Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore electronic home

electronic home

Description: electronic home

Search

Read the Text Version

สาระนา รูเร่อื งการอนรุ กั ษพลงั งาน

เครื่องใชไ้ ฟฟา้ โดยทว่ั ไป “เครอ่ื งใชไฟฟา้ ” ภายในบา้ น มกั มกี ารใชพลงั งานสงู แทบทกุ ชนดิ ดงั นนั้ ผู้ใชควรตอ้ งมคี วามรแู้ ละทราบถงึ วธิ กี ารใชเครอ่ื งใชไฟฟา้ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ เพอ่ื ลดคา่ ไฟฟา้ ภายในบา้ นและปญั หาในเรอ่ื งการใชพลงั งานอยา่ งผดิ วธิ ดี ว้ ย ในทน่ี จี้ ะกลา่ วถงึ เครอ่ื งใชไฟฟา้ 8 ประเภททม่ี ใี ชกนั ทว่ั ไป คอื เครอ่ื งทำนำ้ อนุ่ ไฟฟา้ เตารดี ตเู้ ยน็ โทรทศั น์ พดั ลม กระตกิ นำ้ รอ้ นไฟฟา้ ปมั นำ้ และเครอ่ื งดดู ฝนุ่ 1. เครื่องทำนำ้ อุ่นไฟฟ้า เครื่องทำน้ำอุ่นไฟฟ้า สามารถแบ่ง ตามลักษณะของการใชงานได้ 2 ประเภท คือ 1. เคร่ืองทำนำ้ อุ่นแบบจดุ เดียว 2. เครื่องทำนำ้ อุ่นแบบหลายจดุ ซ่ึง ผลิตน้ำร้อนได้มาก แต่ใชไฟฟ้ามากกว่าแบบ จดุ เดียว ส่วนประกอบและการทำงาน เครื่องทำน้ำอุ่นไฟฟ้าเป็นอุปกรณ์ทีทำให้น้ำร้อนข้ึน โดยอาศัยการพา ความรอ้ นจากขดลวดความร้อน (Electrical Heater) ขณะทีกระแสน้ำไหลผ่าน ส่วนประกอบหลักของเครื่องทำนำ้ อุ่น คอื ฉนวน ทางระบายอากาศ ตัวถังน้ำ จะบรรจนุ ้ำซึ่งจะถูกทำให้ร้อน ท่อกันน้ำหยด ขดลวดความร้อน เปน็ อุปกรณท์ ี่ให้ความรอ้ น อุปกรณ์ควบคมุ อณุ หภูม ิ กับนำ้ ขดลวดความรอ้ น อุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิ จะทำหน้าทีตัด ฝาครอบกันน้ำปั่นป่วน กระแสไฟฟ้าเมื่ออุณหภูมิของน้ำถึงระดับที่เรา วาล์วชนิดน้ำไหลทางเดียว ตัง้ ไว้ วาล์วควบคุม ท่อนำ้ เยน็ นำ้ อุ่นออก

การใชอ้ ย่างถูกวิธีและประหยัดพลังงาน • เลือกเครื่องทำน้ำอุ่นใหเ้ หมาะสมกับการใช้ สำหรับบ้านทั่วไปเครื่องทำ น้ำอุ่นขนาดไม่เกิน 4,500 วัตต์ ก็น่าจะเพียงพอ ซึ่งจะชวยทั้งประหยัดไฟฟ้าที่ใชใน เครื่องทำนำ้ อุ่นและปัมน้ำ • ตัง้ อุณหภูมนิ ้ำไมส่ ูงจนเกนิ ไป (ปกตอิ ยู่ในชวง 35-45 C) • ใชหัวฝักบัวชนิดประหยัดน้ำ เพราะประหยัดนำ้ ได้ถงึ 25-75% • ใชเครอื่ งทำนำ้ อนุ่ ทมี่ ถี งั นำ้ ภายในตวั เครอื่ งและมฉี นวนหมุ้ เพราะสามารถ ลดการใชพลังงานไดม้ ากกว่าชนิดที่ไม่มีถังนำ้ ภายใน 10-20% • ปิดวาล์วนำ้ และสวิตซ์ทันทีเมือ่ เลกิ ใชง้ าน • ไมเ่ ปดิ เครอื่ งตลอดเวลาขณะฟอกสบอู่ าบนำ้ หรอื ขณะสระผม ประหยดั ทงั้ นำ้ และไฟฟ้า การดูแลรักษา • หมั่นตรวจสอบการทำงานของเครื่องให้มีสภาพดีอยู่เสมอ โดยเฉพาะ อย่างย่ิงระบบความปลอดภัยของเคร่ือง • ตรวจดูระบบท่อน้ำและรอยตอ่ อยา่ ให้มีการรั่วซึม • เมื่อพบความผิดปกติในการทำงานของเครื่อง ควรให้ช่างผู้ชำนาญ ตรวจสอบ

2. โทรทัศน์ ในอดตี โทรทศั นใชเทคโนโลยแี บบหลอดภาพ Cathode Ray Tube (CRT) ที่มีการใชพลังงานสูง แต่ในปัจจุบันมีวิวัฒนาการซึ่งทำใหโทรทัศนใชพลังงานน้อยลง ดังจะเห็นไดจ้ ากโทรทัศน์ประเภท Plasma และ LCD ซ่ึงเร่ิมมีการผลิตและใชอย่าง แพรห่ ลายในปจั จบุ นั ในแงก่ ารใชพลงั งานกวา่ 70% ใชไปกบั การแสดงภาพบนหนา้ จอ โทรทัศน์ สว่ นประกอบและการทำงาน โทรทัศน์เป็นอุปกรณ์ทีแปลงสัญญาณคลืนแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นภาพด้วยวงจร อิเล็กทรอนิกสทีมีความซับซอน ส่วนประกอบของโทรทัศน์พอสรุปให้เห็นได้ชัดเจน ดังนี้ คือ 1. สว่ นประกอบภายนอก คอื ตวั โครงทห่ี มุ้ หอ่ อปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ จอภาพ ซึ่งจะมีการเคลือบสารพิเศษทางด้านใน ปุ่มหรือสวิตซต่างๆ และจุดเสียบสายอากาศ เปน็ ตน้ 2. สว่ นประกอบภายใน คอื อปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ตวั รบั เปลย่ี นสญั ญาณทม่ี า ในรปู ของคลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ เปน็ ภาพและเสยี ง สว่ นประกอบของจอภาพและระบบเสยี ง รวมทัง้ ลำโพง เปน็ ตน้

พลังงานที่ใช้ในโทรทัศน์ จะข้ึนอยู่กับเทคโนโลยีและขนาดของ โทรทัศน์ โดยขนาดของโทรทัศน์ ระบุด้วยความยาวเส้นทะแยงของ มุมจอภาพ * มีหน่วยเป็นวัตต์ การเลือกใชอ้ ยา่ งถูกวธิ ีและประหยัดพลังงาน • การเลือกใช้โทรทัศน์ควรคำนึงถึงความต้องการใช้งาน โดยพิจารณา จากขนาดและการใชกำลังไฟฟ้า สำหรับเทคโนโลยีเดียวกัน โทรทัศน์ที่มีขนาดใหญ่ ยง่ิ กนิ ไฟมากข้นึ • อย่าเสียบปลั๊กทิ้งไว้ เพราะโทรทัศน์จะมีไฟฟ้าหล่อเลี้ยงระบบภายใน อยตู่ ลอดเวลา จะทำใหส้ นิ้ เปลอื งไฟ และอาจกอ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายในขณะเกดิ ฟา้ แลบได ้ • ปดิ และถอดปลกั๊ ทนั ทเี มอื่ ไมม่ คี นดู หากใครทช่ี อบหลบั หนา้ โทรทศั นบ์ อ่ ยๆ ควรใชโทรทัศน์รุ่นที่ตัง้ เวลาปิดโดยอัตโนมัติ เพื่อชวยประหยัดไฟฟา้

• หากชมโทรทศั นช์ องเดยี วกนั ควรดดู ว้ ยกนั ประหยัดทัง้ ค่าไฟ อบอุน่ ใจได ้ อยดู่ ว้ ยกนั ทงั้ ครอบครวั • เลกิ เปดิ โทรทศั นล์ ว่ งหนา้ เพอ่ื รอดรู ายการทช่ี น่ื ชอบ เปดิ ดรู ายการเมอ่ื ถงึ เวลา ออกอากาศ • ไม่ควรปรับจอภาพให้สว่างมากเกินไปและไม่เปลี่ยนช่องบ่อย เพราะ จะทำให้หลอดภาพมีอายุสั้น และสนิ้ เปลอื งไฟฟ้าโดยไม่จำเปน็ ดูชองเดียวกัน ดูดว้ ยกัน ทั้งมันทัง้ สนกุ สานสัมพันธ์ครอบครัว การดูแลรักษา การดูแลรักษาและใช ทรทัศนให้ถูกวธิ ี นอกจากจะชวยใหโทรทัศน์เกดิ ความ คงทน ภาพทีได้คมชัด และมีอายุการใชงานยาวนานขึ้นแล้ว ผลพลอยได้อีกส่วนหนึ่ง ก็คือประหยัดพลังงาน • ควรวางโทรทัศน์ไว้ในจุดที่มีการถ่ายเทอากาศได้ดี เพือให้เครือง สามารถระบายความรอ้ นไดส้ ะดวก • หมั่นทำความสะอาดเป็นประจำเพื่อลดปริมาณฝนุ่ ละอองที่เกาะบน จอภาพ ซ่ึงจะชวยให้ไม่ต้องเพิ่มความสว่างของจอภาพ และสามารถลดพลังงานได ้ • ใช้ผ้านุ่มเช็ดตัวเครื่องโทรทัศน์ ส่วนจอภาพควรใช้ผงซักฟอกอย่าง อ่อน หรือ น้ำยาล้างจานผสมกับน้ำ เช็ดเบาๆ จากนั้นเช็ดด้วยผ้านุ่มให้แห้ง โดย ไม่ลมื ถอดปลั๊กออกก่อนทำความสะอาด

3. พัดลม พดั ลมท่ีใชในบา้ นเปน็ อปุ กรณห์ ลกั ที่ชวยในการหมุนเวียนอากาศ และระบาย ความรอ้ นภายในบา้ น ในปจั จบุ นั พดั ลมท่ีใช มหี ลากหลายลกั ษณะและประเภทข้ึนอยู่กับ การใชงาน สว่ นประกอบและการทำงาน สวนประกอบหลักของพัดลม ได้แก่ ใบพัด ตะแกรงคลุมใบพัด มอเตอร์ ไฟฟ้า สวติ ชควบคมุ การทำงาน และกลไกควบคมุ การหมุนและสาย หัวมอเตอร ์ ใบพัด ตะแกรงหนา้ ตะแกรงหลัง ตัวยดึ ใบพัดกับแกนมอเตอร์ สวติ ซ์เปิด - ปดิ และปรับความแรง ของพัดลม ปัจจุบันมีการกำหนดฉลากประสิทธิภาพพลังงาน พัดลมทีประหยัดพลังงาน จะต้องมีฉลากเบอร์ 5 เนืองจากพัดลมสามารถชวยสร้างความสบายให้กับผู้อาศัย ภายในบา้ นได้ ดงั นนั้ หากเปน็ ไปไดก้ ารใชพดั ลมแทนการเปดิ เครอ่ื งปรบั อากาศจะชวย ลดคา่ ไฟฟ้าในบา้ นลงไดอ้ ย่างมาก

การใช้อยา่ งถูกวิธีและประหยัดพลังงาน • เลือกใช้ความแรงของลมให้เหมาะกับความต้องการ ความแรงของลม ย่ิงมากย่ิงเปลืองไฟ • ปิดพัดลมทันทีเมือ่ ไมใ่ ช้งาน • ในกรณีทีพัดลมมีระบบรีโมทคอนโทรล อย่าเสียบปลั๊กท้ิงไว้ เพราะจะมี ไฟฟ้าหล่อเลี้ยงอุปกรณต์ ลอดเวลา • ควรวางพัดลมในที่มีอากาศถ่ายเทสะดวก เพราะพัดลมใชหลักการ ดูดอากาศจากบริเวณรอบๆ ทางด้านหลังของตัวใบพัด แล้วปล่อยออกสูด้านหน้า เชน ถ้าอากาศบริเวณรอบพัดลมมีการถ่ายเทดี ไม่ร้อนหรืออับชื้น เราก็จะได้รับ ลมเย็นและรู้สึกสบายและยังทำให้มอเตอร์ยังสามารถระบายความร้อนได้ดี ยืดอายุ การใชงาน การดูแลรักษา การดูแลรักษาพัดลมอย่างสม่ำเสมอ จะชวยให้พัดลมทำงานได้เต็มประสิทธิภาพ และยังชวยยดื อายุการทำงาน • หมนั่ ทำความสะอาดตามจดุ ตา่ งๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ใบพัด และตะแกรงครอบ ใบพัด อย่าให้ฝุ่นละอองเกาะจับ และต้อง ดูแลให้มีสภาพดีอยู่เสมอ อย่าให้แตกหักหรือ ชำรุด หรือโค้งงอผิดส่วนจะทำให้ลมทีออกมา มีความแรงของลมลดลง • หมั่นทำความสะอาดช่องลมตรงฝาครอบมอเตอร์ของพัดลม ซึ่งเป็น ชองระบายความร้อนของมอเตอร์ อย่าให้มีคราบน้ำมันหรือฝุ่นละอองเกาะจับ เพราะจะทำใหป้ ระสทิ ธิภาพของมอเตอรล์ ดลง และสน้ิ เปลอื งไฟฟา้ มากขนึ้

4. กระตกิ น้ำร้อนไฟฟา้ กระตกิ นำ้ รอ้ นไฟฟา้ เปน็ อปุ กรณไฟฟา้ ทส่ี นิ้ เปลอื งไฟฟา้ สงู ประเภทหนง่ึ หากเรารู้จักใช อยา่ งถกู วธิ กี จ็ ะชวยใหป้ ระหยดั คา่ ใชจา่ ย ใชไฟฟา้ ได้นอ้ ยลงได ้ สว่ นประกอบและการทำงาน ส่วนประกอบหลักของกระติกนำ้ รอ้ นไฟฟา้ ประกอบดว้ ยขดลวดความรอ้ น (Electrical Heater) อยู่ด้านล่างของกระตกิ และอปุ กรณค์ วบคมุ อุณหภูมิ (Thermostat) เปน็ อปุ กรณ์ควบคมุ การทำงาน • หลกั การทำงานของกระตกิ นำ้ รอ้ น ที่กดนำ้ คือ เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวด จะเกิด ตัวหมุนล๊อคที่กดนำ้ ความรอ้ น และถ่ายเทไปยังน้ำภายในกระติก ปุ่มล๊อค ทำใหน้ ำ้ มอี ณุ หภมู สิ งู ขน้ึ จนถงึ จดุ เดอื ด อปุ กรณ์ ฝาปิดดา้ นใน ควบคมุ อณุ หภมู จิ ะตดั กระแสไฟฟา้ ในวงจรหลกั ออกไป แตย่ งั คงมกี ระแสไฟฟา้ ไหลผา่ นขดลวด ตัวกระตกิ ด้านใน ความร้อน โดยไหลผ่านหลอดไฟสัญญาณอุ่น เคลอื บดว้ ยสาร ซง่ึ หลอดไฟสญั ญาณอนุ่ จะสวา่ งขนึ้ เมอ่ื อณุ หภมู ิ Poly-Flon ของนำ้ รอ้ นภายในกระตกิ ลดลงจนถงึ จดุ ๆหนง่ึ อุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิจะทำงานโดยปล่อย ที่ดูระดับน้ำ ให้กระแสไฟฟ้าผ่านขดลวดความร้อนเต็มที่ทำ ไฟแสดงการต้ม ไฟแสดงการอุ่น ให้น้ำเดือดอีกครัง้

• การปลอ่ ยนำ้ ออกจากกระตกิ ทำไดโดยกดทฝ่ี ากดอากาศ ซง่ึ อยทู่ างดา้ นบน อากาศจะถูกอัดเข้าไปภายในกระติกโดยผ่านทางรูระบายอากาศของฝาปิดภายในของ กระตกิ ดงั นนั้ ภายในกระตกิ จงึ มแี รงกดดนั ทม่ี ากพอทจ่ี ะทำใหน้ ำ้ ทอ่ี ยภู่ ายในวง่ิ ขนึ้ ไป ตามท่อและออกทางพวยกระตกิ ได ้ กระตกิ นำ้ รอ้ นไฟฟา้ โดยทว่ั ไปทม่ี จี ำหนา่ ยในทอ้ งตลาดจะมขี นาดความจตุ งั้ แต่ 2-4 ลติ รและใชกำลังไฟฟ้าระหว่าง 500-1,300 วัตต์ การใช้อย่างถูกวธิ ีและประหยัดพลังงาน • เลือกซือ้ รุ่นที่มีตรามาตรฐานอุตสาหกรรม • ใสน่ ำ้ ให้พอเหมาะกับความตอ้ งการหรือไม่สูงกวา่ ระดับทีก่ ำหนดไว้ เพราะนอกจากไม่ประหยัดพลังงาน ยังทำใหก้ ระตกิ เกดิ ความเสียหาย ไม่เอานำ้ เยน็ ใส่กระตกิ นำ้ ร้อนทันที นะครับ เคร่ืองตอ้ ง ทำงานหนักและเปลืองไฟ • ระวงั อยา่ ใหน้ ำ้ แหง้ หรอื ปลอ่ ยใหร้ ะดบั นำ้ ตำ่ กวา่ ขดี ทกี่ ำหนด เพราะเมอ่ื นำ้ แห้งจะทำใหเ้ กดิ ไฟฟ้าลัดวงจรในกระติกน้ำรอ้ น เปน็ อันตรายอย่างย่ิง • ถอกปลั๊กเมื่อเลิกใช้น้ำร้อนแล้ว เพื่อลดการส้ินเปลืองพลังงาน ไม่ควร เสียบปลั๊กตลอดเวลา แต่หากมีความต้องการใชน้ำร้อนเป็นระยะๆ ติดต่อกัน เชน ในที่ทำงานบางแห่งที่มีน้ำร้อนไว้สำหรับเตรียมเครื่องดื่มต้อนรับแขกกไม่ควรดึงปลั๊ก ออกบอ่ ยๆ เพราะทกุ ครงั้ เมอ่ื ดงึ ปลก๊ั ออกอณุ หภมู ขิ องนำ้ จะคอ่ ยๆ ลดลง กระตกิ นำ้ รอ้ น ไม่สามารถเก็บความร้อนได้นาน เมื่อจะใชงานใหม่ก็ต้องเสียบปลักและเริ่มต้มน้ำใหม่ ซ่ึงเปน็ การส้นิ เปลืองพลังงาน

• อย่านำส่งิ ใดๆ มาปดิ ช่องไอนำ้ ออก • ตรวจสอบการทำงานของอปุ กรณค์ วบคมุ อณุ หภมู ิ ใหอ้ ยู่ในสภาพใชงาน ได้เสมอ • ไมค่ วรตั้งไว้ในหอ้ งทีม่ ีการปรับอากาศ การดูแลรักษา การดแู ลรกั ษากระตกิ นำ้ รอ้ นใหม้ อี ายกุ ารใชงานนานขน้ึ ลดการใชพลงั งานลง และป้องกันอุบัติเหตุ หรอื อันตรายที่อาจจะเกดิ ขึ้น • หมัน่ ตรวจดูสายไฟฟา้ และขั้วปลั๊ก • ควรต้มน้ำที่สะอาดเท่านั้น มิฉะนั้นผิวในกระติกอาจเปลี่ยนสี เกิดคราบ สนมิ และตะกรัน • หมั่นทำความสะอาดตัวกระติกดา้ นใน อยา่ ให้มีคราบตะกรัน ซ่ึงจะเปน็ ตัวต้านทานการถ่ายเทความร้อนจากขดลวดความร้อนไปสู่น้ำ เพิ่มเวลาการต้มน้ำ และสูญเสียพลังงานโดยเปล่าประโยชน์ • เมื่อไม่ต้องการใชกระติก ควรล้างกระติกด้านในให้สะอาด แล้วคว่ำ กระติกลง เพ่ือใหน้ ำ้ ออกจากตัวกระติก แล้วใชผ้าเชด็ ดา้ นในให้แหง้ • ควรทำความสะอาดส่วนต่างๆ ของกระตกิ ตามคำแนะนำต่อไปนี้ - ตวั และฝากระตกิ ใชผา้ ชบุ นำ้ บดิ ให้ หมาดแลว้ เชด็ อย่างระมัดระวัง กระติกนำ้ รอ้ น - ฝาปดิ ดา้ นใน ใชนำ้ หรอื นำ้ ยาลา้ งจาน ขนาด 2.5 ลติ ร 600 วัตต์ ล้างใหส้ ะอาด หากตม้ นำ้ ทีละครึ่งกระตกิ - ตัวกระติกด้านใน ใชฟองน้ำชุบน้ำ จะประหยัดกว่าตม้ นำ้ เตม็ กระติกถึง 46% (ถ้าเสียบปลั๊กตลอดเวลา) เชด็ ใหท้ ว่ั ลา้ งใหส้ ะอาดดว้ ยนำ้ โดยอยา่ ราดนำ้ ลงบนสวนอื่นของตัวกระติก นอกจากภายใน กระตกิ เทา่ นนั้ อยา่ ใชของมคี มหรอื ฝอยขดั หมอ้ ขดู หรอื ขดั ตวั กระตกิ ดา้ นใน เพราะจะทำใหส้ ารเคลอื บ หลดุ ออกได ้

6. เตารีดไฟฟา้ เตารีดไฟฟ้าเป็นเครื่องใชไฟฟ้าที่มีใชกัน รีดผ้าครัง้ ละมากๆ แทบทุกครัวเรือน หากเปรียบเทียบกับเครื่องใช ช่วยประหยัดไฟค่ะ ไฟฟ้าอื่นๆ เตารีดจัดเป็นเครื่องใชไฟฟ้าที่ใชกำลัง ไฟฟ้าสูง การทราบแนวทางการเลือกซื้อและ ใชงานอย่างถูกวธิ ีจะสามารถลดการใชไฟฟา้ ลงได ้ ในท้องตลาด เตารีดสามารถแบ่งได ้ 3 ลักษณะ คือ เตารีดแบบธรรมดา แบบมีไอน้ำ และแบบกดทับ ส่วนประกอบและการทำงาน เตารีดแต่ละประเภทมีส่วนประกอบสำคัญ 3 ส่วน คือ • ไส้เตารีด ทำมาจากโลหะผสมระหว่างนิกเกิลและโครเมียม ทำหน้าที ให้กำเนิดความร้อนเมื่อได้รับกระแสไฟฟ้า โดยความร้อนจะมากหรือน้อยขึ้นกับ ส่วนผสมของโลหะและความยาวขดลวด • เทอรม์ อสแตต ทำหนา้ ทป่ี รบั ความรอ้ นของไสเ้ ตารดี ใหส้ มำ่ เสมอกบั ระดบั ที่ได้ตั้งไว ้ • แผ่นโลหะดา้ นล่างของเตารีด ทำหนา้ ที่เปนตัวกดทับเวลารีด

การใช้อยา่ งถูกวธิ ีและประหยัดพลังงาน ในการใชเตารีดอย่างประหยัดพลังงาน เราไม่ควรที่จะลดปริมาณความรอ้ น ที่ใชในการรีดลง แต่ควรใชเตารีด รีดผ้าอย่างรวดเร็วที่ระดับความร้อนที่เหมาะสม กับความหนาและชนดิ ของผา้ รวมทั้งควรปฏิบัตดิ ังนี ้ • ควรเก็บผา้ ที่รอรีดใหเ้ รียบรอ้ ย และให้ผา้ ยับน้อยที่สุด • ควรแยกประเภทผา้ หนาและผา้ บาง เพื่อความสะดวกในการรีด • ควรรวบรวมผา้ ทจ่ี ะรดี แตล่ ะครงั้ ใหม้ ากพอ การรดี ผา้ ครงั้ ละชดุ ทำใหส้ น้ิ เปลอื ง ไฟฟา้ มาก • ไมค่ วรพรมนำ้ มากจนเกนิ ไป เพราะจะทำใหส้ ญู เสยี ความรอ้ นจากการรดี มาก • ควรเรม่ิ รดี จากผา้ บางๆ หรอื ตอ้ งการความรอ้ นนอ้ ยกอ่ น จากนนั้ จงึ รดี ผา้ ทต่ี อ้ งการความร้อนสูง และควรเหลือผ้าที่ต้องการความร้อนน้อยส่วนหนึ่ง ไว้รีด ในตอนทา้ ย • ควรถอดปลั๊กก่อนเสร็จส้นิ การรีด 3-4 นาที การดูแลรักษา • ตรวจดูหน้าสัมผัสเตารีด หากพบคราบสกปรก ให้ใชฟองน้ำชุบน้ำยา ทำความสะอาดเช็ดออก เพราะคราบสกปรกจะเป็นตัวต้านทานความร้อน ทำให ้ สนิ้ เปลืองไฟฟา้ มากขึ้นในการเพ่ิมความรอ้ น • สำหรับเตารีดไอน้ำ น้ำที่ใชควรเป็นน้ำกลั่นเพื่อป้องกันการเกิดตะกรัน ซ่ึงตะกรันจะเปน็ สาเหตุของการเกิดความตา้ นทานความรอ้ น • เมื่อเกิดการอุดตันของชองไอน้ำ ซึ่งเกิดจากตะกรันในเตารีดไอน้ำ เราสามารถกำจัดได้โดยเติมน้ำส้มสายชูในห้องเก็บน้ำ แล้วเสียบสายไฟให้เตารีด ร้อนเพื่อทำให้น้ำส้มสายชูกลายเป็นไอ จากนั้นเติมน้ำลงไป เพื่อล้างน้ำส้มสายชูออก ใหห้ มด แลว้ จงึ ใชแปรงเล็กๆ ทำความสะอาดชองไอน้ำ • การใชเตารีดไปนานๆ แมว้ ่าจะไม่เกิดการเสียหายชำรุด ก็ควรมีการตรวจ หรอื เปลย่ี นอปุ กรณภ์ ายในบางอยา่ ง รวมทงั้ สายไฟทต่ี อ่ กนั อยซู่ ง่ึ อาจชำรดุ เสอ่ื มสภาพ ทำให้วงจรภายในทำงานไม่สมบูรณ ์

ตั้งตู้เย็นใหห้ ่าง 8. ตูเ้ ย็น จากผนังไม่นอ้ ยกว่า 10 เซนติเมตรครับ ตู้เย็น เป็นอุปกรณ์ที่มีใช แพรห่ ลายในครวั เรอื น เปน็ อปุ กรณ์ ทำความเยน็ เพอ่ื ถนอมอาหารโดยการ ลดอณุ หภมู ิ ตเู้ ยน็ เปน็ อปุ กรณท์ ่ีใช พลงั งานตลอด 24 ชว่ั โมง ดงั นนั้ การเลอื กและใชตเู้ ยน็ อยา่ งเหมาะสม จะชวยประหยัดพลังงานไดม้ าก สว่ นประกอบและการทำงาน อปุ กรณห์ ลกั ๆ ทท่ี ำใหภ้ ายในตเู้ ยน็ เกดิ ความเยน็ ประกอบดว้ ย • คอมเพรสเซอร์ ทำหน้าที่ในการอัดและดูดสารทำความเย็นให้หมุนเวียน ในระบบของตเู้ ยน็ • แผงทำความเยน็ มหี นา้ ทก่ี ระจายความเยน็ ภายในตเู้ ยน็ • แผงระบายความรอ้ น เปน็ ส่วนที่ใชระบายความรอ้ นของสารทำความเยน็ แผงระบายความรอ้ นนตี้ ดิ ตงั้ อยดู่ า้ นหลงั ของตเู้ ยน็ • ตวั ตเู้ ยน็ ทำจากโลหะและอดั ฉดี โฟมอยรู่ ะหวา่ งกลาง เพอ่ื ทำหนา้ ทเ่ี ปน็ ฉนวน กนั ความรอ้ นจากภายนอก โดยปกติ เราระบขุ นาดของตเู้ ยน็ เปน็ ควิ หรอื ลกู บาศกฟ์ ตุ • อปุ กรณ์อ่ืนๆ เชน อุปกรณ์ควบคุมอณุ หภูมิ สวิตชโอเวอรโหลด พัดลม กระจายความเยน็ ฯลฯ การทำความเย็นของตู้เย็นต้องอาศัยวงจรทำความเย็น เมื่อเราเสียบปลั๊ก ไฟฟา้ ใหก้ บั ตเู้ ยน็ คอมเพรสเซอรจ์ ะดดู และอดั ไอสารทำความเยน็ ใหม้ คี วามดนั สงู ขนึ้ และ ไหลไปยังแผงระบายความร้อนเพื่อถ่ายเทความร้อนสู่สิ่งแวดล้อมภายนอกและเปลี่ยน สถานะเป็นของเหลว หลังจากนั้นจะไหลผ่านวาล์วควบคุมสารทำความเย็นเพื่อลด ความดัน และไหลต่อไปที่แผงทำความเย็นเพื่อดูดความร้อนจากอาหารและเครื่องดื่ม ทแ่ี ชอยู่ในตเู้ ยน็ ณ จดุ นี้ สารทำความเยน็ กจ็ ะเปลย่ี นสถานะกลายเปน็ ไอและกลบั ไปยงั คอมเพรสเซอรเ์ พอ่ื เรม่ิ วงจรทำความเยน็ ใหมอ่ กี ครงั้

การใช้อย่างถูกวธิ ีและประหยัดพลังงาน • ค่าไฟฟ้าจะเพ่ิมตามจำนวนครั้งของการเปิด-ปิดตู้เย็น เพราะเมื่อเปิด ตเู้ ยน็ ความรอ้ นภายนอกจะไหลเขา้ ตเู้ ยน็ ทำใหค้ อมเพรสเซอรต์ อ้ งทำงานหนกั มากขนึ้ เพ่ือรักษาอุณหภูมิภายในตเู้ ยน็ ใหค้ งเดิมตามที่ตัง้ ไว ้ • ถ้าอุณหภูมิโดยรอบสูงขึ้น ปริมาณความร้อนจะถูกถ่ายเทเข้าไปในตู้เย็น มากขน้ึ เปน็ การเพม่ิ ภาระใหก้ บั ระบบทำความเยน็ ดงั นนั้ จงึ ไมค่ วรตดิ ตงั้ ตเู้ ยน็ ใกลก้ บั แหล่งกำเนดิ ความรอ้ นใดๆ หรอื รับแสงอาทิตยโ์ ดยตรง • ไม่เก็บอาหารในตู้เย็นมากเกินไป เพราะจะทำให้อุณหภูมิในตู้เย็นไม่ สมำ่ เสมอ ควรใหม้ ีชองว่าง เพ่ือใหอ้ ากาศภายในไหลเวียนไดส้ ม่ำเสมอ • ถา้ นำอาหารที่มีอุณหภูมสิ ูงไปแชในตเู้ ยน็ จะส่งผลกระทบดังนี้ - ทำใหอ้ าหารตา่ งๆ ทอ่ี ย่ใู นบรเิ วณขา้ งเคยี งเสอ่ื มคณุ ภาพหรอื เสยี ได ้ - หากตูเ้ ย็นกำลังทำงานเตม็ ที่จะทำให้ไอสารทำความเยน็ ก่อนเข้า เครื่องอัดรอ้ นจนไม่สามารถทำหนา้ ที่หล่อเยน็ คอมเพรสเซอร์ ได้เพียงพอ และส่งผลใหอ้ ายุคอมเพรสเซอร์สั้นลง - สูญเสียพลังงานไฟฟา้ มากขึน้ • เมอื่ ดงึ ปลกั๊ ออกแลว้ ไมค่ วรเสยี บปลกั๊ ใหมท่ นั ที เพราะเมอ่ื เครอ่ื งหยดุ สาร ทำความเย็นจากส่วนที่มีความดันสูงจะไหลไปทางที่มีความดันต่ำจนความดันภายใน วงจรเท่ากัน ดังนั้นถ้าคอมเพรสเซอร์เริ่มทำงานทันที สารทำความเย็นยังไหลกลับ ไมท่ นั เครอ่ื งจงึ ตอ้ งออกแรงฉดุ มากเพอ่ื เอาชนะแรงเฉอ่ื ยและแรงเสยี ดทาน ซง่ึ จะสง่ ผล ใหม้ อเตอรข์ องเครอ่ื งอดั ทำงานหนกั และเกดิ การชำรดุ หรอื อายกุ ารใชงานสนั้ ลง การดูแลรักษา • หมั่นทำความสะอาดแผงระบายความร้อนตูเ้ ยน็ สม่ำเสมอ ถา้ มีฝุ่นเกาะ สกปรกมาก จะระบายความรอ้ นไม่ดี มอเตอรต์ อ้ งทำงานหนัก เปลอื งไฟมากขน้ึ • อย่าให้ขอบยางประตูมีจุดชำรุดหรือเสื่อมสภาพ เพราะความร้อน จะไหลเข้าตู้เย็น ทำให้มอเตอร์ต้องทำงานหนักและเปลืองไฟฟ้ามาก ตรวจสอบโดย เสียบกระดาษระหว่างขอบยางประตูแล้วปิดประตู ถ้าสามารถเลื่อนกระดาษไปมาได้ แสดงว่าขอบยางเส่ือมสภาพ ควรติดต่อชางมาเปลี่ยนขอบยาง • อุปกรณ์ระบายความร้อน จะติดตั้งอยู่ด้านหลังตู้เย็น เพื่อให้สามารถ ระบายความรอ้ นไดด้ ี ควรวางตเู้ ยน็ ใหม้ ีระยะห่างจากผนังไม่นอ้ ยกว่า 10 ซม. ดา้ น บนไม่น้อยกว่า 30 ซม. ด้านข้างไม่น้อยกว่า 2 - 10 ซม. ด้านบนไม่น้อยกว่า 30 ซม. ดา้ นขา้ งไม่นอ้ ยกว่า 2 ซม.

EP/05/51


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook