวงสรวงที่บริเวณอ่างเก็บน้าํ คาํ จวง เพ่ืออญั เชิญเทพารักษ์ เจา้ ป่ า เจา้ เขา มาสถิตอยู่ ณ ป่ าที่จะปลกู ข้ึนแห่งน้ี พร้อมท้งั พระราชทานช่ือโครงการน้ีวา่ โครงการป่ ารักนํา้ เสดจ็ ฯ ทรงเย่ียมสมาชิกหม่บู ้านป่ ารักนํา หนองไผ่ อ.สวา่ งแดนดิน จ.สกลนคร

ในโครงการป่ ารักน้าํ น้ีนอกจากพระองคจ์ ะทรงปลูกตน้ ไมเ้ ป็ นตวั อยา่ งแก่ราษฎรแลว้ พระองคย์ งั โปรดให้จา้ งราษฎรยากจนที่เคยลกั ลอบตดั ไมม้ าก่อนมาเป็ นแรงงานปลูกป่ า เพื่อให้มีรายได้พอยงั ชีพ ไม่ตอ้ งลกั ลอบตดั ไมข้ ายให้พ่อคา้ อีกต่อไป ท้งั ยงั เป็ นการปลูกฝังใหเ้ ห็นความสาํ คญั ของป่ าไม้ ก่อให้เกิด ความหวงแหนป่ าไมท้ ่ีพวกตนไดป้ ลูก โครงการป่ ารักน้าํ ตามพระราชดาํ ริจึงก่อให้เกิดป่ าไมแ้ ละตน้ น้าํ ที่ อุดมสมบูรณ์อีกคร้ัง หลงั จากท่ีมีการดาํ เนินโครงการป่ ารักน้าํ ที่บา้ นถ้าํ ติ้วแลว้ โครงการน้ียงั ไดข้ ยายไปยงั พ้ืนที่อ่ืน ๆ เช่น โครงการป่ ารักน้าํ บา้ นป่ ารักน้าํ ตาํ บลโคกสี อาํ เภอสว่างแดนดิน จงั หวดั สกลนคร โครงการป่ ารักน้าํ บา้ นกดุ นาขาม ตาํ บลเจริญศิลป์ อาํ เภอเจริญศิลป์ จงั หวดั สกลนคร โครงการป่ ารักน้าํ หาดทรายใหญ่ จงั หวดั ประจวบคีรีขนั ธ์ โครงการป่ ารักน้าํ บา้ นจาเลาะสโตร์ ตาํ บลกะลุวอ อาํ เภอเมือง จงั หวดั นราธิวาส เป็นตน้ โครงการบ้านเลก็ ในป่ าใหญ่ สมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ไดเ้ สด็จพระราชดาํ เนินเย่ียมเยียนราษฎรบา้ น ห้วยหล่อดูกตาํ บลแม่ต่ืนและตาํ บลม่อนจองอาํ เภออมก๋อยจังหวดั เชียงใหม่ เม่ือวนั ที่ ๔ มีนาคมพ.ศ. ๒๕๓๔ ไดท้ อดพระเนตรเห็นสภาพป่ าไมซ้ ่ึงส่วนใหญ่ยงั เป็นป่ าสมบูรณ์ และเป็นถ่ินกาํ เนิดของสตั วป์ ่ าหายาก อีกท้งั ราษฎรในพ้ืนที่ส่วนใหญ่มีความเป็ นอย่ทู ่ียากไร้ อาชีพส่วนใหญ่ คือ ทาํ ไร่เล่ือนลอยดว้ ยการเผา ถางป่ า ตดั ไม้ ล่าสัตว์ จนพ้ืนที่ของป่ าบางแห่งกลายสภาพเป็นป่ าเส่ือมโทรม และสตั วป์ ่ าบางชนิดใกลจ้ ะสูญพนั ธุ์ สมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ จึงไดพ้ ระราชทานพระราชดาํ ริใหห้ น่วยงานต่างๆ ในพ้ืนท่ี ที่เกี่ยวขอ้ งท้งั ฝ่ ายทหาร ตาํ รวจ และพลเรือนร่วมกนั รักษาสภาพป่ าในพ้ืนท่ีป่ าอมก๋อยใหอ้ ุดมสมบูรณ์ และ ฟ้ื นฟูสภาพป่ าท่ีถูกทาํ ลายให้กลบั สู่สภาพเดิม พร้อมท้งั พระราชทานชื่อโครงการน้ีว่า โครงการบ้านเล็ก ในป่ าใหญ่ เสดจ็ ฯ ทรงเย่ียมโครงการบ้านเลก็ ในป่ าใหญ่ บ้านห้วยไม้หก จ.เชียงใหม่

โครงการบา้ นเลก็ ในป่ าใหญ่อนั เนื่องมาจากพระราชดาํ ริ ไดเ้ ริ่มข้ึนท่ีบา้ นหว้ ยไมห้ ก ตาํ บลม่อนจอง อาํ เภออมก๋อย จงั หวดั เชียงใหม่ ซ่ึงเป็ นหมู่บา้ นที่มีการสํารวจพบว่าเป็ นหมู่บา้ นที่ดอ้ ยพฒั นาที่สุด และ เพือ่ ใหเ้ ป็นหม่บู า้ นนาํ ร่อง จึงมีการจดั ต้งั กลุ่มทอผา้ ศิลปาชีพฯ ดาํ เนินการปลกู ไมใ้ ชส้ อยในชุมชน ส่วนดา้ น การพฒั นาคุณภาพชีวิตไดม้ ีการสนบั สนุนพนั ธุ์ไมผ้ ล ไมย้ นื ตน้ พืชผกั สวนครัว และสนบั สนุนพนั ธุ์ไก่ หมู ววั ให้ประชาชนเล้ียงเพื่อยงั ชีพ ตลอดจนพระองคไ์ ดพ้ ระราชทานพระราชทรัพยส์ ่วนพระองคใ์ ห้จดั ต้งั ธนาคารขา้ วพระราชทานข้ึน เพ่อื ช่วยราษฎรที่ขาดแคลนขา้ วบริโภคในฤดูแลง้ อีกดว้ ย โครงการบ้านเล็กในป่ าใหญ่นอกจากท่ีบ้านห้วยไม้หกแล้วยงั มีโครงการบ้านเล็กในป่ าใหญ่ บา้ นห้วยจะค่าน ตาํ บลปิ งโคง้ อาํ เภอเชียงดาว จงั หวดั เชียงใหม่ โครงการบา้ นเลก็ ในป่ าใหญ่บา้ นทนั สมยั ตาํ บลมหาชยั อาํ เภอปลาปาก จงั หวดั นครพนม โครงการบา้ นเลก็ ในป่ าใหญ่ ผานาง-ผาเกิ้ง ตาํ บลผาอินทร์แปลง ก่ิงอาํ เภอเอราวณั จงั หวดั เลย โครงการบา้ นเล็กในป่ าใหญ่บา้ นน้อมเกลา้ ตาํ บลบุ่งคา้ อาํ เภอเลิงนกทา จงั หวดั ยโสธร โครงการบา้ นเลก็ ในป่ าใหญ่ดอยคาํ จงั หวดั เชียงใหม่ โครงการบา้ นเลก็ ในป่ าใหญ่ อาํ เภอ แม่สรวย จงั หวดั เชียงราย โครงการบา้ นเลก็ ในป่ าใหญ่ดอยผา้ ห่มปก จงั หวดั เชียงใหม่ เป็นตน้ โครงการพทิ กั ษ์ป่ าเพอ่ื รักษาชีวติ จากพระราชปณิธานของสมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถที่ทรงมีพระราชประสงคใ์ ห้ “คน” กบั “ป่ า” อยรู่ ่วมกนั อยา่ งสันติ โดยพ่ึงพาอาศยั ซ่ึงกนั และกนั ทาํ ใหร้ าษฎรทุกหมู่เหล่าต่างสาํ นึกใน พระมหากรุ ณาธิคุณ ได้ร่วมแรงร่ วมใจกันอนุรักษ์ทรัพยากรป่ าไม้ใกล้ชุมชน เป็ นผลให้ป่ าไม้ใน ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือเริ่มรักษาไวไ้ ดม้ ากข้ึน จึงไดพ้ ระราชทานแนวพระราชดาํ ริให้ราษฎรอยู่ร่วมกบั ป่ าไมอ้ ยา่ งสันติสุข พ่ึงพาอาศยั ซ่ึงกนั และกนั โดยชุมชน/หมู่บา้ นไดม้ ีการจดั ต้งั องคก์ ารในการร่วมกนั ดูแล รักษาป่ าและสภาพแวดลอ้ ม แหล่งตน้ น้าํ ลาํ ธาร โครงการน้ีมีกิจกรรมหลกั ๒ ประเภท คือ กิจกรรมโครงการ ฝึ กอบรมราษฎรอาสาสมัครพทิ กั ษ์ป่ า (รสทป.) เพื่อกระตุน้ และสร้างจิตสาํ นึกใหก้ บั ประชาชนที่อยใู่ กลก้ บั แนวเขตป่ า ให้เห็นถึงคุณค่าและความสําคญั ของป่ าไม้ เลิกการตดั ไมท้ าํ ลายป่ าแลว้ หันมาช่วยกนั ดูแล รักษาป่ าและกิจกรรม โครงการธง “พทิ ักษ์ป่ าเพื่อรักษาชีวิต” สมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ไดพ้ ระราชทานพระราชดาํ ริเก่ียวกบั โครงการธง “พิทกั ษป์ ่ าเพื่อรักษาชีวิต” โดยสรุปสาระสาํ คญั ไดว้ า่ เพ่ือ คดั เลือกหมู่บา้ น/ชุมชนและบุคคลที่มีผลงานดา้ นการอนุรักษ์ทรัพยากรป่ าไมด้ ีเด่น จนเป็ นที่ยอมรับจาก ชุมชนในระดบั ทอ้ งถ่ินจนถึงระดบั ประเทศ โครงการธง “พิทกั ษป์ ่ าเพ่ือรักษาชีวิต” จึงไดถ้ ือกาํ เนิดข้ึนและ ไดร้ ับนโยบายใหป้ ฏิบตั ิในทว่ั ทุกภาคต่อไป

โครงการฟื้ นฟูอาหารช้างป่ าภูหลวง จังหวดั เลย เน่ืองจากเขตรักษาพนั ธุ์สัตวป์ ่ าภูหลวงมีพ้ืนที่กวา้ งใหญ่ แต่สภาพดา้ นนอกเป็ นหมู่บา้ นชุมชน โดยรอบ จึงเป็ นการยากที่จะหลีกเล่ียงปัญหาการบุกรุกป่ าเพื่อขยายพ้ืนที่ทาํ กิน เป็ นสาเหตุหน่ึงท่ีทาํ ให้ ชา้ งป่ าไดอ้ อกไปนอกเขตฯ และทาํ ความเสียหายต่อพืชไร่ของราษฎรท่ีปลกู ไว้ ซ่ึงตลอดระยะเวลาท่ีผา่ นมา ไดป้ ระสบกบั ปัญหาชา้ งป่ าไดอ้ อกไปหากินนอกเขตฯ และทาํ ความเสียหายทาํ ลายพืชไร่ของราษฎรท่ีปลูก ไวอ้ ยเู่ ป็นประจาํ ในช่วงฤดูหนาว โอกาสที่ชา้ งป่ าจะถกู ทาํ ร้ายเสียชีวติ จึงมีมาก ซ่ึงเขตรักษาพนั ธุ์สตั วภ์ ูหลวง ไดต้ ระหนกั ถึงปัญหาน้ีมาโดยตลอด ในอนั ท่ีจะหาแนวทางแกไ้ ขปัญหาดงั กล่าว จึงเกิดโครงการฟื้ นฟูอาหาร ช้ างป่ าภูหลวง จังหวัดเลย ข้ึนตามพระราชดําริ ของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ที่ใหม้ ีการพจิ ารณาดาํ เนินการโครงการปลูกพืชอาหารชา้ งในพ้ืนท่ีป่ าธรรมชาติภายในเขตรักษาพนั ธุ์สัตวป์ ่ า ภูหลวง จงั หวดั เลย เพื่อเป็นแหล่งอาหารใหก้ บั ชา้ ง และช่วยป้ องกนั ไม่ใหช้ า้ งป่ าออกไปหากินนอกเขตรักษา พนั ธุ์สตั วป์ ่ า โครงการอนุรักษ์ธรรมชาติและสัตว์ป่ าสวนป่ าพระนามาภิไธย จงั หวดั สงขลา และสตูล ด้วยพระมหากรุ ณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าสิริ กิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ที่ไดท้ รงเสด็จยงั จงั หวดั ชายแดนภาคใตแ้ ละไดพ้ บดว้ ยพระองคเ์ องว่า พ้ืนท่ีป่ าอนั เป็ น แหล่งตน้ น้าํ ลาํ ธาร และแหล่งท่ีอย่อู าศยั ของสัตวป์ ่ าทางภาคใตถ้ ูกทาํ ลายลงไปเป็ นจาํ นวนมาก ถา้ หากไม่ หยดุ ย้งั การทาํ ลายป่ าจะทาํ ใหเ้ กิดการเสียดุลทางธรรมชาติเป็นผลเสียหายต่อประชาชนท้งั ๕ จงั หวดั ภาคใต้ จึงทรงพระราชทานพระราชดาํ ริวา่ สมควรท่ีจะมีการป้ องกนั รักษาป่ า โดยเฉพาะตน้ น้าํ ลาํ ธารบริเวณพ้ืนท่ีป่ า เขตรักษาพนั ธุ์สัตวป์ ่ าโตนงาชา้ ง จนถึงอุทยานแห่งชาติทะเลบนั ให้ดาํ รงอยู่ตลอดไป ซ่ึงจากพระราชดาํ ริ ดงั กล่าวโครงการอนุรักษธ์ รรมชาติสตั วป์ ่ าและสวนป่ า ในพ้ืนที่จงั หวดั ชายแดนภาคใตไ้ ดถ้ ูกกาํ หนดข้ึนเพื่อ ดาํ เนินการตามพระราชดาํ ริ

โครงการศูนย์เพาะเลยี้ ง และขยายพนั ธ์ุสัตว์ป่ าจากพระราชดําริ สมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ทรงเล็งเห็นปัญหาแหล่งที่อยู่อาศยั ของสัตวป์ ่ า ถูกทาํ ลาย ถูกล่า จึงมีพระราชประสงคใ์ ห้มีศูนยเ์ พาะเล้ียงและขยายพนั ธุ์สัตวป์ ่ าข้ึนในทอ้ งถิ่นทุกภาคของ ประเทศ เพ่ือใหเ้ ป็ นศูนยเ์ พาะเล้ียงและขยายพนั ธุ์สัตวป์ ่ าอนั เป็ นศูนยก์ ลางการศึกษา คน้ ควา้ วิจยั เก่ียวกบั ชีวิตของสัตวป์ ่ า ตลอดจนการปลูกพืชอาหารสัตวเ์ สริมในพ้ืนท่ีธรรมชาติและเผยแพร่งานการวิจยั น้ันแก่ ประชาชนในทอ้ งถิ่น เพื่อเป็ นการอนุรักษส์ ัตวป์ ่ าที่หายากและกาํ ลงั สูญพนั ธุ์ นอกจากน้ีพระองคย์ งั ได้ ทรงพระราชทานพระราชดาํ ริที่เปรียบเสมือนการวางแผนเชื่อมโยงจากศูนยเ์ พาะเล้ียงฯ ว่า “เมื่อสัตวป์ ่ า แต่ละชนิดขยายพนั ธุ์ไดม้ ีปริมาณมากข้ึนแลว้ ก็ให้ดาํ เนินการปล่อยคืนสู่ป่ าธรรมชาติท่ีเป็ นถิ่นท่ีอาศยั ของ สัตวป์ ่ าชนิดน้นั ๆ เพื่อเป็ นการเพิ่มจาํ นวนประชากรสัตวป์ ่ าในธรรมชาติไม่ให้สูญพนั ธุ์ได”้ จากน้ันศูนย์ เพาะเล้ียงและขยายพนั ธุ์สัตวป์ ่ าก็เกิดข้ึนทวั่ ทุกภาคของประเทศ อาทิ ศูนยเ์ พาะเล้ียงและขยายพนั ธุ์สัตวป์ ่ า โคกไมเ้ รือ จงั หวดั นราธิวาส ศูนยเ์ พาะเล้ียงและขยายพนั ธุ์สตั วป์ ่ าภูเขียว จงั หวดั ชยั ภูมิ ศูนยเ์ พาะเล้ียงและ ขยายพนั ธุ์สัตว์ป่ าช่องกล่าํ บน จังหวดั ปราจีนบุรี ศูนย์เพาะเล้ียงและขยายพนั ธุ์สัตว์ป่ าเขาคอ้ จังหวดั เพชรบูรณ์ ศนู ยเ์ พาะเล้ียงและขยายพนั ธุส์ ตั วป์ ่ าหว้ ยทราย จงั หวดั เพชรบุรี เป็นตน้ การอนุรักษ์สัตว์นํา้ สมเดจ็ พระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ทรงสละเวลาส่วนพระองค์ มาใหค้ วามสนพระทยั และ ทรงศึกษาเก่ียวกบั สัตวน์ ้าํ ทรงพระราชทานคาํ แนะนาํ แก่กรมประมงในการจดั ต้งั โครงการต่างๆ อนั อาํ นวย คุณประโยชน์แก่การอนุรักษส์ ตั วน์ ้าํ ตลอดจนทรงตระหนกั ถึงปัญหาจาํ นวนสตั วน์ ้าํ ท่ีลดลง จึงเกิดโครงการ อนุรักษส์ ตั วน์ ้าํ เพื่อการพาณิชยแ์ ละการบริโภค ส่งผลทาํ ใหค้ วามเป็นอยขู่ องชาวชนบทดีข้ึน จึงเกิดโครงการ อนุรักษแ์ ละเพาะเล้ียงสัตวน์ ้าํ ข้ึนในประเทศหลายโครงการ อาทิ โครงการฟ้ื นฟูปลาไทย โครงการจดั ต้งั วงั ปลา ณ ศนู ยศ์ ิลปาชีพบางไทร โครงการสมเดจ็ พระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถอนุรักษพ์ นั ธุ์เต่าทะเล โครงการเพาะพนั ธุห์ อยมุกจาน เป็นตน้

นอกจากนี้โครงการเนื่องในพระราชดําริเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมยังมีอีก หลายโครงการ อาทิ - โครงการฟ้ื นฟแู ละอนุรักษป์ ่ าทุ่งทะเลอนั เน่ืองมาจากพระราชดาํ ริ จ.กระบ่ี - จดั ต้งั ศนู ยร์ วมพรรณไมบ้ า้ นร่มเกลา้ ในพระราชดาํ ริ จ.พิษณุโลก - เพาะเล้ียงและขยายพนั ธุ์เขยี ดแลวแบบธรรมชาติ จ.แมฮ่ ่องสอน - อนุรักษป์ ่ าไมแ้ ละสตั วป์ ่ าบา้ นแม่ตาํ จ.ลาํ ปาง - เพาะพนั ธุส์ ตั วน์ ้าํ ทอ้ งถ่ินคืนสู่ธรรมชาติ จ.น่าน - ช่วยเหลือราษฎรบา้ นทุ่งตน้ งิ้ว จ.เชียงใหม่ - โครงการฟ้ื นฟอู าหารชา้ ง จ.นครราชสีมา - อนุรักษป์ ่ าไมแ้ ละสตั วป์ ่ าในและนอกภูพานราชนิเวศน์ จ.สกลนคร - ฟ้ื นฟทู รัพยากรชายฝ่ังทะเลอนั เนื่องมาจากพระราชดาํ ริ (กิจกรรมจดั ซ้ือที่ดิน) จ.ปัตตานี - ฟ้ื นฟูทรัพยากรชายฝั่งทะเลฯ (กิจกรรมปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตพนั ธุ์สัตวน์ ้าํ กิจกรรม การติดตามประเมินผลการจดั สร้างแหล่งอาศยั สตั วท์ ะเล กิจกรรมปล่อยพนั ธุ์สัตวน์ ้าํ และฝึ กอบรมเกษตรกร) จ.ปัตตานี และ จ. นราธิวาส - ปรับปรุงถนนป่ าไม้ โครงการพฒั นาบา้ นกอก - บา้ นจูน อนั เน่ืองมาจากพระราชดาํ ริ จ.น่าน - ฟ้ื นฟอู าหารชา้ งป่ าอนั เน่ืองมาจากพระราชดาํ ริ จ.บุรีรัมย์ และจ.นครราชสีมา - สถานีพฒั นาการเกษตรที่สูงดอยแบแลตามพระราชดาํ ริ จ.เชียงใหม่ - ทดลองใหค้ นอยกู่ บั ป่ าอยา่ งยงั่ ยนื ในลกั ษณะ “บา้ นเลก็ ในป่ าใหญ่ดอยดาํ ” จ.เชียงใหม่ - ฟ้ื นฟูทรัพยากรชายฝ่ังทะเล (กิจกรรมจดั วางตูร้ ถไฟเพื่อจดั สร้างเป็ นแหล่งอาศยั ของสัตวท์ ะเล) จ.ปัตตานีและจ.นราธิวาส - สถานีพฒั นาการเกษตรที่สูงภูพยคั ฆต์ ามพระราชดาํ ริ จ.น่าน - สถานีพฒั นาการเกษตรที่สูงดอยแบแลตามพระราชดาํ ริ อาํ เภออมก๋อย จ.เชียงใหม่ - สถานีพฒั นาการเกษตรที่สูงตามพระราชดาํ ริบา้ นธารทอง จ.เชียงราย - สถานีพฒั นาการเกษตรท่ีสูงดอยอมพายตามพระราชดาํ ริ จ.เชียงใหม่ - ธนาคารไมฟ้ ื น-ไมใ้ ชส้ อยตามพระราชดาํ ริ จ.เชียงใหม่ จ.เชียงราย และจ.น่าน - สถานีพฒั นาการเกษตรที่สูงตามพระราชดาํ ริ บา้ นหว้ ยหยวกป่ าโซ จ.เชียงราย

สมเดจ็ พระนางเจ้าสิริกติ ์ิ พระบรมราชินีนาถ กบั การศึกษา สมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ทรงใฝ่ พระราชหฤทยั ในการเรียนรู้ มาต้งั แต่ยงั ทรงพระเยาว์ ทรงช่างซกั ช่างถาม ช่างจดจาํ ดว้ ยพระปรีชาสามารถปราดเปร่ืองประกอบกบั พระบิดาทรง เป็ นผรู้ อบรู้ในวิชาการต่างๆ ท้งั ทางการทหาร การเมือง อกั ษรศาสตร์ ประวตั ิศาสตร์ และปรัชญา จึงทรง ถ่ายทอดความรู้ความคิดท่ีกวา้ งขวางแก่บุตรี สมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ทรงเห็นความสาํ คญั ของการศึกษาเป็ นอย่างมาก ทรงสนพระราชหฤทยั ในการศึกษาหาความรู้ทรงพระราชดาํ ริริเร่ิมเรื่องต่างๆ อย่ตู ลอดเวลา พระองคท์ รง ศึกษาดว้ ยวิธีการต่างๆ เช่น การอ่าน การเรียน และสนทนากบั ผูร้ ู้ การฟังและทอดพระเนตรสิ่งต่างๆ หนงั สือที่ทรงอ่านมีหลายประเภท ท้งั ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ อาทิ หนงั สือพิมพ์ หนงั สือความรู้ ต่างๆ เก่ียวกบั ธรรมะ ประวตั ิศาสตร์ โบราณคดี วรรณคดี นอกจากน้ีทรงศึกษาด้วยการสังเกตจาก ของจริงและทรงใชพ้ ระราชวิจารณญาณพิจารณาเหตุผลและความเป็นไปได้ เพื่อประโยชน์แก่ประเทศชาติ ทรงเห็นคุณคา่ และโปรดการศึกษาอยา่ งต่อเนื่อง สมเดจ็ พระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ทรงเป็นนกั อ่าน เมื่อทรงอ่านพบส่ิงที่น่าสนใจซ่ึงเป็น ประโยชน์แก่ผใู้ ดก็มีพระราชกระแสให้จดั หาหนังสือเหล่าน้ัน หรือทรงอ่านบนั ทึกลงในแถบบนั ทึกเสียง ถา้ เป็ นภาษาต่างประเทศก็มีพระราชเสาวนียใ์ ห้มีการแปล เมื่อได้ทอดพระเนตรและทรงตรวจดูแล้ว เห็นสมควรจะพระราชทานไปยงั ที่ใด กม็ ีพระราชเสาวนียใ์ หข้ า้ ราชบริพารดาํ เนินการสนองพระราชประสงค์ ทรงเป็นนกั เขียน เช่น เม่ือเจริญพระชนมพรรษา ๓๖ พรรษา ทรงพระราชนิพนธ์หนงั สือเรื่อง ความทรงจาํ ในการตามเสด็จต่างประเทศทางราชการ และพระราชทานหนังสือแก่ผู้เข้าเฝ้ าฯ ในงานวันเฉลิม พระชนมพรรษา ทรงพระราชทานพระราชดาํ รัสแก่นกั เขียนวา่ “นกั เขียนควรตอ้ งค้าํ จุนความจริง”

ทรงเป็ น “ครู” ทดี่ ี เนื่องจากทรงเห็นความสําคญั ของการศึกษาว่าต้องเร่ิมต้ังแต่วยั เยาว์ ในฐานะพระราชมารดา สมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ มีพระราชประสงคใ์ ห้พระราชโอรส พระราชธิดา มีพระสุขภาพพลานามยั ดี มีพฒั นาการท้งั ดา้ นความรู้ ความคิด และคุณธรรม จึงทรงอบรมและปฏิบตั ิ พระองค์เป็ นแบบอย่าง เช่น ทรงนําพระราชโอรสพระราชธิดาสวดมนต์ไหว้พระเป็ นประจํา ในวันข้ึนปี ใหม่ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั และสมเดจ็ พระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาพระราชทาน เล้ียงอาหารแก่เด็กพิการ ก็โปรดใหพ้ ระราชโอรสพระราชธิดาเสด็จออกเล้ียงเด็กๆ เหล่าน้นั และโปรดให้ พระพ่ีเล้ียงรายงานพระจริยวตั รของพระราชโอรสพระราชธิดาในเรื่องการเสวยพระกระยาหาร การทาํ การบา้ น การท่องหนงั สือ ถา้ ทรงเห็นวา่ ควรแกไ้ ขสิ่งใดกท็ รงแนะนาํ ใหแ้ กไ้ ข นอกจากน้ี พระองคย์ งั มีพระราชจริยวตั รอนั ละมุนละไม ทรงถ่อมพระองคแ์ ละทรงยกย่องผูอ้ ื่น ตลอดจนทรงมีมธุรสวาจาทุกโอกาส ท่ีสําคญั คือ โปรดการอ่านการเขียน ไม่โปรดท่ีจะปล่อยเวลาให้ ล่วงไปโดยเปล่าประโยชน์ จึงทรงเป็ นแบบฉบบั ท่ีดีแก่พระราชโอรสพระราชธิดาตลอดมา ซ่ึงสอดคลอ้ ง กบั หลกั ของการเรียนการสอนท่ีว่า ถา้ ตอ้ งการให้ผูเ้ รียนปฏิบตั ิตนอย่างไร ผูส้ อนควรทาํ สิ่งน้ันๆ เป็ น แบบอยา่ งจะไดผ้ ลดีกวา่ สอนดว้ ยวาจา

นบั เป็นบุญของปวงชนชาวไทยเป็นอยา่ งยง่ิ ที่มีพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั และสมเดจ็ พระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ซ่ึงทรงพระคุณอนั ประเสริฐยง่ิ ทรงเป็น “ครู” ที่ดีของพระราชโอรสพระราชธิดา ไดท้ รงอบรมสั่งสอนและทรงปฏิบตั ิพระองคเ์ ป็ นแบบอย่าง ทรงเอาพระราชหฤทยั ใส่และส่งเสริมความ เป็ นอยู่ของประชาชนที่ด้อยโอกาสหรือมีความทุกข์ยากให้ดีข้ึน จึงทาํ ให้พระราชโอรส พระราชธิดา มีพระอุปนิสัยโอบอ้อมอารี ไม่ถือพระองค์ ทรงสงเคราะห์ประชาชนอยู่เสมอ ทรงเจริ ญรอยตาม พระยคุ ลบาทพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั และสมเดจ็ พระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ในการบาํ เพญ็ ประโยชนแ์ ก่ประเทศชาติ ท้งั น้ี พระองค์ยงั ทรงพระเมตตาต่อราษฎรประดุจมารดาเมตตาบุตร ทรงส่งเสริมการศึกษาแก่ ราษฎรเป็ นอนั มาก โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งผดู้ อ้ ยโอกาส ทรงสอนและทรงปฏิบตั ิเป็ นแบบอยา่ ง พระราชทาน อุปกรณ์การศึกษา ทรงสอนหนังสือราษฎรด้วยพระองค์เอง ทรงพระกรุณาเลือกหนังสือและ ส่ืออื่นๆ พระราชทานไวท้ ี่ศาลารวมใจ เพื่อให้เยาวชนและประชาชนในถิ่นกนั ดารมีหนังสือดีสําหรับอ่านบาํ รุง สติปัญญาและเพ่ิมพนู ความรู้ ทรงสอนธรรมะแก่ราษฎร เช่น ทรงนาํ ชาวบา้ นสวดมนต์ ทรงเป็นแม่พิมพท์ ่ี ดีในการอุทิศพระองคเ์ พ่ือประโยชน์สุขของส่วนรวม ราษฎรท้งั หลายจึงมีความจงรักภกั ดีเจริญรอยตาม พระยคุ ลบาทประกอบกรณียกิจเพื่อความเจริญกา้ วหนา้ ของประเทศชาติ ทรงเป็ นนักบริหารการศึกษาทด่ี ี สมเดจ็ พระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ มีพระอุปการคุณเป็นลน้ พน้ แก่การศึกษาของประเทศไทย โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ดา้ นการศึกษานอกระบบโรงเรียน ซ่ึงพระองคไ์ ดโ้ ปรดเกลา้ ฯ ใหจ้ ดั โครงการต่างๆ เพ่ือ สอนงานอาชีพและการอนุรักษส์ ิ่งแวดลอ้ ม เมื่อจะโปรดเกลา้ ฯ ให้ดาํ เนินงานโครงการใด พระองคจ์ ะทรง ศึกษาขอ้ มูลต่างๆ มีการวางแผนระยะส้นั และระยะยาว มีการทดลองโดยเริ่มจากกลุ่มเลก็ ๆ แลว้ ทรงประเมิน และทรงปรับปรุง ถา้ ไดผ้ ลจึงโปรดเกลา้ ฯใหข้ ยายออกไปใหก้ วา้ งขวาง ทรงคาํ นึงการบรรลุจุดประสงคข์ อง การศึกษาหลายๆ ดา้ น เช่น มีพระราชประสงคใ์ หร้ าษฎรมีความรู้ความสามารถในการประกอบอาชีพเสริม เพื่อเพิ่มพนู รายได้ ในขณะเดียวกนั มีพระราชประสงคจ์ ะใหร้ าษฎรมีความรู้ทว่ั ไปใหต้ ระหนกั วา่ ตนเองมี ความสาํ คญั ต่อสงั คม รู้จกั การอนุรักษธ์ รรมชาติและศิลปวฒั นธรรมดว้ ย พระมหากรุณาธิคุณต่อสถาบันการศึกษาและหน่วยงานทางการศึกษา พระราชกรณี ยกิจอีกประการหน่ึงเก่ียวกับการศึกษา คือ การโดยเสด็จพระบาทสมเด็จ พระเจา้ อย่หู ัวและบางคร้ังเสด็จพระราชดาํ เนินโดยพระองคเ์ องหรือทรงเป็ นผแู้ ทนพระองค์ ไปยงั สถาบนั ศึกษาต่างๆ ท้งั ของรัฐบาลและเอกชน เน่ืองในโอกาสสาํ คญั ของสถาบนั การศึกษา เช่น งานพิธีเปิ ดอาคาร โรงเรียน หรือ งานพระราชทานปริญญาบตั รและอนุปริญญาบตั ร เป็นตน้

พระมหากรุณาธิคุณต่อการศึกษาในระบบโรงเรียน “…การฝึกฝนอบรมใหเ้ ดก็ มีความรู้และความประพฤติตวั ดี รู้ถึงคุณคา่ ของการบาํ เพญ็ ประโยชน์เพ่ือ ส่วนรวม เป็ นสิ่งสําคัญท่ีจะทําให้ชาติบ้านเมืองมีความเจริ ญก้าวหน้าและเป็ นกุศลสงเคราะห์อัน น่าอนุโมทนา…” พระราชดาํ รัสท่ีได้พระราชทานแก่สภาสตรีแห่งชาติในพระบรมราชินูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ทรงส่งเสริมการศึกษาในระบบโรงเรียนดา้ นต่างๆ ดงั น้ี พระราชทานพระราชทรัพยส์ ่วนพระองคเ์ ป็ นทุนการศึกษาแก่นกั เรียนท่ีเดือดร้อนยากจนมาต้งั แต่ เร่ิมโดยเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวออกเย่ียมราษฎร ในระยะแรกยงั มีจาํ นวนน้อยต่อมาเพิ่มข้ึน ตามลาํ ดบั ในการพระราชทานทุนการศึกษา มีท้งั นกั เรียนในกรุงเทพมหานคร และต่างจงั หวดั กระจายไป ทวั่ ท้งั ประเทศ ส่วนเดก็ พิการ ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหร้ ับไวใ้ นพระบรมราชานุเคราะห์ พระราชทาน พระราชทรัพยแ์ ละความช่วยเหลือในการรักษา พระราชทานที่อยอู่ าศยั และอื่นๆ นบั เป็ นพระมหากรุณาธิคุณที่สมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ทรงอุปถมั ภเ์ ยาวชน ผดู้ อ้ ยโอกาสใหไ้ ดร้ ับการศึกษา และเป็นการปลุกสาํ นึกของประชาชนใหเ้ ห็นความสาํ คญั ของการศึกษา ซ่ึง เป็นสิ่งจาํ เป็นในการพฒั นาตนเองและประเทศชาติ พระมหากรุณาธิคุณต่อการศึกษานอกระบบ สมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ มีพระราชดาํ ริวา่ การศึกษาเป็นสิ่งสาํ คญั มากที่จะช่วย พฒั นาชีวติ ของคน สงั คม และประเทศชาติ จึงไดท้ รงดาํ เนินการโครงการต่างๆ เพอ่ื ส่งเสริมใหม้ ีการศึกษา อย่างทวั่ ถึงโดยเฉพาะผูย้ ากจน ผูอ้ ยู่ห่างไกล ผูไ้ ดร้ ับภยั ธรรมชาติและผูท้ ่ีไดร้ ับอนั ตรายจากการป้ องกนั ประเทศ ท้งั ทางดา้ นความรู้ ความประพฤติ สุขภาพอนามยั และการประกอบอาชีพ ทรงเนน้ เรื่องการรัก ทอ้ งถ่ิน รักชาติ การอนุรักษว์ ฒั นธรรมและส่ิงแวดลอ้ ม ดงั พระราชดาํ รัสตอนหน่ึงว่า “…อยากใหร้ าษฎร รักแผน่ ดินของตนเอง คนท่ีมีภูมิลาํ เนาอยทู่ ่ีไหนก็ตาม เมื่อเขามาฝึ กงานมีความรู้ความสามารถแลว้ กอ็ ยาก ใหเ้ ขากลบั ไปใชค้ วามรู้ความสามารถท่ีทอ้ งถิ่นของเขา ช่วยกนั ทาํ ใหท้ อ้ งถิ่นของเขาสมบรู ณ์พนู สุขข้ึน….” นอกจากน้ียงั ทรงริเร่ิมโครงการศึกษานอกระบบโรงเรียนที่สาํ คญั ๆ ทรงสนบั สนุนและช่วยเหลือ ประชาชนท้งั เด็กและผูใ้ หญ่ให้ศึกษาตามความเหมาะสมกบั ความสามารถ สภาพแวดลอ้ มและให้เกิด ความรักท่ีจะศึกษาทุกๆ ดา้ นอยเู่ สมอ

ทรงส่งเสริมให้ราษฎรศึกษาด้วยตนเอง ณ “ศาลารวมใจ” เม่ือ ปี พ.ศ. ๒๕๑๙ สมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ มีพระราชดาํ ริว่าชาติไทยมี ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีงามมาแลว้ แต่โบราณ อันควรที่จะส่งเสริมรักษาไวใ้ ห้ยืนนานตลอดไป มีพระราชประสงคท์ ่ีจะให้คนไทยสมคั รสมานสามคั คี รักษาส่ิงดีงามอนั เป็ นสมบตั ิและเอกลกั ษณ์ล้าํ ค่า ของชาติไทยไวโ้ ดยการส่งเสริมใหป้ ระชาชนรักการศึกษา รู้จกั ศึกษาดว้ ยตนเอง และเสริมสร้างความรู้ดว้ ย การอ่านหนงั สือ โดยเฉพาะชาวบา้ นที่อยใู่ นทอ้ งถ่ินห่างไกล ควรไดท้ ราบข่าว เหตุการณ์ท่ีถูกตอ้ ง และ ทนั ต่อความเคลื่อนไหวของบา้ นเมืองอยู่เสมอเพื่อที่จะได้ไม่ถูกยุยงให้เกิดการแตกความสามคั คีหรือ หลงผิดได้ นอกจากน้ันมีพระราชประสงคท์ ่ีจะให้ชาวบา้ นไดม้ ีพ้ืนฐานความรู้ ทางดา้ นการอนามยั และ ปฐมพยาบาลดว้ ย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหจ้ ดั สร้าง “ศาลารวมใจ” ข้ึนในทอ้ งถิ่นต่างๆ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกติ ์ิ พระบรมราชินีนาถ กบั การสาธารณสุข …ขา้ พเจา้ เห็นว่าเรื่องสุขภาพอนามยั น้ีเป็ นส่ิงสําคญั เพราะเป็ นพ้ืนฐานของสิ่งมีชีวิตท้งั มวล ดงั คาํ กล่าวท่ีว่า “จิตใจที่แจ่มใสย่อมอยู่ในร่างกายที่แข็งแรง” หากประชาชนมีสุขภาพอนามยั สมบูรณ์ ไม่ เจ็บไขไ้ ดป้ ่ วย ก็จะมีสติปัญญาเล่าเรียน ประกอบสัมมาอาชีพ สร้างสรรค์ความเจริญต่างๆ ให้บา้ นเมือง ดงั น้นั ถา้ จะกล่าวว่า “พลเมืองที่แข็งแรงย่อมสามารถสร้างชาติท่ีม่ันคง” กค็ งจะไม่ผดิ … (จากหนงั สือ สมเดจ็ พระบรมราชินีนาถ พระราชกรณียกิจดา้ นการศึกษา ศาสนา และสาธารณสุข) พระราชดาํ รัสตอนหน่ึงของสมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ท่ีพระราชทานแก่ ผู้เข้าเฝ้ าทูลละอองธุลีพระบาทถวายพระพรชัยมงคล เน่ืองในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษา ปี พ.ศ. ๒๕๓๑ ณ ศาลาดุสิดาลยั เป็นคาํ อธิบายไดอ้ ยา่ งชดั แจง้ ถึงเหตุผลท่ีทรงประกอบพระราชกรณียกิจ ดา้ นสาธารณสุขนานปั การ อาทิ

๑. สภากาชาดไทย สภากาชาดไทยเร่ิมก่อต้งั ข้ึนเม่ือ ปี พ.ศ. ๒๔๓๖ (ร.ศ. ๑๑๒) ปัจจุบนั สมเดจ็ พระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ทรงดาํ รงตาํ แหน่งสภานายิกา กิจการของสภากาชาดไทยไดเ้ จริญกา้ วหนา้ ข้ึนเป็นลาํ ดบั หน่วยงานต่างๆ ของสภากาชาดไทยล้วนต้องมีค่าใช้จ่ายในการดาํ เนินงานท้ังสิ้น สภานายิกาจึงได้มี พระราชดาํ ริจดั งานกาชาดข้ึน เป็ นงานใหญ่ประจาํ ปี มีการออกร้านของสภานายิการ้านของหน่วยงานและ สมาคมการกุศลที่มีจิตศรัทธามาช่วยเหลือเพื่อเป็ นรายไดข้ องสภากาชาดไทย สภานายิกาไดเ้ สด็จพระราช ดาํ เนินไปในพิธีเปิ ดงานกาชาดและทรงเยี่ยมร้านของผมู้ ีจิตศรัทธามาช่วยกาชาดอย่เู สมอ ทรงตระหนกั ดีถึง ภาระอนั หนกั ของสภากาชาดไทย และไดอ้ ุทิศพระองคช์ ่วยเหลือกิจการทุกอยา่ งของสภากาชาดเตม็ พระกาํ ลงั ๒. คนไข้ในพระบรมราชานุเคราะห์ ทุกคร้ังท่ีสมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดาํ เนินไปทรงเยย่ี มราษฎร พระองค์ได้ทรงพบราษฎรผูป้ ่ วยไขด้ ว้ ยโรคภยั ไขเ้ จ็บนานา พระองค์จะทรงซักถามประวตั ิของผูป้ ่ วย ทรงรับฟังการวินิจฉัยจากแพทยอ์ ย่างสนพระราชหฤทยั ทรงบนั ทึกท้งั ประวตั ิและรายละเอียดของคนไข้ ลงในสมุดบนั ทึกดว้ ยพระองคเ์ อง หากคนไขร้ ายใดมิไดเ้ จบ็ ป่ วยดว้ ยโรคร้ายแรง แพทยก์ ็จะจ่ายยาใหแ้ ละให้ คาํ แนะนาํ ในการดูแลรักษาตนเองต่อไป รายใดป่ วยหนกั หรือแพทยย์ งั ไม่สามารถวินิจฉยั โรคไดใ้ นขณะน้นั สมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ก็จะพระราชทานหนงั สือรับรองให้คนไขเ้ หล่าน้นั ไปรับการ ตรวจรักษาที่โรงพยาบาลในท้องถ่ิน หรื อถ้าเป็ นโรคร้ายแรงก็จะให้ไปรักษาที่โรงพยาบาลใน กรุงเทพมหานครโดยทรงรับเป็นคนไขใ้ นพระบรมราชานุเคราะห์ คนไขท้ ่ีตอ้ งรับการรักษาในโรงพยาบาลโดยเฉพาะโรงพยาบาลในจงั หวดั ท่ีมีพระตาํ หนักต้งั อยู่ สมเดจ็ พระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ให้ ขา้ ราชบริพารไปเยย่ี มคนไข้ เป็ นประจาํ แลว้ จดบนั ทึกรายงานอาการของคนไขถ้ วายอย่างสม่าํ เสมอ จดั ของใชท้ ี่จาํ เป็ นไปเย่ียมคนไข้ คอยปลอบโยนและใหก้ าํ ลงั ใจคนไข้ พระองคม์ ีพระราชเสาวนียว์ า่ “ให้ปฏบิ ัติต่อคนไข้เสมอื นเป็ นญาติ”

๓. โครงการแพทย์และสาธารณสุขต่างๆ ตามพระราชดาํ ริ โครงการแพทย์หลวง ในปี พ.ศ. ๒๕๑๐ ขณะท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าสิ ริ กิต์ิ พระบรมราชินีนาถ เสดจ็ แปรพระราชฐานไปประทบั ณ วงั ไกลกงั วล หวั หิน ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหจ้ ดั คณะแพทย์หลวงออกไปทาํ การตรวจรักษาราษฎรในทอ้ งถ่ินกันดาร เขตจังหวดั เพชรบุรี ราชบุรี และ ประจวบคีรีขนั ธ์ ซ่ึงในขณะน้นั ยงั ไม่มีหน่วยแพทยข์ องทางการเขา้ ไปถึง ต่อมาเมื่อมีพระราชฐานอยทู่ ุกภูมิภาค แพทยห์ ลวงจึงเปิ ดให้บริการตรวจรักษาแก่ราษฎรในละแวกใกลเ้ คียงพระราชฐานทุกแห่ง เน่ืองจาก แพทยห์ ลวงมีบุคลากรจาํ กดั ภายหลงั จึงมีแพทยอ์ าสาสมคั รมาช่วยเหลือราษฎรเพิ่มข้ึนทาํ ให้เกิดโครงการ แพทยต์ ามพระราชดาํ ริข้ึนอีกมาก โครงการหน่วยแพทย์พระราชทาน โครงการหน่วยแพทยพ์ ระราชทานเป็ นโครงการท่ีโปรดเกลา้ ฯ ใหจ้ ดั ต้งั ข้ึนเม่ือ ปี พ.ศ. ๒๕๑๒ โดยหม่อมเจา้ ภีศเดช รัชนี ไดก้ ราบบงั คมทูลว่า สมควรจดั ใหม้ ีแพทยอ์ อกไปตรวจรักษาราษฎรภาคเหนือ ท่ีอย่ใู นเขตผกู้ ่อการร้ายคุกคาม จึงเร่ิมโครงการ “หน่วยแพทย์พระราชทาน” หน่วยแพทยพ์ ระราชทาน ปฏิบตั ิงานอยเู่ ฉพาะในเขตภาคเหนือ ขณะน้ีหน่วยแพทยพ์ ระราชทาน ไดข้ ยายงานออกไปอยา่ งกวา้ งขวาง มีการต้งั หน่วยปฏิบตั ิงานหนา้ พระราชฐานแทบทุกแห่งเพื่อตรวจรักษาราษฎรในภาคเชา้ เมื่อเสร็จภารกิจน้ี แลว้ หน่วยแพทยพ์ ระราชทานจะจดั แพทยส์ าขาต่างๆ ติดตามไปในขบวนเสด็จเย่ียมราษฎรในทอ้ งถ่ิน ห่างไกลเพ่ือตรวจรักษาราษฎรที่มารับเสด็จ ส่วนใหญ่จะเดินทางโดยรถยนต์ บางคร้ังคณะแพทยต์ อ้ ง เดินทางโดยเฮลิปคอปเตอร์ เน่ืองจากภูมิประเทศทุรกนั ดารและจุดที่เสด็จพระราชดาํ เนินไปน้นั อยหู่ ่างไกล จากพระตาํ หนกั ท่ีประทบั มาก

โครงการทนั ตกรรมพระราชทาน ในปี พ.ศ. ๒๕๑๒ ศาสตราจารย์ พนั โท สี สิริสิงห ทนั ตแพทยป์ ระจาํ พระองคไ์ ดก้ ราบบงั คมทูล พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวว่า เมื่อเกษียณอายุราชการแลว้ จะขออุทิศตนบาํ เพญ็ ประโยชน์ให้แก่สังคม ตามแต่จะทรงเห็นสมควร จึงมีพระราชดาํ ริให้ออกไปช่วยรักษาพยาบาลเด็กนักเรียนและประชาชนผูอ้ ยู่ ห่างไกลทนั ตแพทย์ ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ พระราชทานพระราชทรัพยส์ ่วนพระองค์ ให้สร้างรถหน่วย ทนั ตกรรมเคล่ือนท่ี ๑ คนั เรียกว่า “หน่วยทนั ตกรรมพระราชทาน” ต่อมาศาสตราจารย์ ทนั ตแพทย์ ท่านผหู้ ญิงเพช็ รา เตชะกมั พุช ไดเ้ ป็ นผนู้ าํ โครงการทนั ตกรรมพระราชทาน ออกปฏิบตั ิงานต่อในจงั หวดั ที่ ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ทาํ หนงั สือกราบบงั คมทลู มาต้งั แต่ ปี พ.ศ. ๒๕๒๒ จนถึงปัจจุบนั ส่วนทนั ตกรรมพระราชทานซ่ึงปฏิบตั ิงานในโอกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวและสมเด็จ พระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ เสด็จแปรพระราชฐานไปประทบั แรม ณ พระราชฐานในภูมิภาค ต่างๆน้นั เป็นหน่วยงานของกรมแพทยท์ หารบก เริ่มปฏิบตั ิงานเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๗ วตั ถุประสงคแ์ รกเริ่มน้นั เพ่ือถวายความสะดวกในการรักษาพระทนต์ ณ พระราชฐานต่างจงั หวดั แต่ในเวลาท่ีไม่ไดท้ รงใชส้ อย โปรดเกล้าฯ ให้บริการประชาชนได้ จึงได้มีทันตแพทย์อาสาสมัครจากโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า มาปฏิบตั ิงาน เรียกชื่อหน่วยงานตามลกั ษณะและสถานที่ของการปฏิบตั ิงานวา่ “ทนั ตแพทยต์ ามเสด็จ” และ “ทนั ตแพทยห์ นา้ วงั ” โครงการศัลยแพทย์อาสา “โครงการศลั ยแพทยอ์ าสา” จดั ต้งั ข้ึน เม่ือวนั ท่ี ๒๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๒๐ เพื่อเขา้ ไปช่วยเหลือ แพทยใ์ นทอ้ งถิ่น และไดเ้ ร่ิมจดั ศลั ยแพทยอ์ าสาของวิทยาลยั ไปช่วยปฏิบตั ิงาน ณ โรงพยาบาลประจาํ จงั หวดั สกลนครเป็ นแห่งแรก ในช่วงที่เสด็จแปรพระราชฐานไปประทบั ที่พระตาํ หนักภูพานราชนิเวศน์ จงั หวดั สกลนคร ซ่ึงไดป้ ฏิบตั ิงานในช่วงเสด็จแปรพระราชฐานสืบเนื่องมาจนปัจจุบนั ต่อมายงั ไดข้ ยายงาน ออกไปตามภูมิภาคต่างๆ ซ่ึงหากมีกรณีเร่งด่วนหรือมีเหตุขดั ขอ้ ง กอ็ าจจดั ใหศ้ ลั ยแพทยอ์ าสาซ่ึงปฏิบตั ิงาน อยใู่ นทอ้ งถิ่นน้นั ๆ เป็นผปู้ ฏิบตั ิงาน เพอื่ ความสะดวกและคล่องตวั โครงการแพทย์หู คอ จมูก ในบรรดาคนไขท้ ่ีมาขอรับพระราชทานพระบรมราชานุเคราะห์น้ัน มีจาํ นวนมากท่ีเป็ นโรค หูน้ําหนวกและโรคเก่ียวกับระบบทางเดินหายใจ สมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ จึงทรง พระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหจ้ ดั คณะแพทย์ หู คอ จมูก ข้ึนในปี พ.ศ. ๒๕๒๒ เพื่อรักษาคนไขเ้ หล่าน้นั โดย อาศัยแพทย์อาสาสมัครจากโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า โรงพยาบาลรามาธิบดี โรงพยาบาลราชวิถี โรงพยาบาลประจาํ จงั หวดั นครราชสีมา และโรงพยาบาลประจาํ จงั หวดั นครพนม คนไขท้ ้งั หมดจะไดอ้ ยใู่ น พระบรมราชานุเคราะห์

โครงการหมอหมู่บ้าน สมเดจ็ พระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระราชดาํ ริใหจ้ ดั ต้งั “โครงการหมอหมู่บา้ น” ข้ึน โดยมีพระราชประสงคใ์ หช้ าวบา้ นช่วยเหลือชาวบา้ นดว้ ยกนั เองเกี่ยวกบั เรื่องสุขภาพ อนามยั และอาหาร การกิน กล่าวคือ ทรงคดั เลือกชาวบา้ นในหมู่บา้ นท่ีพอมีความรู้ อย่างน้อยที่สุดให้อ่านออกเขียนไดแ้ ละ สมคั รใจจะช่วยเหลือเพ่ือนบา้ นไปรับการอบรมหลกั สูตรหมอหมู่บา้ น ซ่ึงประกอบดว้ ยความรู้เก่ียวกบั โรคต่างๆ ความรู้เกี่ยวกับการใช้ยา โภชนาการ อนามยั ของแม่และเด็ก การส่งเสริมสุขภาพและการ ปฐมพยาบาล เป็นตน้ แลว้ ใหก้ ลบั มาเป็นผแู้ นะนาํ เพอ่ื นบา้ นใหม้ ีความรู้ความเขา้ ใจทางดา้ นสุขภาพอนามยั ตลอดจนใหก้ ารช่วยเหลือเบ้ืองตน้ ตามท่ีไดร้ ับการอบรม โครงการหมอหมู่บา้ นเปิ ดการอบรมที่โรงพยาบาลในจงั หวดั ที่เสด็จแปรพระราชฐานเป็นส่วนใหญ่ บุคลากรผอู้ บรมมาจากเจา้ หนา้ ท่ีหลายฝ่ าย เช่น แพทย์ อาจารย์ พยาบาล และเจา้ หนา้ ที่สาธารณสุขจงั หวดั โครงการแขนขาเทยี มพระราชทานเคลอื่ นท่ี โครงการแขนขาเทียมพระราชทานเคล่ือนที่เกิดข้ึนเนื่องจากท่ีบา้ นพกั คนไขใ้ น พระบรมราชานุเคราะห์ มีคนไขม้ าพกั เตม็ ตลอดท้งั ปี ส่วนใหญ่เป็นคนไขท้ ่ีเป็นโรคร้ายแรง ตอ้ งเขา้ รับการรักษาด่วน ทาํ ใหค้ นไขอ้ ีก ส่วนหน่ึงซ่ึงเป็ นคนไข้แขนขาพิการ ต้องรอการเรียกตัวจากกองราชเลขานุการในพระองค์สมเด็จ พระบรมราชินีนาถเป็ นเวลานานมาก ดงั น้นั กองราชเลขานุการในพระองคส์ มเด็จพระบรมราชินีนาถ จึง ดาํ เนินวิธีแกไ้ ขปัญหาโดยไดร้ ับความร่วมมือจากหน่วยงานจดั ทาํ เขนขาเทียมของโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา้ จดั ส่งแพทยแ์ ละเจา้ หนา้ ที่เป็ นหน่วยเคล่ือนท่ีออกไปจดั ทาํ แขนขาเทียมพระราชทาน ณ เขต พระราชฐาน ต่างจงั หวดั ในระหว่างเวลาเสด็จแปรพระราชฐาน โดยที่ทางโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา้ จะคิดราคาแขนขา เทียมพระราชทานน้ีเฉพาะค่าวสั ดุเท่าน้นั ซ่ึงนบั วา่ ช่วยประหยดั เงินพระราชทานค่าแขนขาเทียมไดม้ าก ๔. ยาพระราชทาน การเสดจ็ พระราชดาํ เนินเยย่ี มราษฎรตามจงั หวดั ต่างๆ สมเดจ็ พระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ จะพระราชทานกล่องยาแก่ราษฎร ณ หมู่บา้ นท่ีเสด็จพระราชดาํ เนินไปทรงเย่ียมอยู่เสมอ นอกจากน้ี จะพระราชทานกล่องยาไว้ ณ ศูนยร์ วมของหม่บู า้ น เช่น วดั มสั ยดิ โรงเรียน หรือศาลารวมใจ ในกล่องยาพระราชทาน มียาสามญั ท่ีราษฎรสามารถใชเ้ องไดโ้ ดยอาศยั การอ่านฉลากยาที่ปิ ดไวข้ า้ ง กล่องหรือขวดเวชภณั ฑ์สําหรับทาํ แผลเล็กๆ น้อยๆ และมีตาํ ราการใช้ยา ซ่ึงเขียนดว้ ยภาษาที่ชาวบา้ น อ่านเขา้ ใจง่ายให้ไวด้ ว้ ย ยาพระราชทานมี ๒ ประเภท คือ ยาพระราชทานสําหรับบุคคลทวั่ ไป และยา พระราชทานสาํ หรับนกั เรียน

๕. การพระราชทานความช่วยเหลอื แก่โรงพยาบาลและหน่วยงานสาธารณสุข สมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ทรงส่งคนไขใ้ นพระบรมราชานุเคราะห์ไปรับ การรักษาในโรงพยาบาลต่างๆ ทว่ั ประเทศตามคาํ แนะนาํ ของแพทย์ ทาํ ใหใ้ นบางโรงพยาบาลตอ้ งรับคนไข้ ในพระบรมราชานุเคราะห์ไวเ้ ป็นจาํ นวนมาก สมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ทรงตระหนกั ดีว่างบประมาณท่ีแต่ละโรงพยาบาลไดร้ ับจากทางราชการน้นั มีจาํ นวนจาํ กดั โรงพยาบาลหลายแห่งไดข้ อ โดยเสด็จพระราชกุศลในการรั กษาพยาบาลคนไข ้ในพระบรมราชานุ เคราะห์ ด้วยการไม่เรี ยกเก็บค่า รักษาพยาบาล แต่ใช้งบประมาณสําหรับคนไข้ผู้มีรายได้น้อยแทน สมเด็จพระนางเจ้าสิ ริ กิต์ิ พระบรมราชินีนาถ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ พระราชทานเงินแก่โรงพยาบาลที่ทรงส่งคนไขใ้ น พระบรมราชานุเคราะห์จาํ นวนมากไปรับการรักษา ซ่ึงจาํ นวนเงินท่ีพระราชทานน้นั ข้ึนอยกู่ บั จาํ นวน คนไขท้ ี่ทรงส่งไปรับการรักษาเป็ นสาํ คญั นอกจากจะพระราชทานเงินแก่โรงพยาบาลต่างๆ แลว้ หากทรง ทราบว่าโรงพยาบาลใดอัตคดั ขาดแคลนเครื่องมือเคร่ืองใช้ในการช่วยเหลือคนไข้ ก็จะพระราชทาน พระมหากรุณาธิคุณเสมอ ๖. โครงการรณรงค์การเลยี้ งลูกด้วยนมแม่อย่างเดยี วเป็ นเวลาอย่างน้อย ๓ เดือน วัตถุประสงค์ของโครงการน้ีคือ เพื่อสนองแนวพระราชดําริของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ในการให้แม่เล้ียงลูกดว้ ยนมของตนเอง ดงั ที่ไดม้ ีพระราชกระแสในเวลาเสด็จพระราช ดําเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรอยู่เนืองๆ ว่าให้เล้ียงลูกด้วยนมแม่ ลูกจะได้แข็งแรงและมีภูมิคุม้ กันโรค วตั ถุประสงค์อีกประการหน่ึงคือ เพื่อวางรากฐานด้านสุขภาพอนามยั ที่เหมาะสมให้แก่เด็กไทยต้งั แต่ ระยะแรกของชีวติ

สมเดจ็ พระนางเจ้าสิริกติ ์ิ พระบรมราชินีนาถ กบั ศิลปวฒั นธรรม เนื่องในมหามงคลสมยั ที่สมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ มีพระชนมพรรษา ๖ รอบ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๗ รัฐบาลเชิญชวนใหห้ น่วยงานของรัฐและเอกชนจดั กิจกรรมโครงการต่างๆ นอกจากน้นั ประชาชนชาวไทยและชาวต่างประเทศจะมีโอกาสได้ร่ วมกิจกรรมเฉลิมฉลองเทิดพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถแลว้ ยงั ไดท้ ราบถึงพระราชประวตั ิ พระราชกรณียกิจ และ ผลงานของพระองคอ์ ย่างทว่ั ถึง โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลงานทางดา้ นการส่งเสริมสนบั สนุนปรับปรุงและให้ การฝึ กอบรมเกี่ยวกบั ศิลปหตั ถกรรมพ้ืนบา้ น และการธาํ รงรักษา ฟ้ื นฟูพฒั นาสร้างสรรคง์ านฝี มือประเภท ต่างๆ อนั เป็ นมรดกทางศิลปวฒั นธรรมท่ีมีค่าของไทยไวม้ ิให้สูญหาย ผลงานท่ีมีความสําคญั มากและมี คุณค่าแก่พสกนิกรชาวไทยอยา่ งเห็นไดช้ ดั คือ “โครงการศิลปาชีพพิเศษ” ที่พระองคไ์ ดท้ รงสนบั สนุนและ ใหค้ วามสนพระราชหฤทยั ติดตามแนะนาํ อยา่ งใกลช้ ิดตลอดเวลา เป็นผลใหอ้ งคก์ ารศึกษาวิทยาศาสตร์และ วฒั นธรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Educational,scientific and Cultural Organization) หรือ องคก์ ารยเู นสโก (UNESCO) เห็นผลงานของพระองค์ ไดม้ อบหมายใหน้ ายเฟเดอริโก มายอร์ ผอู้ าํ นวยการ องคก์ ารฯ เดินทางจากสาํ นกั งานใหญ่ กรุงปารีส ประเทศฝร่ังเศส มาทูลเกลา้ ฯ ถวายเหรียญทองโบโรพธุ โธ (UNESCO Borobudur Gold Medal Award) แด่สมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถในวนั พฤหัสบดีที่ ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๕ ในวโรกาสที่พระองคเ์ สด็จพระราชดาํ เนินไปทรงเปิ ดงาน “มรดกส่ิงทอของ เอเซีย : หตั ถกรรมและอุตสาหกรรม” (Asian Textile Heritage : Craft and Industry) ณ ศาลาธรรม มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่

ทม่ี าของโครงการศิลปาชีพพเิ ศษ เพื่อเป็ นการเสริ มรายได้แก่ครอบครัวชาวนา ชาวไร่ ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้ นางสนองพระโอษฐ์เปิ ดการอบรมศิลปประดิษฐ์ที่หุบกระพง อาํ เภอชะอาํ จงั หวดั เพชรบุรี เป็ นแห่งแรก และเม่ือทรงเห็นว่าไดผ้ ลดี จึงมีพระราชเสาวนียใ์ ห้ขา้ ราชบริพารในพระองคร์ ับผดิ ชอบโครงการน้ีเรียกว่า “โครงการศิลปาชีพพิเศษ” โครงการศิลปาชีพพิเศษ มีวตั ถุประสงคห์ ลกั คือ การส่งเสริมอาชีพเป็นรายได้ พิเศษใหแ้ ก่ครอบครัวชาวนา ชาวไร่ ผมู้ ีรายไดน้ อ้ ย โดยให้ความรู้เก่ียวกบั อุตสาหกรรมในครัวเรือนและ ประดิษฐ์ศิลปหัตถกรรมต่างๆ รวมท้งั จดั หาตลาดจาํ หน่ายให้ และไดม้ ีมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพฯ เป็ น ผรู้ ับผิดชอบและดาํ เนินงานตามโครงการศิลปาชีพพิเศษมาจวบจนกระทงั่ ปัจจุบนั อน่ึงรัฐบาลไดป้ ระจกั ษ์ ถึงผลงานและคุณประโยชน์ของมูลนิธิ จึงไดร้ ับเป็นหน่วยงานหน่ึงของรัฐ โดยจดั ต้งั เป็นกองศิลปาชีพข้ึน ในสาํ นกั ราชเลขาธิการ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๘ เพื่อสนบั สนุนงานของมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพ ในสมเด็จ พระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ มูลนิธิมีชื่อเป็นภาษาองั กฤษวา่ “The Foundation for The promotion of Supplementary Occupations and Related Techniques of Her Majesty Queen Sirikit” หรือเรียกยอ่ ๆวา่ “The Support Foundation” นอกจากน้ีสมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ทรงส่งเสริมดา้ นการตลาดของสินคา้ หัตถกรรมในโครงการศิลปาชีพดว้ ยการทรงฉลองพระองคแ์ ละทรงใชผ้ ลิตภณั ฑข์ องโครงการตลอดเวลา โดยนาํ มาดดั แปลงให้เป็ นรูปแบบท่ีทนั สมยั และเหมาะสมในแต่ละโอกาสและสถานที่ นอกจากน้ีทรง เผยแพร่ดว้ ยการจดั แฟชนั่ และแสดงสินคา้ ท้งั ในประเทศและต่างประเทศ รวมท้งั ทรงนาํ ผลิตภณั ฑต์ ่างๆ ไปเผยแพร่ในต่างประเทศดว้ ยพระองคเ์ อง จนเป็นที่รู้จกั และไดร้ ับความนิยมอยา่ งแพร่หลายรวดเร็ว ดงั คาํ กราบบงั คมทูลสดุดีพระเกียรติคุณของนายโรเบิร์ต บี ออกซ์นมั ประธานสถาบนั เอเชียโซไซตี สหรัฐอเมริกา ในพิธีทูลเกล้าฯ ถวาย รางวัลด้านมนุษยธรรม แด่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ณ นครนิวยอร์ค เมื่อวนั ที่ ๑๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๒๘ วา่ “ทรงส่งเสริมศิลปหตั ถกรรม อนั เป็นสมบตั ิล้าํ ค่าของชาติมิใหส้ ูญหายไป โดยโปรดใหจ้ ดั ต้งั มูลนิธิ ฝึ กอบรมราษฎรผูข้ ดั สนเหล่าน้ัน ให้รู้จกั ประดิษฐ์งานศิลปะต่างๆ จนยึดเป็ นอาชีพได้ ท้งั ยงั เป็ นการ เผยแพร่และธาํ รงรักษาศิลปะอนั งดงามล้าํ ค่า ใหเ้ ป็นที่รู้จกั แพร่หลายยงิ่ ข้ึน”

นบั ไดว้ ่า สมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ทรงสนพระราชหฤทยั การดาํ เนินงานทาง การตลาดอยา่ งแทจ้ ริง ทรงเห็นว่าการเร่งการผลิตอยา่ งเดียว ไม่สามารถจะแกไ้ ขความยากจนของราษฎรที่ เป็ นเกษตรกรได้ จึงสมควรเฉลิมพระเกียรติใหเ้ ป็ นนกั การตลาด ตวั อยา่ งในการพฒั นาประเทศ เพราะทรง ทาํ ใหโ้ ครงการศิลปาชีพพิเศษประสบความสาํ เร็จอยา่ งงดงาม สมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ทรงจดั ต้งั มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพฯ ข้ึน ภายหลงั จาก ท่ีไดร้ ิเร่ิมโครงการศิลปาชีพพิเศษในทอ้ งถ่ินชนบททุกภาคของประเทศมานานหลายปี และการส่งเสริม ศิลปาชีพของพระองคก์ ค็ ือการฟ้ื นฟงู านศิลปะของแต่ละภาค ท้งั ไดท้ รงพิจารณาถึงทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีอยู่ ในแต่ละทอ้ งถิ่นเขา้ มาประกอบโครงการศิลปาชีพพิเศษ และต่อมาให้อยู่ในความรับผิดชอบดูแลของ มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพฯ ดงั แนวการดาํ เนินงานโดยยอ่ ดงั น้ี ภาคเหนือ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ฝึ กอบรมการเยบ็ ปักถกั ร้อย การทอผ้าไหม ผ้าฝ้ าย ผ้าปักภไู ท ผ้ายก ผ้าตีนจก ทาํ ไม้แขวนเสือ ทาํ เคร่ืองประดับเงิน และทองของชาวไทยภูเขา เคร่ืองเคลือบดินเผา ภาคอีสาน ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ฟื นฟูการปลกู หม่อนเลียงไหม ทอผ้ามดั หม่ีขึนทุกจังหวดั มีพระราชเสาวนีย์โปรดเกล้าฯ ให้ราชเลขานกุ ารในพระองค์ออกไปติดต่อกับราษฎรในท้องถ่ิน แนะนาํ ทอผ้าไหมมดั หม่ีให้เป็นลา่ํ เป็นสัน มีการปรับปรุงวิธีการทอการย้อมให้ได้มาตรฐาน ตลอดถึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้จัดทาํ เครื่องปันดินเผา โดยใช้เทคโนโลยีการเผาทันสมยั ใหม่ให้เป็นตวั อย่างทั่วไป ภาคกลาง ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สอนการทาํ ดอกไม้ประดิษฐ์ การจักสานด้วยหวายป่ านศรนารายณ์และไม้ไผ่ การทอผ้าฝ้ าย การปันต๊กุ ตาชาววงั การแกะสลกั ไม้ การปลกู หม่อนเลียงไหม การปักสอนแบบไทย การตดั เยบ็ เสือผ้า การเยบ็ ปักถกั ร้อย และการถนอมอาหาร ภาคใต้ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีการทอผ้า การปักสอยแบบไทย การจักสานด้วยหวายไม้ไผ่และย่านลิเภา ทอเสื่อกระจูด เยบ็ ปักถกั ร้อย ถมทอง และเคร่ืองเคลือบ เป็นต้น

นอกจากน้ี งานของมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถยงั มี หลายลกั ษณะ เช่น มีการสอนและการฝึ กอบรมเป็นกลุ่มตามหมู่บา้ น มีศูนยฝ์ ึ กใหญ่อยทู่ ่ีสวนจิตรลดา และ มีศนู ยอ์ ่ืนๆ เช่น ชื่อ ทต่ี ัง ประเภทงานทจ่ี ดั สอน ศนู ย์ศิลปาชีพ จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา การจักสานย่านลิเภาบางไทร บางไทร การทอผ้าไหม การทอจก จังหวดั สกลนคร การทาํ ดอกไม้ประดิษฐ์ ศนู ย์ศิลปาชีพ การจักสานลายขิด ฯลฯ บ้านกดุ นาขาม การทาํ เครื่องปันดินเผา การทอผ้าไหม การทาํ ดอกไมประดิษฐ์ ศนู ย์ศิลปาชีพ จังหวดั สกลนคร การปลกู หม่อนเลียงไหม บ้านจาร จังหวดั ลาํ ปาง การตัดเยบ็ เสือผ้า การแกะสลกั ไม้ การประดิษฐ์เครื่องเรือน ฯลฯ ศูนย์ศิลปาชีพ การทอผ้าไหม การตีเหลก็ บ้านแม่ตาํ การปันโอ่ง การปลกู หม่อน เลียงไหม ศนู ย์ศิลปาชีพพระตาํ หนัก จังหวดั นราธิวาส การทาํ เครื่องปันดินเผา ทักษิณราชนิเวศน์ จังหวดั แม่ฮ่องสอน การแกะสลกั ไม้ การทอผ้าไหม ศนู ย์ศิลปาชีพ การปลกู หม่อนเลียงไหม จังหวดั แม่ฮ่องสอน การทอผ้าฝ้ าย ฯลฯ การทาํ เคร่ืองปันดินเผา ศนู ย์ศิลปาชีพ จังหวดั เชียงใหม่ บ้านวัดจันทร์ การปลกู หม่อนเลียงไหม การทอฝ้ าย การทอพรม การทอจก การทาํ เครื่องเงิน การประดิษฐ์ เคร่ื องเรื อนฯลฯ การปลกู หม่อนเลียงไหม การทอผ้าฝ้ าย การทอพรม การประดิษฐ์เครื่องเรือน ฯลฯ

ศูนย์ศิลปาชีพบางไทร พระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู ัวภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ไดม้ ี พระราชดาํ ริใหจ้ ดั ต้งั ศูนยศ์ ิลปาชีพพิเศษข้ึนเพือ่ ส่งเสริมและอนุรักษศ์ ิลปหตั ถกรรมพ้ืนบา้ นใหเ้ ป็นการเสริม รายไดพ้ ิเศษแก่เกษตรกร ต่อมาโดยพระราชดาํ ริผ่าน ฯพณฯ องคมนตรี นายธานินทร์ กรัยวิเชียร จึงได้มีการพิจารณา คดั เลือกพ้ืนที่ที่จะต้งั เป็ นศูนยศ์ ิลปาชีพพิเศษข้ึน ฯพณฯ องคมนตรี นายธานินทร์ กรัยวิเชียร พร้อมดว้ ย คณะทาํ งาน ไดร้ ่วมกนั พิจารณาคดั เลือกพ้ืนที่ในเขตปฏิรูปท่ีดินต่างๆ เป็ นสถานท่ีก่อสร้าง และไดม้ ีมติ เห็นชอบร่วมกนั ว่า พ้ืนท่ีเขตปฏิรูปท่ีดินของอาํ เภอบางไทร จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา เป็ นพ้ืนท่ีเหมาะสม ในการก่อสร้าง สมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถทรงก่อต้งั โครงการศูนยศ์ ิลปาชีพพิเศษแห่งน้ี โดยมีวตั ถุประสงค์ คือ ๑. เพ่ือใหม้ ีการประกอบอาชีพอยา่ งผสมผสานท้งั อาชีพทางการเกษตร และอาชีพทางการ ผลิตสินคา้ ประเภทศิลปหตั ถกรรมพ้ืนบา้ น ๒. เพื่อเพิ่มพนู รายไดพ้ เิ ศษใหแ้ ก่เกษตรกร ๓. ช่วยขจดั ปัญหาทางเศรษฐกิจของสงั คม ๔. เพื่อปรับปรุงและกระจายสิทธิการยดึ ครองท่ีดิน ๕. เพ่อื ใหเ้ ป็นศนู ยร์ วมและอนุรักษศ์ ิลปหตั ถกรรมพ้ืนบา้ น จากทุกภาคของประเทศไทย สถานทตี่ ้งั ศูนยศ์ ิลปาชีพบางไทร ต้งั อยู่บนฝั่งของแม่น้าํ เจา้ พระยา ในเขตปฏิรูปที่ดิน ของตาํ บลราชคาม ตาํ บลชา้ งใหญ่ อาํ เภอบางไทร จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา มีเน้ือท่ีรวมท้งั สิ้นประมาณ ๒,๕๐๕ ไร่ แบ่ง ออกเป็น ๓ ส่วน คือ ๑. โครงการศูนยศ์ ิลปาชีพบางไทร ในเน้ือที่ร่วม ๘๕๖ ไร่ เป็นบริเวณ ปลูกสร้างอาคารต่างๆ ๒. พ้นื ท่ีเพ่อื การเกษตร เน้ือท่ีรวม ๑,๔๕๙ ไร่ ๓. พ้ืนที่พระราชทานใหก้ รมประมง จดั ต้งั สถาบนั ส่งเสริมการประมงน้าํ จืด สาํ หรับภาคกลาง ในเน้ือท่ีรวม ๑๘๘ ไร่

แผนกทเ่ี ปิ ดการฝึ กอบรมรวมท้งั หมด ๒๒ แผนก แผนกเขียนลายไทย แผนกสอดยา่ นลิเภา แผนกจกั สานไมไ้ ผล่ ายขิด แผนกทอผา้ ลายตีนจก แผนกทอผา้ ไหม แผนกตดั เยบ็ เส้ือผา้ แผนกช่างไม้ แผนกช่างเครื่องยนต์ แผนกป้ันตุก๊ ตา-ดอกไมข้ นมปัง แผนกป้ันและหล่อทองเหลือง, เรซิ่น แผนกสานผกั ตบชวา แผนกช่างเคร่ืองหนงั แผนกเคร่ืองเรือนหวาย แผนกเป่ าแกว้ แผนกช่างสี แผนกเซรามิค แผนกปักผา้ แผนกเกษตรกรรม แผนกดอกไมป้ ระดิษฐ์ แผนกศิลปประดิษฐ์ แผนกช่างเชื่อม แผนกขนมไทย นอกจากน้ี ยงั มีแผนกเกษตรกรรมเพอ่ื ใหค้ วามรู้เกษตรกรที่มาฝึกอบรมดา้ น ศิลปาชีพใหม้ ีความรู้ ทางดา้ นเกษตรกรรมดว้ ย ศูนยศ์ ิลปาชีพ สมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ทรงส่งเสริมให้มีกลุ่มศิลปาชีพ ในแหล่งต่างๆ อาทิ กลุ่มสตรีที่หุบกระพง จงั หวดั เพชรบุรี ฝึ กอาชีพถกั ทอป่ านศรนารายณ์ สานใบลานหรือประดิษฐ์ หางอวนเป็นกระเป๋ า หมวก รองเทา้ ที่รองจาน กล่มุ สตรีในนิคมสร้างตนเอง ตาํ บลอ่าวนอ้ ย จงั หวดั ประจวบคีรีขนั ธ์ ฝึกการทาํ ดอกไมป้ ระดิษฐ์ กล่มุ ทอผ้าทว่ี ดั พระพุทธ อาํ เภอตากใบ จงั หวดั นราธิวาส ฝึกการทอผา้ ฝ้ าย และผา้ ไหม กลุ่มป้ันตุ๊กตาไทย ตาํ บลบางเสด็จ อาํ เภอป่ าโมก จงั หวดั อ่างทอง ฝึ กการป้ันตุ๊กตาไทย แบบท่ี เรียกวา่ ตุก๊ ตาชาววงั จากดินเหนียว กลุ่มศิลปาชีพค่ายนวมินทราชินี จงั หวดั ชลบุรี ค่ายไดเ้ ริ่มก่อต้งั “โครงการศิลปาชีพ” ในค่ายตาม พระราชดําริต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๔ เพ่ือให้ครอบครัวทหารและผูอ้ ยู่ในค่ายได้ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับอาชีพเสริม โครงการไดร้ ับการพฒั นามาตามลาํ ดบั จนถึงปี พ.ศ. ๒๕๓๕ มีแผนกต่างๆ คือ แผนกหม่อนไหม แผนก เยบ็ หนงั แผนกศิลปประดิษฐ์ แผนกศิลปกรรมตกแต่ง แผนกตดั เยบ็ เส้ือผา้

โครงการฝึ กศิลปาชีพในสถานที่รักษาหรือพกั ฟื้ นสําหรับคนพกิ าร เช่น สถานสงเคราะห์คนพิการ และทุพพลภาพ พระประแดง อาํ เภอพระประแดง จงั หวดั สมุทรปราการ ซ่ึงอยใู่ นความรับผิดชอบของ กรมประชาสงเคราะห์ กระทรวงมหาดไทย รับผพู้ ิการลกั ษณะต่างๆ เช่น อมั พาต พิการทางสมองและ ปัญญา ตาบอด แขนขาขาด หูหนวก เป็นใบ้ โปลิโอ โดยมีอายตุ ้งั แต่ ๑๗ ปี ข้ึนไป ยากจน สภาพจิตใจ ทอ้ แทห้ มดหวงั ในชีวติ มีปมดอ้ ย ขาดโอกาสในการประกอบอาชีพ การที่เกิดโครงการศิลปาชีพข้ึนท่ีสถานสงเคราะห์น้ีเน่ืองจากมีสมาชิกในสถานสงเคราะห์จาํ นวน หน่ึงเขียนหนงั สือกราบบงั คมทูลสมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ขอใหท้ รงช่วยหางานให้ทาํ เพราะในสถานสงเคราะห์มีงานให้ทาํ แต่ไม่ต่อเนื่อง จึงโปรดเกลา้ ฯ ให้เจา้ หนา้ ที่จากกองราชเลขานุการ ในพระองค์ไปพิจารณาว่าผูพ้ ิการเหล่าน้ันจะทาํ งานจกั สานย่านลิเภาไปให้ดูเป็ นตัวอย่าง และได้ทรง พระกรุณาส่งครูสาํ เริง แท่นทอง ไปสอนผทู้ ี่สมคั รใจ ประมาณ ๑๐ คน เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๑ เป็นเวลาเกือบ ๑ ปี มีผฝู้ ึ กสาํ เร็จ ๓ คน ต่อมาไดท้ รงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ให้นายวงศ์ ฤกษง์ าม ซ่ึงเป็ นผหู้ น่ึงที่ฝึ ก สาํ เร็จ เป็นครูสอนคนพกิ ารที่สถานสงเคราะห์น้ี และสอนที่ศูนยศ์ ิลปาชีพสวนจิตรลดาดว้ ยระยะหน่ึง พระองคท์ รงพยายามอยา่ งยง่ิ ท่ีจะใหท้ ุกคนมีความสุขและต้งั ใจทาํ งาน ทรงเนน้ เรื่องการประพฤติตน ให้ดี ทรงยกยอ่ งพระราชทานเกียรติ เช่น ทรงเรียกนายวงศ์ ฤกษง์ าม ซ่ึงเป็ นครูสอนการสานยา่ นลิเภาว่า “ครูวงศ”์ และมีพระราชดาํ รัสกบั นายวงศว์ ่า “ทาํ กระเป๋ าใหไ้ ดด้ ี ขอใหเ้ ป็นกาํ ลงั ของศิลปาชีพ” “ ทาํ ใหด้ ี ทาํ ใหส้ วย” และ “ช่วยรักษาไวซ้ ่ึงศิลปะของชาติ” โรงฝึ กศิลปาชีพสวนจติ รลดา โดยพระราชดาํ ริในสมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ที่ทรงส่งเสริมให้ราษฎรไดม้ ี อาชีพหัตถกรรมเพื่อเป็ นอาชีพเสริมเพ่ิมรายได้ จึงทรงสนบั สนุนงานหตั ถกรรมข้ึนทวั่ ประเทศ ก็ทรงเห็น เป็ นการสมควรที่จะจดั ต้งั อาคารศิลปาชีพข้ึน ณ สวนจิตรลดา เพื่อเป็ นศูนยก์ ลางของการเรียนการสอน ศิลปาชีพแขนงต่างๆ และเพอ่ื เป็นศนู ยก์ ลางของผลิตภณั ฑ์ ศิลปาชีพจากราษฎรท้งั ประเทศดว้ ย

แผนกทเ่ี ปิ ดสอน ในโรงฝึ กศิลปาชีพสวนจติ รลดา รวมท้งั หมด ๒๑ แผนก แผนกถมเงินและถมทอง Gold and Silver Nielloware แผนกช่างเคร่ืองเงินและเครื่องทอง Silver and Gold Ware แผนกเขียนลาย Drawing and Painting แผนกคร่ํา Gold and Silver Inlay Work แผนกจกั สานยา่ นลิเภา Yan Lipao Basketry แผนกจกั สานลายขิด Bamboo Badketry แผนกตกแต่งดว้ ยปี กแมลงทบั Collage Art แผนกทอผา้ ไหม Silk Weaving แผนกทอจก Embroidery Weaving แผนกทอพรม Cotton Rugs Weaving แผนกปักผา้ Hand Embroidery แผนกดอกไมป้ ระดิษฐ์ Artificial Flowers แผนกตดั เยบ็ Dress-Making แผนกแกะหนงั ตะลุง Hide Carving แผนกแกะสลกั ไม้ Wood Carving แผนกแกะสลกั หินอ่อน Marble Carving แผนกป้ัน และเซรามิค Modelling & Ceramic แผนกบรรจุภณั ฑ์ Packaging แผนกช่างไม้ Carpentry แผนกช่างหวาย Rattan-Furniture Work แผนกประดบั มุก โครงการพระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา สมเด็จพระนางเจ้าสิริ กิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พระราชทานพระราชดําริ ว่าสมควรจะได้มี การพิจารณาจดั สร้างพระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระนเรศวรข้ึน ณ บริเวณทุ่งภูเขาทอง ซ่ึงเป็ นพ้ืนที่ที่มี ความสาํ คญั ทางประวตั ิศาสตร์ และต่อเน่ืองกบั ทุ่งมะขามหยอ่ ง อนั เป็นสถานท่ีต้งั ของพระบรมราชานุสาวรีย์ สมเดจ็ พระสุริโยทยั ในปัจจุบนั โดยมีวตั ถุประสงค์ ดงั น้ี ๑. เพื่อฟ้ื นฟูสภาพตน้ ไมท้ ่ีเส่ือมโทรมบริเวณรอบโครงการใหก้ ลบั ฟ้ื นคืนสภาพและสวยงามดงั เดิม ๒. เพื่อปลูกตน้ ไม้ และบาํ รุงรักษาบริเวณรอบพ้ืนที่โครงการ และบริเวณรอบอ่างเก็บน้าํ ใหม้ ีความ สวยงาม เพื่อใหเ้ ป็นแหล่งพกั ผอ่ นหยอ่ นใจแก่ประชาชนทว่ั ไป

ชุดไทยพระราชนิยม ชุดไทยพระราชนิยม เป็ นช่ือเรียกเครื่องแต่งกายแบบไทยของสตรี ซ่ึงสมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ มีพระราชดําริให้ออกแบบไว้ใช้ในโอกาสต่างๆ เป็ นท่ีประจักษ์โดยทั่วไปว่า สมเดจ็ พระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ทรงโปรดฉลองพระองคแ์ ละพระภูษาไทย เช่น ผา้ ซิ่นไหม และผา้ ยก เป็ นตน้ แต่ฉลองพระองค์ในระยะแรกๆ น้ัน ก็ยงั มิไดม้ ีแบบเป็ นเคร่ืองแต่งกายประจาํ ชาติ แน่นอนนัก ในปลายปี พ.ศ. ๒๕๐๒ ต่อตน้ ปี พ.ศ. ๒๕๐๓ น้ัน สมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ได้โดยเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวทรงเยี่ยมประเทศใกลเ้ คียงต่างๆ ได้แก่ เวยี ดนาม อินโดนีเซีย และพม่า ซ่ึงมีหมายกาํ หนดการจะตอ้ งเสดจ็ พระราชดาํ เนินสกั การะพุทธสถานต่างๆ เช่น พระสถูปบุโรพุทโธ และเจดียช์ เวดากอง เป็นตน้ สมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ จึง ทรงผา้ สะพกั บา้ ง ทรงแพรสะพายบา้ ง ทรงพระภูษากรอมขอ้ พระบาทบา้ ง เพื่อให้เหมาะควรแก่การตาม เสด็จพระราชดาํ เนินไปนมสั การสถานที่ศกั ด์ิสิทธ์ิน้นั ๆ เม่ือเสด็จนิวตั ิพระนครจึงมีพระราชดาํ ริถึงความ จาํ เป็ นที่จะตอ้ งมีชุดเครื่องแต่งกายประจาํ ชาติของสุภาพสตรีไทยสาํ หรับใชเ้ป็ นฉลองพระองคข์ องพระองคเ์ อง และเป็ น แบบเคร่ืองแต่งกายของขา้ ราชบริพารฝ่ ายในที่จะตอ้ งโดยเสด็จพระราชดาํ เนินพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั เยอื นสหรัฐอเมริกา และประเทศยโุ รปต่างๆ ในกลางปี พ.ศ. ๒๕๐๓ สมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ทรงสอบคน้ ขอ้ มูลเก่ียวกบั ลกั ษณะเคร่ืองแต่งกายของ สุภาพสตรีไทย โดยทรงศึกษาจากพระบรมฉายาลกั ษณ์ และพระฉายาลกั ษณ์อดีตพระบรมวงศฝ์ ่ ายในหลายๆ พระองค์ ยอ้ นไปต้งั แต่คร้ังรัชสมยั พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยู่หัวเป็ นตน้ มา พร้อมกนั น้ันได้มี พระราชวินิจฉยั ถึงความเหมาะควรต่างๆในอนั ที่จะทรงเลือกนาํ มาใชเ้ ป็นแบบอยา่ งสาํ หรับฉลองพระองคใ์ น การโดยเสดจ็ พระราชดาํ เนินเยอื นต่างประเทศคร้ังน้นั ดงั พระราชนิพนธว์ า่ “เมื่อสมยั สมเดจ็ ฯ พระพนั ปี หลวง (สมเด็จพระศรีพชั รินทรา บรมราชินีนาถฯ พระพนั ปี หลวง) ท่านทรงผา้ โจงกระเบนอย่างไทยๆ เราคร้ังกระโน้น ฉลองพระองค์เป็ นคอปิ ด แขนหมูแฮม แบบ พระราชินีอเลก็ ซานดรา อนั เป็นแบบท่ีนิยมกนั มากของชาวยโุ รปในสมยั น้นั ซ่ึงขา้ พเจา้ จะนาํ ไปใชใ้ นคร้ังน้ี หาไดไ้ ม่ เม่ือตอนตามเสด็จสมเดจ็ พระพทุ ธเจา้ หลวงไปสิงคโปร์ สมเด็จพระพนั ปี หลวงก็ทรงชุดฝร่ังอยา่ ง เตม็ ที่ ต่อมาขา้ พเจา้ ไดใ้ ห้ช่วยกนั คน้ หาพระรูปพระมเหสีของรัชกาลก่อนๆ ที่มีอยู่ในวงั หลวงและของ เจา้ นายองคอ์ ่ืนๆ มาดู สมเดจ็ พระพนั วสั สา (สมเดจ็ พระศรีสวรินทิรา บรมราชเทวี พระพนั วสั สาอยั ยกิ าเจา้ ) ทรงพระภูษาเยียรบับจีบ สายรัดพระองค์ทอง หัวก็เป็ นทองฝังเพชร ทรงฉลองพระองค์พระกรยาว มองผาดๆ เห็นคอฉลองพระองคต์ ้งั สูงคลา้ ยเส้ือราชปะแตนของผชู้ ายสมยั น้นั ทรงสะพกั (ผา้ ห่มเฉียงป่ า) เป็ นสไบปักทบั ฉลองพระองค์ คร้ันดูให้เก่าไปกว่าสมยั รัชกาลท่ี ๕ ตอนตน้ และกลางแผน่ ดิน ไปจนถึง สมยั สมเดจ็ พระเทพฯ (สมเดจ็ พระเทพศิรินทรา บรมราชินี) ในรัชกาลที่ ๔ ก็เห็นว่าท่านทรงพระภูษาจีบผา้ เขียนทองหรือไม่กท็ รงผา้ เยยี รบบั อยา่ งผา้ ทรงของสมเดจ็ พระพนั วสั สา ทรงสายรัดพระองคท์ องหวั ฝังเพชร เช่นเดียวกนั ทรงสะพกั ปักทบั แพรจีบไม่ไดท้ รงฉลองพระองค์ คร้ันดูใหใ้ หม่กว่าสมยั รัชกาลที่ ๔ และท่ี ๕ มาถึงรัชกาลท่ี ๖

แบบพระวรกญั ญาฯ (หม่อมเจา้ วรรณวิมลในพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ ช้นั ๔ พระองคเ์ จา้ วรวรรณากร กรมพระนราธิปประพนั ธ์พงศ์ ในรัชกาลท่ี ๖ ทรงสถาปนาเป็นพระวรกญั ญปทาน) พระองคเ์ จา้ วลั ลภาเทวี กค็ ือทรงผา้ ซ่ินป้ ายส่วนฉลองพระองคต์ ามแบบฝร่ังสมยั หลงั สงครามโลกคร้ังแรกซ่ึงถา้ จะนาํ มาใชใ้ นสมยั น้ี ก็ดูไม่เหมาะ ดีไม่ดีหนงั สือพิมพต์ ่างประเทศก็จะวิจารณ์กนั ยงุ่ ใหญ่ว่าเส้ือประจาํ ชาติไทยที่พระราชินีทรงนี่ แบบไหนกนั แน่หนอฝร่ังกไ็ ม่ใช่ไทยกไ็ ม่เชิง” นอกจากจะทรงศึกษาคน้ ควา้ ดว้ ยพระองคเ์ องแลว้ ยงั มีพระราชเสาวนียโ์ ปรดเกลา้ โปรดกระหม่อม ให้ ท่านผูห้ ญิงมณีรัตน์ บุนนาค (หม่อมหลวงมณีรัตน์ บุนนาค นางสนองพระโอษฐ์ในขณะน้ัน) ประสานงานกับผู้เช่ียวชาญด้านประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมประเพณีไทย ได้แก่ ศาสตราจารย์ พระยาอนุมานราชธน เพื่อศึกษาคน้ ควา้ เคร่ืองแต่งกายสตรีไทยแบบและสมยั ต่างๆ และนาํ ข้ึนทูลเกลา้ ทูลกระหม่อมถวายใหท้ อดพระเนตรอีกคร้ังหน่ึง ในการน้นั มีอาจารยส์ มศรี สุกุมลนนั ทน์(อาจารยป์ ระจาํ แผนกวิชาเส้ือผา้ วิทยาลยั เทคนิคกรุงเทพฯในขณะน้นั ) เป็นผอู้ อกแบบร่างตามขอ้ มูลที่ท่านผหู้ ญิงมณีรัตน์ บุนนาค และ ศาตราจารย์ พระยาอนุมานราชธน ไดร้ ่วมกนั คน้ ควา้ แบบชุดไทยประยุกตท์ ี่สมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ทรงเลือกไว้ ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ คุณไพเราะ พงษ์เจริ ญ ตัดเป็ นฉลองพระองค์ถวายต่อจากน้ัน สมเดจ็ พระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ โปรดกระหม่อมใหค้ ุณหญิงอุไร ลือ อาํ รุง (คุณอุไร ลืออาํ รุง ช่างฉลองพระองคใ์ นขณะน้นั ) ช่วยเลือกแบบต่างๆ และนาํ มาผสมผสานกนั จน เกิดชุดไทยประยกุ ตแ์ บบต่างๆ ข้ึนหลายชุด แต่ชุดไทยประยุกตท์ ี่เกิดมีข้ึนน้นั ยงั มิไดม้ ีชื่อเรียกขานเฉพาะ แต่อยา่ งใด ฉลองพระองคช์ ุดไทยประยกุ ต์ ท่ีสมเดจ็ พระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถทรงในระหว่างตาม เสด็จพระราชดาํ เนินเยือนต่างประเทศในคร้ังน้ัน มีความงดงามเป็ นท่ีชื่นชมของชาวต่างประเทศที่ได้ ชมพระบารมีเป็ นอยา่ งมาก โดยเฉพาะฉลองพระองคช์ ุดท่ีทรงในงานพระราชทานเล้ียงรับรอง ณ โรงแรม เมยฟ์ ลาวเวอร์ วอชิงตนั เมื่อวนั ที่ ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๓ น้นั ทาํ ใหน้ กั ข่าวสังคมของวอชิงตนั ผหู้ น่ึง ถวายพระสมญั ญาแด่สมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถว่า “The Golden Girl” (สุวรรณเทวี) ท้งั น้ีเพราะฉลองพระองคท์ ี่ทรงในคืนน้ัน เป็ นฉลองพระองคก์ ระบอกไหมไทยพระภูษาจีบยกไหมมีเชิง สีทองท้งั พระองค์ นอกจากน้ัน เมื่อเสด็จพระราชดาํ เนินเยือนประเทศยโุ รป นิตยสาร NEUE ILLUSTRIERTE ซ่ึง เป็นนิตยสารช้นั นาํ ของประเทศเยอรมนั นี ยงั อญั เชิญพระบรมฉายาลกั ษณ์ในฉลองพระองคช์ ุดไทยประยกุ ต์ ไปเป็ นปกอีกดว้ ย ส่งผลให้ความงดงามแห่งชุดเคร่ืองแต่งกายประจาํ ชาติของสตรีไทย เป็ นที่ประจกั ษแ์ ก่ สายตาสาธารณชนกวา้ งขวางยงิ่ ข้ึน หลงั จากเสด็จนิวตั ิพระนครคร้ังน้นั แลว้ สมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ก็ยงั ทรงฉลอง พระองคช์ ุดไทยประยกุ ตแ์ บบต่างๆ น้นั ตามโอกาส จนกระทงั่ ในปี พ.ศ. ๒๕๐๗ สมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ จึงมีพระราชวินิจฉยั เลือกแบบ ชุดไทยประยกุ ตใ์ หย้ ตุ ิแน่นอนเป็น ๘ แบบดว้ ยกนั และ

ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ โปรดกระหม่อมใหท้ ่านผหู้ ญิงมณีรัตน์ บุนนาค เป็นผคู้ ิดต้งั ช่ือชุดใหเ้ หมาะสมกบั แบบของชุดไทยต่างๆ น้นั เพื่อนาํ ชุดไทยประยกุ ตท์ ้งั ๘ แบบไปจดั แสดงเผยแพร่ในโอกาสฉลองครบรอบ ๑๐๐ ปี กาชาดสากลวนั ที่ ๑๖ มกราคม พ.ศ. ๒๕๐๗ และเพื่อเป็นช่ือเรียกขานเป็นแบบฉบบั เครื่องแต่งกาย ชุดประจาํ ชาติของสตรีไทยต่อไป ท่านผหู้ ญิงมณีรัตน์ บุนนาค ไดน้ าํ ช่ือพระตาํ หนกั และพระที่นง่ั ต่างๆ มาใชเ้ ป็ นชื่อของชุดไทย ประยกุ ตท์ ้งั ๘ ชุด โดยคาํ นึงถึงความเหมาะสมกบั แบบ ตลอดจนโอกาสในการเลือกใชช้ ุดน้นั ๆ และโดย เหตุท่ีสมเดจ็ พระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ มิไดท้ รงกาํ หนดบงั คบั ใหช้ ุดไทยประยกุ ตด์ งั กล่าวเป็นแบบ แผนเคร่ืองแต่งกายท่ีสุภาพสตรีไทยทุกคนตอ้ งแต่ง เพียงแต่ทรงมีพระราชนิยมทรงฉลองพระองคแ์ บบต่างๆ น้นั ประชาชนทว่ั ไปจึงเรียกขานกนั ในภายหลงั ว่า “ชุดไทยพระราชนิยม” ต่อมาเมื่อสุภาพสตรีท้งั หลายนิยมแต่ง กายตามเสดจ็ แพร่หลายกวา้ งขวางและมีจาํ นวนมากข้ึน ทางราชการจึงไดก้ าํ หนดวางระเบียบการแต่งกายของ สตรีไทยเฉพาะเม่ือมีหมายกาํ หนดการเขา้ เฝ้ าฯ หรืองานพิธีเป็ นทางการ เพื่อความเป็ นระเบียบและความ สวยงาม ซ่ึงมีรายละเอียดตามท่ีหม่อมหลวงปี ย์ มาลากุล (เลขานุการสาํ นกั พระราชวงั ในขณะน้นั ) ได้ อธิบายไว้ ดงั ต่อไปน้ี ๑. แบบไทยเรือนต้น ใช้ผา้ ฝ้ ายหรือผา้ ไหม มีลายริ้วตามขวางหรือตามยาวหรือใช้ผา้ เกล้ียงมีเชิงซิ่นยาวจรดขอ้ เทา้ ป้ ายหนา้ เส้ือใชผ้ า้ สีตามริ้วซิ่นหรือเชิงซ่ิน จะตดั กบั ซ่ินหรือสีเดียวกนั กไ็ ด้ เส้ือคนละท่อนกบั ซิ่น แขน ๓ ส่วน กวา้ งพอสบาย ผา่ อก ดุม ๕ ดุม คอกลมต้ืน ไม่มีขอบต้งั ๒. แบบไทยจติ รลดา ใชผ้ า้ ไหมเกล้ียงมีเชิง หรือเป็ นยกดอกท้งั ตวั ก็ได้ ตดั แบบเส้ือคนละท่อนกบั ซ่ิน ซ่ินยาวป้ ายหน้า เส้ือแขนยาว ผา่ อก คอกลม มีขอบต้งั นอ้ ยๆ ๓. แบบไทยอมรินทร์ ใชผ้ า้ ยกไหมท่ีมีทองแถม หรือยกทองท้งั ตวั เส้ือคนละท่อนกบั ซ่ิน ไม่มีเขม็ ขดั ถา้ เป็นผสู้ ูงอายจุ ะ ใชค้ อกลมกวา้ งๆ ไม่มีแขนขอบต้งั แขน ๓ ส่วนกไ็ ด้ ๔. แบบไทยบรมพมิ าน ใชผ้ า้ ยกไหมหรือยกทองมีเชิงหรือยกท้งั ตวั ตดั แบบติดกนั ซ่ินจีบขา้ งหน้า มีชายพก ยาวจรด ขอ้ เทา้ คาดเขม็ ขดั ไทย เส้ือแขนยาว คอกลมมีขอบต้งั ผ่าดา้ นหลงั หรือดา้ นหนา้ ใชเ้ คร่ืองประดบั ตาม สมควร ๕. แบบไทยจกั รี ใชผ้ า้ ยกมีเชิงหรือยกท้งั ตวั มีจีบยกขา้ งหนา้ มีชายพก ใชเ้ ขม็ ขดั ไทยคาด ท่อนบนเป็ นสไบจะเยบ็ ให้ติดกบั ซ่ินเป็ นท่อนเดียวกนั หรือจะมีสไบห่มต่างหากก็ได้ เปิ ดบ่าขา้ งหน่ึงชายสไบคลุมไหล่ทิ้งชาย ดา้ นหลงั ยาวพอสมควร

๖. แบบไทยดุสิต ใชผ้ า้ ยกไหมหรือยกทองอย่างแบบไทยอมรินทร์ ไทยบรมพิมาน และไทยจกั รี ตวั ซ่ินยาวมีจีบ ยกขา้ งหนา้ และชายพกใชเ้ ขม็ ขดั ผิดกนั ตรงตวั เส้ือ คือเป็ นเส้ือไม่มีแขน คอดา้ นหนา้ และหลงั ต่าํ เล็กนอ้ ย ผา่ ดา้ นหลงั ตวั เส้ือ ปักเป็ นลวดลายดว้ ยไข่มุกลูกปัดหรือเล่ือม ฯลฯ ใชใ้ นงานพระราชพิธีท่ีกาํ หนดให้ แต่งกายเตม็ ยศ ๗. แบบไทยจกั รพรรดิ ตวั ซิ่นใชผ้ า้ ไหมหรือยกทอง เอวจีบ ขา้ งหนา้ มีชายพกห่มแพรจีบแบบไทย สีตดั กบั ผา้ นุ่งเป็นช้นั ที่ หน่ึงก่อน แลว้ ใชผ้ า้ ห่มปักอยา่ งสตรีบรรดาศกั ด์ิสมยั โบราณห่มทบั แพรจีบอีก ช้นั หน่ึง ๘. แบบไทยศิวาลยั ซ่ินใช้ผา้ ไหมหรือยกทอง เอวจีบ มีชายพก ตวั เส้ือใช้ผา้ สีทองเหมือนสีเน้ือ ตดั แบบแขนยาว คอกลมผ่าหลงั เยบ็ ติดกบั ผา้ ซิ่นคลา้ ยแบบไทยบรมพิมานห่มฟ้ าปักลายไทยอย่างแบบไทยจกั รพรรดิโดย ไม่ตอ้ งมีแพรจีบรองพ้ืนก่อน การแต่งกายเมอื่ หมายกาํ หนดการให้แต่งเครื่องแบบเต็มยศ คร่ึงยศและปกติ เต็มยศ แต่งแบบไทยบรมพิมาน หรือไทยอมรินทร์ ในงานพระราชทานเล้ียงอาหารค่าํ ที่เป็ นงาน เตม็ ยศ ถา้ อากาศเยน็ ควรแต่งแบบศิวาลยั ถา้ อากาศไม่เยน็ จะแต่งแบบไทยจกั รีกไ็ ด้ คร่ึงยศ แต่งแบบไทยบรมพมิ านหรือแบบไทยอมรินทร์ ปกติ แต่งแบบไทยเรือนตน้ นอกจากน้ี เพ่ือความเป็ นสากล สํานักพระราชวงั ยงั อนุโลมให้ใชช้ ุดกระโปรงยาวแบบตะวนั ตก ในงานพระราชทานเล้ียงอาหารค่าํ ไดด้ ว้ ย กาํ หนดเรียกชุดดงั กล่าวน้ีว่า “ชุดราตรีสโมสร”ดว้ ยพระอจั ฉริย ปัญญาปรีชาญาณเห็นการณ์ไกล สมเดจ็ พระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ จึงทรงฉลองพระองคช์ ุดไทย ประยุกต์แบบต่างๆ อย่างสม่าํ เสมอท้งั ในการส่วนพระองค์ การเสด็จพระราชดาํ เนินเยี่ยมเยียนราษฎร การพระราชกุศลตลอดจนงานพระราชพิธี และเพื่อใหช้ าวต่างชาติไดป้ ระจกั ษใ์ นความงามของชุดไทยพระ ราชนิยม สมเดจ็ พระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ จึงมกั ใชช้ ุดไทยพระราชนิยมเป็นฉลองพระองคใ์ น พระราชพิธีตอ้ นรับราชอาคนั ตุกะจากนานาอารยประเทศอีกวโรกาสหน่ึงดว้ ย ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๐๘ เมื่อ นางสาวอภสั รา หงสกลุ นางสาวไทยประจาํ ปี น้นั จะเดินทางไป ประกวดนางงามจกั รวาล ณ สหรัฐอเมริกา สมเดจ็ พระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ไดท้ รงโปรดเกลา้ โปรดกระหม่อมเลือกชุดไทยพระราชนิยม ๕ แบบ พระราชทานให้ นางสาวอภสั รา หงสกลุ นาํ ไปใชเ้ ป็น เคร่ืองแต่งกายชุดประจาํ ชาติ เป็ นผลให้เม่ือนางสาวอภสั รา หงสกุล ได้รับตาํ แหน่งนางงามจกั รวาล ชุดไทยพระราชนิยมจึงปรากฏแก่สายตาสาธารณชนในต่างประเทศอีกคร้ังหน่ึง

ในปี พ.ศ. ๒๕๓๑ ความงดงามของชุดไทยพระราชนิยมกไ็ ดร้ ับการยกยอ่ งในระดบั โลกอีกคร้ัง เมื่อ นางสาวภรณ์ทิพย์ นาคหิรัญกนก ไดร้ ับรางวลั เคร่ืองแต่งกายชุดประจาํ ชาติสวยงามและไดร้ ับตาํ แหน่ง นางงามจกั รวาลในการประกวดปี น้ันดว้ ย นับต้งั แต่งานพระราชพิธีสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ครบรอบ ๒๐๐ ปี เป็ นตน้ มา ประชาชนชาวไทยได้มีโอกาสเห็นสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ทรงฉลองพระองค์ชุดไทยประยุกต์แบบใหม่ๆ หลายลักษณะด้วยกัน ชุดดังกล่าวในระยะหลังน้ีมี วิวฒั นาการดา้ นรูปแบบอนั คล่ีคลายเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม และยงั ไม่มีช่ือเรียกขานเฉพาะ แต่สามารถ จดั เป็นกลุ่มตามลกั ษณะท่ีทรงได้ ๕ กลุ่ม คือ ๑. ลกั ษณะที่ทรงพระภูษาโจงกระเบนแทนพระภูษาจีบหนา้ นางหรือพระภูษาป้ าย ๒. ลกั ษณะท่ีทรงฉลองพระองคล์ ูกไม้ ปล่อยชาย และทรงพระภูษาป้ าย ๓. ลกั ษณะท่ีทรงฉลองพระองค์กระบอก พระศอกลม และทรงพระภูษาจีบหน้านาง ทบั ชายฉลองพระองค์ ทรงสไบ ปักสะพกั พระองั สาบา้ ง ๔. ลกั ษณะที่ทรงฉลองพระองค์สําเร็จรูปตดั เย็บทิ้งชายคลา้ ยสไบ และทรงพระภูษา จีบหนา้ นาง ทบั ชายฉลองพระองค์ ๕. ลกั ษณะที่ทรงสไบกรองเหน็บทิ้งชายยาวดา้ นหนา้ และทรงพระภูษาจีบหนา้ นาง ดว้ ยพระบารมีปกเกลา้ ปกกระหม่อม กอปรกบั พระอจั ฉริยปัญญาปรีชาญาณ เห็นการณ์ไกลและ พระมหากรุณาธิคุณอนั หาท่ีสุดมิไดแ้ ห่งสมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ท่ีทรงเอาพระทยั ใส่ และทรงรับเป็ นพระราชภาระในอันท่ีจะกาํ หนดวางแบบแผนเคร่ืองแต่งกายสตรีไทยให้ยุติแน่นอน ทรงเกลี่ยแกเ้ ก่ากบั ใหม่ให้กลมกลืนโดยอาศยั ทรัพยากรชีวภาพท่ีมีอย่ใู นทอ้ งถิ่นต่างๆ ให้เกิดประโยชน์ ยงั ผลให้ผา้ ไทยและเคร่ืองแต่งกายสตรีแบบไทยหวนกลบั มาเป็ นที่นิยมแพร่หลายอีกคาํ รบหน่ึง ชุดไทย พระราชนิยมตามแนวพระราชดาํ ริ ตลอดจนการสร้างงานสืบสานลายและผา้ ไทยของมูลนิธิส่งเสริม ศิลปาชีพในสมเดจ็ พระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ เป็นท่ีชื่นชมท้งั ในประเทศและต่างประเทศ

พระเกยี รติคุณปรากฏไพศาล สมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงมุ่งมน่ั ในการปฏิบตั ิพระราชกรณียกิจนานปั การ เพอ่ื แบ่งเบาพระราชภาระของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ในการอุปถมั ภบ์ าํ รุงพสกนิกร ใหม้ ีความอยดู่ ีกินดี มีสุขภาพอนามยั แขง็ แรง มีการศึกษา มีความมนั่ ใจในการประกอบอาชีพการงาน มีความรักชาติบา้ นเมือง และนิยมในศิลปวฒั นธรรมประจาํ ชาติ ทรงดูแลรอบดา้ นไปจนถึงสภาพแวดลอ้ มและอนุรักษส์ รรพส่ิง พระมหากรุณาธิคุณน้ี ไม่เลือกเพศ ผวิ พรรณ และช้นั วรรณะใดๆ แมร้ าษฎรในประเทศเพ่ือนบา้ นที่ หนีร้อนมาพ่ึงเยน็ ในประเทศไทยกไ็ ดอ้ าศยั พระบรมโพธิสมภารน้ีดว้ ย พระเกียรติคุณแห่งพระราชกรณียกิจอเนกประการน้ี เป็นที่ทราบอยา่ งกวา้ งขวางท้งั ในประเทศและ นอกประเทศทว่ั โลก จึงมีผขู้ อทลู เกลา้ ฯถวายปริญญาและรางวลั เกียรติยศ เพ่ือสดุดีพระเกียรติคุณตลอดมา เหรียญเซเรส (Ceres Medal) วนั ท่ี ๑๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๒๒ ณ พระที่นงั่ จกั รีมหาปราสาท องคก์ ารอาหารและเกษตร แห่งสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization of United Nations: FAO) ทูลเกลา้ ฯ ถวาย “เหรียญเซเรส” (Ceres Medal) เพ่ือเทิดพระเกียรติที่ทรงอุทิศพระองคเ์ พ่ืองานดา้ นการส่งเสริมอาชีพราษฎร การเกษตร การสงั คมสงเคราะห์ และการช่วยเหลือเดก็ กาํ พร้า

รางวลั สดุดพี ระเกยี รตคิ ุณ เป็ นบุคคลดีเด่นด้านพทิ กั ษ์เด็ก (First Distinguished Service Award) วนั ท่ี ๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๒๔ ณ นครนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา สหพนั ธ์พิทกั ษเ์ ด็ก (Save the Children Federation) ทูลเกลา้ ฯ ถวาย “รางวลั เกียรติคุณ (First Distinguished Service Award) เพ่ือเทิดพระเกียรติในฐานะที่ทรงเป็นบุคคลดีเด่นดา้ นพิทกั ษเ์ ด็ก” อนั เน่ืองมาจากการที่ทรงช่วยเหลือผลู้ ้ีภยั ชาวเขมรท่ีเขาลา้ น จงั หวดั ตราด และทรงพระเมตตายงิ่ แก่เดก็ ๆ

รางวลั ด้านมนุษยธรรม (The Humanitarian Award) วนั ที่ ๑๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๒๘ ณ นครนิวยอร์ค ประเทศสหรัฐอเมริกา สมาคมเอเชีย (Asia Society) ทูลเกลา้ ฯ ถวาย “รางวลั ดา้ นมนุษยธรรม” (Humanitarian Award) เพ่ือเทิดพระเกียรติท่ีทรง ช่วยเหลือผลู้ ้ีภยั ทรงส่งเสริมศิลปหตั ถกรรมไทย ทรงเป็นผมู้ องการณ์ไกล และทรงมีความเป็นผนู้ าํ ประกาศนียบตั รเทดิ พระเกยี รติในฐานะ นักอนุรักษ์ดเี ด่นด้านป่ าไม้และสัตว์ป่ า (Certificate Honoring) วนั ท่ี ๑๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๒๙ ณ พระตาํ หนกั จิตรลดารโหฐาน กองทนุ คุม้ ครองสตั วป์ ่ าโลก (World Wildlife Fund) ทลู เกลา้ ฯ ถวาย “ประกาศนียบตั รเทิดพระเกียรติ” (Certificate Honoring) ในฐานะที่ ทรงเป็นนกั อนุรักษด์ ีเด่นดา้ นป่ าไมแ้ ละสตั วป์ ่ า

สมาชิกภาพกติ ตมิ ศักด์ิ (The Honorary Fellowship) วนั ท่ี ๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๑ ณ พระท่ีนง่ั จกั รีมหาปราสาท ราชวิทยาลยั อายรุ แพทยแ์ ห่ง กรุงลอนดอน (The Royal College of Physicians of London) ประเทศองั กฤษ ทูลเกลา้ ฯ ถวาย “สมาชิกภาพ กิตติมศกั ด์ิ” (The Honorary Fellowship) เพ่ือเทิดพระเกียรติที่มีพระมหากรุณาธิคุณต่อราษฎรท่ีป่ วยไข้ และ ทรงสนบั สนุนการแพทยแ์ ละการสาธารณสุขของไทยใหเ้ จริญกา้ วหนา้ รางวลั ด้านความช่วยเหลอื แก่ผู้ลภี้ ยั ประจาํ ปี ๑๙๙๐ (The Center for Migration Studies Immigration and Refugee Policy Awards 1990) วนั ท่ี ๒๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๓ ณ กรุงวอชิงตนั ดี.ซี. ประเทศสหรัฐอเมริกา ศูนยศ์ ึกษาการอพยพ (The Center Migration Studies: CMS) ทูลเกลา้ ฯ ถวาย “รางวลั ความช่วยเหลือแก่ผลู้ ้ีภยั ประจาํ ปี ๑๙๙๐” (The Center for Migration Studies Immigration and Refugee Policy Awards 1990) เพ่ือเทิดพระเกียรติท่ี ทรงเป็ นผูน้ าํ ดีเด่นด้านมนุษยธรรมในการให้ความช่วยเหลือผูล้ ้ีภัยจากประเทศในคาบสมุทรอินโดจีน ท่ีเขา้ มาในประเทศไทย

รางวลั ด้านมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (First International Humanitarian Award) วนั ที่ ๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๔ กลุ่มผสู้ นบั สนุนพิพิธภณั ฑเ์ ดก็ แห่งกรุงวอชิงตนั ดี.ซี. (The Friends of the Capital Children’s Museum) ทูลเกลา้ ฯ ถวาย “รางวลั ดา้ นมนุษยธรรมระหว่างประเทศ” (First International Humanitarian Award) เพ่ือเทิดพระเกียรติที่ทรงบาํ เพญ็ พระราชกรณียกิจเพื่อประโยชน์ สุขของมวลมนุษยชาติมาโดยตลอด และนายกเทศมนตรีแห่งกรุงวอชิงตนั ดี.ซี. ไดป้ ระกาศใหว้ นั ท่ี ๑ พฤศจิกายน ของทุก ๆ ปี เป็น “วนั Queen Sirikit Day” เหรียญโบโรพุทโธทองคาํ (Borobudur Gold Medal) วนั ที่ ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๕ ณ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ องคก์ ารศึกษา วิทยาศาสตร์และ วฒั นธรรมแห่งสหประชาชาติ (The United Nations Education, Scientific and Cultural Organization: UNESCO) ทูลเกลา้ ฯ ถวาย “เหรียญโบโรพทุ โธทองคาํ ” (Borobudur Gold Medal) เพ่ือเทิดพระเกียรติท่ีทรง พฒั นางานศิลปหตั ถกรรม เพ่อื ช่วยเหลือประชาชนใหม้ ีรายไดเ้ ล้ียงตนเอง

เหรียญรางวลั พเิ ศษ องค์การกองทุนเพอ่ื เด็กแห่งสหประชาชาติ (The UNICEF Special Recognition Award) วนั ท่ี ๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ ณ อาคารใหม่สวนอมั พร องคก์ ารกองทุนเพ่ือเด็กแห่ง สหประชาชาติ (The United Nations Children’s Fund: UNICEF) ทูลเกลา้ ฯ ถวาย “เหรียญรางวลั พิเศษ” (UNICEF Special Recognition Award) เพื่อเทิดพระเกียรติดา้ นพระมหากรุณาธิคุณที่ทรงมีต่อแม่และเด็ก ผา่ นหน่วยงานในพระบรมราชินูปถมั ภ์ และโครงการพระราชดาํ ริต่าง ๆ รางวลั แห่งความเป็ นเลศิ ของกองทุนพฒั นาเพอ่ื สตรีแห่งสหประชาชาติ (The UNIFEM Award of Excellence) วนั ที่ ๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ ณ อาคารใหม่สวนอมั พร กองทุนพฒั นาเพ่ือสตรีแห่ง สหประชาชาติ (United Nations Development Fund for Women: UNIFEM) ทูลเกลา้ ฯ ถวาย “รางวลั แห่ง ความเป็นเลิศ” (The UNIFEM Award of Excellence) เพื่อเทิดพระเกียรติท่ีทรงปฏิบตั ิพระราชกรณียกิจดา้ น การส่งเสริมบทบาทสตรี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook