Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภาษาไทย

ภาษาไทย

Description: ภาษาไทย

Search

Read the Text Version

ห น า | 1 หนงั สือเรียนสาระความรพู นื้ ฐาน รายวชิ าภาษาไทย (พท31001) ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2554) หามจาํ หนาย หนงั สอื เรียนเลม น้ี จดั พมิ พด วยเงนิ งบประมาณแผน ดนิ เพื่อการศกึ ษาตลอดชวี ติ สาํ หรบั ประชาชน ลิขสทิ ธเ์ิ ปน ของ สาํ นกั งาน กศน. สํานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร สาํ นกั งานสงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั สาํ นกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ

2 | ห น า หนังสือเรียนสาระความรพู ื้นฐาน รายวิชาภาษาไทย (พท31001) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554 เอกสารทางวชิ าการหมายเลข 3 /2555

ห น า | 3

4 | ห น า สารบัญ หนา คํานํา คําแนะนาํ การใชห นังสอื เรยี น โครงสรา งรายวิชา บทท่ี 1 การฟง การดู......................................................................................................9 เรอ่ื งท่ี 1 การเลอื กสื่อในการฟงและดู............................................................10 เรอ่ื งท่ี 2 การวเิ คราะห วจิ ารณเร่ืองท่ีฟง และดู..............................................14 เรอ่ื งที่ 3 มารยาทในการฟง และดู ..................................................................20 บทท่ี 2 การพูด ........................................................................................................23 เรอ่ื งท่ี 1 มารยาทในการพูด ...........................................................................24 เรอ่ื งท่ี 2 ลักษณะการพูดทด่ี ี...........................................................................25 เรอ่ื งที่ 3 การพดู ในโอกาสตา งๆ....................................................................26 บทท่ี 3 การอา น ........................................................................................................50 เรอ่ื งท่ี 1 ความสาํ คัญของการอา น .................................................................51 เรอ่ื งที่ 2 การวจิ ารญาณในการอา น................................................................52 เรอ่ื งที่ 3 การอา นแปลความ ตีความ การขยายภาพ จบั ใจความหรือสรปุ ความ...............................................................54 เรอ่ื งที่ 4 วรรณคดี..........................................................................................61 เรอ่ื งท่ี 5 หลักการวจิ ารณวรรณกรรม ............................................................67 เรอ่ื งที่ 6 ภาษาถ่ิน ..........................................................................................72 เรอ่ื งที่ 7 สาํ นวน สุภาษติ ..............................................................................75 เรอ่ื งที่ 8 วรรณกรรมทองถ่ิน .........................................................................76 บทท่ี 4 การเขยี น ........................................................................................................81 เรอ่ื งท่ี 1 หลักการเขยี น..................................................................................82 เรอ่ื งที่ 2 หลกั การแตงคําประพันธ...............................................................102 เรอ่ื งท่ี 3 มารยาทและนสิ ัยรกั การเขียน........................................................112

ห น า | 5 บทท่ี 5 หลักการใชภาษา .............................................................................................115 162 เร่ืองท่ี 1 ธรรมชาติของภาษา.......................................................................116 เรอ่ื งที่ 2 ถอ ยคาํ สาํ นวน สภุ าษิต คําพังเพย ................................................131 เรอ่ื งที่ 3 การใชพจนานกุ รมและสารานกุ รม ...............................................135 เรอ่ื งที่ 4 คําราชาศัพท..................................................................................141 บทท่ี 6 ภาษาไทยกบั ชอ งทางการประกอบอาชพี ........................................................146 เรือ่ งที่ 1 คุณคาของภาษาไทย.......................................................................147 เรอื่ งท่ี 2 ภาษาไทยกับชองการประกอบอาชีพ .............................................148 เรอ่ื งท่ี 3 การเพิ่มพูนความรูและประสบการณทางดานภาษาไทย เพอ่ื การประกอบอาชพี ...................................................................160 เฉลยแบบฝกหดั ............................................................................................................ บรรณานกุ รม ............................................................................................................ คณะผจู ดั ทํา ......................................................................................................163

6 | ห น า คําแนะนาํ ในการใชห นงั สอื เรยี น หนังสือเรียนสาระความรูพ้ืนฐาน รายวิชาภาษาไทย พท31001 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เป นหนงั สอื เรยี นทจี่ ดั ทําข้นึ สําหรับผเู รยี นทีเ่ ปนนักศึกษานอกระบบ ในการศึกษาหนังสือเรียนสาระความรูพ้ืนฐาน รายวิชาภาษาไทย พท 31001 ระดับมัธยมศึกษา ตอนปลายผเู รยี นควรปฏิบัตดิ งั น้ี 1. ศึกษาโครงสรางรายวิขาใหเขา ใจในหัวขอและสาระสําคัญ ผลการเรียนรูท ีค่ าดหวัง และ ขอบขายเนอ้ื หาของรายวิชานน้ั ๆ โดยละเอยี ด 2. ศกึ ษารายละเอียดเน้ือหาของแตละบทอยา งละเอียด ทํากิจกรรม แลว ตรวจสอบกับแนวตอบ กจิ กรรม ถาผเู รยี นตอบผดิ ควรกลับไปศึกษาและทําความเขา ใจในเนอ้ื หานนั้ ใหมใหเขา ใจ กอ นที่จะศึกษา เรอ่ื งตอๆ ไป 3. ปฏิบัติกิจกรรมทายเรื่องของแตละเรื่อง เพื่อเปนการสรุปความรู ความเขาใจของเนื้อหาใน เรอ่ื งนน้ั ๆ อกี คร้งั และการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมของแตละเนอ้ื หา แตล ะเรอ่ื ง ผูเรยี นสามารถนําไปตรวจสอบกับ ครูและเพอ่ื นๆ ทีร่ วมเรยี นในรายวิชาและระดบั เดยี วกนั ได 4. หนงั สอื เรยี นเลมน้ีมี 6 บท บทท่ี 1 การฟง การดู บทท่ี 2 การพดู บทที่ 3 การอาน บทที่ 4 การเขยี น บทที่ 5 หลักการใชภ าษา บทที่ 6 ภาษาไทยกับชองทางการประกอบอาชีพ

ห น า | 7 โครงสรา งรายวชิ าภาษาไทย (พท๓๑๐๐๑) ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สาระสาํ คญั 1. การอา นทักษะทางภาษาท่ีสาํ คัญ เพราะชวยใหส ามารถรับรูขา วสารและเหตุการณต างๆ ของ สังคม ทําใหป รับตัวไดก ับความเจริญกา วหนาทางวิทยาการตา งๆ สามารถวิเคราะห วิจารณ และนํา ความรูไ ปใชในชีวิตประจาํ วนั 2. การเขียนเปน การสือ่ สารทีจ่ ัดระบบความคิด การเลือกประเด็น การเลือกสรรถอ ยคําเพื่อถา ยทอดเปนตวั อกั ษรในการส่อื ความรู ความคิด ประสบการณ อารมณ ความรูสึก จากผเู ขียนไปยงั ผูอา น 3. การฟง การดู และการพูด เปนทักษะทีส่ ําคัญของการสือ่ สารในการดําเนินชีวิตประจําวันจึง จาํ เปน ตอ งเขา ใจหลักการเบอ้ื งตน และตอ งคํานึงถึงมารยาทในการฟง การดแู ละการพดู ดว ย 4. การใชภาษาไทยใหถูกตอ งตามหลักภาษา ทําใหเกิดความภาคภูมิใจในภูมิปญ ญา ของคน ไทยจงึ ตระหนกั ถึงความสําคัญของภาษาและตองอนุรักษภ าษาไทยไวเปน สมบัตขิ องชาติสืบตอ ไป 5. การใชทักษะทางภาษาไทยในการแสวงหาความรู การเขาใจระดับของภาษาสามารถใชค ําพูด และเขยี นไดดี ทําใหเ กดิ ประโยชนตอตนเองและสว นรวม 6. วรรณคดีไทยเปนมรดกของภาษาและวัฒนธรรมที่มีคุณคา เปน มรดกทางปญ ญาของคนไทย แสดงถึงความรุงเรอื งของวฒั นธรรมทางภาษา เปนการเชิดชูความเปนอารยะของชาติ ผลการเรยี นรูที่คาดหวงั เมื่อศึกษาชุดวชิ าแลว ผเู รยี นสามารถ 1. จับใจความสําคัญ และเลา เรื่องได ตีความได อานในใจและอา นออกเสียง วิเคราะห วิจารณ ประเมินคาได เลอื กหนงั สอื และสารสนเทศไดและมีมารยาทในการอา นและมนี ิสยั รกั การอา น 2. อธิบายการเขียนเบือ้ งตน ได เขียนเรียงความ ยอ ความ เขียนจดหมาย เขียนโตแ ยง เขียน รายงาน เขียนคําขวัญ เขียนประกาศ เขียนเชิญชวน กรอกแบบรายการ แตง คําประพันธ บอกคุณค าของถอยคาํ ภาษาและสามารถเลือกใชถอยคําในการประพันธ เขียนอา งอิง เขียนเลขไทยไดถูกตอ งสวย งาม

8 | ห น า 3. บอกหลักเบือ้ งตน และจุดมุง หมายของการฟง การดูและการพูดได และสามารถ พูดในโอกาสตา งๆ ได 4. บอกลักษณะสําคัญของภาษาและการใชภาษาในการสือ่ การ ใชพ จนานุกรมและสารานุกรม ในชีวิตประจาํ วันได 5. บอกชนดิ และหนาทีข่ องคํา ประโยค และนาํ ไปใชไดถ กู ตอ ง 6. ใชเ ครอ่ื งหมายวรรคตอน อักษรยอ คําราชาศัพท หลักการประชุม การอภิปราย การโตว าที 7. บอกความหมายของวรรณคดีและวรรณกรรม องคป ระกอบและรูปแบบลักษณะเดนของ วรรณคดีได 8. บอกความหมายของวรรณกรรมมุขปาฐะ และวรรณกรรมลายลักษณไ ด 9. บอกความหมายและลักษณะเดน ของวรรณกรรมทองถิน่ ประเภทรูปแบบของวรรณกรรม ไทยปจ จบุ นั ได 10. อานวรรณคดีและวรรณกรรม บอกแนวความคิด คา นยิ ม คุณคาหรอื แสดงความคดิ เหน็ ได 11. บอกลักษณะสําคัญและคุณคา ของเพลงพืน้ บา น และบทกลอมเดก็ พรอมทง้ั รอ งเพลงพ้ืนบาน และบทกลอ มเดก็ ได ขอบขา ยเนอ้ื หา บทที่ 1 การฟง การดู บทท่ี 2 การพูด บทที่ 3 การอา น บทท่ี 4 การเขียน บทที่ 5 หลักการใชภาษา บทที่ 6 วรรณคดแี ละวรรณกรรม บทที่ 7 ภาษาไทยกับชองทางการประกอบอาชีพ

ห น า | 9 บทท่ี 1 การฟง การดู สาระสาํ คญั การฟง และดูสารประเภทตางๆ อยางถูกวิธีมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด ความรู สึกในโอกาสตางๆ อยางเหมาะสมจะทําใหไ ดรบั ความรู ความเขา ใจ นาํ ไปใชป ระโยชนในชีวิตประจําวัน ได ผลการเรยี นรูท ี่คาดหวัง เมื่อศึกษาบทจบ แลว คาดหวงั วา ผเู รยี นจะสามารถ 1. นาํ ความรูไ ปเปน ขอ มลู ในการตดั สนิ ใจเลอื กสือ่ ในการฟงและดู 2. แสดงความคดิ เหน็ วิเคราะห วจิ ารณ เร่ืองทีฟ่ งและดูได 3. มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด และสรปุ สาระสําคัญของเรอ่ื งท่ฟี ง และดูได ขอบขา ยเนื้อหา เรื่องที่ 1 การเลอื กสือ่ ในการฟงและดู เรอื่ งท่ี 2 การวิเคราะห วจิ ารณ เรอ่ื งท่ฟี ง และดู เรอ่ื งที่ 3 มารยาทในการฟง และดู

10 | ห น า เร่อื งท่ี 1 การเลือกสอื่ ในการฟง และดู สังคมปจจุบันชอ งทางการนําเสนอขอมูลใหดูและฟงจะมีมากมาย ดังน้ันผูเรียนควรรูจักเลือกที่ จะดูและฟง เมอื่ ไดร บั รูขอ มลู แลว การรูจ กั วิเคราะห วจิ ารณ เพือ่ นาํ ไปใชใ นทางสรางสรรค เปน สิง่ จําเป นเพราะผลทต่ี ามมาจากการดูและฟง จะเปนผลบวกหรือลบแกสังคม ก็ขึ้นอยูกับการนําไปใช น่ันคือผล ดีจะเกิดแกส ังคมก็เมือ่ ผูด ูและฟงนําผลท่ีไดน้ันไปใชอยางสรา งสรรค หรือในปจจุบันจะมีสํานวนที่ใช กันอยางแพรหลายวาคิดบวก เมอื่ รูจ กั หลกั ในการฟงและดูแลว ควรจะรูจักประเภทเพ่ือแยกแยะในการนําไปใชประโยชน ซ่ึง อาจสรปุ ประเภทการแยกแยะประเภทของสือ่ ในการนาํ ไปใชประโยชน มีดงั น้ี 1. สือ่ โฆษณา สอื่ ประเภทน้ีผูฟ ง ตอ งรจู ดุ มุงหมาย เพราะสวนใหญจ ะเปนการส่ือใหคลอยตาม อาจไมสมเหตสุ มผล ผฟู ง ตอ งพิจารณาไตรตรองกอนซื้อหรอื กอ นตัดสนิ ใจ 2. สื่อเพ่ือความบันเทิง เชน เพลง, เรื่องเลา ซ่ึงอาจมีการแสดงประกอบดว ย เชน นิทาน นิยาย หรอื สื่อประเภทละคร ส่อื เหลานผ้ี รู ับสารตอ งระมัดระวัง ใชวิจารณญาณประกอบการตัดสินใจกอ นที่จะ ซ้ือหรือทําตาม ปจ จุบันรายการโทรทัศนจะมีการแนะนําวาแตละรายการเหมาะกับกลุม เปาหมายใด เพราะเชอ่ื กันวา ถาผูใดขาดความคิดในเชงิ สรางสรรคแลว สอื่ บนั เทงิ อาจสงผลรายตอ สงั คมได เชน ผูด ูเอา ตวั อยา งการจ้ี, ปลน , การขมขืนกระทําชําเรา และแมแ ตการฆาตวั ตาย โดยเอาอยางจากละครท่ีดูก็เคยมีมา แลว 3. ขาวสาร สื่อประเภทน้ีผูร ับสารตอ งมีความพรอ มพอสมควร เพราะควรตองรูจ ักแหลง ขาว ผู นาํ เสนอขา ว การจบั ประเดน็ ความมีเหตุมีผล รูจักเปรียบเทียบเนื้อหาจากท่ีมาของขา วหลายๆ แหง เปน ต น 4. ปาฐกฐา เนอ้ื หาประเภทน้ีผูรับสารตองฟง อยางมีสมาธิเพ่ือจับประเด็นสําคัญใหได และกอ น ตัดสินใจเชอื่ หรอื นาํ ขอมลู สว นใดไปใชประโยชนต องมีความรูพ้นื ฐานในเรอ่ื งนน้ั ๆ อยูบ า ง 5. สุนทรพจน ส่ือประเภทน้ีสว นใหญจ ะไมย าว และมีใจความที่เขา ใจงา ย ชัดเจน แตผูฟ ง จะต องรจู กั กลั่นกรองสิ่งท่ดี ีไปเปนแนวทางในการปฏิบัติ หลักการฟง และดูอยา งสรา งสรรค 1. ตองเขาใจความหมาย หลักเบือ้ งตนจองการจับใจความของสารที่ฟงและดูน้ัน ตองเขา ใจความหมายของคํา สาํ นวนประโยคและขอความท่บี รรยายหรอื อธิบาย 2. ตองเขาใจลกั ษณะของขอ ความ ขอความแตล ะขอความตอ งมใี จความสําคญั ของเร่ืองและ ใจความสําคญั ของเร่ืองจะอยทู ป่ี ระโยคสําคญั ซงึ่ เรียกวา ประโยคใจความ ประโยคใจความจะปรากฏอยู ในตอนใดตอนหนง่ึ ของขอความ โดยปกติจะปรากฏอยูใ นตอนตน ตอนกลาง และตอนทาย หรอื อยู

ห น า | 11 ตอนตนและตอนทา ยของขอ ความผูร ับสารตองรูจกั สงั เกต และเขาใจการปรากฏของประโยคใจความใน ตอนตางๆ ของขอความ จงึ จะชว ยใหจบั ใจความไดด ียิง่ ขึน้ 3. ตอ งเขา ใจในลกั ษณะประโยคใจความ ประโยคใจความ คือขอ ความทเี่ ปน ความคิดหลกั ซึง่ มกั จะมเี นอ้ื หาตรงกับหวั ขอ เรือ่ ง เชน เรอ่ื ง “สนุ ัข” ความคิดหลกั คอื สุนัขเปน สตั วเ ลย้ี งทรี่ ักเจา ของ แต การฟงเร่ืองราวจากการพดู บางทีไมม หี วั ขอ แตจะพูดตามลําดับของเนอ้ื หา ดงั นั้นการจบั ใจความสาํ คัญต องฟง ใหตลอดเร่ืองแลว จบั ใจความวา พูดถงึ เร่ืองอะไร คอื จบั ประเดน็ หัวเรอื่ ง และเร่ืองเปน อยางไรคือ สาระสําคัญหรือใจความสําคญั ของเร่ืองนน่ั เอง 4. ตองรูจ ักประเภทของสาร สารทฟี่ งและดูมหี ลายประเภท ตองรูจกั และแยกประเภทสรปุ ของ สารไดว า เปนสารประเภทขอเทจ็ จรงิ ขอ คดิ เห็นหรอื เปน คาํ ทักทายปราศรัย ขา ว ละคร สารคดี จะได ประเดน็ หรือใจความสําคญั ไดงาย 5. ตองตีความในสารไดต รงตามเจตนาของผูสงสาร ผสู ง สารมเี จตนาทจ่ี ะสง สารตางๆ กบั บาง คนตองการใหค วามรู บางคนตอ งการโนม นา วใจ และบางคนอาจจะตอ งการสงสารเพอื่ สือ่ ความหมาย อ่นื ๆ ผูฟงและดูตองจบั เจตนาใหได เพ่อื จะไดจบั สารและใจความสาํ คัญได 6. ตงั้ ใจฟงและดูใหต ลอดเรื่อง พยายามทําความเขาใจใหตลอดเร่ือง ยงิ่ เร่ืองยาวสลับ ซับซอ นยงิ่ ตองต้งั ใจเปน พิเศษและพยายามจบั ประเด็นหวั เร่ือง กริยาอาการ ภาพและเครื่องหมายอื่นๆ ด วยความตัง้ ใจ 7. สรปุ ใจความสาํ คัญ ข้ันสดุ ทายของการฟง และดูเพอ่ื จบั ใจความสาํ คัญกค็ ือสรปุ ใหไดว า เรอ่ื ง อะไร ใคร ทําอะไร ทีไ่ หน เมอ่ื ไร อยางไรและทําไม หรอื บางเรื่องอาจจะสรปุ ไดไมค รบทั้งหมดท้ังน้ี ยอ มขน้ึ กบั สารทฟี่ งจะมใี จความสําคญั ครบถวนมากนอยเพยี งใด วจิ ารณญาณในการฟง และดู พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานไดใหค วามหมายของ วิจารณญาณไวว า ปญญาท่ีสามารถรู หรือใหเหตุผลที่ถูกตอง คํานี้มาจากคําวา วิจารณ ซึ่งแปลวา การคิดใครครวญโดยใชเหตุผลและคําวา ญาณ ซ่ึงแปลวา ปญ ญาหรอื ความรูใ นชั้นสงู วิจารณญาณในการฟงและดู คือการรับสารใหเ ขา ใจเน้ือหาสาระโดยอาศัยความรู ความคิด เหตผุ ล และประสบการณประกอบการใชปญญาคิดใครครวญแลว สามารถนาํ ไปใชไดอยา งเหมาะสม การฟงและดูใหเ กิดวิจารณญาณน้ันมีข้ันตอนในการพัฒนาเปน ลําดับบางทีก็อาจเปน ไปอยา ง รวดเร็ว บางทีก็ตอ งอาศัยเวลา ทั้งน้ียอ มขึ้นอยูก ับพ้ืนฐานความรู ประสบการณข องบุคคลและ ความยุงยากซบั ซอนของเรอ่ื งหรอื สารท่ฟี ง ข้ันตอนการฟงและดูอยางมวี ิจารณญาณมีดงั น้ี

12 | ห น า 1. ฟงและดูใหเขาใจเรื่อง เม่ือฟง เรอ่ื งใดกต็ ามผูฟ งจะตอ งต้ังใจฟงเรื่องน้ันใหเขาใจตลอดเรื่อง ใหรูว า เนอ้ื เรอ่ื งเปน อยางไร มีสาระสําคัญอะไรบาง พยายามทําความเขาใจรายละเอียดทั้งหมด 2. วิเคราะหเ รื่อง จะตองพิจารณาวา เปน เรื่องประเภทใด เปน ขา ว บทความ เรือ่ งสัน้ นิทาน นยิ าย บทสนทนา สารคดี ละคร และเปนรอ ยแกว หรือรอยกรอง เปนเรือ่ งจริงหรือแตงขึน้ ตอ งวิเคราะห ลักษณะของตัวละคร และกลวิธีในการเสนอสารของผสู ง สารใหเ ขา ใจ 3. วินิจฉัยเรือ่ ง คือการพิจารณาเรื่องท่ีฟง วาเปน ขอ เท็จจริง ความรูสึกความคิดเห็นและผูส  งสารหรือผูพ ูดผูแ สดงมีเจตนาอยางไรในการพูดการแสดง อาจจะมีเจตนาท่ีจะโนม นา วใจหรือแสดง ความคดิ เหน็ เปนเรอ่ื งทมี่ ีเหตุมีผล มีหลกั ฐานนา เช่ือถอื หรอื ไมแ ละมีคณุ คา มีประโยชนเ พยี งใด สารทีใ่ หความรู สารทีใ่ หความรูบ างครั้งก็เขา ใจงาย แตบางครั้งทเี่ ปน เรื่องสลับซับซอนก็จะเขา ใจยาก ตองใชก าร พนิ จิ พิเคราะหอ ยางลึกซึง้ ท้ังน้ียอมขน้ึ กับเรอ่ื งท่ีเขาใจงา ยหรอื เขา ใจยาก ผูร ับมีพื้นฐานในเรื่องที่ฟง เพียง ใด ถา เปนขา วหรอื บทความเกย่ี วกับเกษตรกรผูม ีอาชีพเกษตรยอ มเขา ใจงา ย ถา เปน เรื่องเกี่ยวกับธุรกิจนัก ธุรกิจก็จะไดเ ขา ใจงายกวาผูม ีอาชีพเกษตร และผูพูดหรือผูสง สารก็มีสวนสําคัญ ถา มีความรูใ นเรื่องน้ัน เปน อยา งดรี วู ธิ ีพูดนาํ เสนอผฟู ง ก็จะเขา ใจไดง า ย ขอ แนะนําในการฟง และดทู ่ีใหความรโู ดยใชวิจารณญาณมดี ังนี้ 1. เม่ือไดร ับสารที่ใหความรูเ ร่ืองใดตอ งพิจารณาวาเรื่องน้ันมีคุณคา หรือมีประโยชนควรแกการใช วิจารณญาณมากนอยเพยี งใด 2. ถาเรอ่ื งที่ตอ งใชว จิ ารณญาณไมวา จะเปน ขาว บทความ สารคดี ขาว หรอื ความรูเ รื่องใดก็ตาม ตอ งฟง ดวยความต้ังใจจับประเด็นสําคัญใหได ตอ งตีความหรือพินิจพิจารณาวา ผูสง สารตอ งการสงสาร ถึงผรู บั คืออะไร และตรวจสอบหรอื เปรยี บเทียบกับเพื่อน ๆ ที่ฟง รว มกันมาวาพิจารณาไดตรงกันหรือไม อยา งไร หากเห็นวาการฟงและดูของเราตา งจากเพื่อน ดอยกวา เพื่อน จะไดปรับปรุงแกไขใหก ารฟง พฒั นาขน้ึ มปี ระสิทธิภาพตอ ไป 3. ฝก การแยกแยะขอ เท็จจริง ขอ คิดเห็น เจตคติของผูพ ูดหรือแสดงที่มีตอเรื่องท่ีพูดหรือแสดง และฝกพิจารณาตัดสินใจวาสารที่ฟงและดูนน้ั เช่อื ถอื ไดหรอื ไม และเชอ่ื ถือไดมากนอยเพยี งใด 4. ขณะทีฟ่ ง ควรบนั ทกึ สาระสําคัญของเรอ่ื ง ตลอดทงั้ ประเดน็ การอภปิ รายไวเพอ่ื นาํ ไปใช 5. ประเมินสารท่ีใหค วามรูวา มีความสําคัญมีคุณคาและประโยชนม ากนอ ยเพียงใด มีแงค ิด อะไรบาง และผูสงสารมีกลวิธีในการถายทอดที่ดีนาสนใจอยางไร 6. นําขอ คิด ความรูแ ละกลวิธีตา งๆ ท่ีไดจ ากการฟง ไปใช ในการดําเนินชีวิตประจําวัน การประกอบอาชีพและพฒั นาคณุ ภาพชีวิต พฒั นาชุมชนและสังคมไดอยา งเหมาะสม

ห น า | 13 สารท่โี นมนาวใจ สารท่ีโนม นา วใจเปนสารที่เราพบเห็นประจําจากสือ่ มวลชน จากการบอกเลา จากปากหน่ึงไปสู ปากหนง่ึ ซงึ่ ผูส ง สารอาจจะมีจดุ มุงหมายหลายอยางทั้งท่ดี ี และไมด ี มีประโยชนห รือใหโทษ จุดมุง หมาย ท่ีใหป ระโยชนก็คือ โนมนา วใจใหร ักชาติบา นเมือง ใหใ ชจา ยอยา งประหยัด ใหร ักษาสิ่งแวดลอม ให รักษาสาธารณสมบัติและประพฤติแตส่งิ ทด่ี ีงาม ในทางตรงขา มผูสงสารอาจจะมีจุดมุงหมายใหเกิดความ เสยี หาย มุง หมายท่ีจะโฆษณาชวนเช่ือหรือปลุกปน ยุยงใหเกิดการแตกแยก ดังน้ันจึงตอ งมีวิจารณญาณ คดิ พิจารณาใหดวี า สารนน้ั เปน ไปในทางใด การใชว ิจารณญาณสารโนม นาวใจ ควรปฏิบตั ิดงั น้ี 1. สารน้ันเรียกรอ งความสนใจมากนอ ยเพียงใด หรือสรางความเชื่อถือของผูพ ูดมากนอ ย เพยี งใด 2. สารท่ีนํามาเสนอน้ัน สนองความตอ งการพื้นฐานของผูฟง และดูอยา งไรทําใหเ กิดความ ปรารถนาหรอื ความวาวุน ขน้ึ ในใจมากนอยเพยี งใด 3. สารไดเสนอแนวทางทสี่ นองความตอ งการของผูฟ ง และดูหรือมีสิ่งใดแสดงความเห็นวาหาก ผูฟงและดูยอมรบั ขอ เสนอน้ันแลวจะไดรบั ประโยชนอะไร 4. สารที่นํามาเสนอน้ันเราใจใหเช่ือถือเกี่ยวกับส่ิงใด และตองการใหคิดหรือปฏิบัติอยางไร ตอ ไป 5. ภาษาทีใ่ ชในการโนม นาวใจนั้นมีลกั ษณะทาํ ใหผ ฟู ง เกดิ อารมณอ ยางไรบา ง สารท่จี รรโลงใจ ความจรรโลงใจ อาจไดจ ากเพลง ละคร ภาพยนตร คําประพันธ สุนทรพจน บทความบางชนิด คําปราศรัย พระธรรมเทศนา โอวาท ฯลฯ เมื่อไดร ับสารดังกลา วแลว จะเกิดความรูสึกสบายใจ สุขใจ คลายเครยี ด เกดิ จนิ ตนาการ มองเหน็ ภาพและเกดิ ความซาบซ้ึง สารจรรโลงใจจะชว ยยกระดับจิตใจมนุษย ใหส ูงข้นึ ประณตี ขึน้ ในการฝกใหม ีวจิ ารณญาณในสารประเภทน้คี วรปฏบิ ตั ดิ งั น้ี 1. ฟงและดูดว ยความตัง้ ใจ แตไ มเครงเครยี ด ทําใจใหสบาย 2. ทําความเขา ใจในเนอ้ื หาท่ีสําคัญ ใชจ นิ ตนาการไปตามจุดประสงคของสารน้ัน 3. ตอ งพิจารณาวา สิ่งท่ีฟง และดูใหค วามจรรโลงในดา นใด อยางไรและมากนอ ยเพียงใด หาก เรอ่ื งนนั้ ตอ งอาศัยเหตผุ ล ตอ งพิจารณาวาสมเหตุสมผลหรอื ไม 4. พิจารณาภาษาและการแสดง เหมาะสมกับรปู แบบเนอ้ื หาและผูรับสารหรอื ไมเ พยี งใด

14 | ห น า เรอ่ื งท่ี 2 การวิเคราะหว ิจารณเร่ืองท่ฟี งและดู ความหมายของการวิเคราะห การวินิจและการวจิ ารณ การวิเคราะห หมายถึง การที่ผูฟ งและผูด ูรับสารแลว พิจารณาองคป ระกอบออกเปนสว นๆ นํามาแยกประเภท ลกั ษณะ สาระสําคัญของสาร กลวธิ ีก ารเสนอและเจตนาของผสู งสาร การวินิจ หมายถึง การพิจารณาสารดวยความเอาใจใส ฟง และดูอยา งไตรตรองพิจารณาหา เหตผุ ลแยกแยะขอ ดีขอ เสยี คณุ คาของสาร ตีความหมายและพิจารณาสํานวน ภาษา ตลอดจนน้ําเสียงและ การแสดงของผูสง สาร พยายามทําความเขา ใจความหมายที่แทจริงเพ่ือใหไ ดป ระโยชนต ามวัตถุประสงค ของผูวนิ จิ การวจิ ารณ หมายถึง การพจิ ารณาเทคนิคหรอื กลวิธีท่ีแสดงออกมานนั้ ใหเห็นวา นา คิด นา สนใจ นาตดิ ตาม มีชน้ั เชิงยอกยอนหรอื ตรงไปตรงมา องคประกอบใดมีคุณคา นาชมเชย องคประกอบใดนา ทวง ติงหรือบกพรองอยางไร การวิจารณส ิ่งใดก็ตามจึงตอ งใชความรูมีเหตุมีผล มีหลักเกณฑและมีความ รอบคอบดว ย ตามปกติแลว เมื่อจะวิจารณสิ่งใด จะตอ งผา นขั้นตอนและกระบวนการของการวิเคราะหส าร วนิ จิ สาร และประเมินคาสาร ใหช ดั เจนเสยี กอนแลว จึงวิจารณแ สดงความเห็น ออกมาอยา งมีเหตุมีผลให นา คิด นา ฟงและเปนคาํ วจิ ารณท ่เี ช่อื ถือได การวจิ ารณ ท่ีรบั ฟงมาก็เชนเดยี วกัน ตองผานการวิเคราะห วินิจ และประเมินคาสารน้ันมากอน และการวิจารณแ สดงความคิดเห็นที่จะทําไดอยา งมีเหตุมีผลนา เชื่อถือน้ัน ผูร ับสารจะตอ งรูหลักเกณฑ การวจิ ารณแ สดงความคิดเหน็ ตามชนดิ ของสาร เพราะสารแตละชนิด ยอ มมีองคป ระกอบเฉพาะตัว เชน ถาเปนขา วตอ งพิจารณาความถูกตองตามความเปน จริง แตถา เปน ละครจะดูความสมจริง และพิจารณา โครงเรือ่ ง เนื้อเรื่อง ฉาก ตัวละคร ภาษาที่ใช บทบาทการแสดง ฯลฯ นอกจากรูห ลักเกณฑแ ลว จะตอง อาศัยการฝกฝนบอ ยๆ และอานตัวอยางงานวิจารณของผูอ ่ืนท่ีเชีย่ วชาญใหมาก ก็จะชว ยใหการวิจารณด ี มเี หตุผลและนาเชื่อถือ หลักการวจิ ารณแ ละแสดงความคิดเหน็ สารประเภทตางๆ สารทีไ่ ดรบั จากการฟงมีมากมาย แตทไี่ ดรบั เปนประจาํ ในชีวิตประจําวันไดแ ก

ห น า | 15 1. ขา วและสารประชาสัมพนั ธ 2. ละคร 3. การสนทนา คําสัมภาษณบ ุคคล 4. คําปราศรัย คําบรรยาย คํากลา วอภิปราย คาํ ใหโ อวาท 5. งานประพนั ธรอ ยกรองประเภทตา งๆ หลักเกณฑการวจิ ารณส ารทีไ่ ดร บั ตามชนิดของสาร 1. ขาวและสารประชาสัมพันธ สารประเภทน้ีผูร ับสารจะไดร ับจากวิทยุ โทรทัศน ซ่ึงจะ เสนอขา วจากหนว ยงานประชาสัมพันธของภาครัฐและเอกชน รูปแบบของการเสนอขาว โดยทั่วไปจะประกอบดวย หัวขอ ขาว เน้ือและสรุปขา ว โดยจะเร่ิมตน ดวย หัวขอ ขาวท่ีสําคัญแลวถึงจะ เสนอรายละเอียดของขา วและตอนทา ยกอนจบ จะสรุปขา ว หรือบางครัง้ จะเสนอลักษณะการสรุปขาว ประจาํ สัปดาหเ ปนรายการหนง่ึ โดยเฉพาะ สวนสารประชาสัมพันธอาจมีรูปแบบท่ีแปลกออกไปหลายรูป แบบ เชน เสนอสาระในรูปแบบของขาว ประกาศแจงความหรือโฆษณาแบบตา งๆ ในการวิจารณ ควร พจิ ารณาตามหลักเกณฑ ดงั น้ี 1.1 แหลงขา วท่มี าของขา วและสารประชาสัมพันธ ผูวิจารณจะตอ งดูวาแหลงของขา วหรือ สารประชาสัมพันธน ้ันมาจากไหนจากหนวยงานใด เปนหนวยงานของรัฐหรือเอกชนหนว ยงานหรือ สถาบันนั้นนา เช่ือถือมากนอ ยเพยี งใด 1.2 เนื้อหาของขาวและสารประชาสัมพันธ ผูรับสารตอ งพิจารณาวา สารน้ันมีเนื้อหาสม บรู ณห รอื ไม คือเม่ือถามดว ยคาํ ถามวา ใคร ทาํ อะไร ท่ีไหน เมอ่ื ไร อยางไรแลว ผูฟงสามารถหาคําตอบได ครบถวน และสามารถสรปุ สาระสําคัญไดด วย 1.3 พิจารณาทบทวนวาเน้ือหาของขา วและสารประชาสัมพันธท ี่นําเสนอเปนความจริง ทั้งหมด หรอื มกี ารแสดงความรูส กึ ความคดิ เหน็ ของผูส งสารแทรกมาดว ย 1.4 พิจารณาภาษาทใ่ี ชท ัง้ ความถูกตองของการใชภ าษา ศิลปภาษาและดานวรรณศลิ ป 2. ละคร ภาพยนตร สารประเภทละครจะฟง ไดจ ากละครวิทยุ และโทรทัศนเสียเปนสวนใหญ สว นละครเวทีนน้ั มโี อกาสไดดูไดฟง นอ ยมาก ซึง่ หลักการวจิ ารณล ะครมแี นวทางดงั น้ี 2.1 ดูความสมจริงของผูแสดงตามบทบาทท่ีไดรับวา ใชน ้ําเสียงสมจริงตามอารมณ ความรู สกึ ของตวั ละครนน้ั ๆ มากนอยเพยี งใด 2.2 พิจารณาโครงเรอ่ื ง แกนของเร่ืองวา มีโครงเรือ่ งเปน อยางไร สรุปสาระสําคัญหรือแกน ของเรอ่ื งใหไ ด

16 | ห น า 2.3 ฉากและตัวละคร มีฉากเหมาะสมสอดคลอ งกับเนื้อเรื่อง เหมาะสมกับบรรยากาศ และ ตวั ละครแตล ะตวั มีลักษณะเดน หรอื ใหอะไรกบั ผฟู ง 2.4 ภาษาท่ีใชถูกตองเหมาะสมตามหลักการใชภ าษา ศิลปะภาษาและดานวรรณศลิ ป 3. การสนทนาและคําสัมภาษณบุคคล การสนทนาและคําสัมภาษณบ ุคคลในวิทยุและโทรทัศน เปนสารท่ีไดฟงกันเปนประจํา ผูรว มสนทนาและใหส ัมภาษณก ็เปน คนหลากหลายระดับและอาชีพ การ สนทนาและ การวเิ คราะหมีหลกั ในการพิจารณา ดงั น้ี 3.1 การสนทนาในชวี ิตประจําวัน ก. การทีส่ นทนา มันเปนเรอ่ื งอะไรและมีสาระสําคัญวา อยางไร ข. สาระสําคัญของการสนทนาทสี่ รปุ ไดเปนความจรงิ และนาเชอ่ื ถอื เพยี งใด ค. ผรู ว มสนทนามีความรูแ ละมคี วามสนใจในเรอ่ื งที่สนทนามากนอยเพยี งใด ง. ภาษาทีใ่ ชในการสนทนามีความถูกตอง ตามหลักการใชภ าษามีความเหมาะสมและ สละสลวยทําใหเ ขาใจเรอ่ื งไดช ดั เจนเพยี งใด ทั้งน้ําเสยี งและลีลาการพดู แฝงเจตนาของผูพูดและนาฟงหรือ ไม 3.2 คาํ สมั ภาษณบ ุคคล มหี ลกั เกณฑการพจิ ารณาและวจิ ารณดงั น้ี ก. ผูส ัมภาษณเ ปน ผูมีความรูแ ละประสบการณใ นเร่ืองท่ีสัมภาษณมากนอ ยเพียงใด เพราะผูส มั ภาษณท ม่ี ีความรแู ละประสบการณในเร่ืองทจ่ี ะสมั ภาษณเปน อยา งดจี ะถามไดสาระเนื้อเรื่องดี จงึ ตองดูความเหมาะสมของผสู ัมภาษณกบั เรอ่ื งท่สี ัมภาษณดวย ข. ผูใ หการสัมภาษณเ หมาะสมหรือไม โดยพิจารณาจากวุฒิ ฐานะ หนา ท่ี อาชีพและ พจิ ารณาจากคาํ ตอบทใี่ หส มั ภาษณว ามเี นอ้ื หาสาระและตอบโตต รงประเดน็ คาํ ถามหรอื ไมอ ยางไร ค. สาระของคําถามและคําตอบในแตละขอตรงประเด็นหรือไม มีสาระเปนประโยชน ตอ สังคมมากนอ ยเพยี งใด ง. ลักษณะของการสัมภาษณ เปนการสัมภาษณทางวิชาการ หรือการสัมภาษณเ พ่ือ ความบันเทิง เพราะถาเปนการสัมภาษณทางวิชาการยอ มจะตอ งใชหลักเกณฑใ นการพิจารณาครบถว น แตหากเปน การสัมภาษณเ พื่อความบันเทิงน้ันงายตอการวิจารณวาดีหรือไมดี เพราะใชส ามัญสํานึกและ ประสบการณพ ิจารณาก็เพียงพอแลว จ. ภาษาที่ใชเขา ใจงา ยชัดเจน เหมาะสมเพียงใด ผูสัมภาษณแ ละผูใหสัมภาษณมีความ จรงิ ใจในการถามและการตอบมากนอยเพยี งใด 4. คําปราศรยั คําบรรยาย คาํ กลาวอภปิ ราย คาํ ใหโอวาท

ห น า | 17 4.1 คําปราศรัย มีหลกั เกณฑการพิจารณาและวจิ ารณดงั น้ี ก. สาระสําคัญเหมาะสมกับโอกาสที่ปราศรัยหรือไม โดยพิจารณาเนือ้ หาสาระ เวลา และโอกาสวาสอดคลองเหมาะสมกนั หรอื ไม ข. สาระสําคัญและความคิดเปนประโยชนต อ ผฟู งหรอื ไม ค. ผูกลาวปราศรัยใชภาษาไดด ีถูกตอง เหมาะสมสละสลวย คมคายหรอื ไมอ ยางไร 4.2 คาํ บรรยายฃ มีหลกั เกณฑก ารพิจารณาและวจิ ารณด งั น้ี ก. หวั ขอและเนอ้ื เรอ่ื งเหมาะสมกับสถานการณและผฟู ง มากนอยเพยี งใด ข. สาระสําคัญของเรอ่ื งทบ่ี รรยายมีประโยชนตอผูฟง และสังคมมสี ิ่งใดท่ีนา จะนําไปใช ใหเ กดิ ประโยชน ค. ผูบ รรยายมีความรูและประสบการณ ในเรื่องที่บรรยายมากนอยเพียงใด มีความนา เช่อื ถือหรอื ไม ง. ภาษาท่ีใชใ นการบรรยาย ถกู ตอ งตามหลักการใชภ าษา เขา ใจงา ยชดั เจนหรอื ไม 4.3 คาํ กลา วอภปิ ราย การอภปิ รายเปน วิธีการระดมความคิดเห็นและแนวทางในการแกปญ หา ซ่ึงเราจะไดฟ งกันเปน ประจาํ โดยเฉพาะจากรายการโทรทัศน การวิเคราะหวิจารณควรพิจารณาโดยใชหลักการ ก. ประเด็นปญหาที่จะอภิปราย ขอบขายของปญ หาเปน อยางไร มีขอ บกพรอ ง อยา งไร ข. ประเด็นปญ หาที่นํามาอภิปราย นาสนใจมากนอยเพียงใดและมีความสอดคลอง เหมาะสมกับสถานการณ หรอื ไม ค. ผอู ภปิ รายมคี ุณวฒุ ิ ประสบการณมสี ว นเก่ียวขอ งกับประเดน็ อภิปรายอยางไร และมี ความนาเชือ่ ถอื มากนอ ยเพยี งใด ง. ผูอภิปรายไดศึกษาคน ควาและรวบรวมขอมูลความรูม าช้ีแจงประกอบไดม ากนอย เพียงพอเหมาะสมและนาเชื่อถือหรอื ไม จ. ผูอ ภิปรายรับฟง ความคิดเห็นของผูรว มอภิปรายหรือไม มีการผูกขาดความคิดและ การพดู เพยี งคนเดยี วหรอื ไม ฉ. ผูอ ภิปรายใหขอคิดและแนวทางอยา งมีเหตุผลมีขอ มูลหลักฐานหรือไม ใชอ ารมณ ในการพดู อภปิ รายหรอื ไม ช. ภาษาที่ใชใ นการอภิปรายถูกตอ งตามหลักการใชภ าษา กระชับรัดกุม ชัดเจน เขาใจงาย

18 | ห น า ซ. ผฟู งอภิปรายไดศ ึกษารายละเอียดตามหัวขออภิปรายมาลวงหนาบางหรือไม หากมี การศึกษามาลว งหนา จะทําใหว เิ คราะหวจิ ารณไ ด 4.4 คําใหโอวาท มีหลักเกณฑก ารพิจารณาและวจิ ารณ คอื ก. ผใู หโ อวาทเปน ใคร มีคณุ วฒุ มิ หี นาทท่ี ี่จะใหโ อวาทหรอื ไม ข. สาระสําคัญของเรื่องท่ีใหโ อวาทมีอะไรใหขอคิดเรื่องอะไร สอนอะไรมีแนวทาง ปฏบิ ัติอยา งไร ค. เร่ืองที่ใหโ อวาทมีความถูกตอ ง มีเหตุมีผลสอดคลอ งตามหลักวิชาการหรือไม นา เชอ่ื ถือเพยี งใด ง. มเี ทคนิคและกลวิธีในการพูดโนม นา วจติ ใจของผฟู งและมีการอา งอิง คําคม สํานวน สุภาษิต หรอื ยกเรอ่ื ง ยกเหตกุ ารณม าประกอบอยางไรบาง จ. ใชภ าษาไดดี ถูกตองสละสลวย คมคาย ไพเราะ ประทับใจตอนไหนบา ง สรุป 1. วิจารณญาณในการฟงและดู หมายถึงการรับสารใหเขา ใจตลอดเร่ืองแลวใชป ญ ญาคิด ไตรต รอง โดยอาศัยความรู ความคิด เหตุผล และประสบการณเ ดิม แลวสามารถนําสาระตา งๆ ไปใชใ น การดาํ เนนิ ชีวิตไดอยางเหมาะสม โดยมขี ้นั ตอนดงั น้ี 1.1 ฟง และดูใหเขาใจตลอดเรอ่ื งกอ น 1.2 วิเคราะหเ รื่อง วาเปนเรื่องประเภทใด ลักษณะของเรื่องและตัวละครเปน อยางไร มี กลวิธีในการเสนอเรอ่ื งอยางไร 1.3 วนิ ิจฉัย พจิ ารณาเรอ่ื งท่ีฟงเปน ขอ เท็จจริง ความคิดเห็น เจตนาของผูเ สนอเปนอยา งไร มเี หตุผลนา เช่อื ถือหรอื ไม 1.4 การประเมินคา ของเรื่องเมื่อผานขั้นตอน 1 – 3 แลว ก็ประมาณวาเรื่องหรือสารน้ันดี หรอื ไมด ี มีอะไรทจี่ ะนาํ ไปใชใ หเปน ประโยชนได 1.5 การนาํ ไปใชประโยชนเมอื่ ผา นขั้นตอนท่ี 1 – 4 แลว ข้ันสุดทายคือ นําคุณคาของเรื่องท่ี ฟง และดูไปใชไดเ หมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล 2. การวิเคราะห หมายถึงการแยกแยะประเภท ลักษณะ สาระสําคัญและการนําเสนอพรอมทั้ง เจตนาของผพู ดู หรอื ผเู สนอ การวินิจ หมายถึงการพิจารณาเรอ่ื งอยางไตรต รอง หาเหตุผลขอดีขอ เสยี และคณุ คาของสาร

ห น า | 19 การวิจารณ หมายถึง การพิจารณาอยา งมีหลักเกณฑใ นเรื่องท่ีฟง และดู วามีอะไรนาคิดนาสน ใจนาตดิ ตาม นา ชมเชย นาชื่นชมและมอี ะไรบกพรองบาง การวิจารณส ารหรือเรื่องท่ีไดฟ ง และดู เม่ือไดว ินิจวิเคราะหแ ละใชว ิจารณญาณในการฟงและดู เร่ืองหรือสารท่ีไดรับแลว ก็นําผลมารายงานบอกกลา วแสดงความคิดเห็นตอส่ิงน้ัน อยา งมีเหตุผล มี หลกั ฐานประกอบ และเปน สิ่งสรา งสรรค 3. หลกั การฟง และดูท่ดี ี ผูเรยี นรูไ ดเรยี นรูวิธกี ารฟง และดูมาแลว หลายประการ ควรจะไดรับรูถึงวิธีการปฏิบัติตนใน การเปนผฟู ง และดูทีด่ ีดวย ตามหลักการดังนี้ 1. ฟง และดูใหต รงตามความมุง หมาย การฟงแตล ะครั้งจะตอ งมีจดุ มงุ หมายในการฟงและดู ซึ่งอาจจะมีจุดมุงหมายอยางใดอยา งหน่ึงโดยเฉพาะหรือมีจุดมุง หมายหลายอยาง พรอมกันกไ็ ด จะตอ งเลอื กฟง และดูใหตรงกับจุดมุงหมายท่ีไดตัง้ ไวแ ละพยายามท่ีจะใหการฟงและดูแต ละครัง้ ไดร บั ผลตามจดุ มุงหมายทก่ี าํ หนด 2. มคี วามพรอมในการฟงและดู การฟง และดูจะไดผลจะตองมีความพรอมทั้งรางกายจิตใจ และสติปญ ญา คือตอ งมีสุขภาพดีท้ังรา งกาย และจิตใจไมเหน็ดเหน่ือยไมเ จ็บปวยและไมม ีจิตใจเศร าหมอง กระวนกระวายการฟงและดูจึงจะไดผลดี และตองมีพ้ืนฐานความรูใ นเรื่องน้ันดีพอสมควร หาก ไมม พี น้ื ฐานทางความรู สตปิ ญ ญาก็ยอ มจะฟงและดูไมรูเ รอ่ื งและไมเ ขาใจ 3. มีสมาธิในการฟงและดู ถา หากไมมสี มาธิ ขาดความต้ังใจยอ มจะฟงและดูไมร ูเรื่อง การรับรู และเขา ใจจะไมเ กดิ ดงั น้ันจะตอ งมคี วามสนใจ มคี วามตั้งใจและมีสมาธใิ นการฟง และดู 4. มีความกระตือรือรน ผูท ่ีมองเห็นคุณคา และประโยชนข องเรือ่ งนัน้ มีความพรอ มที่จะรับรู และทําความเขาใจจากการฟงและดูน้นั ยอ มมีประสิทธภิ าพในการฟงและดูสงู 5. ฟงและดูโดยไมมอี คติ ในการฟงจะตองทําใจเปนกลางไมมีอคติตอผูพดู ตอเรอ่ื งท่ีพูด หากไม ชอบเรอ่ื ง ไมศ รัทธาผูพ ูดก็จะทําใหไ มพ รอมท่ีจะรับรูแ ละเขา ใจในเรื่องน้ัน จะทําใหการฟงและการดูไม ประสบผลสําเรจ็ 6. การจดบันทึกและสรุปสาระสําคัญ ในการฟงและดูเพ่ือความรูม ีความจําเปน ที่ตองบันทึก สรปุ สาระสําคัญท่ีจะนาํ ไปใชนาํ ไปปฏบิ ัติ คณุ สมบัติของผฟู งและดูท่ดี ี ควรปฏบิ ตั ดิ งั น้ี 1. สามารถปฏิบัตติ ามหลกั การฟงและดูท่ดี ีได โดยมีจุดมุงหมาย มีความพรอมในการฟงและดู มีความตั้งใจและกระตอื รอื รน ไมมอี คติและรจู กั สรปุ สาระสําคัญของเรอ่ื งทฟ่ี ง และดูน้ันได 2. มีมารยาทในการฟงและดู มารยาทในการฟงและดูเปน สิง่ ที่จะชว ยสรา งบรรยากาศท่ีดีในการ ฟงและดู เปน มารยาทของการอยรู ว มกนั ในสังคมอยา งหน่ึง หากผูฟงและดูไมมีมารยาท การอยูรวมกัน

20 | ห น า ในขณะท่ีฟง และดู ยอ มไมป กติสุข มีบรรยากาศที่ไมเหมาะสมและไมเ อ้ือตอ ความสําเร็จ ตัวอยา งเชน ขณะท่ีฟงและดูการบรรยายถา มีใครพูดคุยกันเสียงดังหรือกระทําการที่สรางความไมส งบรบกวนผูอ่ืน บรรยากาศในการฟงและดูน้ันยอ มไมดี เกิดความรําคาญตอเพื่อนที่นั่งอยูใกลจะไดรับการตําหนิวา ไมม ี มารยาท ขาดสมบัติผูดี แตถา เปน ผูม ีมารยาท ยอมไดร ับการยกยองจากบุคคลอืน่ ทําใหก ารรับสารดวย การฟง และดูประสบความสําเรจ็ โดยงา ย 3. รูจักเลือกฟงและดูในส่ิงท่ีเปน ประโยชน การเลือกฟง และดูในเร่ืองท่ีจะเปนประโยชนตอ อาชีพ ชีวิตความเปน อยูและความรับผิดชอบในสังคม แลว เลือกนําไปใชใหเกิดประโยชนในการพัฒนา อาชีพ พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ และพฒั นาสังคม เรอ่ื งท่ี 3 มารยาทในการฟง และดู การฟง และดูจะสัมฤทธิ์ผลน้ัน ผูฟงตองคํานึงถึงมารยาทในสังคมดว ย ย่ิงเปนการฟง และดูในท่ี สาธารณะยิ่งตองรักษามารยาทอยางเครง ครัด เพราะมารยาทเปนเครอ่ื งกาํ กับพฤตกิ รรมของคนในสังคม ควบคุมใหค นในสังคมประพฤติตนใหเรยี บรอ ยงดงาม อนั แสดงถึงความเปนผูดแี ละเปน คนทพี่ ฒั นาแลว การฟง และดใู นโอกาสตา งๆ เปนพฤตกิ รรมทางสังคม ยกเวน การฟง และดูจากสื่อตามลําพัง แต ในบางครั้งการฟงและดูบทเรียนจากส่ือทางไกลก็มีการฟง และดูกนั เปนกลุม รว มกบั บคุ คลอื่นดวย จําเปน ตองรักษามารยาท เพ่ือมิใหเ ปน การรบกวนสมาธิของผูอืน่ การรักษามารยาทในขณะที่ฟง และดูเปน การ แสดงถึงการมีสัมมาคารวะตอผพู ูดหรอื ผแู สดง หรอื ตอเพอ่ื นผฟู งดว ยกนั ตอสถานที่ผูม ีมารยาทยังจะได รบั ยกยอ งวา เปน ผูมีวฒั นธรรมดีงามอกี ดวย มารยาทในการฟงและดูในโอกาสตา งๆ มีดงั น้ี 1. การฟงและดูเฉพาะหนาผูใหญ เม่ือฟงและดูเฉพาะหนา ผูใหญไ มวาจะอยูแ ตลําพังหรือมีผูอ่ืนรวมอยูด ว ยก็ตาม จะตอ งสํารวม กิรยิ าอาการใหความสนใจดว ยการสบตากบั ผพู ูด ผูท ส่ี ื่อสารใหก ันทราบ ถาเปนการสนทนาไมค วรชิงพูด กอนที่คูสนทนาจะพูดจบ หรอื ถามีปญหาขอสงสัยจะถาม ควรใหผ ูพูดจบกระแสความกอนแลวจึงถาม หากมเี พอ่ื นรว มฟงและดูอยดู วยตอ งไมก ระทําการใดอนั จะเปนการรบกวนผูอ ืน่ 2. การฟงและดูในทป่ี ระชุม

ห น า | 21 การประชุมจะมีประธานในที่ประชุมเปน ผูน ําและควบคุมใหการประชุมดําเนินไปดว ยดี ผูเ ขาร วมประชุมตอ งใหความเคารพตอ ประธาน ในขณะที่ผูอ่ืนพูด เราตองต้ังใจฟงและดู หากมีสาระสําคัญก็ อาจจดบันทึกไวเ พ่ือจะไดน ําไปปฏิบัติ หรือเปนขอมูลในการอภิปรายแสดงความคิดเห็น ไมค วรพูด กระซิบกับคนขา งเคียง ไมควรพูดแซงขึ้น หรือแสดงความไมพ อใจใหเ ห็น ควรฟง และดูจนจบแลว จึงให สัญญาณขออนุญาตพูดดวยการยกมือ หรือขออนุญาต ไมค วรทํากิจธุระสว นตัว และไมท ําสิ่งอ่ืนใดท่ีจะ เปนการรบกวนที่ประชมุ 3. การฟงและดูในที่สาธารณะ การฟง และดูในที่สาธารณะเปนการฟงและดูท่ีมีคนจํานวนมากในสถานที่ที่เปน หอ งโถงกวา ง และในสถานท่ีที่เปน ลานกวาง อาจจะมีหลังคาหรือไมม ีก็ได ขณะที่ฟง และดูไมควรกระทําการใดๆ ที่จะ กอความรําคาญ สรางความวุนวายใหแกบุคคลที่ชมหรอื ฟง รว มอยูด ว ย ขอควรระวงั มดี งั น้ี 3.1 การฟงและดูในโรงภาพยนตรห รอื โรงละคร 3.1.1 รกั ษาความสงบ ไมใชเ สยี งพดู คุยและกระทําการใดๆ ทจ่ี ะทําใหเรื่องรบกวนผู อ่ืนและไมควรนาํ เด็กเล็กๆ ทีไ่ รเดยี งสาเขาไปดูหรอื ฟง ดวยเพราะอาจจะรอ งหรอื ทาํ เสยี งรบกวนผอู ่นื ได 3.1.2 ไมค วรนาํ อาหารของขบเคย้ี ว ของท่ีมีกลิน่ แรงเขา ไปในสถานท่ีน้ัน เพราะเวลา แกหอ อาหาร รับประทานของขบเคี้ยวก็จะเกิดเสียงดังรบกวนผูอ ่ืนและของท่ีมีกล่ินแรงก็จะสงกล่ิน รบกวน ผอู ่ืนดว ย 3.1.3 ไมเ ดินเขา ออกบอย เพราะในสถานที่น้ันจะมืด เวลาเดินอาจจะเหยียบหรือ เบยี ดผูรวมฟงดวย หากจาํ เปนควรเลอื กที่นัง่ ทีส่ ะดวกตอ การเดนิ เขา ออก เชน นั่งใกลท างเดนิ เปนตน 3.1.4 ไมค วรแสดงกิริยาอาการท่ีไมเหมาะไมควรระหวางเพ่ือนตา งเพศในโรง มหรสพ เพราะเปน เรอ่ื งสวนบุคคลขดั ตอวฒั นธรรมประเพณีไทย ไมควรแสดงกิริยาอาการดังกลาวในที่ สาธารณะ 3.1.5 ไมค วรสงเสยี งดังเกนิ ไปเมอ่ื ชอบใจเปน พิเศษในเรือ่ งท่ีดูหรือฟง เชน ถึงตอนที่ ชอบใจเปนพิเศษก็จะหัวเราะเสียงดัง ปรบมือหรือเปาปาก ซึ่งจะเปนการสรา งความรําคาญและรบกวนผู อืน่ 3.2 การฟง ในลานกวาง สวนใหญจะเปน การชมดนตรีและการแสดงท่ีเปนลักษณะ มหกรรมบันเทงิ ควรปฏบิ ตั ิดงั น้ี 3.2.1 อยาสง เสียงดังจนเกินไป จะทําใหเปน ท่ีรบกวนผูร วมชม หากถูกใจเปน พิเศษ ก็ควรดูจงั หวะอนั ควรไมท าํ เกนิ พอดี 3.2.2 ไมแสดงอาการกิริยาท่ีไมส มควร เชน การโยกตัว การเตน และ แสดงทาทางตางๆ เกนิ พอดี

22 | ห น า 3.2.3 ไมด ื่มของมึนเมาเขา ไปชมการแสดงหรอื ไมนาํ ไปดม่ื ขณะชม 3.2.4 ไมค วรแสดงกิริยาที่ไมเ หมาะสมกับเพื่อนตางเพศหรือเพศตรงขามเพราะขัดต อวฒั นธรรมไทย และอาจผดิ กฎหมายดว ย 3.2.5 ควรยืนหรือน่ังใหเ รียบรอยไมควรเดินไปเดินมาโดยไมจําเปนเพราะจะทํา ความ วุน วายใหบคุ คลอนื่ สรุป มารยาทในการฟงและดูได ดงั น้ี 1. ฟง และดูดวยความตัง้ ใจ ตามองดผู ูพ ูดไมแ สดงออกดว ยอาการใดๆ ทีบ่ อกถงึ ความไมส นใจ 2. ไมทําความรําคาญแกผอู ื่นที่ฟง และดูดว ย 3. ไมแสดงกรยิ าไมเ หมาะสมใดๆ เชน โห ฮา ฯลฯ 4. ถา จะแสดงความคิดเห็นหรือถามปญ หาขอของใจ ควรจะขออนุญาตกอ นหรือเมื่อที่ประชุม เปด โอกาสใหถ ามและแสดงความคดิ เหน็ 5. ไมค วรเดินเขาหรือเดินออกขณะที่ผูพูดกําลังพูดหรือกําลังแสดงหากจําเปน จริงๆ ควรจะทํา ความเคารพประธานกอ น กจิ กรรมท่ี 1 ใหผเู รยี นฝกปฏิบตั ิตามลกั ษณะการฟง ทีด่ ีในโอกาสท่ีเหมาะสม เชน การฟง รายงานกลุม, การฟง พระเทศนแ ลวนํามาอภิปรายกันในกลุม ท้ังผูเปนวิทยากรผูร วมฟงและเนื้อหาตามหัวขอ ท่ีผูเรียนนําเสนอ และตกลงกันในกลุม กิจกรรมท่ี 2 1. จงสรปุ มารยาทในการฟง และดวู า มอี ะไรบา ง 2. ใหผูเรยี นฝกปฏิบัตติ ามมารยาทในการฟงและดูโดยแบง กลุม จดั กจิ กรรมในหองเรยี น การนาํ ความรจู ากการฟง และดไู ปใช การฟง และการดูเปน การรับสารทางหน่ึงที่เราสามารถจะรับรูเ รือ่ งราวตางๆ ไดเปน อยา งดีและ ละเอยี ด เพราะไดฟง เรอ่ื งราวจากเสยี งพดู และยงั ไดมองเห็นภาพเรือ่ งราวเหตุการณและวัตถุสิง่ ของตลอด ทัง้ กริยาอาการตางๆ อกี ดวย ส่งิ ทีไ่ ดร บั จากการฟงและดจู งึ เปน ขอ มลู ความรูท่ีคอนขา งจะละเอียดลึกซึ้ง จงึ สามารถท่ีจะนาํ ไปใชใ นชวี ิตประจําวันไดอ ยางดี เชน 1. ใชถ ายทอดความรูเ รือ่ งราวดว ยการพูด การอา นและการเขียน เชน การรายงาน การบรรยาย การบอกกลาวเลา เร่ือง การอา นขาว อานประกาศ บทความ และการเขียนบทความ เขียนเร่ืองยอ เรียงความ จดหมาย ฯลฯ เพ่ือถา ยทอดเรือ่ งราวท่ีไดฟง และดู ตลอดท้ังการเห็นตัวอยางในการถายทอดด วยวธิ ีตางๆ มาใชในการถายทอดไดอกี ดว ย

ห น า | 23 2. ใชใ นการวิเคราะห วิจารณ แสดงความคิดเห็น การฟงและดูจะชวยใหเราไดค วามรู ไดข  อมูล ขอเท็จจริง หลักฐาน เหตุผล ตัวอยา งแนวคิดท่ีจะใชประกอบการวิเคราะห วิจารณ แสดงความ คดิ เหน็ ตอ ท่ีประชุม ตอ สาธารณชนดวย การพูด การเขยี นไดเปนอยางดี 3. ใชในการแกป ญ หา การแกป ญหาทกุ ประเภท ทุกปญหาจะสําเร็จละลว งไปดว ยดี จะตอ งอาศัย ความรู ประสบการณ แนวทางแกป ญหาอนื่ ที่เคยแกไขมาแลวและขอมลู ทางวิชาการประกอบในการตัดสิน ใจ เลอื กวธิ ีแกป ญ หาทเี่ กิดข้ึนจงึ จะสามารถแกป ญหาไดสาํ เร็จดวยดี 4. ใชใ นการประกอบอาชีพ การไดฟ งไดเหน็ ตวั อยางเรอ่ื งราวตางๆ จะทําใหไ ดร ับความรูและข อมลู เกี่ยวกบั อาชีพตางๆ จะทําใหเรามองเห็นชองทางการประกอบอาชีพชว ยใหต ัดสินใจประกอบอาชีพ และยงั เปน ขอมลู ท่จี ะสงเสรมิ ใหบ ุคคลที่มีอาชีพอยแู ลว ไดพฒั นาอาชีพของตนเองใหเ จริญกาวหนาอีกด วย 5. ใชในการศึกษาเลา เรยี น นกั เรียน ผูเรยี น ที่กาํ ลังศึกษาอยูยอ มสามารถนาํ ความรูประสบการณ จากการฟงและดูมาชว ยใหม ีความรูค วามเขาใจในวชิ าท่เี รยี นทําใหการเรียนประสบความสําเร็จตามความ ตองการของตนเอง 6. ใชเ ปนแนวทางในการดําเนินชีวิตในสังคม ความรูท ี่ไดจ ากการฟงและดูจะสามารถนําไปใช เปน แนวปฏิบัติของแตละคนท้ังในดา นสุขภาพอนามัย การปฏิบัติตนในสังคมเกี่ยวกับวัฒนธรรม ประเพณี การกินอยูห ลับนอน การอยูรว มกันในสังคมอยา งเปนสุข ทัง้ หมดเปนเรื่องท่ีจะตอ งศึกษาหา ความรูดูตวั อยา ง ดแู นวปฏบิ ตั ิระเบียบ กฎเกณฑข องสังคมดวยการฟงและดทู ั้งสน้ิ ที่กลาวมาเปน สว นหน่ึงยังมีอีกมากมายหลายอยางท่ีเราตอ งนําความรูจ ากการฟง และดูไปใชใน การดาํ เนนิ ชวี ติ 

24 | ห น า บทท่ี 1 การพูด สาระสาํ คญั การพูดเปน การสือ่ สารที่ควบคูก ับการฟงและดู การเขา ใจหลักการการเตรียมการพูด การพูดใน หลายๆ โอกาส และมารยาทในการพูดจะทาํ ใหการพูดประสบผลสําเรจ็ ผลการเรยี นรูท ี่คาดหวงั เมื่อศึกษาบทท่ี 2 จบ และคาดหวงั วา ผูเรยี นจะจะสามารถ 1. นาํ ความรูเ กีย่ วกับลักษณะการพดู ไปใชไดเหมาะสม 2. มที ักษะประสบการณการพดู ในโอกาสตางๆ 3. มมี ารยาทในการพูด ขอบขายเน้ือหา เรื่องท่ี 1 มารยาทในการพูด เร่ืองท่ี2ลักษณะการพดู ทด่ี ี เร่อื งที่3การพดู ในโอกาสตา งๆ

ห น า | 25 เร่อื งที่ 1 มารยาทในการพดู 1. ใชคาํ พูดสภุ าพเหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคลใหเ กียรติกับผูท เี่ ราพดู ดว ย รูจักใชคําท่ีแสดง ถึงความมีมารยาท เชน คําขอบคุณ ขอบใจ เมื่อผูอ่ืนทําคุณตอ เรา และกลาวขอโทษขออภัยเสียใจใน โอกาสที่กระทําการลว งเกนิ ผอู ื่น 2. ไมพดู จาเยาะเยย ถากถาง ดูหมิ่นเหยียดหยาม เสียดสีผูอ่ืน ไมพ ูดจายกตนขม ทาน พูดชี้จุดบก พรอง หรอื ปมดอยของผอู ืน่ ใหเ กดิ ความอบั อาย 3. ไมผูกขาดการพูดและความคิดแตเพยี งผูเดยี ว ใหโอกาสผูอ นื่ ไดพ ูดบางไมพูดตัดบทในระหว างผอู ืน่ กาํ ลงั พดู ควรคอยใหผอู ื่นพดู จนหมดกระบวนความแลวจงึ พดู ตอ 4. เมื่อจะพดู คดั คา นหรือโตแยง ควรจะเหมาะสมกับโอกาสและมีเหตุผลเพียงพอไมใชอารมณ ควรใชคําพูดท่ีนุม นวล ไมใ หเสยี บรรยากาศของการพดู คุยกนั 5. การพูดเพ่อื สรางบรรยากาศ ใหเ กดิ อารมณข นั ควรจะเปน เรื่องตลกขบขันที่สุภาพ ไมหยาบ โลนหรอื พูดลกั ษณะสองแงส องงาม 6. ไมพ ดู ตเิ ตยี น กลา วหาหรอื นนิ ทาผูอ่นื ตอหนา ชุมชน หรอื ในขณะทผี่ ูท เี่ ราพดู ถึงไมไ ด อยูดวย 7. ควรพดู ดว ยนํา้ เสยี งนมุ นวลชวนฟง ไมใ ชน ้ําเสียงหวนๆ หรือดุดันวางอํานาจเหนือผูฟง รูจัก ใชค าํ คะ ครบั นะคะ นะครบั หนอย เถดิ จะ นะ เสรมิ การพดู ใหส ภุ าพไพเราะนาฟง คณุ ธรรมในการพดู การปฏบิ ัติตามมารยาทในการพูดดังกลา วมาแลว ยังไมถือวาเปนการพูดดี เพราะยังขาดคุณธรรมในการพูดน้ันก็คือ ขาดความรับผิดชอบ ขาดความจริงใจ เพราะบุคคลที่มี คณุ ธรรมในการพดู จะตอ งมคี วามรับผิดชอบในคาํ พูดและส่ิงที่พูดออกไป มีความจริงใจ มีความบริสุทธิ์ ใจตอ ผูที่เราพดู ดว ย ก. ความรับผดิ ชอบในการพดู ผูพูดจะตองรับผิดชอบตอการพูดของตนท้ังในดานกฎหมายและ ศลี ธรรม รบั ผดิ ชอบทางกฎหมายนน้ั กค็ อื เมื่อผูพดู พดู อยา งขาดความรับผดิ ชอบมีความผิดตามกฎหมาย ผนู ้ันจะตองรับโทษ เชน พูดหมิ่นประมาท แจงความเท็จ พูดใหผ ูอ ่ืนเสียหายจนเกิดการฟองรอ ง ตองรับ โทษตามกฎหมาย สว นความรับผิดชอบในดานศีลธรรมหรือคุณธรรมน้ัน หมายถึงความรับผิดชอบของการพูดที่ ทาํ ใหผอู นื่ เสยี ใจ ไมสบายใจเกดิ ความเสยี หายไมถ งึ กบั ผดิ กฎหมายบา นเมอื ง แตเ ปน ส่ิงไมเหมาะไมควร เชน การพูดสอเสียด พูดคําหยาบ พูดเพอ เจอ พูดใหผ ูอ่ืนถูกตําหนิเหลาน้ีผูพูดตอ งรับผิดชอบ ตองไม ปฏิเสธในคําพูดของตน นอกจากนี้ผูพูดจะตอ งไมพ ูดตอเติมเสริมแตงจนบิดเบือนความจริง ตอ ง ตระหนกั และรบั ผดิ ชอบในการพดู ทุกคร้ัง

26 | ห น า ข. ความจริงใจและบริสุทธ์ิใจ ผูพ ูดตอ งมีความจริงใจในการพูดดวยการแสดงออกทางสีหนา แววตา อากัปกิริยา นํ้าเสียงและคําพูดใหตรงกับความรูส ึกที่มีอยูใ นจิตใจอยา งแทจ ริง ไมเสแสรงแกลง ทํา พูดดวยความบรสิ ุทธิ์ใจ คือการพูดดว ยความปรารถนาดีท่ีจะใหเ กิดผลดีตอผูฟ ง ไมพูดเพื่อใหเ ขาเกิด ความเดือดรอ นเสียหาย ในการพูดควรพิจารณาถึงผลดี ผลเสีย กาลเทศะ อะไรควรพูด อะไรไมควรพูด เปน สง่ิ สาํ คญั เร่ืองท่ี 2 ลกั ษณะการพดู ท่ดี ี การพดู การพูดเปนการสือ่ สารอีกประเภทหน่ึงที่ใชก ันอยูในชีวิตประจําวัน ในการพูดควรตระหนักถึง วัฒนธรรมในการใชภาษา คือตองเปนผูมีมารยาทในการพูด มีคุณธรรมในการพูดและปฏิบัติตาม ลกั ษณะการพูดท่ดี ี จงึ จะสือ่ กับผูฟ ง ไดต ามทตี่ อ งการ การพดู ของแตละบุคคลในแตล ะครั้งจะดีหรือไมดีอยางไรน้ัน เรามีเกณฑท ่ีจะพิจารณาได ถาเป นการพูดที่ดีจะมีลกั ษณะดงั ตอไปน้ี 1. ตอ งมีเนือ้ หาดี เน้ือหาก็จะตอ งเปนเรื่องเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย เนื้อหาที่ดีตอ งตรงตามจุดมุ งหมายของผูพ ูด ผูพ ูดมีจุดมุงหมายการพูดเพื่ออะไร เพ่ือความรู ความคิด เพ่ือความบันเทิง เพื่อจูงใจโน มนา วใจ เนื้อหาจะตองตรงตามเจตนารมณของผูพ ูดและเนื้อหาน้ันตอ งมีความยากงายเหมาะกับผูฟ ง มี การลาํ ดบั เหตกุ ารณ ความคิดที่ดีมรี ะเบียบไมว กวน จงึ จะเรียกวามเี นอ้ื หาดี 2. ตองมีวิธีการถายทอดดี ผูพูดจะตองมีวิธีการถา ยทอดความรูความคิดหรือส่ิงท่ีตอ งการถา ยทอดใหผูฟงเขา ใจงา ยเกดิ ความเช่อื ถือ และประทับใจ ผพู ูดตอ งมศี ิลปะในการใชถ อยคําภาษาและการใช นาํ้ เสยี ง มีการแสดงกิริยาทา ทางประกอบในการแสดงออกทางสหี นา แววตาไดอยางสอดคลองเหมาะสม การพดู จงึ จะเกดิ ประสิทธผิ ล 3. มบี คุ ลิกภาพดี ผพู ูดจะตองแสดงออกทางกายและทางใจไดเ หมาะสมกับโอกาสของการพูด อันประกอบดวย รูปรางหนา ตา ซึ่งเราไมสามารถที่จะปรับเปล่ียนอะไรไดมากนัก แตก็ตอ งทําใหด ูดี ท่สี ุด การแตง กายและกริยาทาทาง ในสวนน้เี ราสามารถที่จะสรา งภาพใหด ีไดไ มยาก จึงเปน สว นที่จะช วยในการสรา งบุคลิกภาพท่ีดีไดม าก สวนทางจิตใจน้ันเราตอ งสรางความเช่ือม่ันในตัวเองใหส ูง มีความ จรงิ ใจและมคี วามคิดริเร่มิ ผพู ูดที่มีบุคลกิ ภาพท่ดี ี จงึ ดงึ ดดู ใจใหผ ูฟ งเชอื่ ม่นั ศรัทธาและประทับใจไดง าย การสรา งบคุ ลิกภาพทด่ี ีเปนคณุ ลกั ษณะสําคญั อยางหนง่ึ ของการพดู การพูดท่ีใชส่ือสารในชีวิตประจําวันน้ันมีลักษณะแตกตางกัน ทั้งน้ีข้ึนอยูกับโอกาสสถานที่ กาลเทศะและบุคคลท่ีเราพูด ถาพูดเปนทางการ เชน การพูดในที่ประชุม สัมมนา การพูดรายงานความก าวหนา ของการปฏบิ ตั ิงานใหผ ูบังคับบัญชาทราบ ผูพูดยอมตองใชภาษาลักษณะหน่ึง แตใ นโอกาสที่ไม

ห น า | 27 เปน ทางการเชน การพูดในวงสนทนาของเพื่อนที่สนิทสนมกัน การพูดใหค ําปรึกษาของครู กศน. กับผู เรยี น ผูนาํ หมูบา นชีแ้ จงรายละเอียดของการประชุมใหคนในชุมชนทราบ ก็ยอ มจะใชภาษาอีกอยางหน่ึง หรือถาเราพูดกับบุคคลที่รูจ ักคุนเคยกันมาเปน อยางดีก็ใชภ าษาพูดลักษณะหน่ึง แตถ า พูดกับบุคคลที่เรา เพิง่ รูจกั ยงั ไมค นุ เคยก็จะใชภ าษาอกี ลักษณะหนง่ึ การพดู ทีด่ ี อาจแบงไดเ ปน 3 ลกั ษณะคอื 1. การพูดแบบเปน ทางการ เปนการพูดที่ผูพูดจะตอ งระมัดระวังในเรื่องของรูปแบบ วิธีการ ความถกู ตอ งเหมาะสมของการใชถอ ยคาํ การพดู ลกั ษณะน้จี ะใชในโอกาสทเ่ี ปน พิธกี าร มีรปู แบบวิธีการ และขนั้ ตอนในการพดู เปน การพูดในทป่ี ระชมุ ทม่ี รี ะเบียบวาระ การกลาวตอนรบั การกลาวตอบ การกล าวอวยพร การกลา วใหโ อวาท การแสดงปาฐกถา เปนตน 2. การพูดแบบกึ่งทางการ เปนการพูดท่ีผูพูดตองพิถีพิถันในการใชถ อ ยคํานอ ยลง กวา ลกั ษณะการพดู แบบเปนทางการ จะใชในการสนทนาพดู คยุ กนั ระหวางผูท่ียังไมค ุนเคยสนิทสนมกัน มากนกั หรอื ในกลุม ของบุคคลตางเพศ ตา งวัยกัน การพูดในท่ีชุมชนก็จะมีการใชก ารพูดในลักษณะน้ีด วย เชน การแนะนาํ บุคคลในทปี่ ระชุม การพดู อภปิ ราย การแนะนาํ วิทยากรบุคคลสําคญั เหลาน้ี เปนตน 3. การพดู แบบไมเปน ทางการ เปนการพูดท่ีใชสือ่ สารกับผูท ี่เราสนิทสนมคุนเคยกันมากๆ เชน การพดู คุยกนั ของสมาชิกในครอบครัว การพูดกันในกลุม ของเพือ่ นสนทิ หรอื พูดกบั กลุมคนท่ีเปนกันเอง การพูดในลักษณะน้ีจะใชก นั มากในชีวิตประจาํ วัน เรอ่ื งท่ี 3 การพดู ในโอกาสตา งๆ การพูดระหวา งบุคคล การพูดระหวา งบุคคลเปนการพูดท่ไี มเปนทางการ ท้ังผูพูดและผูฟ งมักไมไ ดม ีการเตรียมตัวลวง หนา ไมมกี ารกาํ หนดเวลาและสถานท่ีไมม ีขอบเขตเนื้อหาแนน อน ซ่ึงเปนการพูดท่ีใชมากที่สุด ผูเ รียน จะตองฝก ฝนและใชไดท ันทเี ม่ือจาํ เปนตอ งใช การพูดระหวา งบุคคลพอจะแยกไดดงั น้ี การพดู ทกั ทายปราศรัย ตามปกติคนไทยเราเปน คนมีนํ้าใจชอบชวยเหลือเกื้อกูลผูอ ่ืนอยูเ สมอ มี หนา ตายิ้มแยม แจม ใส รูจักโอภาปราศรัย เมื่อพบใครจะเปน คนที่รูจักกันมากอนหรือคนแปลกหนาก็จะ ทักทายดว ยการยิ้มหรือใชอ วัจนภาษา คือกิริยาอาการทักทายกอน ซึ่งเปนเอกลักษณข องคนไทยที่ควร รักษาไวเ พราะเปนทีป่ ระทับใจของผพู บเหน็ ทั้งคนไทยดวยกันและชาวตา งประเทศ การทักทายปราศรัยควรปฏิบัตดิ งั น้ี 1. ยิม้ แยม แจมใสความรูส กึ ยนิ ดีท่ีไดพ บกบั ผทู ่ีเราทักทาย

28 | ห น า 2. กลา วคําทักทายตามวัฒนธรรมไทย หรือตามธรรมเนียมนิยม อันเปนที่ยอมรับกันในสังคม เชน กลาว “สวสั ดีครบั ”... “สวสั ดีคะ ” 3. แสดงกริ ยิ าอาการประกอบคําทักทายหรือปฏิสันถาร เชน การย้ิมและคอ มศีรษะเล็กนอ ย การ จบั มอื จบั แขนหรอื ตบไหลเ บาๆ ซึง่ เปน วฒั นธรรมตะวนั ตกพอที่จะทําไดถาเปนคนรจู กั สนทิ สนมกนั ดี 4. กลา วขอความประกอบการทักทายท่เี หมาะสมและทาํ ใหเกดิ ความสบายใจดว ยกันท้ังสองฝา ย เชน สวสั ดีคะ คุณรตั น สบายดหี รอื คะ สวสั ดีครบั คุณก่งิ กมล วนั น้แี ตงตวั สวยจงั เลย สวสั ดีคะ คุณพรี พล ไมไ ดพบกนั เสยี นาน ลกู ๆ สบายดหี รอื คะ 5. การทักทายปราศรัย ควรหลีกเลี่ยงการถามเรอ่ื งสว นตวั เรอ่ื งการเงินและเรอ่ื งท่ีทําใหผ ูอ ่ืนไม สบายใจ ตวั อยาง สวสั ดคี ะ คุณคมกรชิ เปนอะไรไปคะ ผอมจงั เลย สวสั ดีครบั คุณอรอนงค ไปทาํ อะไรมาครบั หนา มแี ผลเต็มไปหมดเลย และคําถามที่เปนเรื่องสว นตัว เชน จะไปไหน จะไปเที่ยวไหน เส้ือตัวน้ีซื้อมาราคาเทาไร ไปทํา อะไรมาหนา ดูไมส บาย ไปบา นลุงอํ่าทําไม ลักษณะเชน น้ีควรจะหลีกเลี่ยง เพราะไมก อใหเกิด สัมพนั ธภาพท่ดี ีตอ กัน ควรจะทักทายปราศรัยดว ยไมตรีจติ และแสดงใหเ หน็ ทง้ั คําพูดและกิริยาอาการ การแนะนําตนเอง การแนะนาํ ตนเองมคี วามจาํ เปนและมีความสําคัญตอ การดําเนินชีวิตประจําวันของคนเราเปน อย างยิง่ เพราะในแตล ะวันเราจะมีโอกาสพบปะสังสรรค ติดตอประสานงานกับบุคคลอืน่ ๆ อยูเ สมอ การ แนะนําสรา งความรูจักคุนเคยกันจึงตอ งเกิดขึน้ เสมอ แตก ารแนะนําดวยการบอกช่ือ สถานภาพอยา งตรง ไปตรงมาเปน ธรรมเนยี มของชาวตะวนั ตก สว นคนไทยนิยมใชก ารแนะนําดว ยการใหความชว ยเหลือใหบริการเปนเบื้องตน เชน หยิบของ ใหร นิ นาํ้ ตกั อาหาร เม่อื มีโอกาสอนั ควรกจ็ ะทักทายปราศรัยและเร่มิ การสนทนาในเรื่องที่เห็นวาจะพูดคุย กันได แตก็มีบางครัง้ บางโอกาสท่ีฝา ยใดฝายหน่ึงไมย อมรับรูแสดงอาการเฉยเมยไมตอบสนอง จนทํา ใหอ กี ฝายหนง่ึ อดึ อดั เกอเขนิ หมดความพยายามผลสดุ ทา ยก็เลกิ ราไป ซึง่ เหตกุ ารณลักษณะน้เี ปน สภาพกา รณท ่ีไมพึงปรารถนา และคงไมมีใครตองการใหเ กิดขึน้ กับตัวเอง ดังน้ันผูเ รียนจึงตอ งเขา ใจและฝก ฝน การแนะนาํ ตนเองเพราะเปนส่งิ ท่มี ีประโยชนต อการดาํ เนนิ ชวี ิตและจาํ เปน ตอ งใชในชีวติ ประจําวัน

ห น า | 29 บุคคลอาจตองแนะนําตนเองในหลายโอกาส แตจ ะกลา วเฉพาะที่สําคัญพอเปนตัวอยา ง คือการ แนะนาํ ตนเองในท่ีสาธารณะ ในงานเลีย้ ง ในการทําธุรกจิ การงานและในงานประชุมกลุม ก. การแนะนาํ ตนเองในท่ีสาธารณะ มีแนวทาง การแนะนาํ ตนเอง ดงั น้ี 1. สรางเหตุของความคุนเคย กอนท่ีจะแนะนําตัวมักจะมีการหาจุดเร่ิมตนของการแนะนํา ตัวดว ยการสนทนาส้ัน ๆ หรือทักทายดว ยถอ ยคําที่จะนําไปสูความคุน เคย เชน วันแรกของการพบกลุม ของ ผูเรียน เม่ือผูเ รียนมาแตเชามีเพื่อนใหมม าคอยอยูค นเดียวหรือสองคน อาจจะมีผูเ รียนคนใดคน หนง่ึ กลา วปรารภขึ้นมา “ดิฉันก็นึกวาจะไมม ีเพื่อน เดินเขามาครัง้ แรกมองไมเ ห็นมีใครเลย” ตอ จากน้ันก็ จะมกี ารสนทนากันตอ อกี เลก็ นอย เมือ่ เกดิ ความรูส ึกคุน เคยมมี ติ รไมตรีตอ กนั ก็จะมกี ารแนะนําตัวใหรูจ ัก ซึง่ กนั และกันตอ ไป ในบางครั้งอาจจะมีการทักทายดวยคําถามท่ีเหมาะสมกับเหตุการณ เชน ในเหตุการณที่กลาวมา คือ ผูเรียนมาพบกัน ณ สถานท่ีพบกลุมเปน วันแรกน้ันคนที่มาถึงกอนอาจจะถามขึ้นกอ นวา “เพ่ิงมาถึง หรือคะ” “หรือมาคนเดียวหรือคะ” หรือไมคนที่มาทีหลังอาจจะถามข้ึนกอ นวา “มาถึงนานหรือยังครับ” หรือ “ยังไมมีใครมาเลยหรือครับ” แลว อีกฝายหน่ึงก็จะตอบคําถามแลว ก็มีการสนทนาซักถามกันตอ จน เกดิ ความรูส กึ คนุ เคยแลว จงึ มีการแนะนาํ ตวั ใหร ูจกั ซง่ึ กนั และกนั ตอ ไป 2. บอกชือ่ สกุลและขอ มูลท่ีสําคัญ เมื่อทักทายหรือกลา วในเชิงปรารภ จนรูส ึกวาเพื่อนใหม หรอื คูสนทนามีอัธยาศัยไมตรีที่ดีบา งแลว ก็อาจจะมีผูห น่ึงผูใดเปนฝายแนะนําตนเองดวยการบอกชื่อ ชื่อ สกลุ และขอมลู ทีส่ ําคัญตอ เนอ่ื ง เชน กลาวข้นึ วา “ผมณัฐสุชน คนเย่ียม มาพบกลุมระดับมัธยมศึกษาตอน ปลายกลุมอาจารยสภุ รณค รบั ” เพอ่ื นท่ีสนทนาดวยกจ็ ะแนะนาํ ตนเองตามมาวา “ดิฉัน สุวิมล นนทวัฒนา คะ มาพบกลุมระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเหมือนกันคะ แตอยูกลุมอาจารยน พรัตนค ะ เรียนแผนการ เรยี น ก. คะ ” จากน้ันก็จะมกี ารสนทนากันตอ ในเรอ่ื งการเรียนหรือเรื่องอ่ืนๆ ที่มีความสนใจตรงกันตอ ไป อกี จะเห็นไดวา การแนะนําตนเองในการพบปะสนทนากันในที่สาธารณะตามปกติท่ัวไปมักจะมี การสรา งเหตุของความคุน เคยดว ยการสนทนาซักถามกันเล็กๆ นอยๆ กอ น แลว จึงจะมีการแนะนําตน เองมิใชเรม่ิ แรกก็จะแนะนาํ ตนเองขึ้นมา บางครง้ั อาจจะไมมีการตอบสนองจากอีกฝายหน่ึงได จึงควรคํานึง ถงึ เร่ืองน้ดี ว ย ข. การแนะนาํ ตนเองในงานเลย้ี ง การไปรว มงานเลีย้ งควรคํานึงถึงมารยาทในสังคม รูจักสังเกตสนใจเพื่อนรวมโตะ หรือเพื่อน ท่ีมารว มงานดว ย หากยังไมร ูจ ักคุนเคยก็หาทางแนะนําตนเองตามวัฒนธรรมประเพณีของไทยดวยการ

30 | ห น า แสดงสหี นายมิ้ แยม แจมใส แสดงไมตรี มีโอกาสบริการก็ใหบ ริการซง่ึ กนั และกัน แลวจึงแนะนําตนเอง โดยการบอกชอื่ และบางครั้งสนทนากันตอ ในเรอ่ื งตา งๆ ตามสถานการณ บรรยากาศและความสนใจ การแนะนําตนเองในงานเลีย้ งมีลักษณะคลายกับการแนะนําตนเองในที่สาธารณะคือ จะมีการ สรา งเหตุของความคุนเคยกอนแลวจงึ แนะนาํ ตนเอง และมกี ารสนทนารายละเอียดอื่นๆ ตอ ไป ค. การแนะนาํ ตนเองในการทาํ กิจธุระ เมอื่ พบบุคคลท่ีนดั หมายหรอื ท่ีตอ งการพบโดยไมรจู กั กันมากอนใหบ อกชื่อและนามสกุลของตน เองใหท ราบดวยน้าํ เสียงสุภาพ ตอ จากน้ันจึงบอกกิจธุระที่ตอ งการมาติดตอ ตัวอยา งเชน “ผมช่ือวิทยา ศักด์ิสุวรรณ เรียนอยู กศน. เมืองปาน ทราบวา ท่ีบานน้ีเล้ียงปลา และขายลูกปลาหลายชนิดใชไหมครับ ผมขออนญุ าตชมบอปลา ขอคําแนะนาํ และผมจะขอซ้ือลกู ปลาดุกไปเลย้ี งสัก 500 ตวั ดว ยครบั ” เมอื่ แนะนาํ ตนเองและชี้แจงกจิ ธุระของเราอยา งชดั เจนแลว ก็จะทําใหการสือ่ สารดําเนินไปดว ยดี และกิจธรุ ะของเราก็ประสบผลสําเร็จ ง. การแนะนาํ ตนเองในกลุมยอย ในโอกาสท่ีมีการพบกลุม คนที่สว นใหญไมรูจักกันมากอนควรมีการแนะนําตนเองใหร ูจักเพ่ือ จะไดพ ูดคุยแสดงความคิดเห็นไดสะดวกใจและมีความเปน กันเอง ซ่ึงการแนะนําตนเองในกลุมยอ ยน้ี ใหบอกชื่อและนามสกุล บอกอาชีพ(ถามี) และบอกวา มาจากหมูบา น ตําบลอะไรถาตา งอําเภอก็บอก อาํ เภอดว ย เชน “ดิฉันวรวรรณ สุขวัฒนา เปนผูเรียนใหมของกลุม พระธาตุเสด็จ อยูบานวังลึก ตําบลพระธาตุ เสดจ็ ทํางานอยโู รงพยาบาลศนู ยล ําปางคะ” เมอ่ื แนะนาํ ตนเองแลว ในกลุม ก็จะมีปฏิกิริยาตอนรับดวยการย้ิมหรือปรบมือ แลวเราก็นั่งลงก็จะ ทําใหบรรยากาศของการประชุมเปนกนั เองข้ึน กิจกรรมท่ี 1 1. ใหผ เู รยี นจับคูกับเพื่อนในกลุม แลว สมมติสถานการณว าทั้งคูพบกันบนรถประจําทาง หรือ ที่สถานีอนามัยประจําตําบลหรอื สถานทอ่ี นื่ ๆ ที่เหน็ วาเหมาะสม ฝก ทักทายปราศรัยกันและกันใหเพื่อนผู เรยี นในกลุมฟงและใหเพอ่ื นชวยวจิ ารณก ารใชภาษาและการสรา งบรรยากาศวา ถูกตองเหมาะสมเพยี งใด 2. ใหผ ูเ รียนแนะนําตนเองในวันพบกลุม คร้ังแรกหรือเมื่อมีโอกาสไปรวมประชุมกลุมยอ ยใน วชิ าตางๆ และยังไมรูจ กั กบั เพอ่ื นในกลุมโดยใหปฏบิ ตั ิตามหลักการและวิธีการแนะนาํ ตนเองท่ีเรียนมาแล ว 3. เมื่อมีโอกาสท่ีจะทักทายปราศรัย หรือแนะนําตนเองใหผ ูเรียนไดฝก ปฏิบัติจริงตามหลักการ และวิธกี ารทไ่ี ดศึกษามาแลวและสงั เกตผลหากมีขอ บกพรองผดิ พลาดใหป รับปรุงแกไขใหถกู ตอง

ห น า | 31 4. ใหผูเรียนเรียงกันออกมาเลาเหตุการณใ ดก็ไดห นาหองและใหผูฟ ง วิจารณใ นหัวขอเนื้อหา วิธกี ารถายทอด และบคุ ลิกภาพของผูพดู วา เขาหลักเกณฑใ นการเปน นกั พูดท่ีดีหรอื ไม การสนทนา การสนทนา หมายถึง การพูดระหวา งบุคคลต้ังแต 2 คน ข้ึนไป ผลัดกันพูดและผลัดกันฟง การ สนทนามีหลายลักษณะ อาจจะเปน ลักษณะท่ีไมเปน แบบแผนคุยตามสบายไมจํากัดเรื่องที่สนทนา เชน การสนทนาในครอบครัว การสนทนากันในเพื่อนผูเรียนที่รูจักสนิทสนมกัน เปน ตน แตใ นการสนทนา บางครัง้ เปน การสนทนาท่ีมีแบบแผน ซึ่งตอ งมีการตระเตรียมลวงหนา สว นใหญจ ะเปน การสนทนาเชิง วิชาการ แตใ นที่นี้จะพูดถึงการสนทนาท่ีไมเปน แบบแผน คือการสนทนากับบุคคลที่รูจ ักคุน เคย และ บุคคลแรกรูจ ัก การสือ่ สารลักษณะน้ีมีความสําคัญและเราไดใชเ ปน ประจํายิ่งในครอบครัวในที่ทํางาน ในสถานศึกษาหรอื ในกลุมของผเู รยี น ถา มีการสนทนากันดว ยดี ก็จะนําความสัมพันธฉันพี่นอ ง ฉันมิตร มาให กระทําสง่ิ ใดก็ราบรน่ื เกิดความสามัคคีและนําความสุขมาใหแตในทางตรงขา มถาการสนทนาไม เปน ไปดว ยดี ก็ยอ มกอใหเกิดการแตกราว ขาดสามัคคี มีแตค วามสับสนวุน วาย การสนทนาระหวา ง บุคคลทร่ี จู กั คุนเคยมีสิง่ สําคญั ท่ตี อ งนกึ ถึงอยู 2 เรอ่ื ง คอื เรอ่ื งท่ีสนทนาและคณุ สมบตั ิของผรู วมสนทนา ก. เรอ่ื งท่สี นทนา เร่ืองที่นํามาสนทนา จะทําใหก ารสนทนาดําเนินไปดวยดีมีผลดีตอ ท้ังสองฝา ยน้ัน ควรมี ลกั ษณะดงั น้ี 1. ควรเปน เรอ่ื งทีท่ ั้งสองฝายมีความรูแ ละความสนใจรว มกนั หรอื ตรงกัน 2. ควรเปน ขาวหรือเหตุการณท่ีเกิดขึน้ ในชวงเวลาน้ัน ๆ เชนเปนขาวในหนังสือรายวัน ภาวะเศรษฐกิจ ปญ หาการครองชีพ เหตกุ ารณทางการเมอื งในขณะนัน้ เปน ตน 3. ควรเปน เรื่องท่ีเหมาะกับโอกาส กาลเทศะ และเหตุการณ เชน ถา เปน การสนทนางาน มงคลก็ควรพดู แตสง่ิ ท่ีเปน มงคลเปนสงิ่ ดีงาม ไมพดู ในสิ่งทไ่ี มเ ปน มงคล หรอื เรอ่ื งรา ยในขณะเดียวกันถ าเปนงานทีเ่ ศราโศกกลบั ไปพดู เรอ่ื งสนกุ สนานกไ็ มสมควร 4. ควรเปนเรอ่ื งทีไ่ มส รา งความวิตกกังวล ความเครียดใหกับคูสนทนา ควรเปน เรื่องท่ีทําให เกดิ ความพอใจความสบายใจหรอื ความสนกุ สนาน เร่ืองท่ีควรงดเวน ท่ีจะนาํ มาสนทนาไดแ ก 1. เรอ่ื งสว นตวั ของตนเองและเรอ่ื งทีค่ ูสนทนาไมม สี วนเกย่ี วของดว ย 2. เรอ่ื งทเ่ี ปน การนนิ ทาผูอนื่ เรอ่ื งท่ไี มเปนสาระแกนสาร 3. คยุ โวโออวดความสามารถของตนเอง

32 | ห น า 4. เรื่องความทุกขร อ นของตน ความโชครายเพื่อขอความเห็นใจ ยกเวน การสนทนากับผใู กลช ิดสนทิ สนมกันจรงิ ๆ ข. คุณสมบตั ิของผรู วมสนทนา 1. มีความรอบรูใ นเรื่องตา งๆ พอสมควร มีการติดตามเหตุการณเ ปล่ียนแปลงของบา นเมือง และโลกอยเู สมอ 2. ใชถ อ ยคําสุภาพ ระมัดระวังในการใชภาษาใหเหมาะสมเปน กันเอง แสดงการเอาใจใส และกิริยาทาทางย้ิมแยม แจม ใส มีการขอโทษ ขออภัยเมื่อพูดผิดพลาด มีการขานรับดวยคํา ครับ คะ ใช ครบั ใชคะ จรงิ ครบั ถกู แลว คะ 3. เปนผูพ ูดและผูฟง ท่ีดี ใหโ อกาสคูส นทนาไดพ ูดขณะท่ีเขาพูดไมจบก็ตองรอไวก อน แม จะเบอ่ื หนายก็ตอ งอดทนเก็บความรูสึกไว ไมแสดงกิริยาอาการเบื่อหนา ยใหเ ห็น ใหโอกาสคูสนทนาได พูดและแสดงความคดิ เหน็ ใหมากทส่ี ุด 4. รูจกั สงั เกตความรูสึกของคูส นทนา ซงึ่ จะแสดงออกทางสีหนา ทาทางและน้าํ เสียง คําพูด ถาหากสังเกตเห็นวาคูส นทนาไมสนใจฟง ไมกระตือรือรน ดูสีหนา แสดงความเบื่อหนายก็ใหเ ปล่ียน บรรยากาศดวยการเปล่ียนเรื่องสนทนา หรือพยายามสังเกตใหท ราบถึงสาเหตุท่ีทําใหคูสนทนาไมสนใจ เกดิ การเบอ่ื หนายแลวจงึ แกไ ขตามสาเหตนุ ัน้ เชน เหน็ วา คูส นทนามีกจิ ธุระทจ่ี ะทํา เราก็ปรับเวลาของการ สนทนาใหส น้ั เขาหรอื ใหพ อเหมาะพอควร 5. พดู ใหก ระชับตรงประเดน็ ใหรวู า สง่ิ ใดควรพูด สงิ่ ใดไมค วรพูด สงิ่ ใดคูสนทนาพอใจ ส่ิง ใดคูส นทนาไมพ อใจ ไมพ ูดขม ขู ไมผ ูกขาดการพูด หากคูสนทนาผิดพลาดไมค วรตําหนิโดยตรง ควรมี วธิ กี ารและใชคําพดู ทีแ่ ยบยลเพอื่ ใหเขารสู กึ ไดเ อง การสนทนากบั บุคคลแรกรจู กั บุคคลท่ีเพิ่งรูจ ักกันทัง้ สองผายยังไมรูถ ึงภูมิหลังนิสัยรสนิยม พื้นฐานความรู ความคิดการ สนทนากบั บุคคลแรกรูจ กั ควรปฏบิ ัตดิ งั น้ี 1. สรา งความคุนเคยดวยการบริการหรอื แสดงความเออ้ื เฟอ ดวยวธิ ีตา ง ๆ 2. สงั เกตพฤตกิ รรมของคูส นทนา เพ่อื จะไดทราบลกั ษณะบางอยา งของคูสนทนา 3. เรม่ิ ทักทายดว ยถอยคาํ สภุ าพแสดงถึงความเปนมติ ร 4. พูดเรื่องท่ัวๆ ไป อาจจะเปน ขา วดัง เหตุการณล มฟา อากาศ เมื่อสังเกตไดวาผูสนทนาชอบ เรอ่ื งประเภทใด ก็จะไดส นทนาเรอ่ื งนน้ั ตอไป หากเหน็ วาคูส นทนาไมช อบเรอ่ื งใดก็จะไดเ ปลยี่ นเรอ่ื ง 5. เมื่อเหน็ วามีความคุนเคยมากแลว ก็สามารถใชห ลกั ของการสนทนากบั บุคคลทร่ี ูจักคุน เคยมา ใชกบั บุคคลดงั กลา ว

ห น า | 33 กิจกรรมท่ี 2 1. ใหผ ูเรียนแบง กลุมเพ่ือฝกการสนทนาในวันพบกลุม โดยใหแบงกลุม ๆ ละ 5 – 6 คน แยกเป นผูสนทนา 3 – 4 คน และเปนผูสังเกตการณ 2 คน ในขณะกลุมสนทนากันใหผ ูส ังเกตการณบันทึก รายละเอียดของการสนทนาของกลุม ในหวั ขอ ตอไปน้ี 1.1 หัวขอ เรื่องที่สนทนา มีเรื่องอะไรบาง เรื่องเดียวหรือหลายเรื่อง และใหว ิเคราะหถ ึง ประโยชนของเรอ่ื งนน้ั ๆ 1.2 ขณะที่คนหน่ึงพูด คนอ่ืนๆ ฟง หรือไมหรือมีพฤติกรรมอยางไร ใหแตล ะกลุมแสดง ความคิดเห็นเชิงวิจารณผ ูพ ูดและผูฟง เชน บุคคลใดในกลุมที่พูดมากทีส่ ุดและบุคคลใดพูดนอยที่สุด พูด ตรงประเดน็ หรอื ไม การใชภ าษา อารมณข องคูสนทนาหรอื ผฟู ง พฤตกิ รรมหรอื คาํ พดู ใดท่ไี มเหมาะสม 2. เมอื่ เสร็จสิ้นการสนทนาแลวใหผสู ังเกตการณเ สนอขอ มลู รายละเอียดตอ กลุม แลว ใหชวยกัน เขียนบทสนทนาตามรายละเอียดท่ีกลุมไดสนทนาไปแลว พรอ มขอสังเกตผูอ่ืนใหค รูประจํากลุม ตรวจ และใหคาํ แนะนาํ

34 | ห น า การสัมภาษณ การสัมภาษณมีอยูหลายลักษณะหลายระดับแตใ นระดับน้ีจะขอกลาวเฉพาะสวนที่จําเปน ซ่ึงผู เรยี นจะตองนาํ ไปใชเทา น้นั ก. ผูสัมภาษณ ควรมกี ารเตรยี มตวั และปฏบิ ตั ิดงั น้ี 1. ตอ งมีการตดิ ตอ ประสานงาน นดั หมายกบั ผใู หสมั ภาษณไวลวงหนา พรอมท้ังกําหนดวัน เวลาทจ่ี ะสมั ภาษณแ ละบอกจุดประสงคข องการสัมภาษณ เพือ่ ผูที่ใหส ัมภาษณจ ะไดเตรยี มตวั ไดถกู ตอง 2. เม่ือประสานงานแลว ผูสัมภาษณค วรเตรียมตัวต้ังแนวคําถามท่ีจะไปสัมภาษณไ วเ ปน ประเด็นๆ ตามวตั ถุประสงคท่วี างไว 3. ศึกษาเรอ่ื งทจี่ ะสัมภาษณใหเ ขาใจ 4. เมอื่ ไปพบผูใหสัมภาษณตองตั้งคําถามใหช ดั เจน เขา ใจงา ย ใชภาษาสภุ าพ 5. ควรเตรียมการบันทึกภาพ เสียง และขอ ความ เตรียมอุปกรณเครื่องมือใหเ รียบรอ ยกอน เพ่ือใหการบันทกึ สมบูรณไมผิดพลาด 6. รกั ษาเวลานัดหมาย เวลาขณะสัมภาษณใ หเปนไปตามท่ีกําหนดนัดหมายไว อยาไดถาม นอกประเดน็ และอยา ยดื เยอ้ื โดยไมจาํ เปน ข. ผใู หสัมภาษณ ผูใ หส ัมภาษณมักจะเปน บุคคลสําคัญ ผูป ระสบความสําเร็จในชีวิต ในอาชีพ ผูมีความรู ฯลฯ ส วนผูเ รียนเองก็มีโอกาสเปน ผูใหสัมภาษณไดเหมือนกัน เชน เม่ือไปสมัครงาน สมัครเขาเรียนตอ หรือ แสดงความคิดเห็นตอสือ่ มวลชนในเรื่องตางๆ เหลาน้ี เปน ตน วิธีปฏิบัติตน เมื่อเปน ผูใ หสัมภาษณค วร กระทําดงั น้ี 1. สรางบุคลกิ ภาพใหดี ดว ยการแตงกายใหสะอาดเรยี บรอ ยประณีต สวนตางๆ ของรา งกายตอ ง สะอาดเรยี บรอยเหมาะสม 2. รักษาเวลานดั หมาย แมจ ะเปน ฝา ยคอยก็ตองใหพ รอมตามเวลาทน่ี ดั หมาย 3. สรา งความมั่นใจดว ยการเตรยี มใหพรอมไมใหประหมา ตน่ื เตน เคอะเขิน ขมใจไมใ หกังวล สง่ิ ใดๆ 4. พดู ใหชดั เจน เสยี งหนกั เบาและนาํ้ เสยี งใหพ อดีเหมาะสม ใชภาษาใหเหมาะสมกับกาลเทศะ หลีกเลีย่ งการใชภาษาปากหรอื คาํ แสลง ไมพูดยกตนขมทา นไมพ ดู โออ วด 5. ตัง้ ใจตอบคําถามและตอบใหตรงประเดน็ การขยายความพูดใหกระชับ ไมเยิ่นเยอ มีปฏิภาณ ไหวพรบิ แสดงความคดิ เหน็ อยางมเี หตุผล หากสิ่งใดที่ตอบไมไ ดก ็ใหอ อกตัว อยา งนุม นวล เชน บอกว าไมคอ ยสันทัด หรอื ไมส จู ะมีความรูใ นเรอ่ื งน้ี เปน ตน 6. ตอบคําถามอยางสุภาพแสดงไมตรจี ติ และความเตม็ ใจท่ีจะใหส มั ภาษณ

ห น า | 35 กิจกรรมท่ี 3 ใหผ ูเรียนฝกการสัมภาษณด ว ยการแบงกลุม ออกเปน กลุมยอยกลุมละไมเกิน 5 คน แลว สมมุติเป นผสู มั ภาษณและเปนผใู หสมั ภาษณ ฝายละกคี่ นแลว แตค วามเหมาะสม โดยมีขอกาํ หนดและแนวทางฝกดงั น้ี 1. รวมกาํ หนดเรอ่ื งที่จะสมั ภาษณแ ละต้ังจุดประสงคข องการสัมภาษณ 2. แตล ะฝา ยเตรียมการสัมภาษณ ศึกษาเรอ่ื ง ตั้งคําถาม หาแนวตอบ ฯลฯ 3. ปฏบิ ตั กิ ารสมั ภาษณ 4. บันทกึ บทสัมภาษณ 5. ใหค รู กศน. และเพอ่ื นผูเรยี นประเมินและใหค ําแนะนาํ การใชแ ละการพูดโทรศัพท การสือ่ สารดวยการพูดทางโทรศัพทในปจจุบันมีแพรห ลายโดยทั่วไป มีทั้งโทรศัพทสาธารณะ ในระดับตําบล หมูบ าน โทรศัพทส ว นตัวก็ขยายไปทั่วเกือบทุกชุมชน การเรียนรูวิธีการใชและการพูด โทรศพั ทจ งึ เปน สงิ่ จําเปน สําหรับผเู รยี น เพราะจะไดใ ชใ หเ กดิ ประโยชนส ูงสดุ และประหยัดคา ใชจ าย วิธีการใชโทรศพั ทและพดู โทรศัพทมขี อ ควรปฏบิ ัตดิ งั น้ี 1. ตองศึกษาใหร ูและเขา ใจการคน หารายชื่อและหมายเลขโทรศัพทจ ากสมุดโทรศัพทแ ละมี สมุดโทรศพั ทหรอื เครอ่ื งบันทึกหมายเลขโทรศัพทส ว นตัว การบันทึกหมายเลขโทรศัพทม ือถือ ของผูท่ี จะตองตดิ ตอเปน ประจาํ 2. เม่อื โทรไปแลว มีผูรบั ใหผ รู บั บอกช่อื และสถานทร่ี บั โทรศพั ทท นั ที่ เชน “สวสั ดคี ะ บานอยเู ปนสขุ คะ ” “สวสั ดคี รบั ศนู ยก ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอเมืองสงขลาครบั ” “สวสั ดคี ะ 2816286 คะ” 3. ถาผูโทรศพั ทเ ขา มาตอ งการพูดกบั คนอนื่ และบุคคลน้นั อยกู ็อาจตอบกลบั ไปวา “กรณุ ารอสกั ครูน ะคะ (นะครบั )” แลวรบี ไปตามบุคลนั้นทันที ถา ผูท ีเ่ ขาตองการพูดดว ยไมอ ยูหรือไมวา งจะดว ยกรณีใดๆ ก็ตาม ควรช้ีแจง ใหท ราบอยา งสภุ าพ เชน “คุณสมโภช ไมอยคู รบั กรุณาโทรมาใหมน ะครบั ” หรอื

36 | ห น า “คุณเออ้ื จติ กาํ ลงั ตดิ ประชุมคะ จะมีอะไรส่งั หรอื ฝากไวห รอื เปลาคะ ฯลฯ” 4. ถาเกิดขอผิดพลาดหรือมีปญหาในขณะใชโทรศัพทควรกลา วคําขอโทษและรีบ ชแ้ี จงขอ ขดั ของใหทราบ “ขอโทษครบั คณุ ตอ ผิดครบั ” หรอื “ไมเ ปนไรครบั ” 5. การพดู โทรศพั ททกุ ครง้ั ตองพูดอยา งสภุ าพใชน า้ํ เสยี งใหพ อดีสน้ั กระชับไดใจความและตรง ประเดน็ อยา พูดเร็วหรือใชเสียงดังเกินไป ไมพ ูดเรื่องไรสาระยืดยาวเพราะจะเสียคา บริการมาก และเสีย มารยาททําใหผูอ่นื ท่จี ะใชโ ทรศพั ทเ ครอ่ื งน้นั ตองคอย 6. การรับโทรศัพทแ ทนคนอ่ืน และผูโ ทรศัพทต ิดตอฝากขอ ความไวต อ งจดบันทึกขอ ความให ครบถว น และอาจขอรายละเอียดเพิ่มเติมใหชัดเจน เมื่อจดบันทึกแลว ควรอานทานใหผูท่ีติดตอมาฟง เพ่ือตรวจสอบความถกู ตองวาครบถวนตามความประสงคห รอื ไม หากไมค รบถวนจะไดเ พิ่มเติมและตอ ง ลงชอื่ ผูบันทึกพรอ ม วนั เวลาท่รี บั โทรศพั ท การพดู ตอ ชมุ ชน 1. เปน วิธีที่สะดวกรวดเร็วท่ีจะเผยแพรความคิดเห็นของบุคคลตอ สาธารณชนไดอยางกวา ง ขวาง ความคดิ เหน็ น้ีอาจเปน ไดท ง้ั ในทางสนบั สนนุ และคดั คาน 2. เปน วิธีการหน่ึงในการถายทอดวัฒนธรรมการปลูกฝงคุณธรรม การเผยแพร ความรู และวทิ ยาการใหมๆ สปู ระชาชน เชน เรอ่ื งเกยี่ วกบั วัฒนธรรมพ้ืนบาน ปาฐกถาธรรม การเผยแพร ความรูท างการเกษตร การอตุ สาหกรรม เปน ตน 3. เปนวิถีทางที่ทําใหม นุษยส ามารถชี้แนะการแกปญหาส่ิงแวดลอ ม ปญหาการจราจร ปญหา ทางดานเศรษฐกิจ เปน ตน นอกจากการพูดตอชุมชนโดยการประชุมรวมกัน หรือการพูดในทีส่ าธารณะ เชน การหาเสียง การพูดโฆษณาสินคา ตางๆ แลว ยังมีการพูดอีกวิธีหน่ึง ซึ่งเปน การพูดผานสือ่ มวลชน โดยผา นทางโทร ทัศนห รอื วทิ ยุ ผเู รยี นเคยเหน็ เคยฟง วิธีการพูดเชน น้ีมาบางแลว อาทิ การพูดสัมภาษณ การเปน พิธีกร การ สนทนา การโฆษณา การเลา เรอ่ื ง เปน ตน การพูดโดยผา นสอื่ มวลชน จะมีผฟู งหรอื ผูชมทั่วประเทศ ผดู าํ เนนิ รายการจะตองคํานึงถึงวิธีการ พดู ดงั น้ี 1. วธิ ีการพดู ที่นาสนใจ เราใจ สนกุ สนาน 2. ภาษาท่ใี ชตอ งสภุ าพ เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล กระชับเขา ใจงาย 3. ใหเกียรติแกผ ูที่กาํ ลังพดู ดวยหรอื ผทู ่ีกลาวถึง

ห น า | 37 4. ไมพดู กาวรา ว หรอื เสียดสผี อู ่นื ผูเรยี นเคยไดรบั เชญิ ใหพ ดู ตอ ชุมชนไหม? ถา เคย ทบทวนซิวา เคยพูดโดยวิธีใด ขอใหอานตอ ไป แลวจะรูวาท่ีพูดน้ันอยูในวิธีใดของ ประเภทการพดู ประเภทของการพูดตอ ชุมชนอาจแบง ไดห ลายวิธี ดงั น้ี 1. แบงตามวิธีการนาํ เสนอ มี 4 ประเภท คอื ก. การพูดโดยฉับพลัน คือ การพูดที่ผูพ ูดไมร ูตัวลว งหนามากอน เชน การไดรับเชิญใหพ ูด อวยพรในงานวนั เกดิ งานมงคลสมรส เปน ตน ข. การพดู โดยอาศยั ตนรา ง คือ การพูดท่ีผูพ ูดรูตัวลวงหนา มีเวลาเตรียมรา งขอความที่จะพูด และวสั ดุอปุ กรณไวก อ น การพดู ดวยวธิ ีน้ีผพู ดู จะมีความมั่นใจในการพูดมากกวา การพูดโดยฉบั พลนั ค. การพดู โดยวิธีการทอ งจํา คือ การพดู ท่ีผพู ูดตองเตรยี มเขยี นตน ฉบับท่ีจะพูดอยางละเอียด แลว ทอ งจาํ เนอ้ื หาทั้งหมดจนขนึ้ ใจ การพดู วธิ ีน้ีไมใครเ ปนธรรมชาติ เพราะถาผูพ ูดลืมตอนใดตอนหน่ึงก็ จะทาํ ใหเ สยี เวลาคดิ ง. การพูดโดยวิธีอา นจากรา ง คือ การพูดโดยอานจากตน ฉบับที่เตรียมไวอ ยา งดี สว นมาก มกั จะใชในโอกาสสาํ คญั เชน การกลาวปราศรัย การกลา วเปด ประชุมการกลาวใหโ อวาท 2. แบงตามความมงุ หมาย มี 4 ประเภท คือ ก. การพดู เพือ่ ใหค วามรูหรอื ขอเท็จจริง เปน การพูดเพ่ือใหขอ มูลหรือเพื่อแจงเรือ่ งราวตา งๆ ท่ีเปน ประโยชน หรอื มีความสําคญั สาํ หรับผฟู ง การพูดประเภทน้ผี พู ดู อาจจะใชวธิ ีพดู หลายรูปแบบ เชน อาจจะใชว ธิ ีเลา พรรณนาวจิ ารณ อธิบาย ข. การพูดเพื่อโนม นา วใจ เปน การพูดเพื่อใหผ ูฟ ง เกิดความเช่ือถือ ศรัทธา มีความคดิ เหน็ คลอ ยตาม เชน การโฆษณาสนิ คา การพดู หาเสยี ง ค. การพูดเพื่อจรรโลง เปนการพูดเพ่ือยกระดับจิตใจใหสูงขึน้ และเพ่ือใหเกิดความ สนกุ สนานเพลดิ เพลนิ คลายเครยี ด เชน การกลาวคาํ สดดุ ี การเลา นิทาน การเลา ประสบการณ ง. การพูดเพือ่ คน หาคําตอบ เปนการพดู ท่ีมงุ หมายใหผ ูฟ งชวยคดิ แกปญ หา เชน การสัมมนา รายการคณุ บอกมา 3. แบง ตามเน้อื หาท่ีจะพดู เชน เนอ้ื หาเกีย่ วกับเศรษฐกิจ การเมอื ง วิทยาศาสตร 4. แบงตามโอกาสท่จี ะพูด อาจแบง กวา ง ๆ ได 3 โอกาส คอื ก. โอกาสท่ีเปน ทางการ เชน การกลา วปราศรัย การใหโอวาท ข. โอกาสกึง่ ทางการ เชน การบรรยายสรปุ เมอ่ื มผี เู ย่ยี มชมสถานที่

38 | ห น า ค. โอกาสท่ีไมเ ปนทางการ เชน การสังสรรคกับเพื่อนเกา การเลาเรื่องตลกใหที่ประชุมการ พบปะสงั สรรคกับเพอ่ื นรว มงานเนอ่ื งในวนั ขนึ้ ปใหม เปนตน 5. แบงตามรปู แบบ มีดงั น้ ี ก. การสนทนาตอ หนา ชุมชน คอื รปู แบบท่ีมผี ูพ ูดสองคนหรอื มากกวาน้ันสนทนาซ่ึงกันและ กัน เชน รายการสนทนาปญ หาบานเมอื ง ข. การปาฐกถา ผูปาฐกถาเปน ผูเ ชี่ยวชาญเฉพาะดา น ไดศ ึกษาคนควา มาอยางละเอยี ด ค. การอภิปรายเปน คณะ คอื การพูดของคณะบุคคลประมาณ 3 – 5 คน พูดแสดงความรู และ แลกเปล่ยี นความคดิ เหน็ ตอ หนาผฟู งเปนจาํ นวนมาก ง. การซักถามหนา ทีป่ ระชุม คือการพูดหนา ประชุมโดยแบง ผูพูดออกเปน 2 กลุม กลุมหน่ึงเปนตัวแทนของผูฟ ง จํานวน 2 – 4 คน มีหนา ที่ซักถาม อีกกลุมหน่ึงเปน วิทยากร ประมาณ 2 – 4 คน เปนผตู อบคําถาม จ. การโตวาที เปนการพูดโตแยงระหวางบุคคล 2 ฝาย ฝา ยหน่ึงเปน ฝายเสนอญัตติ อีกฝา ย หนง่ึ เปน ฝายคา น มีกรรมการตดั สินชี้ขาดใหฝายหนง่ึ ฝายใดเปนฝา ยชนะหรอื เสมอ การเตรยี มการพดู ตอหนาชมุ ชน การพูดตอ หนาชุมชนน้ัน ผูฟง สวนมากก็ต้ังความหวังไววาจะไดรับความรูห รือประโยชนจาก การฟง ผูพูดจึงตองเตรียมตัวเปน อยา งดี เพราะการเตรียมตัวจะชวยใหผ ูพ ูดมีความมั่นใจกลาที่จะแสดง ความคิด ความเห็น การพูดดวยความม่ันใจยอ มจะทําใหผูฟงเกิดความเช่ือถือ ประทับใจใน การพูด ผูพดู แตล ะคนอาจใชว ธิ กี ารเตรียมตัวไดตางๆ กนั ดงั น้ี 1. การกําหนดจุดมุงหมายของการพูด ผูพ ูดควรกําหนดใหช ัดเจนทั้งจุดมุง หมายท่ัวไป และจุด มุงหมายเฉพาะเร่ือง เชน การใหเ ลาประสบการณเ กี่ยวกับการทํางาน จุดมุงหมาย ทวั่ ไปคอื ใหความรู จดุ มุง หมายเฉพาะ คอื วิธกี ารทํางานและอปุ สรรคตางๆ ท่ไี ดพบ 2. การวเิ คราะหผ ูฟง กอ นท่ีจะพูดทุกครัง้ ผูพูดควรจะไดพิจารณาผูฟ ง อยา งละเอียดวาผูฟง สว น ใหญสนใจหรือชอบเกี่ยวกับเร่ืองใด โดยผูพ ูดควรเตรียมขอ มูลและการใชภ าษาใหเหมาะกับเพศวัย สถานภาพทางสังคม (โสดหรอื มคี สู มรสแลว) อาชีพพื้นความรู ความสนใจตลอดจนทัศนคติของกลุมผูฟ ง 3. การกําหนดขอบเขตของเรือ่ งท่ีจะพูด ผูพ ูดตอ งมีเวลาเตรียมตัวในการพูด ผูพูดจึงควร พิจารณาเรื่องท่ีจะพูดวา ตนเองมีความรูในเรื่องน้ันๆ เพียงใด หากไมมีความรูเพียงพอก็ควรหาความรู เพิ่มเติม และกําหนดขอบเขตของเรื่องใหเ หมาะกับผูฟ ง เชน เปนเด็กเล็ก เปน วัยรุน หรือเปน ผูใ หญ เป นตน

ห น า | 39 4. การรวบรวมเนือ้ หาท่ีจะพูด การพูดใหผูอ ่ืนฟง ผูพ ูดตองเตรียมรวบรวมเนื้อหาใหด ีเพ่ือผูฟง จะไดรับประโยชนมากทีส่ ุด การรวบรวมเนื้อหาอาจทําไดโ ดยการศึกษา คนควา การไตถามผูรู การ สัมภาษณ และอาจใชอ ปุ กรณช วย เพ่ือใหผูฟ ง เขา ใจไดงา ยขน้ึ 5. การทําเคาโครงลําดับเรื่องท่ีจะพูด เพื่อใหการพูดเปนไปตามลําดับข้ันตอนไมสับสน ผูพูด ควรทาํ โครงเรอ่ื ง ลาํ ดบั หวั ขอ ใหด ี เพอ่ื กันการหลงลืมและชวยใหเกดิ ความม่ันใจในการพูด 6. การฝกซอมการพูด ผพู ูดควรหาเวลาฝกซอมการพดู ของตนเสยี กอน เมอ่ื ถึงเวลาพูดจะไดพูด ดวยความม่ันใจ ในการฝก ซอมนัน้ ควรคํานึงถึงบคุ ลิกลักษณะ ทายืนหรือน่ังกิริยาอาการ การใชเ สียง กร ใชสายตา ถามผี ูฟ ง อาจจะชว ยตชิ มการพดู ในขณะฝกซอมได กจิ กรรมท่ี 4 1. ใหผ เู รยี นฟง การสนทนาทางโทรทัศน รายการที่สนใจและเปน รายการเดียวกัน เชน รายการ สนทนาปญหาบา นเมือง รายการตรงประเด็น ฯลฯ เม่ือฟง แลวใหผ ูเรียนบันทึกการพูดของผูดําเนิน รายการ และผูร ว มสนทนา วา มีวิธีการพูดอยางไร ภาษาที่ใชเหมาะสมหรือไม มีการพูดกาวรา วหรือ เสียดสีผูอ่ืนบา งหรือไม ฯลฯ แลวนํามาสนทนาแลกเปลีย่ นความคิดเห็นกันในวันพบกลุม หรือตัดตอข อความจากสอื่ สิ่งพิมพม าอา นและใหว จิ ารณขอความนั้น ๆ ก็ได 2. ใหผเู รยี นสงั เกตการพดู ใหข าวของบุคคลสําคัญและนักการเมืองแตละคนทางสถานีวิทยุและ โทรทัศน แลว พิจารณาวาการใหขาว หรอื การแสดงความคดิ เหน็ นั้นควรเชื่อหรือไม เพียงใด เพราะเหตุ ใด แลว นํามาสนทนาแลกเปลีย่ นความคิดเห็นกัน เม่ือมีโอกาสพบปะกันหรือในวันพบกลุม ผูเรียน อาจ จะฟงการพดู แสดงทรรศนะของนกั การเมอื งจากเทปบันทึกเสยี งแลวนํามาสนทนากันกไ็ ด 3. สมมติเหตกุ ารณใหผ เู รยี นออกมาสนทนากนั ทางโทรศัพท ใหเ พอ่ื นๆ วจิ ารณ

40 | ห น า การพดู แสดงความคดิ เห็น การพูดแสดงความคิดเห็นเปน ลักษณะการพูดที่จะใชในการปรึกษาหารือกันในกลุมยอ ย เพ่ือหาแนวทางในการแกปญ หา เชน ปญหาการเรยี น ปญ หาในการดาํ เนนิ ชวี ติ ปญหาของชุมชนพนื้ ฐาน การแสดงความคิดเห็นเปนการใชท ักษะการฟง การอาน การพูดและการคิดให สัมพันธก ัน ตอ งอาศัยการฝก ฝนใหเกิดความชํานาญ เพราะการพูดแสดงความคิดเห็นตองใชท้ังความรู ความคิด เหตุผลหรือหลักการ ทฤษฎีตา งๆ หลายอยา งประกอบกัน ความคิด นน้ั จะถูกตอ งเหมาะสม มีคณุ คา นา เช่อื ถอื การพดู แสดงความคดิ เหน็ จึงตองใชค วามรอบคอบใหเหตุผล มี ใจเปนกลาง บริสุทธิ์ใจ ไมม ีอคติ มีการฝก ฝนจนเกิดความชํานาญรับผิดชอบ ในสิ่งที่พูด น่ีเปน หลกั ของการพูดแสดงความคดิ เหน็ การพูดในที่ประชุม ผูเรียนทราบมาแลววาการประชุมมีหลายประเภทหลายลักษณะทั้งการประชุมกลุมยอย การประชุมกลุมใหญ การประชุมเชิงวิชาการ การประชุมเชิงปฏิบัติการ ฯลฯ แตบุคคลท่ีมีบทบาทท่ีจะต องพูดในที่ประชุมที่สําคัญน้ันมีเพียง 2 ฝาย คือ ประธานในที่ประชุมและผูเขารว มประชุม บุคคลท้ัง 2 ฝ ายน้ีจะตองรูจักหนาท่ีและมารยาทของการพูดที่ในประชุม มิฉะน้ันการประชุมก็จะไมเ รียบรอ ยและไม บรรลผุ ลตามวตั ถุประสงค ประธานในทป่ี ระชุม จะตองปฏิบัตติ ามหนา ทีแ่ ละมารยาทในการพูดดงั น้ี 1. แจง ใหทราบถงึ วตั ถุประสงค ปญ หาหรอื ประเด็นท่ีนาคิดของการประชุมใหส มาชิกไดทราบ และพิจารณากอ นดาํ เนนิ การประชุม 2. พูดตามหัวขอหรือวาระการประชุมอยา งส้ันๆ ไดเนื้อหาสาระและอยาถือโอกาสของการเปน ประธานผูกขาดการพูดแตเ พยี งผเู ดยี ว 3. ใหโ อกาสแกผเู ขารว มประชุมแสดงความคดิ เหน็ ไดอยางเสรี กวางขวางเปน อิสระและท่ัวถึง ประธานคอยสรุปความคดิ เหน็ ขอเสนอตางๆ ใหกระชับ ตรงประเดน็ และเปน คนสดุ ทาย 4. ใชคําพูดสรางบรรยากาศท่ีดี มีความเปนกันเองเพ่ือใหผ ูเขารวมประชุมกลา แสดงความคิด เหน็ และเพอ่ื ใหการประชุมเปนไปดว ยความราบรน่ื 5. ควบคุมการประชุมใหเ ปน ไปตามระเบียบวาระและรักษาเวลาในการประชุมใหเปนไปตาม กําหนด หากผูเ ขารว มประชุมพูดแสดงความคิดเห็นมากจนเกินเวลาหรือพูดไมตรงประเด็น ประธานต องเตอื นใหพ ดู รวบรดั และพดู ใหตรงประเดน็

ห น า | 41 ผูเขารว มประชมุ จะตอ งปฏิบัตติ ามหนาทแี่ ละมารยาทในการพดู ดงั น้ี 1. พดู แสดงความคดิ เหน็ หรอื อภิปรายอยา งมีเหตุผล ยอมรับฟง ความคิดเห็นของบุคคลอืน่ พูด ดว ยใจเปนกลางไมใชอารมณห รือนําความขัดแยงสว นตัวกับผูเ ขารว มประชุมมาเก่ียวของกับการพูดและ แสดงความคดิ เหน็ ในทปี่ ระชุม 2. เขาประชุมใหต รงเวลาและรักษาเวลาในการพดู ตามท่ีประธานกาํ หนดให 3. พดู ใหไดใจความ กระชับ และกาํ กบั ความคิดใหเปน ไปตามขั้นตอนมีการโยงความคิด เห็นด วยหรอื ขัดแยง ใหส ัมพนั ธต อ เนอ่ื งและสอดคลอ ง ไมค วรพดู วกวนจนจบั ประเดน็ ไมได 4. ไมควรผูกขาดการพูดแตผ ูเ ดยี ว หรอื แสดงความคดิ เหน็ ของตนเองเพ่ือแสดงความรอบรู เมื่อ เห็นวาประเด็นใดท่ีมีแนวทางท่ีดีและถูกตองแลว ก็ควรงดเวนการแสดงความคิดเห็น มิฉะน้ันจะทําใหผู เขารวมประชมุ เกดิ ความเบอ่ื หนา ย 5. ควรรักษามารยาทในการพูดในที่ประชุม อยา งเชน ใชภ าษาสุภาพ ไมพ ูดกาวราว มีการขอ อนญุ าตตอประธานเม่อื ตอ งการพูด ไมแสดงกิริยาที่ไมส ภุ าพในท่ีประชุม เปนตน กิจกรรมท่ี 5 ใหผูเ รยี นแสดงบทบาทสมมติพดู แสดงความคดิ เหน็ ในทปี่ ระชุมตามหวั ขอ ทีค่ รูกาํ หนด และบาง คนแสดงบทบาทของผเู ขา รว มประชุม สรปุ ทา ยมกี ารอภิปรายรวมกันถึงขอ ดี ขอ ดอ ยตามท่แี สดงออก การพดู รายงาน การพูดรายงาน หมายถงึ การพูดเพ่ือนําเสนอเรือ่ งราว ขอ มูลขอเท็จจริง ผลการปฏิบัติงาน สถาน การณ ความกา วหนา ของการดําเนินงานหรือผลของการศึกษาคนควาตอกลุม หรือที่ประชุม เชน การ รายงานผลการดําเนินงานตามโครงการของหนว ยงานหรืองคก รท่ีรับผิดชอบ รายงานสถานการณแ ละ ความกาวหนา ของหนว ยงาน รายงานผลการทดลองหรือศึกษาคน ควาของผูเ รียน เปน ตน การพูดรายงาน ท่ีผูเรยี นจาํ เปน ตองใชใ นชวี ิตประจําวัน คือการพูดรายงานผลการทดลองและการศึกษาคนควา เพ่ือเสนอ ตอ ครูและเพ่ือนในกลุม ซ่ึงมักจะเรียกวาการรายงานหนาชั้น ดังน้ัน ผูเรียนจะตองทราบถึงหลักและ วธิ ีการพดู รายงานพรอ มท้งั หมัน่ ฝกฝนใหเ กดิ ทักษะซึ่ง มแี นวปฏิบัตดิ งั น้ี 1. เรยี บเรยี งเนอ้ื หาที่จะรายงานตามลําดับความสําคัญไดส าระกระชับและชดั เจน 2. พิจารณาเนอ้ื หาใหเ หมาะสมกับสภาพและพนื้ ฐานความรขู องกลุมผฟู ง 3. พิจารณาเนอ้ื หาท่รี ายงานใหเ หมาะสมกับเวลาท่กี าํ หนด

42 | ห น า 4. ควรใชภาษาในการเสนอเนอ้ื หาใหเหมาะสมกับระดบั ของผูฟง ใชภ าษาท่ีสือ่ สารเขาใจงาย ไม ใชศัพทเทคนิค หรอื ศพั ททางวิชาการท่ยี ากจะทาํ ใหผฟู ง ไมเขา ใจ 5. มีการยกตัวอยางสถิติ เอกสารและอปุ กรณประกอบการรายงานในเนื้อหาบางตอนเพ่ือใหผ ูฟ  งเขา ใจงายและชดั เจน 6. ควรเปด โอกาสใหผ ฟู ง ไดซักถามขอ สงสัย เพื่อผูร ายงานจะไดอธิบาย 7. หากการรายงานมีเนอ้ื หาสาระมากเกินเวลาทม่ี ีอยู ควรมกี ารพิมพเ อกสารแจกลวงหนา เพ่ือผู รายงานจะไดช ีแ้ จงเฉพาะสว นที่สําคัญเทานนั้ สว นรายละเอียดจะดไู ดจากเอกสาร การพูดบรรยายความรสู กึ การพูดบรรยายความรูส ึก เปน ลักษณะการถายทอดความรู อารมณค วามรูส ึกหรือความคิดเห็น ในเรอ่ื งใดเรอ่ื งหนง่ึ โดยผพู ูดมีจุดประสงคเ พ่อื โนมนา วใจใหผูฟ งคลอยตามหรือเช่ือในเรื่องน้ันๆ การพูด บรรยายความรูสึกนึกคิดออกมาใหผูฟงเช่ือและเห็นคลอ ยตามน้ัน จําเปนตอ งใชศ ิลปะในการพูด ศิลปะ ในการใชน ้ําเสียงและการแสดงกิริยาทาทางประกอบไดอยา งเหมาะสม ตลอดจนการเลือกใชถ อยคําใน การพูดและการใชก ลวิธีในการบรรยายความรูสึก เชน การพูดแสดงความยินดี การพูดแสดงความ ขอบคุณ การกลา วแสดงความเสยี ใจ การเลา เหตกุ ารณท ่ีตน่ื เตน เรา ใจและการพูดปลอบใจ เปน ตน การพูดชีแ้ จงรายละเอียด การพูดชี้แจงรายละเอียดเปน การพูดอธิบายวิธีหน่ึงท่ีมีจุดประสงคส ําคัญ เพ่ืออธิบายหรือช้ีแจง เรอ่ื งราวตา งๆ ทีม่ ีผูต ดิ ใจสงสัยใหเ ขาใจในรายละเอียดอยางแจมแจง ชัดเจนทั้งผูช ้ีแจงอาจเปนคนๆ เดียว หรือเปน คณะก็ได และผูฟ งอาจจะเปน คนๆ เดียวหรือกลุมคนก็ได การพูดชี้แจงรายละเอียดมีขั้นตอน และวิธกี ารดงั น้ี 1. ตอ งศึกษาทําความเขา ใจปญหา ขอสงสัย เหตุการณค วามตอ งการและสถานการณ ของบุคคล กลุมบุคคลท่ีจะชี้แจงเปนอยา งดี 2. พูดเทาความถงึ ปญหา ขอสงสัย ความตองการของผูฟง คําชี้แจงเพอ่ื เปนหลกั ฐานท่ีจะนําเขา สู การช้แี จงรายละเอียด 3. เร่มิ ชี้แจงรายละเอียดหรอื เนอ้ื เรอ่ื งที่เปน เหตผุ ลสําคัญเปนขอเท็จจริงหรือเปน วิธีปฏิบัติที่ถูกต องเหมาะสม โดยใชภ าษาใหเหมาะสมกับกาลเทศะ บุคคลและสถานการณในขณะน้ันอธิบายใหผูฟงเขา ใจในรายละเอียดใหแ จม แจงชดั เจน 4. มีการสรปุ ในสาระสําคัญ แนวปฏบิ ตั ิหรอื ขอ ตกลงใหช ดั เจนย่งิ ขึน้ กิจกรรมท่ี 6

ห น า | 43 ใหผ เู รยี นฝก การพดู บรรยายความรูสกึ ตอเพอ่ื นหรอื บุคคลท่เี กยี่ วขอ งในโอกาสอันควร ซ่ึงอาจจะ เปน การพูดแสดงความยนิ ดี แสดงความเสยี ใจหรอื การพดู เพ่อื ปลอบใจโดยปฏิบัติตามหลักและวิธีการพูด บรรยายความรูสกึ ใหครบถวนแลวใหประเมินการพูดของตนเองดว ย การอภปิ ราย ความหมายและความสําคัญของการอภิปราย การอภิปราย หมายถึง การท่ีบุคคลคณะหน่ึงจํานวนต้ังแต 2 คนขึ้นไปรว มกันพูดแสดงความรู ความคิดเห็น และประสบการณ เพื่อใหเกิดความรู ความคิดใหม และกวา งขวางเพิ่มข้ึนหรือชว ยกันหา แนวทางและวธิ ีการในการแกปญหารวมกนั การอภปิ ราย มีความสาํ คญั ตอสังคมไทยเปน อยา งยิง่ เพราะเปน สังคมประชาธิปไตย ซึ่งใหสิทธิ เสรีภาพแกคนในสังคมไดใชค วามรู ความสามารถรวมกันในการวางแนวทางในการดําเนินชีวิต แนวทางในการแกปญหาในชุมชน สังคมและประเทศ ปจจุบันไดนําเอาวิธีการอภิปรายมาใชอ ยางกวางขวาง ทั้งในดา นการศึกษาเลา เรียนการพัฒนา ชุมชน การอนรุ ักษและเผยแพรวฒั นธรรม การบริหารธุรกจิ การประกอบอาชีพ การปกครองทอ งถิน่ และ ประเทศ ฯลฯ องคประกอบของการอภิปราย มีดงั น้ี 1. หวั ขอเรอ่ื งหรอื ปญ หาทจี่ ะอภิปราย 2. ผูฟง 3. คณะหรอื หนวยงานท่ีจดั การอภปิ ราย 4. คณะผอู ภิปราย 1. หวั ขอ เร่ืองหรอื ปญ หาท่จี ะอภิปราย ในการอภิปรายแตล ะครงั้ จะตอ งมหี วั ขอเรอ่ื งทีจ่ ะอภปิ รายเพอ่ื ใหคณะอภิปรายไดแ สดงความ รู ความคิด และประสบการณใ นเรื่องน้ัน ใหผูฟ งเขา ใจใหค วามรูใ หมและไดค วามรูค วามคิดที่กวา ง ขวางขึ้นหรือไม ก็ตองมีประเด็นปญหาที่นาสนใจท่ีคณะผูอ ภิปรายจะไดแสดงความรูค วามคิดและ ประสบการณ ท่ีจะใชเปนแนวทางในการแกป ญหาน้ันๆ รวมกัน หัวขอ เรื่องหรือประเด็นปญ หาท่ีจะ นํามาอภิปรายจะตองมีคุณคาและมีประโยชนตอ กลุม ผูฟ ง ซ่ึงการเลือกหัวขอเรื่องและประเด็นปญหาใน การอภิปรายมหี ลกั ในการเลอื กดงั น้ี 1. เปน เรอ่ื งและปญหาทส่ี าํ คัญ มีสาระที่เปน ประโยชนตอทุกฝาย 2. เปน เรอ่ื งและปญหาท่ีอยใู หความสนใจของผฟู งและผอู ภิปราย

44 | ห น า 3. เปน เรื่องและปญหาที่ผูอภิปรายสามารถที่จะคนควา หาความรูและขอ มูลตา ง ๆ มาเสนอ เพ่ือหาแนวทางในการแกป ญหาได 2. ผฟู ง ในการอภิปรายบางประเภท ผูฟ งกบั ผูพดู อาจจะเปนคนกลุมเดียวกัน เชน การอภิปรายกลุม ย อย การอภิปรายในการประชุมสัมมนา เปนตน และในการอภิปรายบางประเภทผูฟงกับผูพูดหรือคณะผู อภิปรายแยกกลุม กนั ผูฟ ง ลกั ษณะน้จี ะตอ งปฏิบตั ติ นเปนผูฟงทีด่ ี ซึง่ จะมีลกั ษณะดงั น้ี 1. มีมารยาทในการฟง เชน ใหเกียรติผูอ ภิปรายดว ยการปรบมือ ต้ังใจฟงไมกระทําการใดๆ ทีจ่ ะเปน การรบกวนบคุ คลอ่นื ฯลฯ 2. ฟงอยางมีวิจารณญาณ 3. แสดงอาการตอบสนองเปน กําลังใจแกค ณะผูอ ภิปรายดวยการแสดงออกทางกิริยาอาการ ยมิ้ รบั ซักถามเมอ่ื มีโอกาสและไมแสดงอาการเยน็ ชาเบ่ือหนา ย ฯลฯ 4. นําความรูค วามคิดประสบการณและแนวทางแกไ ขปญ หาไปใชใหเกิดประโยชนต อ ตน เองและสังคม 3. คณะหรอื หนว ยงานท่ีจัดการอภิปราย การท่ีจะมีการอภิปรายเกิดข้ึนจะตอ งมีคณะบุคคลหรือหนว ยงานท่ีรับผิดชอบจัดใหมีการ อภิปราย ซึ่งจะตอ งทาํ หนา ท่ีในการจัดสถานท่ีจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ เครือ่ งมือสือ่ สารตางๆ กําหนดวัน เวลา ประสานงาน ประชาสมั พนั ธ เพ่ือใหการอภิปรายเปนไปอยา งราบรืน่ หากผูเ รียนจะจัดการอภิปราย ขึน้ คงจะตองต้งั คณะทํางานทีจ่ ะชวยกนั และตองมผี ูใหญไ วเปน ท่ีปรึกษา 4. คณะผูอ ภิปราย คณะผูอ ภิปรายนับเปน องคป ระกอบที่สําคัญมาก ซึ่งประกอบดว ยบุคคลต้ังแต 3 – 5 คน โดยมีคนหน่ึงทําหนาที่ผูด ําเนินการอภิปราย สวนทีเ่ หลือจะเปน ผูอ ภิปราย ท้ังผูด ําเนินการ อภิปราย และผูอ ภิปรายจะตอ งรูบ ทบาทหนา ท่ีของตน รูว ิธีการพูดและรูก ระบวนการขั้นตอนตลอดจน วิธกี ารอภิปราย การอภปิ รายจงึ จะดาํ เนนิ ไปดว ยดี ก. การคัดเลือกคณะผูอ ภิปราย การคัดเลือกบุคคลท่ีจะมาทําหนาท่ีคณะผูอภิปรายน้ัน ควร จะเลอื กบุคคลท่มี ลี กั ษณะดงั น้ี ผูด ําเนินการอภิปราย ควรเปนผูท ี่รูก ระบวนการ วิธีการและขั้นตอนในการอภิปรายและวิธี ดําเนินการอภิปรายเปนอยา งดีมีความสามารถในการพูด มีปฏิภาณไหวพริบดี เปนผูรูเรือ่ งราวที่จะ

ห น า | 45 อภิปรายพอสมควรและรูป ระวัติของผูอ ภิปราย พอท่ีจะแนะนําได หากเปนผูม ีประสบการณใ นการ อภิปรายมาบา งกจ็ ะยิ่งเปนการดี ผอู ภิปราย ผูอภิปรายควรเปนผูมีความรูค วามสามารถและประสบการณเชีย่ วชาญในเร่ืองที่ จะอภิปรายเปน อยางดี มีความสามารถในการพูด มีปฏิภาณไหวพริบ มีอารมณด ี มีความจริงใจ มีใจเป นกลาง และมีมารยาทในการพดู อภิปราย ข. บทบาทหนาท่ขี องผดู าํ เนนิ การอภปิ ราย 1. ประสานและพบกบั ผูอ ภปิ ราย เพอ่ื พดู คยุ ทําความเขาใจในเรอ่ื งของการอภิปราย 2. กลาวทักทายผฟู ง บอกหวั เรื่องท่จี ะอภปิ รายและแนะนาํ ผูรว มอภปิ รายแกผูฟง 3. ชแ้ี จงวธิ ีการอภิปราย ขอบขา ยของเรอ่ื งและเงอ่ื นไขตางๆ ทผ่ี ูฟง ควรทราบ 4. เสนอประเดน็ อภปิ รายใหผูอ ภิปรายแสดงความคดิ เหน็ พรอ มทงั้ เชญิ ผอู ภปิ ราย 5. สรุปคําอภิปรายเปนระยะๆ ตามความเหมาะสม ซึ่งไมจําเปนตอ งสรุปทุกคร้ังท่ีผู อภิปรายแตละคนพูดจบใหพิจารณาตามท่ีเห็นสมควร และจะตองสรุปคําอภิปราย เมื่อการอภิปรายจบส้ิน แลว 6. ควบคุมใหผูอภิปรายรักษาเวลาการพูดเปนไปตามขอ ตกลง และพยายาม ใหผ อู ภปิ รายพูดตรงประเดน็ 7. พยายามทีจ่ ะสรา งบรรยากาศในการอภิปรายใหเ ปนกันเองและเมื่อถึงเวลาสําหรับผูฟ  งควรจะกระตุน ใหผฟู งไดมสี วนรวมแสดงความคดิ เหน็ หรอื ตั้งคําถามใหม ากที่สุด 8. เมอื่ มีคาํ ถามจากผฟู งควรพจิ ารณามอบใหผูอภปิ รายตอบตามความเหมาะสม 9. รักษามารยาทในการพูด ไมแ สดงตนเขา ขา งฝา ยใดและไมพ ูดมากจนเกนิ ไป 10. กลาวสรุปคําอภิปรายและกลาวขอบคุณคณะผูอภิปราย ผูฟง ผูจ ัดและผูเกี่ยวขอ ง พร อมทง้ั อาํ ลาผฟู ง ค. บทบาทและการพูดของผอู ภิปราย 1. พบปะกบั คณะกอนการอภิปราย เพอ่ื เตรยี มความพรอมในการอภปิ ราย 2. เตรยี มความรูความคิดประสบการณตามหวั ขอเรอ่ื งไวใหพรอ ม ละเอียดชัดเจนพรอ ม ทงั้ ส่ือและอปุ กรณท จ่ี ะใชประกอบการพูดอภปิ ราย 3. ใหความเคารพและใหความรว มมือผูด ําเนินการอภิปรายในขณะทําหนาที่ เปน ผูอภิปรายตลอดเวลาการอภปิ ราย 4. พูดใหต รงหวั ขอ เรอ่ื งหรอื ประเดน็ ปญ หาท่ีผดู าํ เนนิ การอภิปรายไดกาํ หนดไว

46 | ห น า 5. รักษาเวลาในการพดู ตามที่กาํ หนด 6. รักษามารยาทในการพูดและปฏิบัติตามหลักการพูดท่ีดี มีวาจาสุภาพ สราง บคุ ลกิ ภาพท่ดี ี แสดงกริ ิยาทาทางใหเหมาะสม ฯลฯ ง. ขั้นตอนการอภิปราย ผูดําเนินการอภิปรายจะตองแมน ยําในขั้นตอนการอภิปรายเพราะจะเปน ผูควบคุมและ ดาํ เนนิ การอภปิ รายใหเ ปนไปตามลําดับขั้นตอนนน้ั ๆ ซ่งึ ลําดับข้ันตอนของการอภปิ รายมีดงั น้ี 1. ผดู าํ เนนิ การอภปิ รายกลาวเปด การอภปิ ราย 2. ผูดําเนินการอภิปรายแนะนําหัวขอเร่ืองหรือปญ หาที่จะอภิปราย ขอบเขตของปญหา ความสาํ คญั ของปญหา จดุ มงุ หมายของการอภปิ ราย สดุ ทา ยคอื ผลทค่ี าดวาจะไดร บั 3. ผดู าํ เนนิ การอภิปรายแนะนาํ ผูรวมอภิปราย 4. ผูด ําเนินการอภิปราย เชิญผูอ ภิปรายพูดตามประเด็นที่ใหหรือตามท่ีตกลงกันไวท ีละ คน 5. ผูดาํ เนนิ การอภปิ ราย สรปุ น้ันๆ เพอื่ จะโยงไปสูประเดน็ ท่ีจะใหผ ูอภปิ รายคนตอ ไปพดู 6. เมื่อผูอภิปรายพูดครบทุกคนแลว ผูด ําเนินการอภิปรายจะใหโ อกาสผูฟงได ถามและแสดงความคดิ เหน็ เพิม่ เตมิ 7. ผูดําเนินการอภิปราย มีการสรุปคําอภิปราย ขอบคุณผูเ กี่ยวของและกลาวปด การ อภปิ ราย กิจกรรมท่ี 7 เพ่ือจะได ใหผูเ รียนเขาฟงการอภิปรายตามโอกาสตา งๆ แลวนําประสบการณมาถายทอด แลกเปล่ยี นความรูและแนวการดาํ เนนิ การ การโตว าที ความหมายและความสาํ คญั ของการโตวาที การโตวาที คือ การอภิปรายแบบหน่ึง ซึ่งประกอบดวยผูมีความเห็นตรงขามกันในเรื่องใดเรื่อง หน่ึง มีจํานวนเทากัน ต้ังแต 2 – 4 คน ผลัดกันพูดแสดงความคิดเห็น เพ่ือจูงใจใหผูฟ ง เห็นคลอ ยตามกับ เหตุผลและความคิดของฝา ยตน ซึ่งเรียกวา ฝายเสนอ ฝายหนง่ึ และฝา ยคานอีกฝายหน่ึง มีการกําหนดเวลา ใหแตละฝายพูด ผูพูดแตละคนจะหาเหตผุ ลมาหักลา งฝา ยตรงขามและหาเหตุผลมาสนับสนุนฝา ยของตน

ห น า | 47 เอง โดยมีคณะกรรมการเปนผูพ ิจารณาตัดสินวา ฝายใดมีเหตุผลดีกวา ฝา ยใดชนะหรือเสมอกัน การโต วาทีไมม ีการใหเ วลาผูฟง ไดรวมแสดงความคดิ เหน็ เหมอื นการอภปิ รายประเภทอ่นื การโตว าที เปน กิจกรรมการพูดที่มีความสําคัญในเชิงของการใชศิลปะการพูดเพ่ือแสดง ทรรศนะ เพื่อการชักจูงใจและการโตแยง เปน การฝกฝนการแสดงวาทศิลปช ั้นสูง ฝก การยอมรับฟง เหตุผล มีนํ้าใจเปนนักกีฬา และรูจักเคารพกติกาเกี่ยวกับการพูด ซึ่งปกติเราไมค อ ยจะมีกัน การโตวาทีมี จุดประสงคท ีแ่ ทจ ริงดงั ทีก่ ลา วมามากกวา การจดั เพอื่ ความบนั เทงิ ปจจบุ นั มกี ารจัดกิจกรรมการพูดโตว าทีอยูเสมอโดยเฉพาะทางสือ่ มวลชน เชนรายการ ยอวาที แซววาที ฯลฯ แตด ูเปน การใชค ารมคมคายมากกวา การใชวิธีการแหง ปญ ญา ไมไดส ง เสริมการเพิ่มพูนภู มิปญญา เพยี งแตมุงความบนั เทงิ มากกวา สาระความรู องคประกอบของการโตวาที การโตว าทีเปนการพูดอภิปรายสาธารณะ จึงมีการแยกกลุมผูพ ูดออกจากผูฟง และไมเ ปดโอกาส ใหผ ูฟ ง ไดมีสว นรว มในการพูดอาจจะมีพียงถามความเห็นในการตัดสินดวยการขอเสียงปรบมือเทา น้ัน องคป ระกอบของการโตว าทีมีดงั น้ี 1. ญัตติ คือ หัวขอการโตว าทีหรือประเด็นปญหาที่กําหนดข้ึน ซ่ึงเปนขอ ที่ผูพ ูดทั้งสองฝา ยมี ความเห็นไมตรงกนั หรอื อาจจะกาํ หนดใหเ หน็ ไมต รงกัน หยบิ ยกมาใหอภิปรายโตแ ยงกนั ญัตติท่ีควรนาํ มาโตวาทคี วรมลี กั ษณะดงั น้ี 1. เปน เร่ืองท่ีคนสวนใหญใ หค วามสนใจและมีสวนเกี่ยวขอ งหรือมีผลกระทบและเกิดประโย ชนตอคนในสังคมเหลา น้นั 2. เปนเรื่องใหความรู มีคุณคา ในการสง เสริมความรู ความคิดและสงเสริมเศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง 3. เปนเรอ่ื งสงเสรมิ ศิลปวฒั นธรรม และไมขดั ตอศลี ธรรมอนั ดีงามไมเปนภยั ตอสังคม 4. เปนเรื่องที่จะนําไปสูข อ ตกลงท่ีจะดําเนินการไดหรือสามารถนําผลของการโตว าทีไปใชใ น การแกปญ หาหรอื ใชป ระโยชนดา นอื่นๆ ได (ควรหลกี เลยี่ งญตั ติท่ีขาดลกั ษณะดงั กลาวมา เชน ญตั ติท่ีวา ข้ีเมา ดกี วา เจา ชู พอคา ดกี วาขา ราชการ ฯลฯ ซง่ึ เปนญตั ติที่ไมไ ดประโยชนไ รส าระ) 2. ประธานการโตวาทแี ละคณะผตู ัดสินใจ

48 | ห น า ประธานการโตวาที เปนผูทําหนา ที่ควบคุมการโตว าทีใหเปนไปตามแบบแผนและกฎเกณฑ ตลอดทั้งขอ ตกลงตางๆ ประธานการโตวาทีจะมีผชู วยทาํ หนาท่ผี ูกาํ กับเวลาของผูโตต ามท่ีกําหนดกันไว ประธานการโตว าทีมหี นา ที่ดงั น้ี 1. กลาวนาํ บอกญตั ติและชี้แจงระเบียบวธิ ีการ หลกั เกณฑข องการโตวาที 2. แนะนาํ คณะผโู ตทั้งฝา ยเสนอและฝา ยคา น แนะนาํ ผกู าํ กับเวลาและคณะผตู ดั สิน 3. ชีแ้ จงรายละเอียดของกติกาตางๆ ใหท ุกฝา ยทีเ่ ก่ียวขอ งในการโตวาทที ราบ 4. เชญิ ผูโตขน้ึ พูดทลี ะคนตามลําดับ 5. รวมคะแนน แจงผลการตัดสิน และกลา วปด การโตว าที คณะผูตัดสนิ คณะผูตัดสินจะเลือกผูท ี่มีประสบการณในการโตว าทีและมีความเช่ียวชาญในเร่ืองท่ีนํามาเปน ญตั ติในการโตวาที อาจจะมี 2 หรอื 5 คน คณะผูตดั สินมหี นา ที่ใหค ะแนนตัดสินชี้ขาด การโตว าทีฝา ยใด ทีเ่ สนอเหตผุ ล ความคิดทรรศนะทีด่ กี วา โดยไมต อ งถามความเห็นตอผูฟง 3. คณะผโู ตว าที คณะผโู ต คือ กลุม 2 กลุม ที่มีความเห็นขัดแยงกัน ตกลงจะพูดแสดงความคิดทรรศนะของตนต อสาธารณะหรอื ผฟู ง ที่สนใจ คณะผูโตจ ะแบง ออกเปน 2 ฝา ย คือ ฝายท่ีเห็นดว ยกับญัตติจะพูดสนับสนุน เรียกวา ฝา ยเสนอ ฝา ยท่ไี มเหน็ ดว ยหรอื เปนผมู ีความคดิ เหน็ โตแยง เรียกวา ฝา ยคาน ผูโ ตแ ตละฝายจะมีหวั หนาคนหนง่ึ และมีผสู นบั สนนุ ฝา ยละ 2 – 3 คน แตล ะฝา ยจะมดี งั น้ี ฝายเสนอ ฝา ยคา น 1. หวั หนาฝา ยเสนอ 1. หวั หนาฝายคาน 2. ผูสนบั สนนุ ฝา ยเสนอคนที่ 1 2. ผูสนบั สนนุ ฝายคานคนที่ 1 3. ผูสนบั สนนุ ฝา ยเสนอคนท่ี 2 3. ผูสนบั สนนุ ฝายคา นคนท่ี 2 4. ผสู นบั สนนุ ฝายเสนอคนท่ี 3 4. ผสู นบั สนนุ ฝา ยคา นคนท่ี 3 คณะผูโตวาทีทุกคนทั้งฝายเสนอและฝา ยคานจะตองปฏิบัติดงั น้ี 1. ปฏบิ ัติตามคําสง่ั และคําชแี้ จงของประธานอยา งเครง ครัด 2. ปฏบิ ตั ติ ามกติกาของการโตวาทีอยา งเครง ครัด 3. รักษามารยาทในการพูดอยา งเครงครัด เชน พูดใหสุภาพไมพ ูดกา วรา ว ยั่วเยาดูถูกฝา ยตรงข ามและงดเวนการพดู เรอ่ื งสวนตวั เปน ตน

ห น า | 49 การจัดลําดบั และการพดู ของผโู ตว าที การจัดลําดับและการพูดของผูโ ตว าทีท้ังสองฝายจะมีการจัดลําดับกําหนดเวลาและมีแนวการ นาํ เสนอดงั น้ี ลาํ ดับท่ี 1 หวั หนา ฝา ยเสนอ หัวหนาฝายเสนอจะไดร ับเชิญขึ้นพูดเปนอันดับแรกโดยจะใหเปน ผูเ สนอประเด็นขอบเขตของ ญัตติ การใหนิยามคําและทรรศนะที่มีตอเร่ืองที่โตว าทีในครัง้ น้ันวาเปน อยา งไร โดยจะบอกถึงขอเท็จ จริง เหตุผล พรอมหลักฐานตา งๆ มาสนับสนุน ปกติหัวหนา ท้ัง 2 ฝายจะใชเ วลาพูดมากกวาผูสนับสนุน เลก็ นอ ย ลําดับท่ี 2 หวั หนา ฝายคา น หัวหนา ฝายคา นจะไดรับเชิญข้ึนพูดเปน อันดับที่ 2 ตอ จากหัวหนาฝา ยเสนอหัวหนาฝา ยคา นจะ รวบรวมขอ เสนอของหัวหนาฝา ยเสนอทุกขอทุกประเด็นมาคัดคา นดว ยเหตุผลและหลักฐานเพ่ือหักลา ง ใหไ ดท ุกประเด็น แลวจึงเสนอความคิด เหตุผลและหลักฐานสนับสนุนความคิดของฝายคานไวใหมาก ทสี่ ุด ลาํ ดบั ท่ี 3 – 6 หรอื 8 ผสู นบั สนนุ ท้ังสองฝา ย ตอจากหัวหนาฝายคาน ก็จะเปนหนา ท่ีของผูส นับสนุนฝายเสนอและฝา ยคานสลับกันไป โดย ทุกคนจะทําหนา ท่สี นบั สนนุ ความคิดและเหตผุ ลของฝายตนเอง คดั คานหักลางความคิดและเหตุผลของฝ ายตรงกันขามในครบทกุ ประเดน็ แลวก็จะเสนอความคิดเหตุผลและหลกั ฐานตา งๆ สนบั สนนุ ฝา ยตนเอง ลาํ ดบั สดุ ทา ย เม่ือผูส นับสนุนท้ัง 2 ฝายพูดครบทุกคนแลว จะใหห ัวหนาท้ังสองฝายมาพูดสรุปอีกครัง้ หนึ่ง โดยจะใหหวั หนา ฝายคานเปน ผูสรปุ กอ นแลว จงึ ใหห วั หนา ฝา ยเสนอสรปุ เปนคนสดุ ทา ย 4. ผฟู ง ผูฟงการโตวาทีเปน ผูรบั ความรู ความคิด ทรรศนะของผูโ ตว าทีทั้งสองฝาย แลวจะตอง ใชว ิจารณญาณที่จะนําไปใชใ หเ กดิ ประโยชน ผูฟงการโตวาทีไมมีโอกาสไดร ว มแสดงความคิดเห็น เหมอื นกจิ กรรมการฟง อภิปรายประเภทอนื่ มีแตเพยี งตองปฏิบตั ิตนใหเ ปนผฟู ง ทดี่ ีเทานัน้ กิจกรรมท่ี 8 ใหผ ูเรียนเขา รว มกิจกรรมการโตว าทีของกลุมในโอกาสสําคัญ โดยเขารว มเปน คณะผูจ ัด คณะผู โตห รอื อนื่ ๆ ตามความเหมาะสมเพื่อฝก ฝนการพูด

50 | ห น า การเปน พธิ กี ร พิธีกร ในพจนานุกรมบอกความหมายวา ผูด ําเนินการในพิธี ผูด ําเนินรายการ ดังน้ัน พิธีกรจึง หมายถึง ผูทําหนาท่ีดําเนินรายการของงานที่จัดข้ึนอยา งมีพิธีการ เชน การประชุม การสัมมนา การ อภปิ ราย การไหวครู ฯลฯ พิธีกรจะเปนผูทําหนาที่บอกกลา ว ใหผ เู ขารวมพิธีไดทราบถึงขั้นตอนพิธีการว ามีอะไรบา ง ใครจะเปน ผูพูด ใครจะเปน ผูแ สดง ใครจะทําอะไร พิธีกรจะเปน ผูแจงใหทราบนอกจากนี้ พธิ ีกรจะทาํ หนาทีป่ ระสานงานกับทุกฝาย เพ่ือจะไดขอ มูลท่ีแตล ะฝา ยจะดําเนินการและพิธีกรจะตองจัด และดําเนินการตามข้ันตอนกําหนดเวลาใหบรรลุ หากพิธีกรทําหนา ท่ีบกพรองก็จะทําใหเกิดความ เสยี หายได คณุ สมบัตขิ องผูท่ีเปน พิธีกร มีดงั น้ี 1. เปนผูท ่ีมีบุคลิกภาพดี รูปรา งดีสงา มีใบหนา ยิม้ แยมแจมใส รูจ ักแตงกายใหเ หมาะสมกับ กาลเทศะ พธิ ีหรือรายการน้ันๆ 2. มีน้าํ เสียงนมุ นวล นาฟง มีลีลาจงั หวะการพูดพอเหมาะ ชวนฟง มชี วี ติ ชีวา 3. พดู ออกเสยี งถูกตองตามอกั ขรวธิ ี ชดั เจน ออกเสยี งคาํ ควบกลํา้ ไดถ กู ตอง 4. ใชภ าษาดี เลือกสรรถอ ยคํานํามาพูดใหผูฟงเขาใจงา ย ส่ือความหมายไดด ี สั้นและกระชับ มศี ิลปะในการใชภาษา 5. มมี ารยาทในการพดู ใหเ กียรติผูฟง ควบคุมอารมณไดดี 6. มีมนษุ ยสมั พนั ธท ่ดี ี มีวธิ ีสรา งบรรยากาศดว ยสหี นาทาทาง ลีลาและน้ําเสยี ง ฯลฯ 7. เปนผูใ ฝใจศึกษารูปแบบวิธีการใหมๆ มาใช มีความคิดสรา งสรรค ยอมรับฟงความคิดเห็น ของบุคคลอื่นและพยายามพฒั นาปรับปรุงตนเองอยเู สมอ 8. มีความรูใ นรายละเอียด ขั้นตอน พิธีการของกิจกรรมที่ดําเนินรายการเปน อยางดี ดวยการ ศึกษาประสานงาน ซกั ซอ มสอบถามจากทกุ ฝายใหช ดั เจนและแมน ยาํ 9. เปน คนมปี ฎิภาณไหวพรบิ ดี มีความสามารถในการแกปญหาเฉพาะหนาไดอ ยา งฉับไว ขั้นตอนการพดู ของพธิ ีกร การเปนพิธีกรน้ันมีขั้นตอนการพูดแตกตางกันไปตามลักษณะของงาน ถา เปน งานทางวิชาการ เชน การประชุม การสัมมนา การอภิปรายก็จะมีขั้นตอนในการพูดลักษณะหน่ึง ถาเปน งานของโรงเรียน หรือหนว ยงานอ่ืนที่มีการแสดงก็อาจจะมีขั้นตอนแตกตา งจากงานทางวิชาการบาง หรือถา เปนงาน ประเภทงานมหกรรมงานแสดงดนตรีก็จะมีขั้นตอนการพูดที่มีขอ แตกตา งในเชิงเน้ือหาบา ง แตโดย ท่วั ไปพธิ กี รจะมีข้นั ตอนในการพูด ดงั น้ี 1. กลาวทักทายและปฏิสันถารกับผฟู ง 2. แจงวตั ถุประสงคห รอื กลา วถงึ โอกาสของการจัดงาน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook