Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ChiangMai

ChiangMai

Description: ChiangMai

Search

Read the Text Version

“ดอยสเุทพเปน็ ศรี ประเพณเีปน็ สงา่ บปุ ผาชาตลิ ้วนงามตา นามลำ้ คา่ นครพิงค์” (คำขวัญประจำจังหวัดเชียงใหม)่

ธรณวี ทิ ยาแหล่งทอ่ งเทยี่ ว จังหวัดเชยี งใหม ่ กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม

กรมทรพั ยากรธรณ ี มภี ูมิทศั น์ท่สี วยงาม อุดมสมบูรณ์ไปด้วยพันธุไ์ มน้ านาชนิด โครงสร้างท่ีเหมาะสมจึงเกิดสภาพของโตรกเขา น้ำตก ถ้ำ พุนำ้ ร้อน กอ่ ให้เกดิ สถานทีท่ ่องเทีย่ วทีง่ ดงาม



คำนำ จังหวัดเชียงใหม่เป็นศูนย์กลางของภาคเหนือ ที่มี คณะผูจ้ ัดทำ ความสำคัญต้ังแต่อดีตจนกระทั่งปัจจุบัน เป็นศูนย์กลางความ เจริญทางเศรษฐกิจ มีวัฒนธรรมและประเพณีท่ีเก่าแก่ท่ีสืบ คณะทปี่ รกึ ษา อธบิ ดกี รมทรพั ยากรธรณ ี เน่ืองมาแต่โบราณ เป็นศูนย์กลางทางการศึกษา และมีความ นายอดศิ กั ดิ์ ทองไขม่ กุ ต ์ รองอธบิ ดกี รมทรพั ยากรธรณ ี โดดเด่นทางด้านการท่องเท่ียว โดยมีจุดภูมิทัศน์ท่ีสวยงาม นายเสถยี ร สคุ นธพ์ งเผา่ อุดมสมบูรณ์ไปด้วยพันธ์ุไม้นานาชนิด สภาพภูมิอากาศที่เย็น สบาย รวมทั้งประชาชนมีมนุษยสัมพันธ์มิตรภาพท่ีดี จึงเป็นที่ ดึงดูดความสนใจของนักท่องเท่ียวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ คณะทำงาน ผอู้ ำนวยการสำนกั ทรพั ยากรแร ่ ทั่วโลก สมด่ังเอกลักษณ์ของจังหวัดเชียงใหม่ที่มีคำขวัญว่า นายพทิ กั ษ์ รตั นจารรุ กั ษ ์ ผอู้ ำนวยการกองอนรุ กั ษ ์ “ดอยสเุ ทพเปน็ ศรี ประเพณเี ปน็ สงา่ บปุ ผาชาตลิ ้วนงามตา นายสมหมาย เตชวาล นามล้ำคา่ นครพิงค์” ถนิ่ ไทยงามแหง่ ลา้ นนา และจดั การทรพั ยากรธรณ ี นายประชา คตุ ตกิ ลุ หวั หนา้ ฝา่ ยอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรณ ี จังหวัดเชียงใหม่ ต้ังอยู่ในแอ่งหุบเขาที่เกิดจากการ นายพภิ พ พรกิ ใย นกั ธรณวี ทิ ยาชำนาญการ ปรับตัวของธรณีสัณฐานที่เกิดการทรุดตัวเนื่องจากรอยเลื่อน นายรฐั จติ ตร์ ตั นะ นกั ธรณวี ทิ ยาชำนาญการ ทำให้ได้ลักษณะภูมิประเทศท่ีล้อมรอบด้วยเทือกเขาสูงชัน นายชาครติ วงศจ์ ารย ์ นกั ธรณวี ทิ ยาปฏบิ ตั กิ าร มีความสมบูรณ์ของพันธุ์ไม้ ป่าเขา ทำให้เป็นต้นกำเนิดของ นางสาวเพญ็ นภา คงธนสารสทิ ธ ์ิ นกั ธรณวี ทิ ยา ลุ่มน้ำปิง ซึ่งเป็นสาขาหลักของแม่น้ำเจ้าพระยา ประกอบกับ ธรณีวิทยาสัณฐานท่ีประกอบด้วยหินหลากหลายชนิด ธรณีโครงสร้างที่เหมาะสมจึงเกิดสภาพของโตรกเขา น้ำตก ถ้ำ พุนำ้ รอ้ น ก่อใหเ้ กดิ สถานทที่ ่องเท่ียวที่งดงาม หนังสือ “ธรณีวิทยาแหล่งท่องเที่ยว จังหวัดเชียงใหม่” จดั ทำเพอ่ื แสดงขอ้ มลู เชงิ วชิ าการทางธรณวี ทิ ยา และองคค์ วามรู้ ด้านธรณีวิทยาของพ้ืนท่ีแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ เช่น กระบวนการ เกิด รวมถึงลักษณะพื้นฐานของแหล่งธรรมชาติทางธรณีวิทยา เหล่านั้น เพ่ือใช้ในการวางแผนการพัฒนา สงวน อนุรักษ์ และใช้ทรัพยากรธรณีในเชิงท่องเที่ยวร่วมกันของหน่วยงาน ของรัฐและประชาชน ซ่ึงจะก่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ทีเ่ ป็นประโยชนส์ ูงสุดและย่งั ยืนยาวนานตลอดไป (นายอดิศักดิ์ ทองไข่มกุ ต์) อธบิ ดีกรมทรพั ยากรธรณี

2สาร0บญั 13 พนุ ำ้ รอ้ นสนั กำแพง 19 แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วกลุ่มท่ี 5 22224602 คำนำ น้ำตกแมย่ ะ 3332333348602789 ธรณีวทิ ยา จังหวัดเชียงใหม่ 180 นำ้ ตกแมก่ ลาง แหล่งท่องเท่ียวกลุ่มท่ี 1 น้ำตกวชริ ธาร ถำ้ เชียงดาวและดอยหลวงเชยี งดาว นำ้ ตกสิรภิ มู ิ พนุ ำ้ รอ้ นฝาง 111324 แหลง่ ทอ่ งเทีย่ วกลุ่มท่ี 6 แหลง่ ทอ่ งเท่ยี วกลมุ่ ท่ี 2 ออบหลวง น้ำตกหว้ ยแกว้ ผาว่ิงช ู้ น้ำตกมณฑาธาร ผาสิงหเ์ หลยี ว นำ้ ตกตาดหมอก 1165 พุน้ำร้อนเทพพนม แหลง่ ทอ่ งเทีย่ วกลมุ่ ที่ 3 บทสง่ ทา้ ย พนุ ้ำรอ้ นโป่งเดอื ดปา่ แป๋ แผนทีธ่ รณีวิทยาแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว จังหวดั เชยี งใหม ่ น้ำตกหมอกฟ้า 1178 ดัชนคี ำศัพท์ทางธรณีวทิ ยา แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วกลุ่มที่ 4 บรรณานุกรม ถ้ำเมอื งออน พนุ ้ำรอ้ นดอยสะเกด็ 27 12 11 17

ธรณีวทิ ยา จงั หวดั เชยี งใหม ่ ธรณวี ทิ ยา หินควอร์ตไซต์ หินฟิลไลต์ สีน้ำตาลถึงสีเขียวเข้ม มักจะแยกชั้นกับ หนิ ยุคออรโ์ ดวิเชยี นไมช่ ัดเจน จังหวัดเชียงใหม่ ตั้งอยู่ในแอ่งหุบเขาทางภาคเหนือของ ประเทศไทย ซึ่งเกิดจากการทรุดตัวของพ้ืนดินเน่ืองจากมีรอยเลื่อน หมวดหนิ ตะกอนกง่ึ แปร ยคุ แคมเบรยี นถงึ ออรโ์ ดวเิ ชยี น ทำให้เกิดลักษณะแอ่งหุบเขาสลับเทือกเขาสูงชัน สร้างตัวเป็น ประกอบด้วย หินดินดานเนื้อฟิลไลต์ หินดินดานเน้ือซิลิกา ลักษณะธรณีสัณฐานของภาคเหนือ เช่น แอ่งเชียงใหม่ แอ่งลี้ ถึงหินดินดานเน้ือถ่าน พบบริเวณลาดเขาด้านทิศตะวันออกของ แอง่ ลำปาง แอง่ เชยี งราย แอ่งแพร่ และแอง่ นา่ น ดอยอินทนนท ์ ลักษณะธรณีวิทยาของแอ่งเชียงใหม่ พ้ืนท่ีบริเวณเทือกเขา หมวดหินตะกอนก่ึงแปร ยุคออร์โดวิเชียน ประกอบด้วย โดยรอบแอ่งเป็นทิวเขาสูงชันที่ประกอบด้วยหินแปร หินตะกอน หินปูนสีเทาดำ เป็นหินปูนเนื้อซิลิกาถึงหินปูนเนื้อดิน เน้ือมีการ ยุคเก่า ต้ังแต่ยุคพรีแคมเบรียนถึงพาลีโอโซอิกตอนปลาย โดยมี เรียงตัวถึงตกผลึกใหม่ โดยเฉพาะหินปูนที่สลับหินดินดานท่ีถูก หินอัคนียุคไทรแอสซิกแทรกตัวเป็นแกนกลางเทือกเขา ในขณะที่ แปรเป็นหินปูนสลับเนื้อฟิลไลต์ บางบริเวณจะมีช้ันหินดินดาน พื้นที่ราบกลางแอ่งเป็นตะกอนน้ำพัดพายุคเทอร์เชียรีถึงปัจจุบัน ท่ีถูกแปรแทรกสลับ พบบริเวณดอยไก่เขี่ย และขอบด้านทิศใต้ของ ซ่ึงประกอบด้วยเศษหิน กรวด ทราย ดิน และถา่ นหิน ดอยอนิ ทนนท์ ข้อมูลธรณีวิทยาของกรมทรัพยากรธรณี ในแผนท่ีธรณีวิทยา หมวดหินคาร์บอนิเฟอรัส - ยุคเพอร์เมียน กำเนิดใน ประเทศ แผนท่ีธรณีวิทยาประเทศไทย มาตราส่วน 1:1,000,000 ยุคเพอร์เมียนถึงยุคคาร์บอนิเฟอรัส ประกอบด้วย หินทราย พ.ศ. 2542 จำแนกช้ันหินท่ีรองรับพ้ืนท่ีบริเวณอำเภอจอมทอง สีเทาอ่อนถึงน้ำตาลอ่อน เน้ือละเอียดถึงปานกลาง เป็นชั้นหนาถึง ซ่ึงต้ังอยู่ทางด้านทิศใต้ของจังหวัดเชียงใหม่ ประกอบด้วยหินแปร หนามากมีเน้ือสมาน หินดินดานเน้ือซิลิกา สีเทาอ่อน เนื้อละเอียด หินตะกอนถึงแปร และตะกอนก่ึงแข็งตัว ที่สะสมในแอ่ง ต้ังแต่ เป็นชั้นดี หนา 2 - 8 เซนติเมตร หินดินดานฟิลลิติกสีเทา พบเป็น ยุคพรีแคมเบรียนถึงปัจจุบัน และมีหินอัคนีแทรกซอนเป็นแกน หย่อมๆ ด้านขอบแอ่งตะวันออกของแอ่งเชียงใหม่ ท้ังตะกอน กลางของเทือกเขา โดยมีหนิ ท่สี ำคญั ดงั น ้ี ตะพักน้ำและตะกอนลุ่มนำ้ หินแปรดอยอินทนนท์ ยุคพรีแคมเบรียน ประกอบด้วย หมวดหินยุคเพอร์เมียน บริเวณจังหวัดเชียงใหม่ ประกอบ หินแปรเกรดสูงวางตัวเป็นสัณฐานรองรับดอยอินทนนท์ ชั้นหินโผล ่ ด้วย หินปูนที่เป็นชั้นหนา โดยเฉพาะบริเวณดอยเชียงดาวท่ีปรากฏ ให้เห็นชัด ตั้งแต่บริเวณยอดเทือกเขา ตามลำน้ำแม่กลาง แม่แจ่ม เป็นเทอื กเขาสงู ลูกโดด โดยเฉพาะบริเวณน้ำตกแม่ยะ น้ำตกแม่กลาง ออบหลวง หินแปร ที่พบประกอบด้วยหินไนส์ พาราไนส์และออโธไนส์ หินชีสต์ หินตะกอนยุคเทอร์เชียรี สะสมตัวในแอ่งเชียงใหม่ หินแคลซลิ เิ กต และหนิ อ่อน ในระดับลึกใต้ผิวดิน โดยมีบางส่วนถูกยกตัวข้ึนให้เห็นบริเวณ อำเภอสันป่าตอง ทางเหนือของอำเภอจอมทอง ประกอบด้วย หมวดหินตะกอนถึงแปร ยุคแคมเบรียน วางตัวบริเวณ หนิ ทราย หนิ โคลน และชั้นถ่านหนิ เทือกเขายอดดอยอินทนนท์ บริเวณอำเภอจอมทอง ประกอบด้วย

ธรณวี ิทยาแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว จังหวัดเชียงใหม่ ชั้นตะกอนตะพักน้ำ เป็นช้ันดินตะกอนทางน้ำท่ีไม่แข็งตัว ของยุค ควอเทอร์นารี ประกอบด้วย ชน้ั กรวด ดนิ ทราย หินทรายแปง้ และช้นั ดินเหนยี ว หินอัคนี พบหินอัคนีชนิดหินแกรนิตยุคไทรแอสซิก ได้แแก่ หินไบโอไทต์ แกรนิต หินพอร์ไฟรติ ิกแกรนิต มีแร่ดอกของเฟลดส์ ปาร์ ขนาด 1 - 5 เซนติเมตร สีเทาถึงเทาเข้ม และหินไบโอไทต์ มัสโคไวต์แกรนิตเน้ือปานกลาง - หยาบ สเี ทาขาว พบกระจายตัวทางดา้ นทิศตะวนั ตก และทศิ ใต้บริเวณอำเภอฮอด ธรณวี ิทยาโครงสร้าง การโค้งงอของชั้นหิน บริเวณจังหวัดเชียงใหม่ถูกแรงกระทำหลายคร้ัง และหินถูกเปลี่ยนสภาพมากทั้งจากการแทรกดันเข้ามาของหินแกรนิต การเปลี่ยนสภาพเนื่องจากแรงกดดันและการเคลื่อนตัวของเปลือกทวีป ทำให ้ ชั้นหินบริเวณนี้มีการโค้งงออย่างรุนแรง พบการคดโค้งหลายบริเวณ แต่ไม่ สมบูรณ์ เข้าใจว่ามีการคดโค้งแบบมุมแคบ จนถึงการคดโค้งตลบกลับ โดยมี แนวแกนสว่ นใหญ่อยู่ในแนวเดียวกันกับชัน้ หิน รอยเล่ือน พบว่ามีการเลื่อนของหินหลายครั้ง และหลายทิศทาง ส่วนใหญ่เป็นรอยเล่ือนแบบปกติ ได้แก่รอยเล่ือนในแนวตะวันออกเฉียงเหนือ และตะวันตกเฉียงใต้ ท่ีมีมุมเอียงเทตั้งแต่ 50 - 75 องศาไปทางทิศเหนือ คาดว่ามีอายุแก่กว่าการเกิดสายแร่ รอยเล่ือนแนวนี้เข้าใจว่าจะมีอายุมากที่สุด เพราะถูกตัดผ่านโดยรอยเลื่อนอ่ืนๆ เช่น รอยเล่ือนในแนวทิศเหนือ - ใต้ ซง่ึ ปรากฏให้เหน็ ชดั เจน รอยแตก พบรอยแตกหลายแนว โดยรวมพบว่ามีอยู่ 3 ระบบ ได้แก่ รอยแตกในแนว 30 - 50°/60-80°, 280 - 330°/60 - 80° และ 30 - 50°/20 - 40° โดยมรี ะยะหา่ งระหว่างแนว 5 - 30 เซนตเิ มตร ธรณสี ณั ฐาน มีลักษณะธรณีสัณฐานของจังหวัดเชียงใหม่ สามารถจำแนกประกอบด้วย เทือกเขาและแอง่ สะสมตะกอน 1. เทือกเขา พืน้ ทีจ่ ังหวดั เชยี งใหมป่ ระมาณร้อยละ 85 เป็นพน้ื ทีเ่ ทอื กเขา สลับกับหุบเขา มีทิศทางการวางตัวแนวเหนือ - ใต้เรียงขนานกันจากตะวันตก ไปตะวันออก ระหว่างเทือกเขาจะมีหุบเขาหรือแอ่งหุบเขาแคบๆ วางตัวอยู่ใน แนวเดียวกัน โดยการวางตวั สัมพนั ธก์ บั การเกิดธรณแี ปรสัณฐาน และธรณีวทิ ยา โครงสร้างของภาคเหนือตอนบน ภูเขาทางด้านทิศเหนือของจังหวัดเชียงใหม่ เป็นส่วนหน่ึงของทิวเขา แดนลาว ซึ่งกั้นเขตแดนระหว่างจังหวัดเชียงใหม่กับประเทศพม่า เร่ิมจาก ดอยภูหม่ืน ดอยผาหลวง ดอยผ้าห่มปกในเขตอำเภอแม่อายและอำเภอฝาง ทอดแนวมาทางตะวันตกเฉียงใต้ไปบรรจบกับทิวเขาถนนธงชัย ซึ่งวางตัวในแนว เหนือ - ใต้ เทือกเขาท่ีสำคัญ คือ เทือกเขาดอยสุเทพ เทือกเขาอินทนนท์ ซ่ึงมียอดเขาสูงที่สุดในประเทศประมาณ 2,590 เมตร จากระดับน้ำทะเล ปานกลาง ภูเขาทางทิศใต้ของจังหวัดเชียงใหม่มีความไม่ต่อเน่ืองกัน เป็นภูเขา ทีท่ อดตัวตามแนวรอยเลอ่ื นทิศตะวันตกเฉียงเหนือ - ตะวันออกเฉยี งใต้ มหี บุ เขา ที่เกิดจากการกัดเซาะของแม่น้ำปิง ต้ังแต่อำเภอจอมทอง อำเภอฮอด และ

อำเภอดอยเต่า ทางด้านตะวันออกของจังหวัดเชียงใหม่เป็นเทือกเขาผีปันน้ำ มีดอยขุนตานซ่ึงเป็นสันปันน้ำทำให้น้ำส่วนหน่ึงไหลลงสู่แอ่งเชียงใหม่ ท่ีอยู่ทาง ดา้ นตะวนั ตก และส่วนหน่งึ ไหลลงสแู่ อ่งพะเยา ซ่ึงอย่ทู างดา้ นตะวันออก 2. แอ่งสะสมตะกอน แอ่งเชียงใหม่ ล้อมรอบด้วยภูเขามีแม่น้ำปิงไหล ผ่านกลางแอ่ง แม่น้ำและทางน้ำจากภูเขาที่ล้อมรอบไหลในลักษณะเส้นของ ใบไม้ลงสู่แอ่ง เป็นที่รับน้ำและตะกอน จัดเป็นแอ่งสะสมตะกอนจากทางน้ำ แอ่งเชียงใหม่วางตัวในแนวเหนือ - ใต้ เช่นเดียวกับแนวภูเขา เริ่มจากด้านเหนือ บริเวณอำเภอเชียงดาวลงไปทางใต้จนถึงอำเภอจอมทอง อำเภอฮอด และ ดอยเต่า ประมาณ 145 กิโลเมตร พื้นท่ีของแอ่งทางตอนใต้จะแคบ มีลักษณะ เป็นหุบขนานไปกับแนวภูเขา ตั้งแต่อำเภอฮอดจนถึงอำเภอดอยเต่า แม่น้ำปิง ท่ีไหลลัดเลาะผ่านหุบน้ีได้นำตะกอนมาสะสมตัวเกิดเป็นที่ราบหุบเขาตาม สองฟากแม่น้ำ พบเนินตะกอนน้ำพารูปพัดอยู่ในระดับความสูงประมาณ 300 เมตรขึ้นไป มีความลาดเอียงน้อย มีทางน้ำเล็กๆ ไหลผ่านพ้ืนผิวด้านบน ของเนินนี้ลงสู่ที่ราบด้านล่าง ซ่ึงแตกแขนงออกจากทางน้ำสายใหญ่ท่ีไหลลงมา จากภูเขาเช่น เนินตะกอนน้ำพารูปพัด บริเวณอำเภอสันทรายของน้ำแม่กวง บริเวณบ้านฝายแป้น อำเภอป่าซางที่เกิดจากน้ำแม่ทา ที่เกิดตามแนวรอยเล่ือน แม่ทา นอกจากน้ัน มีเนินตะกอนน้ำพารูปพัดขนาดเล็ก ขนาดประมาณ 1 - 2 กิโลเมตร พบเห็นได้ในบริเวณขอบแอ่งทางตะวันออกของอำเภอแม่แตง บริเวณบ้านหนองบัวและบ้านห้วยแก้ว และบริเวณเชิงเขาตอนกลางของ อำเภอหางดง และสันปา่ ตอง ธรณีประวัติ จังหวดั เชยี งใหม่ ประวัติผืนแผ่นดินล้านนาทางธรณีวิทยาสามารถสืบสาวลงไปได้เก่าแก่ ที่สุดถึงราวกว่า 570 ล้านปีในยุคธรณีกาล โดยพบหินตะกอนที่สะสมตัวในช่วง อายุดังกล่าวหลายบริเวณ เช่น บริเวณเทือกเขาสูงด้านตะวันตกของที่ราบลุ่ม เชียงใหม่ เช่น เทือกเขาดอยสุเทพ ดอยอินทนนท์ หินในช่วงอายุน้ีเป็นหิน ท่ีได้แปรสภาพไปจากหินต้นกำเนิดเดิมเปลี่ยนเป็นหินแปร ดังน้ันปรากฏการณ์ หรือร่องรอยต่างๆ ที่ธรรมชาติได้บันทึกไว้ในเน้ือหินเดิม ซ่ึงจะทำให้สามารถ สืบเสาะไปจนถึงเร่ืองราวความเป็นมาของผืนแผ่นดินในช่วงเวลาที่ธรรมชาติ บันทึกไม่มีให้เห็นอีกต่อไป แม้ในช่วงเวลาต่อมาคือราว 570 - 500 ล้านปี ซึ่งทางธรณวี ทิ ยาเรยี ก ยุคแคมเบรยี น หนิ ในชว่ งเวลาดังกลา่ วก็ให้ขอ้ มลู ท่ีสับสน บอกถงึ การเปลย่ี นแปลงไปจากเดมิ เชน่ เดยี วกนั กบั ทปี่ รากฏในหนิ ยคุ พรแี คมเบรยี น เรื่องราวความเป็นมาของผืนแผ่นดินล้านนาปรากฏให้เห็นชัดเจนข้ึน ในช่วงเวลา 500 - 435 ล้านปีหรือยุคออร์โดวิเชียน เมื่อได้พบซากดึกดำบรรพ์ ของโคโนดอนต์ในช้ันหิน แสดงการสะสมตัวของหินตะกอนในท้องทะเลลึก โดยมีซากสาหร่ายที่สะสมตัวในชั้นหินปูนที่อยู่ทางด้านทิศใต้ บริเวณดอกไก่เข่ีย อำเภอจอมทอง ที่แสดงสภาพทะเลต้ืน ช่วงเวลาต่อมา คือ ช่วง 435 - 395 ล้านปีหรือยุคไซลูเรียน พบซากดึกดำบรรพ์ของแกรปโตไลต์เพิ่มข้ึนอีก ซาก แกรปโตไลต์ในหินดินดานบอกถึงสภาพในอดีตว่ามีลักษณะเป็นท้องทะเลลึก บนผิวน้ำจะมีแกรปโตไลต์ล่องลอยอยู่เป็นกลุ่ม ในช่วงเวลา 395 - 345 ล้านป ี หรอื ยคุ ดโี วเนยี น นอกจากจะพบสตั วท์ งั้ สองชนดิ แลว้ ยงั พบซากของแบรคโิ อพอด

ธรณวี ทิ ยาแหลง่ ท่องเทีย่ ว จงั หวัดเชียงใหม่ ชี้ให้เห็นว่า ท้องทะเลในช่วงเวลานี้มีส่วนที่เป็นทะเลต้ืนเกิดข้ึน เน่ืองจาก แบรคิโอพอดเป็นสัตว์อาศัยในน้ำตื้น ในช่วงเวลาตั้งแต่ 435 - 345 ล้านปีมานี้ ได้มีภูเขาไฟเกิดข้ึนพ่นลาวาและตะกอนภูเขาไฟสะสมตัวอยู่กับตะกอนในทะเล ซึ่งบ่งบอกลักษณะของหมู่เกาะภูเขาไฟ ทะเลในช่วงยุคคาร์บอนิเฟอรัส (345 - 280 ลา้ นป)ี ถงึ ยคุ เพอรเ์ มยี น (280 - 230 ล้านป)ี มลี ักษณะของไหลท่ วปี ทเี่ ปน็ บริเวณทะเลต้ืน สภาพแวดล้อมเหมาะสมกับสิ่งมีชีวิตทางทะเลท้ังพืช สัตว์ ปะการัง ดังน้ันในช่วงเวลาดังกล่าวจึงพบซากดึกดำบรรพ์ของสัตว์มากมาย หลายชนิดในปริมาณมากดว้ ย ท้องทะเลยุคเพอร์เมียนจะเต็มไปด้วยสัตว์มากมายหลายชนิด เช่น สาหร่าย ฟองน้ำ ปะการัง ฟิวซูลินิด หอยกาบคู่ แบรคิโอพอด แพร่พันธุ ์ เพ่ิมปริมาณภายใต้สภาวะแวดล้อมสงบสุข แต่ราว 230 - 195 ล้านปี เกิดการระเบิดของภูเขาไฟอย่างรุนแรงและแพร่กระจายเป็นบริเวณกว้าง สัตว์หลายชนิดสูญพันธ์ุไป เช่น สัตว์เซลล์เดียว ฟิวซูลินิด ปะการังบางชนิด แบรคิโอพอดบางชนิด บางชนิดอยู่รอดต่อมา เช่น หอยแอมโมไนต์ ปะการัง ชนิดใหม่ ซ่ึงมีชีวิตสืบเน่ืองมาจนถึงปัจจุบัน สัตว์ดังกล่าวน้ีพบอาศัยอยู่ใน ท้องทะเลยุคไทรแอสซิก (230 - 195 ล้านปี) ท้องทะเลยุคไทรแอสซิกน้ีเร่ิม ต้ืนเขินข้ึนเรื่อยๆ จนเม่ือถึงต้นยุคจูแรสซิกหรือราว 195 ล้านปี บริเวณน้ีเปลี่ยน สภาพเป็นแผ่นดิน การสะสมตัวของตะกอนที่น้ำพัดพามาสะสมตัวตามแม่น้ำ ลำธาร ภายใต้สภาวะก่ึงแห้งแล้ง มีคลอง หนอง บึง ทะเลสาบ แอ่งสะสมตัว มกั แยกจากกนั เป็นหย่อมๆ ไม่ต่อเนื่องเป็นผนื เดยี วกนั เหมือนยคุ อดตี ภมู ปิ ระเทศยงั คงสภาพลกั ษณะเหมอื นในยคุ จูแรสซิก จนถงึ ราว 60 ลา้ นปี ต้นยุคซีโนโซอิก โลกมีการปรับตัวคร้ังใหญ่ การปรับตัวที่ทำให้ผิวโลกมีรอยแตก รอยแยกซึ่งมีทิศทางสัมพันธ์กับกระบวนการแปรสัณฐานของภูมิภาค เมื่อ อนุทวีปอินเดียเคลื่อนตัวเข้าชนกับทวีปเอเชียทำให้เปลือกโลกมีการเคลื่อนตัว ทำให้เกิดรอยเล่ือน การทรุดตัวของพ้ืนท่ี การยกตัวของเทือกเขา โดยเฉพาะ ดอยอนิ ทนนทท์ ม่ี วลหนิ อคั นไี พศาลแทรกตวั ขน้ึ มาตลอด ตง้ั แตย่ คุ คารบ์ อนเิ ฟอรสั ถึงเทอร์เชียรี เกิดเป็นเทือกเขาสูงท่ีสุดของประเทศไทย ในขณะที่พื้นท่ีโดยรอบ มีแอ่งหุบเขาเกิดข้ึน โดยเม่ือรอยแตกคู่ใดคู่หนึ่งมีการขยับตัวเกิดการเล่ือนขึ้น หรือเลื่อนลงของหินสองฟากของรอยแตก จะทำให้เกิดลักษณะคล้ายบล็อก เกดิ ขนึ้ บลอ็ กทเี่ ลอื่ นขึน้ จะทำให้เกดิ เป็นเทอื กเขาสงู บลอ็ กท่เี ลอ่ื นลงสมั พันธ์กบั บล็อกท่เี ลอ่ื นข้ึน จะมีสภาพเปน็ แอง่ ลอ้ มรอบด้วยเทือกเขาสงู

แหลง่ ทอ่ งเที่ยวกลมุ่ ท่ี 1 แหลง่ ทอ่ งเท่ยี วกลุ่มท่ี 2 แหลง่ ทอ่ งเท่ยี วกล่มุ ที่ 4 แหล่งทอ่ งเที่ยวกลุ่มที่ 3 แหลง่ ท่องเท่ยี วกล่มุ ท่ี 5 แหล่งทอ่ งเท่ียวกลุ่มท่ี 6

ธรณีวทิ ยาแหลง่ ทอ่ งเที่ยว จงั หวดั เชียงใหม ่ แหล่งท่องเท่ยี วกล่มุ ที่ 1 ถำ้ เชียงดาวและด อยหลวงเชยี งดาว ดอยเชียงดาว เป็นดอยท่ีมีลักษณะ ภู มิ ป ร ะ เ ท ศ ข อ ง หิ น ชั้ นใ น เ ป็ น หิ น ยุ ค เพอร์เมียน ด้านนอกเป็นหินยุคคาร์บอนิ- เฟอรสั ซง่ึ เกดิ จากสนั เขามกี ารเอยี งตวั มาก แรงกระทำของเปลือกโลกทำให้เกิดรอย คดโค้งและการเปลี่ยนระดับความลาดชันของ ชนั้ หนิ อยา่ งรวดเรว็ ทำใหเ้ กดิ เปน็ ทวิ เขาสลบั กับหุบเขา การวางตัวของเขาจะวางตัวใน แนวเหนือ - ใต้ ภูมิทัศน์ท่ีเห็นของดอย เชียงดาวจะมีความสวยงาม ดอยเชียงดาว มีดอยที่สำคัญ ได้แก่ ดอยถ้ำแกลบ และ มีถ้ำที่มีลักษณะโดดเด่น และสวยงามท่ีเกิด อยใู่ นเทอื กเขาของดอยหลวงเชยี งดาว คอื ถำ้ เชยี งดาว

1314 พุนำ้ มะลิกา 1089 1089 1089 ชม.6039 ลกั ษณะทางธรณวี ทิ ยา ชม.3015 ชม.6039 หินปูนยุคเพอร์เมียนที่สร้างตัวเป็นดอยเชียงดาว ประกอบ 1340 107 ด้วยหินปูนมวลหนาเป็นส่วนใหญ่ สลับกับหินปูนช้ันบาง เป็นช่วงๆ หินปูนมีสีเทาอ่อนถึงเทาเข้ม มีเนื้อหินปูน ชม.3004 แบบหินปูนเน้ือโคลน มีซากดึกดำบรรพ์ของฟิวซูลินิด ถ้ำเชียงดาว เกิดเนื่องจากกระบวนการเกิดภูมิประเทศ 1249 แบบคาสต์ ซึ่งเกิดจากการกระทำของน้ำ ทางน้ำใต้ดิน ทำให้เกิดหินงอกหินย้อยขนาดใหญ่และสวยงาม ภายใน 1340 ถ้ำเปน็ จำนวนมาก แตม่ สี ขี ุ่นเนื่องจากเปน็ หนิ ปูนเนื้อโคลน 107 ➲ การเดินทาง 109 จากเชียงใหม่ไปแยกขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 107 เส้นเชียงใหม่ - ฝาง ผ่านอำเภอแม่ริมประมาณ 76 1178 ชม.3001 กิโลเมตรจนถึงอำเภอเชียงดาว แยกซ้ายตามถนนลาดยาง 1322 เขา้ ไปยงั บา้ นถำ้ และไปจนถงึ วัดถำ้ เชยี งดาว 1178 ถ้ำผาแดง-ถำ้ ล่อง 1322 1346 ชม.3001 ดอยดหอลยหวลงวเชงเียชงยี ดงดาาวว 1178 1150 ถ้ำเชถยี้ำเงชดยี างดวา ว อ.เชยี งดาว 1150 107 1095 1001 ชม.4024 1323 ชม.4020 1095 ชม.4235 1001 ชม.3010 118 1252 ชม.3026 ชม.3010 ชม.3023 107 ชม.4027 ชม.3010 ชม.5032 ชม.6033 1001 ชม.3005 อ.สะเม1งิ096 121 ชม.3017 อ.ดอยสะเกด็ ชม.4074 อ.สันทราย 1269 อ.เมืองเชยี งใหม่ 1014 1317 ชม.4021 อ.แ1ม2่อ30อน วงทงุ่ หลวง 121 อ.สนั กำแพง 1229 อ.หางดง 121 1317 น้ำตกแม่สะป๊อก อ.สนั ปา่ ตอง 108 11

ธรณวี ิทยาแหล่งทอ่ งเทีย่ ว จงั หวัดเชียงใหม่ พุนำ้ ร อนฝาง ้ พุน้ำร้อนฝาง เป็นพุน้ำร้อนธรรมชาติ เกิดจากความร้อนใต้พิภพ มีไอร้อนคุกรุ่นอย ู่ ตลอดเวลา อุณหภูมิของน้ำประมาณ 50 - 87 องศาเซลเซียส มีจำนวนหลายบ่อ ในพนื้ ทปี่ ระมาณ 10 ไร่ ตง้ั อยใู่ นบรเิ วณเดยี วกนั กบั ทที่ ำการอทุ ยานแหง่ ชาตดิ อยผา้ หม่ ปก

11 ลักษณะทางธรณีวิทยา พุน้ำร้อนฝาง เป็นพุน้ำร้อนที่เกิดบริเวณท่ีราบระหว่างหุบเขา ลักษณะของ พุน้ำร้อนเป็นแบบพุน้ำร้อนและแบบน้ำเดือด พบหินชั้นยุคคาร์บอนิเฟอรัส และหิ น ภู เ ข า ไ ฟ ช นิ ด เ บ ส สารละลายในน้ำบ่อน้ำร้อนมี ปริมาณก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ ค(H่อ2นS)ข้าแงลสะูงคาหริบน์ อทน้อไงดทอี่เอปก็นไหซินด ์ ช้ันยุคคาร์บอนิเฟอรัส การเกิด บอ่ พนุ ำ้ รอ้ นฝางมคี วามสมั พนั ธ์ กบั หนิ อคั นใี นระดบั ลกึ 1314 1089 1089 พุนพำุ้นรำ้ อ้ร้อนนฝฝาง 1089 ชม.6039 ชม.3015 ชม.6039 1340 107 ชม.3004 1249 1340 107 109 1178 ชม.3001 1178 ชม.3001 1346 ➲ การเดนิ ทาง 1178 อ.พรา้ ว จากจงั หวัดเชียงใหม่ไปตามทางหลวงหมายเลข 107 ส่อู ำเภอฝาง ไปตามถนนฝาง 1150 - ม่อนปิ่น แยกทางขวา (ทางหลวงชนบทหมายเลข ชม 4054) สู่บ้านโป่งน้ำร้อน ถึงทท่ี ำการอุทยานแหง่ ชาติดอยผ้าห่มปก ระยะทาง 8 กโิ ลเมตร รวมระยะทางจาก อ.เชียงดาว 1150 เชยี งใหมป่ ระมาณ 160 กโิ ลเมตร ใชเ้ วลาเดนิ ทางประมาณ 2 ชว่ั โมง 30 นาท ี

ธรณีวทิ ยาแหล่งท่องเท่ยี ว จงั หวดั เชียงใหม่ 2 แแหหลลง่ ่งททอ่ อ่งเงทยี่เทวย่ี กวลกมุ่ ทล่ี มุ่ 2ท ี่ นำ้ ตกห ้วยแก้ ว ลกั ษณะทางธรณวี ทิ ยา ลักษณะทางธรณีสัณฐานรองรับด้วยหินอัคนีมวลไพศาล ชนิดหิน แกรนิตอายุไทรแอสซิก ประกอบด้วยหินแกรนิตชนิดไบโอไทต์ มัสโคไวต์ท่ีมีการเรียงตัวของเม็ดแร่ควอตซ์ และเฟลด์สปาร์เกิด เนื่องจากอิทธิพลของการปรับตัวของเปลือกโลก โดยบางบริเวณ พบสายแรค่ วอตซต์ ัดผา่ น ชม.4024 ่่ 1323 ชม.4020 1001 1095 ชม.4235 118 1252 ชม.3010 ชม.3026 ชม.3010 ชม.3023 107 ชม.4027 ชม.3010 อ.แมร่ มิ ชม.6033 1001 ชม.3017 อ.ดอยสะเกด็ ชม.3005 121 อ.สะเม1ิง096 อ.สนั ทราย ชม.4074 น้ำตกห้วยแก้ว เป็นน้ำตกเล็กๆ พระธาตุดอยสุเทพ อ.เมืองเชยี งใหม ่ 1014 ชม.4021 1317 อ.สันกำแพง 1230 1269 อ.แม่ออน นำ้ ตกนห้ำต้วกยหว้แยกแ้วกว้ 121 1229 อ.หางดง 121 อ.สารภี 1317 สงู ประมาณ 10 เมตร อยู่ห่าง 1013 อ.สันปา่ ตอง 108 11 ลพ.2031 จากตัวเมืองเชียงใหม่ประมาณ 1015 อ.แมว่ าง 6 กิโลเมตร มีน้ำไหลตลอดปี ชม.3028 108 รอบๆ บริเวณสวยงามด้วย 1009 อ.ดอยหล ่อ ทิวทัศน์ และร่มร่ืนด้วยพันธ์ุไม้ นานาชนิด นอกจากน้ียังมีท ี่ อ.จอมทอง ➲ พกั ผอ่ นทผี่ าเงบิ ซึ่งเป็นสถานที่ การเดินทาง แหล่งเรียนรู้ทางธรรมชาติ น้ำตกห้วยแก้วตั้งอยู่ท่ีเขตเทศบาลเมืองเชียงใหม่ เดินทางตาม เสน้ ทางเชยี งใหม่ - ดอยสเุ ทพ ทางหลวงหมายเลข 1004 หา่ งจาก มีป้ายอธิบายลักษณะทางธรณี- จงั หวดั ประมาณ 6 กโิ ลเมตร ถงึ บรเิ วณอนสุ าวรยี พ์ ระครบู าศรวี ชิ ยั วทิ ยาของหินแกรนติ จะมที างแยกซา้ ยมอื ไปประมาณ 100 เมตร

13 นำ้ ตกมณ ฑาธาร น้ำตกมณฑาธารหรือน้ำตก การเดนิ ทาง สนั ปา่ ยาง ตง้ั อยใู่ นเขตอทุ ยาน นำ้ ตกมณฑาธาร ตง้ั อยทู่ เี่ ขตเทศบาลเมอื งเชยี งใหม่ เดนิ ทางตาม แหง่ ชาตดิ อยสเุ ทพ - ปยุ มี 9 เสน้ ทางเชยี งใหม่ - ดอยสเุ ทพ ทางหลวงหมายเลข 1004 หา่ งจาก ชั้น โดยมีน้ำตกไทรย้อยเป็น จังหวัดประมาณ 6 กิโลเมตร ถึงบริเวณอนุสาวรีย์พระครูบา- น้ำตกช้ันสูงสุดที่ไหลมาจาก ศรวี ชิ ยั ขนึ้ เขาไปตามทางดอยสเุ ทพ ประมาณ 6 - 7 กโิ ลเมตร ➲ หว้ ยคอกมา้ ทม่ี าของนำ้ ตกนน้ั มาจากต้นมณฑา ซ่ึงเป็น ชม.4024 อ.แม่ แตง 1323 ไม้ยืนต้น ดอกสีขาว ใบใหญ่ ชม.4020 สีเขียวจัด ลักษณะของน้ำที่ ตกลงมาแยกออกเปน็ 2 สาย 1095 ชม.4235 1001 ชม.3010 ชม.3026 ชม.3010 ชม.3023 107 118 1252 ชม.3010 อ.แมร่ มิ ชม.4027 เลก็ ๆ แลว้ ไหลลงสแู่ อง่ กอ่ นจะ ชม.6033 1001 ชม.3017 อ.ดอยสะเก็ด ชม.3005 ผ่านลานหินลงไปช้ันที่ 1 อยู่ 121 หา่ งจากนำ้ ตกหว้ ยแกว้ ประมาณ อ.สะเม1ิง096 อ.สนั ทราย ชม.4074 3 กโิ ลเมตร น้ำตกมณฑาธาร อ.เมอื งเชียงใหม่ 1014 1317 1269 ชม.4021 อ.แม12่อ3อ0น 121 อ.สนั กำแพง 1229 อ.หางดง 121 อ.สารภี 1317 ลักษณะทางธรณวี ทิ ยา 1013 อ.สันป่าตอง 108 11 ลพ.2031 1015 นำ้ ตกมณฑาธารเปน็ หนิ แปรชนดิ หนิ ไนส์ แกรนติ - ไนส์ เนอ้ื สเี ทาดำปะ อ.แมว่ าง จดุ ขาว ประกอบดว้ ยแรช่ นดิ ตา่ งๆ ไดแ้ ก่ แรค่ วอตซ์ เฟลดส์ ปาร์ ไมกา้ ชนดิ ชม.3028 ไบโอไทต์ มัสโคไวต์ ท่ีมีการเรียงตัวของเม็ดแร่ควอตซ์และเฟลด์สปาร์ 108 1009 อ.ดอยหล่อ เนอื่ งจากอทิ ธพิ ลของการปรบั ตวั ของเปลอื กโลก โดยมสี ายแรค่ วอตซต์ ดั ผา่ น จอมทอง

ธรณีวทิ ยาแหลง่ ทอ่ งเที่ยว จังหวัดเชยี งใหม ่ นำ้ ตกตาดหมอก เปน็ นำ้ ตกขนาดกลาง อยใู่ นเขตอทุ ยานแหง่ ชาติ ดอยสุเทพ - ปุย เป็นต้นลำน้ำแม่แรม น้ำตกจากหน้าผาสูง 20 เมตร เป็นละอองสีขาวราวกับสายหมอก จะมีน้ำน้อยใน ฤดแู ลง้ ดแู ลโดยหนว่ ยพทิ กั ษอ์ ทุ ยานฯ นำ้ ตกตาดหมอก น้ำตกต าดหมอก ชม.4024 อ.แม ่่แตง 1323 ชม.4020 ลกั ษณะทางธรณีวิทยา 1095 ชม.4235 1001 น้ำตกเป็นหินอัคนีมวลไพศาล ชนิดหินแกรนิต อายุไทรแอสซิก เป็นหินแกรนิตชนิดไบโอไทต์ ชม.3010 มัสโคไวต์ ท่ีมีการเรียงตัวของเม็ดแร่ควอตซ์และ ชม.3026 เฟลด์สปาร์ เน่ืองจากอิทธิพลของการปรับตัว ชม.3010 ของเปลือกโลก โดยมสี ายแร่ควอตซ์ตดั ผา่ น ชม.3023 น้ำตกตนำ้ าตดกหตามดอหมกอ ก 107 118 1252 ชม.4027 ชม.3010 อ.แมร่ ่ ิม ชม.6033 1001 ชม.3017 อ.ดอยสะเก็ด ชม.3005 121 อ.สะเม1งิ096 อ.สนั ทราย ชม.4074 1269 อ.เมืองเชยี งใหม ่่ 1014 ชม.4021 1317 อ.แม12 ่่อ3อ0 น 121 อ.สันกำแพง 1229 อ.หางดง 121 อ.สารภี 1317 1013 อ.สนั ปา่ ตอง 108 11 ลพ.2031 1015 อ.แม่ ่วาง ชม.3028 108 1009 อ.ดอยหล ่อ่ จอมทอง ➲ การเดนิ ทาง จากเชียงใหม่ใช้ทางหลวงหมายเลข 107 (ไชยปราการ - ฝาง) จนถึงสามแยกแม่ริมเลี้ยว ซ้ายเขา้ ทางหลวงหมายเลข 1096 (แมร่ มิ - สะเมงิ ) เมอ่ื ถงึ กโิ ลเมตรท่ี 5 มีทางแยกขวามอื ใกล้ๆ กับฟาร์มงูแม่ริมไปตามถนนลาดยางระยะทาง 9 กิโลเมตร ถึงลานจอดรถและ เดินเทา้ ไปยงั น้ำตกประมาณ 100 เมตร

พนุ ำ้ รอนโป่งเดอื ดปา่ แป ๋โป่งเดือดป่าแป๋ อยู่ในเขตบ้านแม่แสะ ้ 15 แหล่งท่องเที่ยวกล่มุ ท่ี 3 อำเภอแมแ่ ตง มคี วามรอ้ นประมาณ 99 องศาเซลเซยี ส ใกลบ้ อ่ ใหญม่ หี อ้ งอาบนำ้ ซึ่งนำน้ำร้อนจากโป่งเดือดผ่านท่อเข้ามา โดยพุน้ำร้อนมีคุณสมบัติบำรุงรักษา ผิวพรรณได้ดี โป่งเดือดนี้เป็นพุน้ำร้อน ประเภทไกเซอรซ์ ง่ึ ใหญท่ ส่ี ดุ ลักษณะทางธรณวี ทิ ยา พนุ ้ำรอ้ นโป่งเดือดปา่ แป๋ เป็นพนุ ำ้ รอ้ นท่เี กดิ แบบ ‘ไกเซอร์’ หรอื พุนำ้ รอ้ นทพ่ี ุง่ ขึ้นสูงจากพื้นดินเปน็ ช่วงๆ ตามแรงดันและอุณหภูมิที่สูงใต้ผิวดิน การพุ่งขึ้นของพุน้ำร้อนโป่งเดือดจะสูงสุดในช่วงระยะ เวลาที่คงที่ ซ่ึงเกิดจากการสะสมตัวของแก๊สในนำ้ รอ้ น ทำให้เกิดแรงดันสูงกวา่ ปกติ โดยจะมบี อ่ ขนาด ใหญ่ 3 บอ่ และบอ่ ใหญส่ ุดจะมีพุน้ำร้อนพุ่งสูงขึ้นมาประมาณ 2 เมตร ทุกๆ 30 วินาที มีความร้อน ประมาณ 99 องศาเซลเซียส 1178 1150 อ.เชยี งดาว อ.พรา้ ว 1150 107 1095 1001 พนุพนุ้ำรำ้ รอ้ อ้ นโโปปง่ เเดดืออื ดดปป่าแ่าปแ๋ป๋ ชม.4024 อ.แม่ แ่ ตง 1323 ชม.4020 1095 ชม.4235 1001 ชม.3010 ชม.3026 ชม.3010 ชม.3023 107 ➲ 118 1252 การเดินทาง ชม.3010 อ.แม่ ร่ ิม ชม.4027 เชยี งใหม่-แมร่ มิ -ปาย เสน้ ทางนอี้ อกจากเชยี งใหมใ่ ชท้ างหลวง ชม.6033 1001 ชม.3017 อ.ดอยสะเกด็ ชม.3005 หมายเลข 107 ถึงแยกตลาดแม่มาลัย (ประมาณ 36 กิโลเมตรจากเชียงใหม่) ก็เลี้ยวซ้ายเข้าเส้นแม่มาลัย - ปาย อ.สะเม1งิ096 121 อ.สันทราย ชม.4074 (1095) ระยะทางจากตลาดแม่มาลัย - ถึงปากทางเข้า พนุ ำ้ รอ้ น ประมาณ 45 กิโลเมตร จากน้นั ก็เล้ยี วขวาเข้าไปยงั 1269 อ.เมอื งเชยี งใหม่ ่ 1014 ชม.4021 1317 พนุ ำ้ รอ้ นอกี 8 กโิ ลเมตร (อยกู่ อ่ นถงึ หว้ ยนำ้ ดงั 26 กโิ ลเมตร) อ.แม12 ่อ่ 3อ0น 121 อ.สันกำแพง 1229 อ.หางดง 121 อ.สารภี 1317 อ.สนั ป่าตอง 108 11 ลพ.2031 1013 1015

ธรณวี ิทยาแหลง่ ทอ่ งเท่ยี ว จังหวดั เชยี งใหม ่ นำ้ ตกห มอกฟ้ า น้ำตกหมอกฟ้า เดิมเรียกกันว่า “น้ำตก ตาดหมอก” เปน็ นำ้ ตกทมี่ คี วามสงู ประมาณ 50 เมตร เปน็ นำ้ ตกทสี่ วยงามมาก มี 6 ชน้ั ชนั้ ท่ี 1 เรยี กวา่ ตาดเรอื (ตาดเฮอื ) ชนั้ ที่ 2 ตาดมะดะ๊ (ตาดผาลาด) ชนั้ ที่ 3 ตาดเชยี งไฮ (ตาดเจยี งไฮ) ชน้ั ที่ 4 ตาดฮอ่ ม (ออบนอ้ ย) ชนั้ ที่ 5 นำ้ ตก ตาดหมอก (หมอกฟ้า) และชั้นท่ี 6 ตาดหก ซง่ึ อยบู่ นสดุ ลกั ษณะทางธรณวี ิทยา 1150 น้ำตกเกิดในหินแปรเกรดสูงชนิดหินไนส์ ท่ีเป็นหินที่แกร่งและทนทาน ออ.พ.พรรา้ ้าวว 1150 ต่อการกัดกร่อน มีแนวรอยแตกขนาดใหญ่ ตัดผ่านบริเวณน้ำตก ทำให ้ มีสภาพภูมิประเทศเป็นหน้าผาสูงชัน มีลวดลายการเรียงตัวของแร่ 107 ประกอบหนิ แสดงวา่ หนิ แปรผา่ นกระบวนการความกดดันและความร้อน ทีท่ ำให้เม็ดแร่เรียงตวั และมกี ารตกผลกึ ใหมภ่ ายใตแ้ รงกดดัน 1095 1001 ชม.4024 ชม.4020 อ.แม่ แ่ ตง ชม.4235 1323 น้ำตกหมอกฟ้า น้ำตกหมอกฟา้ 1095 1001 ➲ ชม.3010 ชม.3026 การเดนิ ทาง ชม.3010 ชม.3023 107 118 1252 ชม.4027 ชม.3010 อ.แม่ริม จากตัวเมืองเชียงใหม่ให้ใช้เส้นทางสายเชียงใหม่ - ฝาง (ทางหลวง หมายเลข 107) ถึงทางแยกบ้านแม่มาลัย อำเภอแม่แตง เลี้ยวซ้าย ชม.6033 1001 ชม.3017 อ.ดอยสะเก็ด ชม.3005 ตามถนนสายแม่มาลัย - ปาย (ทางหลวงหมายเลข 1095) รวมระยะทาง 121 ประมาณ 58 กโิ ลเมตร เดนิ ทางอีกประมาณ 20 กิโลเมตร ถึงปากทางเข้า อ.สะเม1ิง096 อ.สนั ทราย ชม.4074 น้ำตกเลี้ยวซ้ายประมาณ 1.5 กิโลเมตร ก็จะถึงที่ทำการอุทยานฯ เดนิ เขา้ ไปประมาณ 1 กโิ ลเมตร 1269 อ.เมอื งเชยี งใหม ่่ 1014 ชม.4021 1317 อ.แม12อ่ 3อ0น 121 อ.สันกำแพง 1229 อ.หางดง 121 อ.สารภี 1317 อ.สนั ป่าตอง 108 11 ลพ.2031 1013 1015

เดิมช่ือว่า “ถ้ำดอยศิลา” ตั้งอยู่ตำบลบ้านสหกรณ์ หมู่ท่ี 2 17 อำเภอแมอ่ อน จงั หวัดเชียงใหม่ ปี พ.ศ. 2473 ท่านครูบาศรวี ชิ ัย นักบุญแห่งลานนาได้ธุดงค์มาพบ จึงชักชวนให้ชาวบ้านลงแรง 4 แหล่งทอ่ งเทยี่ วกลมุ่ ที่ กันสร้างถนนและบันไดลงสู่ปากถ้ำ พร้อมท้ังเปลี่ยนช่ือจาก ถ้ำเมอื งออน “ถำ้ ดอยศลิ า” เปน็ “ถำ้ เมอื งออน” ตราบทกุ วนั น ้ี ชม.4024 อ.แม ่แ่ ตง 1323 ลกั ษณะทางธรณีวิทยา ชม.4020 1001 ถำ้ เมอื งออน เกดิ ในหนิ ปนู ยคุ 1095 ชม.4235 เพอร์เมียนที่วางตัวบนหน่วย หินตะกอนกลุ่มหินแม่ทา ชม.3010 ยุคคาร์บอนิเฟอรัส วางตัว ชม.3026 เ ป็ น แ น ว แ ค บ ย า ว ใ น แ น ว ชม.3010 เหนือ - ใต้ ขนานกบั ขอบแอง่ ชม.3023 เชียงใหม่ ชั้นหินปูนมีสีเทา 107 ขาวถึงเทาเข้ม วางตัวแบบช้ัน 118 1252 บางถึงช้ันหนา ชั้นหินมัก ชม.4027 ชม.3010 อ.แม่ ร่ มิ มีรอยแตกหลายทิศทาง เกิด ถ้ำโดยกระบวนการเกิดภูมิ- ชม.6033 1001 ชม.3017 อ.ดอยสะเกด็ ชม.3005 ประเทศแบบคาสต์ มลี ักษณะ 121 ของหินงอกและหินย้อยแล้ว อ.สะเม1ิง096 อ.สนั ทราย ชม.4074 ยังสร้างตัวเป็นรูปร่างต่างๆ ้ ขึ้นอยู่กับลักษณะการไหล อ.เมอื งเชียงใหม่ ่ 1014 ถถำ้ำ้ เเมมือืองงออออนน 1317 ของหยดน้ำ กระแสลมและ 1269 อณุ หภมู ภิ ายในถ้ำ บางแบบเกิดในลักษณะม่านสวยงาม ชม.4021 อ.แม12่อ 3อ0น ➲ การเดินทาง 121 อ.สันกำแพง 1229 อ.หางดง ถ้ำเมืองออนจะอยู่ห่างจากตัวเมืองประมาณ 34 กิโลเมตร ตาม 121 อ.สารภี 1317 ทางหลวงสันกำแพง - พุน้ำร้อนห่างจากอำเภอสันกำแพงประมาณ 17 กิโลเมตร มีทางแยกเข้าถนนคอนกรีตระยะทางประมาณ 1.5 1013 อ.สันป่าตอง 108 11 ลพ.2031 กิโลเมตร 1015 อ.แม่ ว่ าง ชม.3028 108 1009 อ.ดอยหล่ อ่ จอมทอง

ธรณีวิทยาแหลง่ ทอ่ งเท่ยี ว จังหวดั เชียงใหม่ พนุ ำ้ รอ้ นดอยสะเกด็ ตงั้ อยใู่ นหมบู่ า้ นโปง่ สามคั คี หมทู่ ี่ 6 ตำบลปา่ เมย่ี ง อำเภอดอยสะเกด็ จงั หวดั เชยี งใหม่ พุนำ้ รอ ้ น ดอยสะเกด็ พุน้ำร้อนดอยสะเก็ดประกอบไปด้วยบ่อน้ำแร่หลายบ่อ ในแตล่ ะบอ่ มรี ะดบั ความรอ้ นของนำ้ แตกตา่ งกนั ไป มตี งั้ แต่ ร้อนจัดจนเดือดปานกลางและอุ่น น้ำในบ่อน้ำร้อนทุก บอ่ จะมแี รก่ ำมะถนั เปน็ สว่ นประกอบ สมั ผสั ไดจ้ ากกลน่ิ ไอ ของพุน้ำร้อนมีกล่ินกำมะถันคลุ้งทั่วบริเวณ ลักษณะ ของพุน้ำร้อนดอยสะเก็ดวางตัวต่อเน่ืองกับพนุ ำ้ รอ้ น สนั กำแพงตามแนวเลอ่ื นแมก่ วง - ดอยสะเกด็ ชม.4024 อ.แม่ แ่ ตง 1323 ลักษณะทางธรณีวิทยา ชม.4020 1001 เป็นพุน้ำร้อนท่ีเกิดบริเวณท่ีราบระหว่างหุบเขา แบ่งเป็นสองกลุ่ม 1095 ชม.4235 หา่ งกนั ประมาณ 400 เมตร ลกั ษณะของพนุ ำ้ รอ้ นเปน็ แบบบอ่ นำ้ รอ้ น และแบบน้ำเดือด เป็นหินช้ันยุคคาร์บอนิเฟอรัสและหินภูเขาไฟชนิด ชม.3010 แเบลสะคสาารร์บลอะลนาไดยใอนอนกำ้ไพซดนุ ์คำ้ ร่ออ้ นนขม้าปีงสรมิูงาหณินกทา๊ ้อซงไทฮ่ีเโปด็นรเหจินนชซ้ันลั ยไฟุคดค์า(รH์บ2อS-) ชม.3026 นเิ ฟอรสั อตั ราการไหลของนำ้ รอ้ น 12.6 ลติ ร/วนิ าที การเกดิ บอ่ พนุ ำ้ รอ้ น ชม.3010 ดอยสะเก็ดมีความสัมพันธ์กับหินอัคนีในระดับลึก แต่เนื่องจาก ชม.3023 มวลหินอัคนีบริเวณน้ีเป็นหินเก่าแก่ อายุมากตามธรณีกาล ทำให้ 107 อณุ หภมู ขิ องมวลหนิ คอ่ นขา้ งตำ่ พนุ ำ้ รอ้ นทไี่ ดจ้ งึ มอี ณุ หภมู ไิ มส่ งู นกั 118 1252 ชม.3010 อ.แม ่ร่ มิ ➲ การเด นิ ทาง ชม.4027 เดินทางจากตัวจังหวัดเชียงใหม่ ตามทางหลวงหมายเลข 118 ชม.6033 1001 ชม.3017 อ.ดอยสะเก็ด พพชมนุุน.3ำ้ำ้00รร5้ออ้ นนดดออยยสสะะเเกกด็็ด (เชียงใหม่ - ดอยสะเก็ด - เวียงปาเป้า - เชียงราย) เป็นระยะทาง ประมาณ 30 กิโลเมตร ถึงทางแยกขวามือเข้าก่ิงอำเภอเมืองออน อ.สะเม1ิง096 121 อ.สันทราย ชม.4074 แยกไปประมาณ 2-3 กโิ ลเมตร จะพบพุน้ำรอ้ นดอยสะเก็ดข้างทาง 1269 อ.เมืองเชยี งใหม่ ่ 1014 ชม.4021 1317 อ.แม12 ่อ่ 3อ0น 121 อ.สันกำแพง 1229 อ.หางดง 121 อ.สารภี 1317 1013 อ.สนั ป่าตอง 108 11 ลพ.2031 อ.แม ่ว่ าง 1015 ชม.3028 108 1009 อ.ดอยหล่ อ่ จอมทอง

พุน้ำร้อนสันกำแพง เดิมเป็นพื้นท่ีทุ่งหญ้า และ 19 มีธารน้ำร้อน บ่อน้ำร้อนธรรมชาติท่ีชาวบ้าน นำมาใช้ในการเล้ียงสัตว์ อาบน้ำแร่ ต้มหน่อไม้ พุนำ้ ร ้อนส นั กำแพง การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย และหมู่บ้าน สหกรณ์สันกำแพงจึงเข้ามาลงทุนร่วมกัน ปรับปรุงเป็นสถานท่ีท่องเที่ยวในพื้นท่ี 75 ไร่ และเปิดทำการเม่ือวันท่ี 22 ธันวาคม พ.ศ. 2527 เปน็ ต้นมา จนเปน็ ทรี่ ้จู กั แพร่หลาย การเดินทาง ➲ ลักษณะทางธรณีวิทยา พุน้ำร้อนสันกำแพง อยู่หา่ งจากตวั เมอื งประมาณ 34 กิโลเมตร สามารถไปได้ 2 ทางด้วยกัน คือ เสน้ ทางเชียงใหม่- สันกำแพง - สถานีเพาะพันธ์ุกล้าไม้สัก - น้ำพุร้อน (เส้นทางนี้จะผ่านถ้ำเมืองออน ซึ่งอยู่ห่างจากพุน้ำร้อน บริเวณพุน้ำร้อนสันกำแพง 4 กโิ ลเมตร) หรอื เสน้ ทางเชยี งใหม่-สนั กำแพง-หมบู่ า้ นออนหลวย-พนุ ำ้ รอ้ น เป็นหินตะกอนเก่ายุคพาลี- โอโซอกิ ประกอบดว้ ย หน่วย ชม.4024 หินตะกอนหน่วยหินแม่ทา ชม.4020 อ.แมแ่ ตง 1323 1001 1095 ชม.4235 ชม.3010 ชม.3026 ชม.3010 ยคุ คารบ์ อนเิ ฟอรสั ประกอบ ชม.3023 ด้วย หินทราย หินดินดาน 107 118 1252 ชม.4027 ชม.3010 อ.แม่รมิ หินทรายแป้ง หน่วยหินปูน ชม.6033 1001 ชม.3017 ชม.3005 ยุคเพอร์เมียน หน่วยหิน 121 อ.ดอยสะเก็ด ภูเขาไฟ ยคุ เพอรโ์ มไทรแอส- อ.สะเม1งิ096 อ.สนั ทราย ชม.4074 ซิก หินอัคนีพุ ในกลุ่มหิน พพนุ ุน้ำำ้รรอ้ อ้นนสสนกนั ำกแำพแงพง 1269 1317 อ.เมืองเชียงใหม่ 1014 ชม.4021 อ.แม12อ่ 3อ0น 121 อ.สนั กำแพง 1229 อ.หางดง 121 อ.สารภี 1317 ไรโอไลต์ แอนดีไซต์ และ 1013 อ.สนั ปา่ ตอง 108 11 ลพ.2031 หินทัฟฟ์ ยุคไทรแอสซิก 1015 และสันนิษฐานวา่ เปน็ แหลง่ อ.แมว่ าง ชม.3028 108 กำเนดิ ความรอ้ นของน้ำพุร้อน 1009 อ.ดอยหลอ่ สันกำแพง อ.จอมทอง

ธรณีวทิ ยาแหลง่ ทอ่ งเท่ยี ว จงั หวัดเชยี งใหม ่ เปน็ น้ำตกขนาดใหญ่ทสี่ ุดในจังหวดั เชียงใหม่ ต้ังอย่ใู นเขตอุทยานแหง่ ชาตดิ อยอินทนนท์ทางด้านทิศใต้ 5 แหล่งทอ่ งเท่ียวกลมุ่ ท่ี มคี วามสวยงามตดิ อันดับหนงึ่ ในสบิ ยอดนำ้ ตกของประเทศไทย น้ำตกแม่ยะ สายน้ำจะไหลลงมาตามหน้าผาสงู ชนั ราว 280 เมตร ไหลกระทบโขดหนิ เปน็ ชน้ั ๆ กวา่ 30 ชนั้ เปน็ ม่านนำ้ ใหล้ กั ษณะเหมือนเปน็ นำ้ ตกท่ีรวมเอานำ้ ตกจากท่ีตา่ งๆ ในประเทศมาไวท้ เ่ี ดียวกัน

5 แหล่งทอ่ งเที่ยวกลุ่มที่ 21 ลกั ษณะทางธรณวี ทิ ยา น้ำตกแม่ยะเป็นน้ำตกขนาดใหญ ่ การเดินทาง ➲ ที่ไหลมาตามสายน้ำแม่ยะ เกิดใน บริเวณร่องน้ำท่ีใกล้แนวแปรสัมผัส ระหว่างหินอัคนียุคคาร์บอนิเฟอรัส พวกหินแกรนิตที่แทรกตัดหินแปร ชนิดหินไนส์ เนื้อสีเทาดำปะจุดขาว ประกอบด้วยแร่ชนิดต่างๆ ได้แก่ แร่ควอตซ์ เฟลด์สปาร์ ไมก้า ยุค พรีแคมเบรยี นขนึ้ มา เป็นนำ้ ตก ขนาดใหญ่ทส่ี ดุ ในจังหวัดเชยี งใหม่ นำ้ ตกแมย่ ะ ตง้ั อยใู่ นเขตอำเภอจอมทอง หา่ งจากตวั อำเภอเมอื งเชยี งใหมป่ ระมาณ 70 กโิ ลเมตร ตามทางหลวงหมายเลข 108 (เชยี งใหม่ - ฮอด) บรเิ วณหลกั กโิ ลเมตรท่ี 58 กอ่ นถงึ ตลาดอำเภอจอมทอง เลยี้ วขวาเขา้ ทางหลวงหมายเลข 1009 (จอมทอง - ดอยอนิ ทนนท)์ ประมาณ 1 กโิ ลเมตร แลว้ เลยี้ วซา้ ยเขา้ ไปอกี 14 กโิ ลเมตร กจ็ ะถงึ ลานจอดรถของนำ้ ตก อ.สะเม1ง096 121 อ.สันทราย 1269 อ.เมืองเชยี งใหม่ ่ 1014 121 อ.สารภี อ.หางดง 121 1013 อ.สันป่ ่าตอง 108 11 ยอดดอยอนิ ทนนท์ ์ อ.แม ่ว่ าง 1015 ชม.3028 อ.แม่ ่แจ ่ม่ 1234 1009 108 1192 1009 อ.ดอยหล่ อ่ นนำ้ ต้ำตกกแมแมย่ ย่ะ ะ อ.จอมทอง 1088 108 108 ชม.4009 อ.ฮอด 108 1012 ชม.4011

ธรณวี ิทยาแหลง่ ทอ่ งเทยี่ ว จงั หวดั เชียงใหม ่ นำ้ ตก แมก่ ลาง น้ำตกแม่กลาง เป็นจุดแรกของประตูเข้าสู่ อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ สายน้ำอัน เย็นฉ่ำท่ีตกผ่านหน้าผาขนาดใหญ่ น้ำตกจาก หน้าผาสูงประมาณ 100 เมตร ไหลพวยพุง่ มาสู่โกรกเขา ซึ่งเป็นแอ่งน้ำขนาดใหญ่ มีชื่อว่า วังน้อยและวังหลวง ในช่วงฤดูฝน นำ้ ไหลแรงและขุน่ ข้นมาก ลกั ษณะทางธรณวี ิทยา บรเิ วณนำ้ ตกแมก่ ลางเปน็ หนว่ ยหนิ แปรยคุ พรแี คมเบรยี น ประกอบด้วยหินไนส์ หินแคลซิลิเกต ท่ีเป็นหินท่ีแกร่ง และทนทานต่อการกัดกร่อน มีแนวรอยแตกขนาดใหญ่ 2 แนวที่ตัดกันบริเวณน้ำตกแม่กลาง ทำให้มีสภาพ ภูมิประเทศเป็นหน้าผาสูงชัน มีลวดลายการเรียงตัวของ แร่ประกอบหิน แสดงว่า หินแปรผ่านกระบวนการความ กดดันและความร้อนที่ทำให้เม็ดแร่เรียงตัว และมีการ ตกผลกึ ใหม่ ภายใตแ้ รงกดดนั อ.สะเม1ง096 121 อ.สันทราย 1269 อ.เมืองเชียงใหม ่่ 1014 121 อ.สารภี อ.หางดง 121 1013 อ.สันป่ ่าตอง 108 11 ยอดดอยอนิ ทนนท ์์ อ.แม ่ว่ าง 1015 ชม.3028 อ.แม่ แ่ จ ่่ม 1234 1009 108 1192 1009 อ.ดอยหล่ อ่ น้ำนต้ำกตแกมแ่กมลก่ ลาางง อ.จอมทอง ➲ การเดนิ ทาง 1088 จากตัวเมืองเชียงใหม่ไปตามทางหลวงหมายเลข 108 108 เชียงใหม่ - จอมทอง ถึงหลักกิโลเมตรท่ี 57 ก่อนถึงอำเภอ จอมทอง 1 กิโลเมตร แยกขวาเข้าทางหลวงหมายเลข 1009 108 ชม.4009 สายจอมทอง - อินทนนท์ หลักกิโลเมตรที่ 8 แล้วเล้ียวซ้าย อ.ฮอด ไปอีก 1 กโิ ลเมตร ก็จะถงึ น้ำตกแม่กลาง 108 1012 ชม.4011

5 แหล่งทอ่ งเท่ยี วกลมุ่ ที่ 23 “น้ำตกแม่กลาง เป็นจุดแรก ของประตูเข้าสู ่ อุทยานแห่งชาต ิ ดอยอนิ ทนนท”์

ธรณีวิทยาแหล่งทอ่ งเทีย่ ว จงั หวัดเชยี งใหม ่ นำ้ ตกว ชริ ธาร มคี วามสงู จากระดบั นำ้ ทะเลประมาณ 750 เมตร ซง่ึ เปน็ นำ้ ตกทม่ี คี วามชนั มาก เดมิ เรยี กวา่ “ตาดฆอ้ งโยง” เหตทุ เี่ รยี กเพราะเสยี งของนำ้ ตกทไ่ี หลกระแทกกระทบโขดหนิ เบอื้ งลา่ งคลา้ ย กบั เสยี งการตฆี อ้ งโยงดงั กกึ กอ้ งไปทว่ั ทงั้ ปา่ หรอื เรยี กวา่ “นำ้ ตกสายรงุ้ ” เนอ่ื งจากจะพบ รุ้งกินน้ำเกิดพาดผ่านละอองน้ำที่กระเซ็นตก ซ่ึงเป็นจุดเด่นของน้ำตกวชิรธาร หน้าผา ทสี่ งู ชนั เรยี กวา่ “ผาแวน่ แกว้ ” ซงึ่ หนา้ ผาเปน็ หนิ แปรชนดิ หนิ ไนส ์ ลักษณะทางธรณีวิทยา น้ำตกวชิรธาร มีลักษณะทางธรณี สัณฐานท่ีโดดเด่น โดยมีหน้าผาสูงชัน ท่ีวางตัวสองทิศทาง เกิดจากรอยแตก ของหินท่ีปรับตัวตั้งฉากกับโครงสร้าง หลักของภูมิภาคที่วางตัวในแนวเหนือ - ใต้ เม่ือมีการกัดเซาะในแนวด่ิงอย่าง ต่อเนื่อง เกิดเป็นหน้าผาที่มีสายน้ำที่ตก จากหน้าผาเป็นน้ำตกขนาดใหญ่สูงมากกว่า 70 เมตร บริเวณน้ำตกจะพบหินอัคนีกึ่งแปร ประกอบด้วยหินแกรนิตไนส์ ปรากฏอยู่ตามผาน้ำตก ลกั ษณะของเน้อื หินจะแสดงการเรยี งตัวของเน้ือแรใ่ นหินที่แสดงถงึ การถกู แรงกดดนั ระดับสงู

25 อ.สะเม1ง096 121 อ.สนั ทราย 1269 อ.เมอื งเชยี งใหม่ ่ 1014 121 อ.สารภี อ.หางดง 121 อ.แม่ แ่ จ่ ่ม ยอดดอยอนิ ทนนท์์ อ.สนั ป่ ่าตอง 108 11 1013 1015 1234 อ.แม ่ว่ าง น้ำตกวชิรธาร 1009 นนำ้ ตำ้ กตวชกริ วธาชร ิรธาร ชม.3028 108 มีลักษณะทางธรณี 1192 สัณฐานที่โดดเด่น 1009 อ.ดอยหล ่อ่ โดยมีหนา้ ผาสงู ชัน ทว่ี างตวั สอง ่ ทศิ ทาง 1088 อ.จอมทอง 108 108 ชม.4009 อ.ฮอด 108 1012 ชม.4011 ➲ การเดนิ ทาง น้ำตกวชิรธาร ตั้งอยู่ห่างจากตัวอำเภอเมืองเชียงใหม่ 81.2 กิโลเมตร ตาม เสน้ ทางหลวงหมายเลข 108 (เชยี งใหม่ - ฮอด) ประมาณกิโลเมตรท่ี 58 เลยี้ วขวา เข้าสู่เส้นทางหลวงหมายเลข 1009 (สายจอมทอง - ดอยอินทนนท์) ประมาณ 20.7 กิโลเมตร เจอทางแยกไปยังน้ำตก มีทางแยกขวามือขับรถไปตามถนนท่ ี คดเคี้ยวลงไปอกี ประมาณ 250 เมตร จึงถงึ นำ้ ตกวชริ ธาร

ธรณวี ทิ ยาแหล่งท่องเที่ยว จังหวัดเชียงใหม่ น้ำตก สิริภูม ิ น้ำตกสริ ภิ ูมิ เปน็ น้ำตกซง่ึ ไหลลงมาจากหน้าผาสงู ชนั เป็นทางยาวสวยงามมาก ลกั ษณะสายนำ้ ตกมีสองสาย ไหลลงมาขนานกัน แต่เดิมเรยี กวา่ “เลาลี” ตามชอ่ื ของหมบู่ า้ นม้ง (แมว้ ) เลาลี ซง่ึ อยใู่ กลๆ้ น้ำตก

27 ลกั ษณะทางธรณวี ิทยา น้ำตกสิริภูมิ เป็นหน่วยหินแปร ยุคพรีแคมเบรียน ประกอบด้วย หินไนส์ หินแคลซิลิเกต ท่ีเป็น หิ น ที่ แ ก ร่ ง แ ล ะ ท น ท า น ต่ อ การกัดกร่อน ทำให้มีสภาพภูมิ- ประเทศเป็นหน้าผาสูงชันมาก มีลวดลายการเรียงตัวของแร่ ประกอบหิน แสดงว่าหินแปร ผ่านกระบวนการความกดดัน และความร้อนท่ีทำให้เม็ดแร่ เรียงตัวและมีการตกผลึกใหม่ ภายใต้แรงกดดัน การเดินทาง น้ำตกสิริภูมิอยู่ห่างจากตัวเมืองเชียงใหม่ประมาณ 106 กิโลเมตร จาก ตัวเมืองเชียงใหม่เดินทางไปตามทางหลวงหมายเลข 108 เชียงใหม่ - จอมทอง ถึงหลักกิโลเมตรที่ 57 ก่อนถึงอำเภอจอมทอง 1 กิโลเมตร แยกขวาเข้าทางหลวง หมายเลข 1009 สายจอมทอง - อินทนนท์ ระยะทาง 48 กิโลเมตร ถึง ยอดดอยอินทนนท์ เปน็ ถนนลาดยางอยา่ งดแี ตท่ างคอ่ นขา้ งสูงชัน ➲ อ.สะเม1ง096 121 อ.สนั ทราย 1269 อ.เมอื งเชยี งใหม ่่ 1014 121 อ.หางดง 121 อ.สารภี 1013 อ.สนั ป ่่าตอง 108 11 ยอดดอยยออนิ นิ ททนนนนทท ์ ์ อ.แมว่ ่ าง 1015 ชม.3028 อ.แม ่่แจ ่ม่ 1009 1234 นนำ้ ตำ้ ตกกสสิริรภิ ภิ มู มู ิ ิ 108 1192 1009 อ.ดอยหล่ อ่ 1088 อ.จอมทอง 108 108 108 ชม.4009 ออ.ฮ.ฮออดด 1012 ชม.4011

ธรณีวทิ ยาแหลง่ ท่องเท่ยี ว จงั หวดั เชยี งใหม่ 6 แหลง่ ทอ่ งเท่ียวกล่มุ ที่ ออบหลวง ออบหลวง เป็นภาษาท้องถ่ิน แปลว่า ช่องแคบขนาดใหญ่ ซึ่งเป็นจุดเด่นท่ีสะดุดตาบนแม่น้ำแม่แจ่ม เป็นหุบเขาท่ีแคบ ลกึ สลบั ซบั ซอ้ น และสงู ชนั จากจดุ ตำแหนง่ สะพานถงึ ระดบั นำ้ มคี วามสงู 32 เมตร สว่ นแคบทสี่ ดุ กวา้ งประมาณ 2 เมตร ในร่องหุบเขาเกิดจากการกัดเซาะของทางน้ำในทางลึก และช้ันหินมีการยกตัวสูง และแปรสภาพซึ่งมีอายุเก่าแก่ที่สุด ในประเทศ มสี ายนำ้ แมแ่ จม่ ไหลตดั ผา่ นแนวเทอื กเขา

การเดินทาง 29 เดินทางโดยรถยนต์ไปตามทางหลวงหมายเลข 108 ถึงอำเภอฮอด แล้วเลี้ยวขวา ลกั ษณะทางธรณีวิทยา ตรงหอนาฬิกาไปตามทางสายฮอด - แม่สะเรียง จากอำเภอฮอดไปอกี 17 กิโลเมตร จะถงึ ทท่ี ำการอุทยานแหง่ ชาติ ระยะทางประมาณ 105 กโิ ลเมตร หินในบริเวณออบหลวงเป็นหินแปร เกรดสงู ซง่ึ เกดิ จากการแปรสณั ฐาน ในช่วงยุคไทรแอสซิก มีขนาดต่างๆ หินท่ีเป็นองค์ประกอบของพื้นที่ ได้แก่ หินแกรนิตและแกรโนได- ออไรท์ สลับกับหินบะซอลท์ และ หินตระกูลแกรนิตชนิดมิคมาไทด์ ยุคครีเตเซียส และไทรแอสซิก ประกอบด้วย แร่ควอตซ์ และ เฟสด์สปาร์ ในท้องน้ำแม่แจ่มมี เกาะแกง่ หนิ ขนาดตา่ งๆ ริมฝ่งั ลำน้ำ จะมีหาดทรายเกิดจากน้ำพัดพา ตะกอนมาสะสมเป็นช่วงๆ หลาย แห่ง มีก้อนหินกลมประเภทกรวด ท้องน้ำของหินควอร์ตไซต์ ควอตซ์ แจสเปอร์ และหินชนิดอ่ืนๆ อ.สะเม1ง096 ➲ 1269 121 อ.สนั ทราย อ.เมืองเชยี งใหม่ ่ 1014 121 อ.สารภี อ.หางดง 121 1013 อ.สนั ป่ ่าตอง 108 11 1234 อ.แมว่ ่ าง 1015 1009 ชม.3028 อ.แม ่่แจ่ ม่ 1192 108 1009 อ.ดอยหล ่อ่ อ.จอมทอง 1088 108 ออบอหบลหวลงวง 108 อ.ฮอด ชม.4009 108 1012 ชม.4011

ธรณวี ทิ ยาแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว จังหวดั เชียงใหม่ ผา วิ่งช ู้ ผาวงิ่ ชู้ มลี กั ษณะคลา้ ย แกรนดแ์ คนยอ่ น คอื หนา้ ผาดนิ ท่ีโดนกัดกร่อน แต่มีเพียงฝั่งเดียวของน้ำปิง อีกฝั่งเป็น พน้ื ทร่ี าบ ฝงั่ ขวา คอื บา้ นดงดำ ฝงั่ ซา้ ยคอื บา้ นแพะดนิ แดง อำเภอฮอด จงั หวดั เชยี งใหม่ ผาวง่ิ ชอู้ ยทู่ างดา้ นรมิ ฝง่ั ซา้ ย ของลำนำ้ ปงิ หนา้ ผามคี วามยาว 250 เมตร และมคี วามสงู 25 เมตร วางตวั เอยี งเทลาดลงไปในทศิ ตะวนั ตก มองจาก จดุ ชมววิ จะเหน็ เปน็ แทง่ เสาหนิ ยอดแหลมตง้ั ตรงตระหงา่ นขน้ึ จากพน้ื บางเสามมี วลหนิ รปู รา่ งแปลกๆ วางอยบู่ นยอด

31 อ.สะเม1ง096 121 อ.สันทราย 1269 อ.เมืองเชียงใหม ่่ 1014 121 อ.สารภี อ.หางดง 121 อ.สันป่ ่าตอง 108 11 1013 1015 1234 อ.แม่ ว่ าง 1009 อ.แม ่่แจ่ ม่ ชม.3028 ลกั ษณะทางธรณีวิทยา 1088 108 1192 1009 อ.ดอยหล่ อ่ ผาวิ่งชู้ เกิดขึ้นจากกระบวนการผุพังอยู่กับที่ การกร่อนและ การยกตัวของรอยเลื่อนปกติ เกิดการกร่อนในภายหลังทำให้ อ.จอมทอง ริมฝั่งด้านผาวิ่งชู้มีลักษณะเป็นหน้าผาสูงชัน ในขณะที่ ฝ่ังตรงข้ามหน้าผาเป็นท่ีราบ หินท่ีประกอบกันเป็นหน้าผา ประกอบด้วยช้ันหินทรายแป้ง หินทราย และหินกรวดมน 108 แทรกสลบั กนั และมคี ณุ สมบตั คิ งทนตอ่ การกดั กรอ่ นแตกตา่ ง 108 กนั อ.ฮอด ชม.4009 108 ➲ การเดนิ ทาง 1012 ผผาาววิง่ ช่ิงู้ช ู้ การเข้าถึงสามารถใช้เส้นทางเชียงใหม่ - ฮอด เมื่อถึงอำเภอฮอดแล้วให้ใช้เส้นทาง ฮอด - นาลุง ซ่ึงจะผ่านบ้านฮอดหลวง บ้านดงดำ เม่ือเลยบ้านฮอดหลวงมาประมาณ ชม.4011 3 กิโลเมตร จะมีทางแยกซ้ายข้ามสะพานแล้วถึงบ้านดงดำ เม่ือเลยบ้านดงดำไป 1 กิโลเมตร จะมที างแยกซ้ายตรงเขา้ สจู่ ดุ ชมวิวผาวิง่ ชู้

ธรณีวทิ ยาแหลง่ ทอ่ งเท่ยี ว จังหวัดเชียงใหม่ ผาสิง หเ์ หลยี ว ผาสิงห์เหลียว ตั้งอยู่ที่พื้นที่ตำบลบ้านตาล มี ลกั ษณะทางธรณีวทิ ยา ลักษณะเป็นเสาดินที่มีความสูงประมาณ 50 เมตร เป็นบริเวณที่พบลักษณะธรณีสัณฐานท่ีโดดเด่น ผาสิงห์เหลียว มีลักษณะการเกิดของ แปลกตาที่เกิดจากขบวนการกัดเซาะ กัดกร่อนของ เ ส า ดิ น ค ล้ า ย ค ลึ ง กั บ ท่ี แ พ ะ เ มื อ ง ผี ช้ันตะกอน ทำให้ได้ทัศนียภาพท่ีสวยงามตาม จังหวัดแพร่ เป็นลักษณะธรณีสัณฐาน ธรรมชาตใิ นพ้ืนท่ ี ท่ีเกิดจากกระบวนการสึกกร่อนท่ีเกิดขึ้น กับช้ันตะกอนที่ยังไม่จับตัวกันจนแน่น แข็งเป็นช้ันหิน และมีคุณสมบัติการ คงทนตอ่ การกดั กรอ่ นแตกตา่ งกนั

33 อ.สะเม1ง096 121 อ.สันทราย 1269 อ.เมืองเชียงใหม่ ่ 1014 121 อ.สารภี อ.หางดง 121 1013 อ.สนั ป่ ่าตอง 108 11 1015 1234 อ.แม่ ว่ าง 1009 ชม.3028 อ.แม ่แ่ จ ่ม่ 108 1192 การเดนิ ทาง ➲ 1009 อ.ดอยหล่ อ่ เรม่ิ ตน้ จากอำเภอฮอด ใชท้ างหลวงหมายเลข อ.จอมทอง 1103 มงุ่ หนา้ มาทางอำเภอดอยเตา่ ประมาณ 1088 10 กิโลเมตร จะเห็นป้ายบอกทางซ้ายมือว่า “บ้านตาล” เข้าไปจนถึงบ้านตาลใต้ (มีป้าย 108 บอก) จนข้ามสะพานปูนเล็กๆ เลี้ยวซ้าย ตรงทางแยก ผาสิงห์เหลียวอยู่ห่างหมู่บ้าน 108 ชม.4009 ประมาณ 3 กโิ ลเมตร อ.ฮอด 108 1012 ชม.4011 ผาผสิงาหสเ์ หิงลหยี เ์วหลียว

ธรณวี ทิ ยาแหล่งท่องเทย่ี ว จงั หวัดเชียงใหม่ พุนำ้ ร ้อน เทพพนม พุน้ำร้อนเทพพนม ต้ังอยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติออบหลวง อยู่ในเขต ป่าแม่แจ่ม ตำบลท่าผา อำเภอแม่แจ่ม เป็นพุน้ำร้อนธรรมชาติเกิดจาก ความร้อนใต้พิภพ มีแรงดันพุ่งขึ้นมากระทบน้ำเย็นใต้ดินเกิดเป็นไอร้อน อยู่ตลอดเวลา ความร้อนสูงประมาณ 99 องศาเซลเซียส บริเวณ พนื้ ทเ่ี ป็นทร่ี าบประมาณ 10 ไร่ มลี ำหว้ ยเล็กๆ คอื หว้ ยโป่งไหลผา่ น จงึ มีท้ังธารนำ้ รอ้ นและนำ้ เย็นบรเิ วณเดียวกัน

35 ลกั ษณะทางธรณวี ทิ ยา พุน้ำร้อนเทพพนม เป็นพุน้ำร้อนแบบไกเซอร์ขนาดเล็ก และบ่อน้ำร้อน เกิดใน บริเวณที่ราบแคบๆ ระหว่างภูเขา พุน้ำร้อนบ่อใหญ่พุ่งข้ึนสูงประมาณ 2 เมตร ทุกๆ 30 วินาที หินท้องท่ีเป็นหินแกรนิตสัมผัสกับหินชั้นและหินแปรยุค ไซลเู รียนดีโวเนยี น โครงสรา้ งท่สี ำคญั ไดแ้ ก่ รอยเลื่อนแม่แสะ ซ่งึ เป็นรอยเล่อื นท่ี สัมพันธ์กับการเกิดของพุน้ำร้อน อัตราการไหลของน้ำร้อนประมาณ 20 ลิตร/ วินาที น้ำร้อนท่ีผุดข้ึนมาจะประกอบด้วยแร่ธาตุต่างๆ เป็นจำนวนมาก ทง้ั แร่กำมะถนั ฟลอู อไรต์ แบไรต์ เหล็ก แมงกานีส การเดนิ ทาง ห่างจากออบหลวง 14 กโิ ลเมตร แยกจากทางหลวงหมายเลข 108 ตรงกิโลเมตรท่ี 22 เข้าไปอีกประมาณ 9 กิโลเมตร ➲ อ.สะเม1ง096 121 อ.สนั ทราย 1269 อ.เมืองเชยี งใหม ่่ 1014 121 อ.สารภี อ.หางดง 121 1013 อ.สนั ป ่่าตอง 108 11 1015 1234 อ.แมว ่่ าง 1009 ชม.3028 อ.แม่ ่แจ่ ม่ 108 1192 1009 อ.ดอยหล ่อ่ อ.จอมทอง 1088 พพุน้ำนุ รำ้อรนเ้อทพนพเนทมพพนม 108 108 ชม.4009 อ.ฮอด 108 1012 ชม.4011

ธรณีวิทยาแหลง่ ทอ่ งเที่ยว จงั หวดั เชียงใหม่ เม่ือพิจารณาจากเส้นทางการเดินทางแล้ว เราสามารถจัดส่งเสริม บทส ่งท ้าย การท่องเท่ียวเชิงธรณีวิทยา (Geo-tourism) ของจังหวัดเชียงใหม่ แบ่งเปน็ 5 กลมุ่ ใหญๆ่ ได้ดงั น้ี 1. กลุ่มตอนบนของจังหวัด ประกอบด้วยแหล่ง ธรรมชาติที่โดดเด่นทางธรณีวิทยา คือ ถ้ำเชียงดาว พุน้ำร้อนฝาง รวมทั้งมีแหล่งท่องเท่ียวแนะนำอีก ไดแ้ ก่ ดอยหลวงเชยี งดาว พนุ ำ้ รอ้ นมะลกิ า นำ้ ตก ศรสี งั วาล และดอยอา่ งขาง 2. กลุ่มตัวเมืองเชียงใหม่และดอยสุเทพ - ปุย ประกอบด้วยแหล่งธรรมชาติทโี่ ดดเดน่ ทางธรณีวทิ ยา คอื นำ้ ตกหว้ ยแกว้ นำ้ ตกตาดหมอก รวมทงั้ มแี หลง่ ท่องเที่ยวแนะนำอีก ได้แก่ น้ำตกแม่สา อช.ดอย สุเทพ - ปุย และวัดพระธาตุดอยสุเทพวรวิหาร เปน็ ตน้ 3. กลุ่มด้านตะวันตกเฉียงเหนือ ประกอบด้วย แหล่งธรรมชาติท่ีโดดเด่นทางธรณีวิทยา คือ โป่ง เดอื ดปา่ แป๋ นำ้ ตกหมอกฟา้ รวมทง้ั มแี หลง่ ทอ่ งเทยี่ ว แนะนำอีก ได้แก่ อช.ห้วยน้ำดัง อีกทั้งสามารถ เดนิ ทางไปเทยี่ วอำเภอปาย และจงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน ไดอ้ กี ด้วย 4. กลมุ่ ดา้ นทศิ ตะวนั ออก ประกอบดว้ ยแหลง่ ธรรมชาติ ทโี่ ดดเดน่ ทางธรณวี ทิ ยา คอื ถำ้ เมอื งออน พนุ ำ้ รอ้ น สนั กำแพง และพนุ ำ้ รอ้ นดอยสะเกด็ 5. กลุ่มดอยอินทนนท์ ประกอบด้วยแหล่งธรรมชาต ิ ที่โดดเด่นทางธรณีวิทยา คือ น้ำตกแม่ยะ น้ำตก แมก่ ลาง นำ้ ตกวชริ ธาร นำ้ ตกสริ ภิ มู ิ รวมทงั้ มแี หลง่ ทอ่ งเทย่ี วแนะนำอกี ไดแ้ ก่ นำ้ ตกสริ ธิ าร สวนหลวง สิริภูมิ ยอดดอยอินทนนท์ และพระมหาธาตุ นภพลภมู สิ ริ ิ เปน็ ตน้ 6. กลุ่มด้านทิศใต้ ประกอบด้วยแหล่งธรรมชาติท ่ี โดดเดน่ ทางธรณวี ทิ ยา คอื ออบหลวง ผาสงิ หเ์ หลยี ว ผาวง่ิ ชู้ และพนุ ำ้ รอ้ นเทพพนม

1314 พนุ ำ้ มะลกิ า 1089 1089 แผนที่ธรณวี ิทยา แหล่งท่องเทย่ี ว 1089 ชม.6039 จงั หวดั เชยี งใหม่ ชม.3015 ชม.6039 1340 107 ชม.3004 1249 1340 107 109 1178 ชม.3001 1322 1178 ถำ้ ผาแดง-ถ้ำล่อง 1322 1346 ชม.3001 ดอยหลวงเชียงดาว 1178 1150 ถ้ำเชยี งดาว อ.เชียงดาว 1150 107 1095 1001 ชม.4024 1323 ชม.4020 นำ้ ตกหมอกฟ้า 1095 ชม.4235 1001 ชม.3010 ชม.3026 ชม.3010 ชม.3023 นำ้ ตกตาดหมอก 107 ชม.3010 118 1252 ชม.4027 น้ำตกวังฮาง ปางช้างดอยสะเกด็ ชม.5032 ชม.6033 1001 พชมุน.3ำ้00ร5้อนดอยสะเกด็ 121 ถ้ำหลวงแม่สาบ อ.สะเม1ิง096 ชม.3017 อ.ดอยสะเกด็ ชม.4074 น้ำตกแม่กำปอง 1269 พระธาตุดอยสเุ ทพ อ.สนั ทราย พนุ 1ำ้ 3ร1้อ7นสันกำแพง อ.เมอื งเชยี งใหม่ 1014 ถ้ำเมืองออน อ.แม12่อ3อ0น ชม.4021 1263 โคงการหลวงทงุ่ หลวง 121 อ.สันกำแพง 1229 อ.หางดง 121 อ.สารภี 1317 1270 108 นำ้ ตกแม่สะปอ๊ ก อ.สนั ป่าตอง 108 11 1015 ยอดดอยอนิ ทนนท์ 1013 ลพ.2031 1009 1234นำ้ ตกสิรภิ ูมิ ชม.3028 อ.แม่แจ่ม อ.แม่วาง 108 น้ำตกวชริ ธาร 1192 นำ้ ตกสิรธิ าร 1009 อ.ดอยหลอ่ นำ้ ตกทรายเหลอื งนำ้ ตกแนม้ำ่ยตะกแมก่ ลาง อ.จอมทอง 1088 พนุ ำ้ รอ้ นเทพพนม 108 108 ออบหลวง อ.ฮอด ชม.4009 108 1012 ผาวิง่ ช้ ู้ ผาสิงหเ์ หลยี ว ชม.4011 1103 1099 อ.ดอยเตา่ ทะเลสาบดอย1เ1ต0า่ 3 อ.อมกอ๋ ย 1099 จุดชมววิ ดอยมเู ซอ นำ้ ตกนางนอน

ธรณวี ิทยาแหลง่ ทอ่ งเที่ยว จงั หวดั เชียงใหม ่ ดชั นีคำศพั ทท์ างธรณวี ทิ ยา กระบวนการและโครงสรา้ ง เก่ยี วกบั หิน โครงสร้างรอยเลอ่ื นแบบแอ่งรอยเล่ือน ทร่ี าบหบุ เขา Valley plain หนิ ปนู แบบหนิ ปูนเน้อื โคลน Mudstone Fault Block Basin ตะพกั ลมุ่ นำ้ Terraces ธรณแี ปรสณั ฐาน Geotectonic ที่ราบน้ำท่วมถึง Flood-plains texture ลักษณะธรณสี ัณฐาน Geomorphology คนั ดินธรรมชาติ Natural levee หินแคลซิลเิ กต Cal silicate ลักษณะสัณฐาน Landform ตะพักลมุ่ นำ้ ระดับสูง High-terraces หนิ แกรนติ Granite กระบวนการผพุ ังอยู่กบั ที่ Weathering ตะพักลุ่มน้ำระดับต่ำ Low-terraces หนิ แกรนติ ชนดิ ไบโอไทต์ มัสโคไวต์ การกร่อน Erosion ลักษณะขึน้ ลงคลา้ ยลอนคลื่น Undulating รอยเลือ่ นปกติ Normal fault Biotite muscovite granite ตะพกั Terrace terrain หินฟลิ ไลต์ Phyllite เกดิ การถล่มพัง Slide ทร่ี าบตะกอนนำ้ พา Alluvial plain หนิ ซลิ มิ าไนต์ ไนส์ Sillimanite gneiss แนวแปรสมั ผสั Fault Contact เนนิ ตะกอนน้ำพารูปพดั Alluvial fan หินไบโอไทต์ ไนส์ Biotite gneiss แนวระนาบ Horizontal แอ่งสะสมตะกอน Depositional basin หินปูน Limestone หนิ งอก Stalactite เก่ียวกบั พุน้ำรอ้ น หินแกรโนไดโอไรต์ Grano-diorite หนิ ยอ้ ย Stalagmite พนุ ้ำร้อนท่ีพ่งุ ขน้ึ สูงจากพืน้ ดนิ เป็นช่วงๆ หินไนส์ Gneiss แคลเซียมคาร์บอเนต CaCO3 Calcium หนิ ดนิ ดาน Shale Carbonate ตามแรงดนั และอุณหภมู ิหรอื ไกเซอร์ หนิ กรวดมน Conglomerate กระบวนการเกดิ ภมู ปิ ระเทศแบบคาสต์ Geyser type ทรายแปง้ Siltstone Karstification น้ำเย็นบนผิวดนิ หรอื น้ำฝน Meteoric หินทราย Sandstone หินทอ้ งที่ Country rocks Water หินควอร์ตไซต์ Quartzite ชัน้ บางถึงชนั้ หนามาก Thin bedded to พุน้ำร้อนแบบบ่อน้ำร้อน Hot pool type หนิ ไมกาซีสต์ Quartz – mica schist Massive bed ไอน้ำของหินหนืดทเี่ ยน็ ตวั Magmatic หนิ ออ่ น Mable รอยเล่อื น Fault zone Water หนิ อคั นี Igneous Rock รอยชั้นไม่ตอ่ เน่อื งเชิงมุม Angular น้ำทีก่ กั เก็บในชอ่ งวา่ งระหว่างเมด็ แร่ หนิ แกรนติ ชนดิ ไมกา้ เฟลดส์ ปาร์ unconformity ประกอบหนิ Connate Water ชน้ั บางๆ Lamination พุนำ้ ร้อน Hot spring Micafeldspartic granite ช้ันเฉยี งระดบั Cross-bedding เกี่ยวกับแร ่ หินมกิ มาไทต์ Migmatite กอ้ นปูนพอก Lime concretion แรค่ วอตซ์ Quartz หนิ ดนิ ดานฟิลลติ กิ phyllitic shale การคดโค้งแบบมุมแคบ Isoclinal’s tight แรเ่ ฟลดส์ ปาร์ Feldspar หนิ ออโธไนส์ Ortho Gneiss fold แร่มสั โคไวต์ Muscovite หินพาราไนส์ Para Gneiss การคดโคง้ ตลบกลับ Overturn fold แรไ่ บโอไทต์ Biotite เกี่ยวกับอายุทางธรณ ี เทอื กเขา Mountain ranges แรไ่ มกาซสี ท์ Mica schist ยคุ พรแี คมเบรยี น Pre Cambrian (มากกวา่ ท่ลี มุ่ ล้อมรอบด้วยเทอื กเขาหรอื แอ่ง แร่แอมฟโิ บล Amphibole facies Basins เกยี่ วกบั ซากดกึ ดำบรรพ์ 570 ลา้ นป)ี รอยเล่อื นแบบระนาบ Strike-slip faults ฟวิ ซูลินิด Fusulinid ยคุ แคมเบรยี น Cambrian (570 - 500 ลา้ นป)ี แรงดงึ Extension โคโนดอนต์ Cronodon ยคุ ออรโ์ ดวเิ ชยี น Ordovician (500 - 435 หุบเขาหรอื แอง่ หุบเขา Intermontane แกรปโตไลต์ Gaptolith แบรคิโอพอด Braciopod ลา้ นป)ี ยคุ ไซลเู รยี น Silurian (435 - 395 ลา้ นป)ี basins ยคุ ดโี วเนยี น Devonian (395 - 345 ลา้ นป)ี การเกดิ ธรณแี ปรสัณฐาน Tectonism ยคุ คารบ์ อนเิ ฟอรสั Carboniferous (345 - ธรณีวิทยาโครงสรา้ ง Structural geology สนั ปนั น้ำ Watershed 280 ลา้ นป)ี ยคุ เพอรเ์ มยี น Permian (280 - 230 ลา้ นป)ี ยคุ ไทรแอสสกิ Triassic (230 - 195 ลา้ นป)ี ยคุ จแู รสสกิ Jurassic (195 - 144 ลา้ นป)ี ยคุ ครเี ตรเชยี ส Cretaceous (144 - 60 ลา้ นป)ี

39 บรรณาน กุ รม กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงอุตสาหกรรม. ธรณีวิทยาจังหวัดเชียงใหม่ และพื้นที่ใกล้เคียง ธันวาคม 2539. หนา้ 21 - 30 กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงอุตสาหกรรม. ธรณีวิทยาประเทศไทย : เฉลิมพระเกียรติพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ พมิ พ์ครัง้ ท่ี 1 : กรุงเทพฯ, 2544 หนา้ 19 - 20 กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. แหล่งท่องเที่ยวทาง ธรณวี ทิ ยา พมิ พ์คร้งั ท่ี 1 : กรุงเทพฯ, 2547 หน้า 19 การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ศูนย์ข้อมูลการท่องเที่ยว ททท. จังหวดั เชยี งใหม่ กรุงเทพฯ กนั ยายน พ.ศ. 2548 กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม ร่วมกับ สำนักงานนโยบายและแผนส่ิงแวดล้อม กระทรวง วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและส่ิงแวดล้อม. แหล่งธรรมชาติอันควรอนุรักษ์ของ ภาคเหนือ พิมพ์ครั้งแรก มถิ นุ ายน พ.ศ. 2543 : กรงุ เทพฯ หนังสอื เพื่อนทอ่ งเท่ียว Friend Travel/เทย่ี วดั่งใจ ไปดังเพอ่ื น ของมลู นิธสิ ืบ นาคะเสถียร พจนานุกรมศัพทธ์ รณี ฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. 2544 http:// 61.19.145.8/student/web42106/509/5090917/index.html www.lannafood.com http://palidalovelovemakoto.multiply.com/journal/item/13 http://th.wikipedia.org/


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook