Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore a86e422c556bd58884166cb471ddeeda

a86e422c556bd58884166cb471ddeeda

Description: a86e422c556bd58884166cb471ddeeda

Search

Read the Text Version

28 กรกฎาคม วันเฉลิมพระชนมพรรษา 65 พรรษา สมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัวมหราชั วกชาริ ลสาลทมงี่ เ1กดส0รจ็ยณพามบรดบะเนิ ทรทมพรรเรทาตัพชนยกวรมุ ราาาชงรกสี ูรุดา ศลุ กากรจุลสาร ปีท่ี 25 ฉบับที่ 10 กรกฎาคม 2560

“...คนอ่ืนจะว่าอยา่ งไรกช็ า่ งเขา จะว่าเมืองไทยลา้ สมัย ว่าเมืองไทยเชย ว่าเมืองไทยไมม่ สี ิ่งท่สี มยั ใหม่ แต่เราอยู่ พอมี พอกิน และขอใหท้ ุกคน มีความปรารถนาท่จี ะใหเ้ มืองไทย พออยู่ พอกนิ มีความสงบ และท�ำงานตง้ั จติ อธิษฐาน ตั้งปณธิ าน ในทางน้ีที่ จะใหเ้ มืองไทยอยู่แบบพออย่พู อกิน ไมใ่ ชว่ า่ จะรุ่งเรอื งอยา่ งยอด แตว่ า่ มคี วามพออย่พู อกนิ มีความสงบ เปรยี บเทียบกับประเทศ อน่ื ๆ ถ้าเรารกั ษาความพออยพู่ อกินนี้ได้ เราก็จะยอดยง่ิ ยวดได้...” พระราชดำ� รัส พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช พระราชดำ� รัสเนอื่ งในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ิตดาลัย วันที่ 4 ธันวาคม 2517

วสิ ัยทศั น์ (Vision) องค์กรทม่ี งุ่ มั่นใหบ้ รกิ ารศุลกากรเป็นเลศิ เพือ่ การพัฒนาที่ยั่งยนื ของเศรษฐกจิ ไทย และเช่ือมโยงการค้าโลก An excellent Customs service to achieve sustainable development of Thailand economy and global trade connectivity พันธกิจ (Mission) 1. อ�ำนวยความสะดวกทางการค้าและส่งเสรมิ ระบบโลจิสติกส์ของประเทศ Facilitate trade and promote national logistics system 2. สง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ของประเทศดว้ ยมาตรการทางศลุ กากรและข้อมลู การค้าระหว่างประเทศ Promote national economy by implementing Customs-related measures and international trade information 3. ปกป้องสงั คมให้ปลอดภยั ด้วยระบบควบคมุ ทางศลุ กากร Protect and secure society based on Customs control system 4. จัดเกบ็ ภาษีอย่างเปน็ ธรรม โปร่งใส และมีประสิทธิภาพ Collect revenue in a fair, transparent and efficient manner ยุทธศาสตรก์ รมศลุ กากร 1. พัฒนากระบวนงานและระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารเพือ่ อำ� นวยความสะดวกทางการคา้ Develop work process and ICT system for trade facilitation 2. พัฒนามาตรการทางศลุ กากรและข้อมูลการคา้ ระหว่างประเทศเพอ่ื สง่ เสริมการคา้ ชายแดนและเชื่อมโยงการค้าโลก Develop Customs measures and international trade information promoting border trade and global trade connectivity 3. พฒั นาระบบควบคมุ ทางศุลกากรใหม้ ีประสิทธภิ าพและเชอื่ มโยงกนั Develop efficient and integrated Customs control system 4. เพิ่มประสิทธภิ าพและประสิทธิผลการจดั เก็บภาษีโดยยดึ หลกั ธรรมาภบิ าล Enhance revenue collection efficiency and effectiveness based on good governance principal 5. พฒั นาสมรรถนะบคุ ลากรและการบริหารจดั การองค์กร Develop human resources capacity and organizational management

เนื่องในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา 65 พรรษา สมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั มหาวชริ าลงกรณ Editor's Letter บดนิ ทรเทพยวรางกูร ในวันท่ี 28 กรกฎาคม 2560 ข้าพระพุทธเจา้ ข้าราชการ พนกั งานราชการ และลูกจา้ งของกรมศลุ กากร ขอพระราชทานถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์ทรงพระเจรญิ ในเดอื นน้ีมกี ิจกรรมทน่ี ่าสนใจมากมาย อาทิ เมื่อวันท่ี 4 กรกฎาคม 2560 กรมศุลกากรจัด งานวนั คลา้ ยวนั สถาปนากรมศลุ กากรครบรอบ 143 ปี เมอ่ื วนั ที่ 6 - 8 กรกฎาคม 2560 นายกลุ ศิ สมบตั ศิ ริ ิ อธบิ ดกี รมศลุ กากร และคณะเขา้ รว่ มการประชมุ CouncilSessionsครง้ั ที่129/130 ณ สำ� นกั งานใหญ่ องค์การศุลกากรโลก ราชอาณาจักรเบลเยียม และเมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2560 นายชัยยทุ ธ คำ� คุณ รองอธบิ ดี รกั ษาการท่ปี รึกษาดา้ นพฒั นาระบบควบคมุ ทางศลุ กากร ร่วมพิธีเปดิ “คนคลงั รวมพลงั สรา้ งความดี” (MOF International Culture Charity Fair) ณ กระทรวงการคลัง ตดิ ตามตอ่ ไดท้ ่ี คอลมั น์ Customs Snapshot ส�ำหรับข่าวสารของกรมศุลกากรคอลัมน์ Customs News ในเดือนกรกฎาคม พบกับ ขา่ วการจัดขายทอดตลาดรถยนต์และรถจกั รยานยนตข์ องกลางดว้ ยวาจา จำ� นวน 199 คัน ในวันท่ี 6 กรกฎาคม 2560 สามารถน�ำรายได้เขา้ รัฐกว่า 365 ล้านบาท นายกรีชา เกิดศรพี ันธุ์ บรรณาธิการบริหาร นายกรีชา เกดิ ศรพี นั ธุ์ กองบรรณาธกิ าร ฝ่ายประชาสมั พนั ธ์ 0โeท--รM2ศ6a6iพั l7ท:-p์7/r3c3โu2ทstรoสmาsร@0g-m26a6il7.c-o7m335 บรรณาธิการบริหาร นางสาวศรปวันพสั ตร์ บญุ เชิด นายประดิษฐ์ เพชรดา WWW.Facebook.com/ นางปุณณภา ตอสวุ พรรณ นางนนั ทกา เปรมปรดี า นายธนวฒั น์ สินธสุ ขุ RcCuuessattdoommonssdliCneaepra:erwtCmweenwnt.etc.ruths:at1oi1m6s4.go.th หัวหน้ากองบรรณาธกิ าร นางสาวบัณฑติ า ธาราภูมิ นายทวี แก้วจรัส นางสาวนยั รัตน์ พงศศ์ กั ดินนท์ นางชลวรรณ สุขเมอื ง นายสุระ ยุระเทพ ผู้ชว่ ยกองบรรณาธิการ นายศรณั ย์ ศรน้อย นางสาวศศิธร วรรณโท นางสาวอมราวดี ยอดสวุ รรณ์ นายนรนิ ทร์ ชีวตระกลู ชยั

CONTENT ฉบบั นี้มีอะไร 23 Customs Relax พระราชประวตั ิ สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั มหาวชริ าลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกรู 6 Customs Update ระบบอตั โนมตั เิ พอื่ การจำ� แนกพกิ ดั อตั ราศลุ กากร ในอนาคต 12 Customs Snap Shot กจิ กรรมประจำ� เดอื นกรกฎาคม 20 Customs Update โครงการพนั ธมติ รศลุ กากร : มาตรการหลกั เพอ่ื เขา้ สู่ Customs 4.0 22 Customs News ครบรอบวนั คลา้ ยวนั สถาปนา 143 ปี กรมศลุ กากร

6 Customs Update สรญา ตง้ั จติ วริ ิยานนท์ ผเู้ ชยี่ วชาญเฉพาะด้านพกิ ดั ศลุ กากรระหวา่ งประเทศ ระบบอัตโนมตั ิเพอ่ื การจ�ำแนก พกิ ดั อตั ราศุลกากรในโลกอนาคต “...ขอ้ มลู ถอื เป็นหัวใจของธุรกจิ ใครเปน็ เจ้าของข้อมูล ยอ่ มอยู่เหนือคแู่ ขง่ ทางธรุ กจิ ...” ศุลกากรแต่ละประเทศยังประสบปัญหาจากการจ�ำแนกพิกัด ทุกประเทศยังคงควบคุมและก�ำกับการน�ำเข้าและส่งออกของสินค้าให้ ศุลกากรอย่างต่อเนื่อง แม้ว่าจะมีความพยายามในการแก้ไขปัญหา ส�ำแดงพกิ ดั รหัสสถิติทถ่ี ูกตอ้ งเหมาะสมตลอดมา มาอย่างยาวนาน ส�ำหรับประเทศไทยได้น�ำระบบฮาร์โมไนซ์ มาใชใ้ นการ จ�ำแนกพิกดั ศุลกากรตั้งแตป่ ี 2531 แตป่ ญั หายังคงมีอยจู่ นถงึ ปจั จุบนั ดว้ ยเหตผุ ลดงั กลา่ วขา้ งตน้ ศลุ กากรหลาย ๆ ประเทศตา่ งมแี นวคดิ หน่วยงานศุลกากรจึงให้ความส�ำคัญต่อการแก้ไขปัญหาของความ ทจี่ ะนำ� เทคโนโลยเี ขา้ มาดำ� เนนิ การแทนมนษุ ยใ์ นหลายๆ กจิ กรรม นบั ตงั้ แต่ ไมส่ อดคลอ้ งกนั ในการจำ� แนกพกิ ดั ศลุ กากรจากการศกึ ษาโดยละเอยี ดพบวา่ ปี 2541 จนถึงปจั จุบัน รวมถงึ ศลุ กากรไทยซึง่ ไดน้ ำ� ระบบคอมพิวเตอร์ การท่ีเจ้าหน้าท่ีขาดความม่ันใจในองค์ความรู้ในเรื่องที่ต้องตัดสินใจเป็น มาใช้งานและมีการพัฒนาไปหลายยุคหลายสมัย ต้ังแต่ระบบอีดีไอ จุดเร่ิมต้นในการตัดสินท่ีจะพิจารณาตรวจปล่อยสินค้าที่ช�ำระอากรใน (EDI:Electronic Data Interchange) e-Customs และ TCES (Thai ประเภทพกิ ดั ที่มีอัตราสูง แม้ว่าจะมีแนวโน้มท่ีจะเขา้ ประเภทพกิ ัดท่มี ี Customs Electronic Systems) ทีด่ �ำเนนิ การด้วยมาตรฐาน e-BXML อตั ราอากรต่�ำกวา่ จ�ำเปน็ อย่างย่ิงท่ที ุกคนจะต้องรว่ มกนั พจิ ารณาด�ำเนิน แต่งานในการจ�ำแนกพิกัดอัตราศุลกากรอาจกล่าวได้ว่าเป็นเร่ือง การหาแนวทางแก้ไข หากในอนาคตอันใกล้นี้ สินค้าต่างๆ น�ำเขา้ ที่ ในลำ� ดบั ทา้ ยๆทจ่ี ะสามารถนำ� เครอ่ื งจกั รเครอ่ื งมอื หรอื เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ อัตราศูนย์แล้วปัญหาของการจ�ำแนกพิกัดศุลกากรจะผันแปรไปเช่นไร มาทดแทนมนษุ ย์ได้ ผู้ปฏิบัติจะประสบกับปัญหาความยากลำ� บากในการอธิบายความจ�ำเป็น สภาพปญั หาทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การจำ� แนกพกิ ดั อตั ราศลุ กากรของทวั่ โลก ของการส�ำแดงพกิ ัดศุลกากรใหถ้ กู ตอ้ ง เนื่องจากความถกู ตอ้ งของข้อมลู การนำ� เขา้ หรอื สง่ ออกสนิ คา้ ตามรหสั สถติ ยิ งั มคี วามจำ� เปน็ ตอ่ การควบคมุ การจ�ำแนกประเภทพิกัดอัตราศุลกากรอาจกล่าวได้ว่าเป็น การน�ำเข้าหรือส่งออกสินค้าและความถูกต้องของข้อมูลสถิติทางการค้า ศาสตร์ทางวิทยาศาสตร์ท่ีแน่นอนและถึงแม้ว่าประเทศสมาชิกของ ตอ่ ผเู้ กีย่ วขอ้ งได้แก่ ผูผ้ ลติ ผู้ประกอบการคา้ หนว่ ยงานตา่ ง ๆ ทใี่ ชข้ อ้ มลู WCO จะใชร้ ะบบฮารโ์ มไนซร์ ว่ มกนั ภายใต้สมมุติฐานน้ีแลว้ ทุกประเทศ เพอ่ื การตดั สนิ ใจวางแผนการผลติ และเจรจาการคา้ ดงั คำ� กลา่ ววา่ “ขอ้ มลู ควรตีความรหสั พิกดั ฮาร์โมไนซ์ทสี่ อดคลอ้ งกนั และเปน็ แบบเดยี วกัน แต่ ถือเปน็ หัวใจของธุรกิจ ใครเป็นเจ้าของข้อมูลย่อมอยูเ่ หนือคูแ่ ข่ง ความเป็นจรงิ ทปี่ รากฏกลบั ไม่ใชส่ ิ่งทีค่ วรจะเปน็ เน่ืองจากยังคงมปี ัญหา ทางธรุ กจิ ” เปน็ ความจริงที่ผ่านการพิสจู น์มาอย่างยาวนานท่ศี ุลกากร ท่ีเกิดจากการตีความพิกัดอัตราศุลกากรแตกต่างกันโดยมีองค์ประกอบ ดังน้ี Cกรuกsฎtาoคมm2s560Bul etin

o การแปลความพิกัดศุลกากรที่แตกต่างกัน (Translation หลายวันก่อนผู้เขียนได้อ่านพบบทความช้ินหน่ึงซึ่งกล่าวถึง Problems) โครงการวจิ ยั ชื่อ “Automated SC Management Using Machine- Learning-based Tariff Classification and Optimized Interna- o วิธีการนำ� ไปใชป้ ระโยชน์ (Usage Problems) tional Trade Compliance.” หรอื เรยี กวา่ ระบบอตั โนมตั ิเพ่ือการ o ความนา่ เชอ่ื ถือของคำ� อธบิ ายของสินค้า (Description Reli- บริหารจัดการเชิงวิทยาศาสตร์โดยใช้ฐานความรู้ด้านการจ�ำแนกพิกัด ability) และการดำ� เนนิ การตามหลกั ปฏบิ ตั ทิ างการคา้ และกฎหมายระหวา่ งประเทศ o ความไมส่ อดคลอ้ งของพกิ ดั ศลุ กากรทไี่ มส่ ามารถรองรบั เทคโนโลยี ผเู้ ขยี นเหน็ วา่ เปน็ ขา่ วสารทนี่ า่ สนใจ ถงึ แนวคดิ ทกี่ ำ� ลงั จะมคี นนำ� มาศกึ ษา และการค้า (Inconsistent/Unreliable Item Number Logic) และ เพอื่ ทำ� ให้เกิดเป็นจริงขึ้น ผ้เู ขียนจะขอเล่าภาพรวมของโครงการวิจัยนี้ o มุมมองทแ่ี ตกตา่ งกนั ตอ่ สนิ ค้าตามบทบาทหน้าท่ีของผูม้ สี ่วน โดยสรุปให้เหน็ ถึงการด�ำเนินงานซ่ึงประกอบด้วย ส่วนท่ีหน่ึง คือ เกย่ี วขอ้ ง (Disparities Between Customs Authorities and Suppliers/ การส�ำรวจความเป็นไปได้ในการจ�ำแนกประเภทพิกัดศุลกากรโดย Manufacturers in Product Descriptions) อัตโนมัติด้วยตนเองและผลกระทบต่อการด�ำเนินการตามหลักปฏิบัติ สภาพปญั หาทก่ี ลา่ วขา้ งตน้ ผเู้ ขยี นจงึ มแี นวคดิ ทจี่ ะนำ� เทคโนโลยี ทางการคา้ และกฎหมายระหวา่ งประเทศ สว่ นทีส่ อง คือ การวิเคราะห์ มาชว่ ยในการพจิ ารณาจำ� แนกพกิ ดั อตั ราศลุ กากรเพอ่ื ลดภาระงาน ลดการใช้ รายละเอยี ดการนำ� เขา้ /สง่ ออกของบรษิ ทั ดาวน์ เพอ่ื กำ� หนดแผนระยะสนั้ ดลุ ยพนิ จิ ของเจา้ หนา้ ท่แี ละแก้ไขข้อจำ� กัดตา่ งๆ ทีเ่ กดิ จากความเหนอื่ ยลา้ (ลดค่าใชจ้ ่ายในกระบวนการท�ำงานอย่างเหมาะสม) และระยะยาว ของมนษุ ยต์ อ่ ภาระงานทเี่ พิม่ ขนึ้ ในฐานะท่ีรับราชการและมปี ระสบการณ์ (ความสามารถในการแข่งขันทางการค้าระหว่างประเทศ) เพ่ือให้ดาวน์ ในงานดา้ นต่างๆ ของศุลกากรอย่างต่อเน่ืองยาวนานมากกว่า 30 ปี ก้าวสูบ่ ทบาทนำ� ตามวัตถุประสงค์ เคยมีแนวคิดที่จะน�ำระบบการตรวจวินิจฉัยทางการแพทย์มาปรับใช้ เพอื่ สรา้ งระบบการวนิ จิ ฉยั พกิ ดั ศลุ กากรเพอ่ื ใหป้ ระชาชน ผปู้ ระกอบการ สบื เนอื่ งมาจากโลกาภิวัตน์ ซึ่งกระทบกับองคก์ รและการอำ� นวย ท่สี นใจใชใ้ นการตรวจสอบพิกัดดว้ ยตนเอง โดยผสมผสานกับเทคโนโลยี ความสะดวกทางการค้าของภาครัฐทีพ่ ยายามสรา้ งแรงจงู ใจให้กบั ระบบ คอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์อย่างเป็นระบบเพ่ือช่วยในการจ�ำแนก การคา้ ระหว่างประเทศ ท�ำให้การค้าข้ามพรมแดนมีปริมาณเพ่ิมขึ้น พกิ ัดศลุ กากรด้วยการใช้คอมพวิ เตอร์มาช่วยในการประมวลผลอตั โนมตั ิ เปน็ เหตใุ หค้ วามซบั ซอ้ นในการดำ� เนนิ การจดั การหว่ งโซอ่ ปุ ทานขา้ มพรมแดน การกล่าวเช่นน้ีจึงเป็นค�ำถามท่ีเกิดข้ึนในใจของผู้อ่านว่าจะเป็นเช่นไร เพ่ิมข้นึ เช่นกัน จงึ เป็นส่ิงจำ� เป็นทีต่ อ้ งการระบบงานอตั โนมตั สิ ำ� หรบั การ ท�ำไดจ้ รงิ หรือไม่ และท�ำได้อย่างไร ตลอดหลายปีท่ีผ่านมาจะเหน็ วา่ บรหิ ารจดั การการคา้ ขา้ มพรมแดนทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพมากยงิ่ ขน้ึ การจำ� แนก หลายๆ ส่งิ ทเ่ี คยคดิ วา่ ท�ำไมไ่ ดแ้ ตเ่ รมิ่ เกดิ ข้ึนในปัจจุบนั ผูเ้ ขียนเชอ่ื วา่ ประเภทพิกดั อตั ราศุลกากรซึ่งเป็นเรื่องแรกๆ ของการส�ำแดงขณะผ่าน ในอนาคตที่ก�ำลังจะมาถึงเทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านคอมพิวเตอร์ พธิ กี ารศุลกากร การก�ำหนดอัตราอากรและการปฏบิ ตั ติ ามระบบพิกัด ทีผ่ ่านการพฒั นาถึงจดุ ที่หลายๆ อยา่ งเกดิ ขนึ้ และท�ำไดจ้ รงิ ยกตัวอยา่ ง Harmonizedหรอื การก�ำหนดรหัส(HTS)ใหถ้ ูกต้องจึงเปน็ สงิ่ สำ� คัญและ เชน่ การใชเ้ ทคโนโลยคี อมพวิ เตอรห์ รอื หนุ่ ยนตช์ ว่ ยในการเดนิ หรอื ทำ� ให้ เป็นประเด็นวิกฤติตลอดมา ในอดีตการด�ำเนินการจ�ำแนกรหสั พิกัด มนษุ ยบ์ ินได้ เปน็ ต้น ดังนน้ั การสรา้ งระบบอัตโนมัตเิ พอื่ การจ�ำแนกพิกัด อตั ราศุลกากรจะด�ำเนินการดว้ ยตนเองหรอื โดยมนษุ ย์ ซงึ่ มักจะใชเ้ วลา อตั ราศลุ กากรอาจจะเปน็ ไปไดใ้ นอนาคตอนั ใกล้ ยาวนานและมีต้นทุนสูง ดังนั้นโครงการวิจัยน้ีผู้วจิ ยั จงึ กำ� หนดประเดน็ การศกึ ษาโดยใชข้ อ้ มลู ระยะเวลาการคา้ ระหวา่ งประเทศของบรษิ ทั ดาวน์ ที่ก�ำหนดเวลาการจ�ำแนกพิกัดศุลกากรส�ำหรับผลิตภัณฑ์ที่น�ำเข้าและส่ง CustomกsรกฎBาuคlมe2t5i6n0 7

8 Customs Update AutColamsasitfeicdaStiConMaanndagOepmtiemnitzeUdsiInngteMrnaacthioinnea-lLTeraardneinCgo-bmapsleiad89nTc50aer30iff21..4890..1900TcHHaphliaewmanSrenarodopcmrpdaroaom•rk•uuo•ndor•ftc•ontcel1d•oiotnSeinouPszUmfgw.tT.eagoneacrTuwelrsITyeleadtrbtRahgdeaonCo.pitvotiaosetnyfeTeIuneotrehtmhvradrhdtopsoltieoaaah”rbttphsecraueicothlueoeefoaemskietlxpfmmolaodserpfdppiHrSatsnmsauutsoroimtcscaaShcocehtacrihprihluntfenxjatsiCenoeioecislidicoxfniIsanosdfasdcroanihtsetrtgmdpsttfuataieee-lwhsvneeHiswalldndxodiieeePgkzrgegeStvatnifeadnrlor(baoassdtlercarsHeaeistrsnutrabnooxcoaeytitTdmitetcttetindahnsganoaSeiexsjtHbseoedga.gmta)Npeep.osanraSes-maobttTu-rbsa.rcobi,ffnocreheodctoaouaitoPtdtentneniresllaosszuddldoeessdeoed,na&sre.fad:ivdahdewceiding.mstalso,vKcsaossaotrleelr,MiiiseaenanotgdtolvisfosdsfnlfareieHtfysfepattrtrRriWitShaiaCehdfenyhoa)idrriunnyeoICenspoc,seVcwrcOnmroutroHueeoiraeitdgmCfssluSEdgasdloheidcxeenrupacacC.ytepitxaglocltstuCsheeplartc:daoDrtocmeTHmbeoehiCenhrsnpauepdeerhaSehtsadrepnrntbonouetrosocietrCtrettsvsoCtnacirasuf(fnioimoyejgeiiodMrhepbdngWrsnedrnnecreeiuseeafnotoeSeotneaatnodngwdtaidfUat(cnsef“uirsedtaeeefcWsgictu)ci)fcxaeoocu,fdt(rittn(ans.aesrfaaaEdctiotavfTotiweionrgaoarhdntvimeibgnieeaklemantannslorb(eosGecegDfelrpeeea4o.ot@oewddd)mo, waaMEn.ncxdoa(pmMJnFloa)euShanaaUnntal)duWt,CoKrD3lea.ara.DsysGvseRsiiNdebciefkoni(Ccskte(ldauDeoretsslaobitsotw@si(no/)Me:FngSHur.UmSt)us,CuYro.aeedsdhDeue)iasrnhedcDthWieoCbnaOsr (MSU), Product Classifier Confidence Level Exceptions ออกดว้ ยรหัส HRaTnSdomจะ-Fใoชre้รsะtบ-bบasอeัตdโCนlaมsัตsifิมieาrแทนมนษุ ย์ ข้อมูลเบือ้ งตน้ ยังท�ำให้ไดร้ บั สทิ ธิประโยชน์สูงสุด ถา้ สินค้าท่ีไดร้ บั รหสั พกิ ดั ทม่ี ีส่วนลด พศขบฐแกRSขปาtออeกึสารกิรaนะsงบิรษษดดั teกขสเeเงาัทอพขaา้อิทใกัตดUrรตห่ิมมธบัcโคสโาขn้ลูิภเปคhอนววรหอiกาvรงรา้านมI็งนพาคenมงะงัโ์ตใรถหกก์rคsคทสนิsปtึงรา่วุม้ริ้าทiกitฏผtภงรงทคyuาธโกลิบนาา่โา)PซริภtาคดCกตัี้กSrยถeใจ่คorรcานธายิตeวขือh�jำณุซTพesafุรreรcา่กาอTหhhแceoเtcToึง่adกcheoกจCieคdขมปtaาhaงmbpouนสวremrulจิauteัtารomดmsโl่ารiอ็pehัeนctงnอrtoกpVคuรpเiรeeoะlaepeหcง(วiatรaดrbกdsaปmmดHnaaระlmoบruiceวeียดn่มlาateTคcงlprา�ำaหtaรcpenpิdบdioSธuioนว้จotกrtวdeเลaร:tlะiasciวmastoีcนก.ceยeกrtะรhดatoeาทn้อaarเา่namanodกู้กนิาาsmlภiทmtHหรtงงsdf�fCำiiaeรtoaรnาfาSกeคoกeaวท�onำdiมoงprht)eคtร2รxpnทneาpิeวบัpdจใadcCาpพูeu่โศaทreา้.trlreรห�oาeำaar(aiัfนดoภrยmiivขiaoิ.กึกdVccsจ�ำlnม)naงe้ttกtsreยaารนtiนrciงeษัiaดัดlizาeเooeceofhรtdeา่าอชวiCrc้ัndlาnaนopcหนศาdaกouiนรt,asussมั่ยีตดcrแaoaymุมaลtsรcิจetaeปauiขoวnใeกiโpoนdpmplo่วกtวขlsaหddนrเnชeอrฏuoltnัoนoวoioดรtมาtอtsmot(ssญางdeมdnิiiiบheคiyoiรหmกาocuoงกuaigญxms)ัnตรtB2่ิดnัctะpตctสeรมivnaัesนeteoeะeขิaมen.ข.ddหิoแmงnnาู่โMc)rpoบhกfอttดีiอคาpTลoroมวCneewtเoaัrบRบงhofuนย-dงrปวoะ่gfrาcoeาsseรIcamคotใetผMาrnuขน็Vคงoehwรskชmะccpaaมอsdูeห้CณเภวehopถpSitบr้มpugชtมirarถrotาcCwlนrาUnokeoพibนoบะeี่aยjพูaกdมcoรeopads่nวiจิnผeษุuกrnvวrcก(ตวิtพoHksdoc(eยMtาt่าาswยfชeeMเaิจcp้อeรtรนsตhงrรecror์หavfiาทnmtoasoณ้fงcอiาrจsaอaพiasdmnkญcรkclo่สีแhtrนuมำ�edispราipิธอืnelpt.aos�ำlลaiแขaeแ์rniiขกlจgsกีbnznไeroคetdนeะanlaลaอมgtาcอาeาssmdiัญleoมdonกกotะร่รงiitงsannTnelrnsีuaras,teaietridf(1gsinifirofeihs6f)wantnfจโกมโพแตssioAldดค,lrบา�ำัีกดกิuยรหกgาบสดั งขuคนรินสศsนั้NเวดtรุMใผลcaตfpา-c2oจeแmา้ps wยwกiorfMdcaอม0lvrงpocooลแeedMripoteeaแfรศldlา1rddiiเpกtนusllตoeสrtdrrlใoว้loบheชtะtuiee6otibพeriกsกsึlduชococo�ำwiolกรeกeสcssecemiบิงaeaบcnnuvษttastdรหsรeา้ฐla้lาtisnoกsลyiสeuoetsinonโsnosบsb)zงรแ่oาาใdpnrรนstsaaดmleefัดfงัม1dywoboฐenนreoคนะusทtdทผscdt:otกyดdgยeiatขri,พาhaswote2pAวtdเiบmyขnf�ำนelsำ�umnhetัก3vบนnใ:ooeอ้วuาouันodiwrseกa้อ:งชD.nrsบlbpcteภuรi็fบมคมlปltsFtnhvieathาemธoerาlมnข้ihiaะcuaeoogฮeccbสาivวtpลูไนรข์caรtmoilr-thkidenอ้eูลlบniarhซbาพtutมeาัdeasจะaสiunlึ้นขhaito(aH.rมกtมmapatiวiรcตhsพtdetihาเsตns่งMpอctnSarut4wieรลูrทeeนรaee์ahโsenaกผ์rgขนcัt้rcนงdSlii.itะใbd้hูมbทh(cemlunoกiศUpeรลtlpโ้ธนnอolleysnPreบไddeaefrmaคไpryะสี่tาafขท์fลtordsมegfoeกมesosrriนtieetวasfรcrบรan,รscอtoproพัhrodี่นosieaาte้eูm.แลtHiifนtตveงeซ้าecsenthงciบsmrTรjtecธiSar�huำaseกcลoขsgoeงaโeากhta์mnoeจrriedข์rciเคrrntsweขtcoeeามอะdcrsiiาohniขii(pำe�hnfrearsooอรtiร้นึfidetWeaรrnดขeclงegdrtแcnn้tlาaoงcaenoeeมงtterWeแศb-Pn้อp�lsำdนylfssสหedomtasกyncCted,aรีrueลstofCุleswลเมotรpกeptiasรaาcsdาifนanO1rswOautะferาis้,uitกูลpeพlือi,tรgforrnยnss-lscti0tงiิhนnฐievlbocdhuatafiทาจlp0aสกลeิdรeofcraactueาtpbsrn0กEyกileำ�imtiiะs่มีotfc่ดoัะงopoeaนditaeniaaootแxcาcprรlบntneอnอีเdrศyatnaeettnasขeniiอpรนdh-แhntpiffpdบstอcยcdลnุticfypiอ้eesarmตelhียohdลllกetaceorฮirlู่กatกcciernayuoaมdlosesmcดรrtiapพะาzistsfca.าuไie.rnnsedtiiลูraiวeeดevรcerosปพfisoกิกdsecaieasamsisโอaf์จctdsังfacsnitรอoัดัมtฒaiiilscuiilacngoaนt้าสdcsoytตhacfiไnยแvbaiiosnnงiooiatpนt้ีอนonndtาlsiiaบer่nnาอernoralegมovาซบbt-mHglnyงHneงิthบidenฐขr์tSdถSaคแueigอ,ftานั้ceูลกynวtตันตเะตาoพโขอคม้นอtอ่ื ้นำอ�eถงมเอวมคsูปกัตธธิ)ูลุ้มต็นทิบิกี ทค้ตอซาใ่ีาห่ีมย่าวั่ึรงงี้ ศุลกากรของสินค้าขณะน�ำเข้าหรือส่งออกเรียบง่ายและเป็นมาตรฐาน “ระดับความเชื่อมัน่ ” ของรหสั HS ท่ถี ูกต้องใกลเ้ คยี งมากทส่ี ดุ เดยี วกนั เนอื่ งจากสนิ คา้ ทุกรายการตอ้ งมรี หัสสถิติ (HTS หรอื HS) ขณะ แยกขอ้ ยกเว้นออกมาให้ชดั เจน ผา่ นศุลกากรแต่ละประเทศ หากการจ�ำแนกพิกัดศุลกากรมคี วาม ถูกต้องรวดเร็ว นอกจากจะลดเวลาและค่าใช้จ่ายในการด�ำเนนิ งานแลว้ * 2 Automated SC Management Using Machine-Learning-based Tariff Classification and Optimized International Trade Compliance(Poster draft) https://midlandvaluechain.broad.msu.edu/files/2016/10/SC_Automation_poster_draft1.pdf กCรuกsฎtาoคมm2s560Bul etin

แผนภาพตน้ ไมเ้ พอื่ การตดั สินใจในการจำ� แนกพกิ ัดศลุ กากร (Random-Forest-based Classification) เพื่อให้เกิดความเข้าใจเพ่ิมขึ้นผู้เขียนขอหยิบยกตัวอย่างในบทความที่ผู้เขียนได้น�ำเสนอไว้ในผลงานเพ่ือประเมินและแต่งต้ังให้ด�ำรง ต�ำแหน่งผู้เชีย่ วชาญเฉพาะดา้ นพิกัดอัตราศลุ กากรระหว่างประเทศ เรื่อง การจำ� แนกพกิ ดั อตั ราศลุ กากรตอนท่ี 23 และตอนที่ 28 กรณศี กึ ษาสนิ ค้า “Biofos”ซ่งึ มีการน�ำแผนภาพตน้ ไม้ มาช่วยในการตัดสินใจเชงิ ระบบ ของสนิ ค้าตามพิกัดฮาร์โมไนซ์ตอนท่ี 23 รายละเอยี ดตามรูปดา้ นล่าง CustomกsรกฎBาuคlมe2t5i6n0 9

10 Customs Update ระยะแรก : ระบบท่ีจะพัฒนาข้ึนจะต้องก�ำหนดรหสั HS ให้กับ ผลิตภณั ฑ์ที่จะตรงกับระบบการจ�ำแนกพิกัดของ WCO อย่างมาก ในทางปฏิบัติอาจมีการสร้างชุดค�ำถามเป็นฐานข้อมูลข้ึน ที่สุดเท่าท่ีท�ำได้ นักวิจัยของมหาวิทยาลัย MSU จะระบุคุณสมบัติท่ี ชุดหนึ่งเพ่ือให้ผู้ใช้ระบบตอบค�ำถามภายใต้บริบทของสินค้าที่ต้องการ ส�ำคัญของผลิตภัณฑ์ (คุณสมบัติและข้อมูลจ�ำเพาะของสินค้า) โดย ตรวจสอบพิกดั ศุลกากร ทลี่ ะขน้ั ตอนเม่ือประมวลผลจะตอ้ งตรวจสอบ น�ำคณุ สมบตั ิสำ� คญั ของผลิตภณั ฑ์เหลา่ น้ีและรหัส HS นัน้ มาพฒั นาผ่าน กับฐานข้อมูลคุณสมบัติเฉพาะของสินค้าในแต่ละกลุ่มตอนและฐาน ระบบต้นไม้เพื่อการตัดสินใจ เกิดเป็นระเบียบวิธีการจัดหมวดหม่ทู ี่ ข้อมูลคำ� อธบิ ายพิกัดศุลกากรระบบฮาร์โมไนซ์ (WCO Explanatory สามารถเชอ่ื มโยงไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง หลงั จากนนั้ เมอื่ ไดก้ ระบวนการตดั สนิ ใจ notes) หรือ ฐานข้อมลู อน่ื ๆ ท่เี กีย่ วขอ้ ง เช่น ฐานข้อมลู อตั ราอากร เป็นระบบที่สามารถตรวจสอบสินค้าท่ีผ่านกระบวนการทดสอบแล้ว เพื่อนำ� ผลมาแสดง เปน็ พกิ ัดศลุ กากรท่ใี กลเ้ คยี งท่ีสดุ นอกจากนผ้ี ู้วิจยั จงึ จะดำ� เนินการตรวจสอบการจัดหมวดหมูข่ อง 1,000 ผลิตภณั ฑ์อ่ืน ๆ จะต้องดำ� เนนิ การให้เกดิ ผลดงั นี้ ที่ไมไ่ ด้ถกู น�ำมาใช้ในกระบวนการทดสอบตอ่ ไป o พฒั นากระบวนการหรอื วธิ กี ารอตั โนมตั ิ ในการบริหารจดั การ ระยะทสี่ อง: พฒั นาระบบการตดั สนิ ใจดว้ ยการใชแ้ ผนภาพตน้ ไม้ จำ� แนกพิกัดศลุ กากร อตั ราภาษแี ละขอ้ มูลการจัดส่งสนิ คา้ โดยต้อง เพอื่ การตดั สนิ ใจในการวเิ คราะห์ เพอื่ ระบอุ ปุ สรรคทสี่ ำ� คญั ในกระบวนการ คำ� นงึ ถงึ คณุ คา่ ท่จี ะเกิดข้นึ กับโครงการ ได้แก่ จ�ำแนกคุณลักษณะเฉพาะท่ีเกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิตและ กระบวนการตา่ ง ๆ รวมถงึ ขอ้ มลู ผลติ ภณั ฑเ์ พอ่ื ใหก้ ระบวนการการจำ� แนก (i) การลดเวลาการทำ� งานของกระบวนการตง้ั แตเ่ รม่ิ ตน้ จนสนิ้ สดุ อัตราศุลกากรทั้งหมดสามารถปรับปรุงให้เวลาในการด�ำเนินการน้อย กระบวนงาน ท่ีสดุ เมื่อรวมเวลาการทำ� งานของระบบคอมพวิ เตอรแ์ ล้ว (ii) ค่าใช้จา่ ยทล่ี ดลงในการดำ� เนินงาน ระยะทสี่ าม: ขน้ั ตอนตอ่ ไปเปน็ การปรบั ปรงุ กระบวนการจำ� แนก (iii) ความถกู ต้องสอดคล้องกบั ระเบียบการค้าระหว่างประเทศ พิกัดอัตราศุลกากรที่สามารถท�ำด้วยการรวบรวมการไหลของข้อมูล o การวิจัยคาดว่าจะสามารถสร้างกระบวนการทปี่ ฏบิ ัตไิ ดจ้ รงิ สนิ คา้ จากหว่ งโซอ่ ปุ ทานเชน่ รหสั HSภาษอี ากรทเ่ี รยี กเกบ็ เวลาการสง่ มอบ และมีประสิทธิภาพเม่ือเทียบกับการปฏิบัติด้วยมือของงานการจ�ำแนก ท่ีแตล่ ะประเทศจนถึงประเทศปลายทางสดุ ท้าย พกิ ดั ศลุ กากรโดยมนษุ ย์ o วิธกี ารท่ีน�ำเสนอคาดว่าจะให้ข้อมูลเชงิ ลกึ ท่ีมีคณุ คา่ ท่ีส�ำคัญ (เรียบเรียงจากเอกสารเผยแพร่โครงการที่ปรากฏในบทความที่ เกี่ยวกบั พารามเิ ตอรข์ องกระบวนการท�ำงานต่างๆ เพ่อื แก้ไขปัญหาให้ อ้างถึง ในเชงิ อรรถ 1 และ 2) สอดคล้องและเหมาะสม o ส�ำหรับกระบวนการท�ำงานท่ีไม่สอดคล้องก็จะถูกตรวจหา ด้วยกระบวนการท�ำงานลกั ษณะอตั โนมตั ไิ ดอ้ ยา่ งงา่ ยด้วย Cกรuกsฎtาoคมm2s560Bul etin

TARIFF ผู้เขียนอาจต้องหันกลับมาพิจารณาและเปล่ียนความคิดท่ีว่า ไม่มีทางเป็นไปได้ท่ีจะน�ำเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาท�ำหน้าที่ช้ีพิกัด ศุลกากรแทนมนุษยไ์ ด้ หากโครงการวิจัยน้ดี �ำเนินการสำ� เรจ็ และนำ� ไป สู่การปฏิบัติเราอาจจะได้เห็นระบบอัตโนมัติหรือหุ่นยนต์ที่พัฒนาให้มี รูปลักษณ์แบบมนุษย์มาท�ำงานแทนมนุษย์โดยเฉพาะเจ้าหน้าท่ีช้ีพิกัด ซงึ่ สามารถจ�ำแนกพิกดั ศุลกากรด้วยความแมน่ ย�ำ ไม่มีอคติ และไม่รจู้ กั เหนด็ เหน่ือย ท�ำงานตลอด 24 ชั่วโมง 365 วัน ไม่เถียง ไม่บ่น มาให้ บริการท่ีหน้าด่านศุลกากร หรือจุดตรวจปล่อยแทนเจ้าหน้าท่ีศุลกากร อย่างที่เป็นอยู่ ณ ปัจจุบัน ท่านผู้อ่านที่สนใจสามารถติดตามความ คบื หนา้ ของโครงการในเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัย Michigan State University สหรฐั อเมรกิ า ซงึ่ ผเู้ ขยี นจะไดน้ ำ� เสนอความคบื หนา้ ในโอกาสตอ่ ไป สภาพปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการจ�ำแนกพิกัดอัตราศุลกากรของทั่วโลก ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้นศุลกากรหลายๆ ประเทศต่างมีแนวคิดที่จะ น�ำเทคโนโลยเี ขา้ มาดำ� เนนิ การแทนมนุษย์ในหลายๆ กิจกรรม นับต้ังแต่ ปี 2541 จนถงึ ปจั จบุ ัน รวมถึงศลุ กากรไทยซงึ่ ไดน้ ำ� ระบบคอมพวิ เตอร์ มาใช้งานและมีการพัฒนาไปหลายยคุ หลายสมัย ตัง้ แตร่ ะบบอีดีไอ (EDI: Electronic Data Interchange) e-Customs และ TCES (Thai Customs Electronic Systems) ทดี่ �ำเนนิ การด้วยมาตรฐาน e-BXML แต่งานในการจ�ำแนกพิกัดอัตราศุลกากรอาจกล่าวได้ว่าเป็นเร่ืองใน ลำ� ดบั ทา้ ยๆ ทจี่ ะสามารถนำ� เครอื่ งจกั ร เครอื่ งมอื หรอื เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ มาทดแทนมนษุ ย์ได้ CustomกsรกฎBาuคlมe2t5i6n0 11

12 Customs Snap Shot ถวายเทยี นพรรษา ประจำ� ปี พ.ศ. 2560 เมอ่ื วนั ท่ี 3 กรกฎาคม 2560 ศ.(พเิ ศษ) วชิ า มหาคณุ ศ.ดร.สกนธ์ วรญั ญวู ฒั นา พรอ้ มคณะกรรมการจรยิ ธรรมประจำ� กรมศลุ กากร เปน็ ประธาน โครงการ “ถวายเทียนพรรษา ประจำ� ปี พ.ศ. 2560” เพือ่ ใหข้ ้าราชการ พนกั งานราชการ และลกู จา้ งของกรมศลุ กากร ไดม้ โี อกาสปฏบิ ตั ธิ รรมถวาย เป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และนอ้ มสำ� นกึ ในพระมหากรณุ าธคิ ณุ ทพ่ี ระองคท์ า่ นทรงมตี อ่ ปวงชนชาวไทย และเปน็ การสบื สานประเพณี วฒั นธรรมตามวถิ ชี าวพทุ ธในวนั อาสาฬหบชู า และวนั เขา้ พรรษา ณ วดั ระฆงั โฆสติ าราม วรมหาวหิ าร เขตบางกอกนอ้ ย กรงุ เทพฯ วดั เฉลมิ พระเกยี รตวิ รวหิ าร อ.เมอื ง จ.นนทบรุ ี และ วดั ปรมยั ยกิ าวาส อ.ปากเกรด็ จ.นนทบรุ ี

‘ศุลกากร’ เปดิ ประมูลรถของกลาง 300 คัน ยนั สามารถออกแบบ 32 และจดทะเบยี นได้อย่างถูกตอ้ ง เมอื่ วนั ที่ 6 กรกฎาคม 2560 กรมศลุ กากรจดั ขายทอดตลาด รถยนต์และรถจักรยานยนตข์ องกลางดว้ ยวาจา จำ� นวน 300 คนั โดยมี นายชชู ยั อดุ มโภชน์ ทปี่ รกึ ษาดา้ นพฒั นาระบบสทิ ธปิ ระโยชนท์ างศลุ กากร เปน็ ประธานในพธิ ี สามารถนำ� รายไดเ้ ขา้ รฐั กวา่ 365 ลา้ นบาท พรอ้ มยนื ยนั รถยนตแ์ ละรถจกั รยานยนตท์ ป่ี ระมลู ได้ สามารถออกแบบที่ 32 และนำ� ไป จดทะเบยี นได้ เมอ่ื มกี ารปรบั ปรงุ สภาพตามทก่ี รมการขนสง่ ทางบกกำ� หนด CustomกsรกฎBาuคlมe2t5i6n0 13

14 Customs Snap Shot ประชมุ Council Sessions คร้ังท่ี 129/130 เมอื่ วนั ท่ี6-8กรกฎาคม2560 นายกลุ ศิ สมบตั ศิ ริ ิอธบิ ดกี รมศลุ กากร และคณะ เขา้ รว่ มการประชุม Council Sessions คร้ังท่ี 129/130 ณ สำ� นักงานใหญอ่ งค์การศลุ กากรโลก กรุงบรสั เซลส์ ประเทศเบลเยียม รวมทัง้ ได้หารอื ทวิภาคีกบั อธิบดีศุลกากรออสเตรยี และองั กฤษ รวมทง้ั ผู้แทนอธิบดศี ลุ กากรเยอรมัน สำ� นกั งานทป่ี รกึ ษาการศลุ กากร ณ กรงุ บรสั เซลส์ จดั พธิ ที ำ� บญุ เลยี้ งพระ เน่ืองในโอกาสการปรบั ปรงุ ซอ่ มแซมส�ำนักงานและบา้ นพัก เมอ่ื วนั ท่ี 5 กรกฎาคม 2560 นายกลุ ศิ สมบตั ศิ ริ ิ อธบิ ดกี รมศลุ กากร เป็นประธานในพธิ ี ทำ� บญุ เลย้ี งพระ เนอื่ งในโอกาสการปรบั ปรงุ ซ่อมแซม ส�ำนักงานและบ้านพักแล้วเสร็จของส�ำนักงานที่ปรึกษาการศุลกากร ณ กรงุ บรัสเซลส์ ในการน้ี นายมนสั วี ศรีโสดาพล เอกอคั รราชทูต ณ กรงุ บรัสเซลส์ หวั หนา้ ส�ำนกั งานตา่ งๆ และข้าราชการคณะกรรมการ บรหิ ารทมี ประเทศไทยของสถานเอกอคั รราชทตู ณ กรงุ บรสั เซลส์ ใหเ้ กยี รติ มาร่วมงานและรับประทานอาหารกลางวันร่วมกนั

อธิบดีกรมศลุ กากรหารอื ทวิภาครี ว่ มกับคณะผู้แทนจากศุลกากร เนเธอร์แลนด์ เมอ่ื วนั ที่ 10 กรกฎาคม 2560 นายกลุ ศิ สมบตั ศิ ริ ิ อธบิ ดกี รมศลุ กากร และคณะ ได้หารือทวิภาครี ่วมกับคณะผ้แู ทนจากศุลกากรเนเธอร์แลนด์ ณ สำ� นักงานใหญศ่ ุลกากรเนเธอร์แลนด์ โดยมหี ัวข้อการหารอื ได้แก่ ความรว่ มมอื ดา้ นศลุ กากรระหวา่ ง 2 หนว่ ยงาน การพาณชิ ยอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ การใชส้ อ่ื สงั คมออนไลน์ในการควบคุมทางศลุ กากร รวมท้งั ความร่วมมือ ระหว่างศุลกากรและภาคเอกชน นอกจากน้ี ได้ศกึ ษาดงู าน ณ ท่าเรือ รอตเตอรด์ ัม โดยเน้นเก่ียวกับนโยบาย และการปฏบิ ตั งิ านในภาพรวม ของศุลกากร ณ ท่าเรือดงั กล่าว รวมท้ังเทคโนโลยที ีท่ ันสมยั ท่ีนำ� ใช้ใน ระบบงานศลุ กากร ในการน้ี นางสาวพรประไพ กาญจนรนิ ทร,์ Ambassador Extraordinary and Plenipotentiary ประจำ� สถานเอกอัครราชทตู ณ กรุงเฮก ได้เขา้ ร่วมในการศกึ ษาดงู านดังกลา่ วด้วย พธิ เี ปดิ โครงการฝกึ อบรมหลกั สตู รขา้ ราชการบรรจใุ หม่ (New - entry Customs Officers) รนุ่ ที่ 4/2560 เมอื่ วนั ท่ี 13 กรกฎาคม 2560 นายกลุ ศิ สมบตั ศิ ริ ิ อธบิ ดกี รมศลุ กากร พร้อมคณะผู้บริหารร่วมพิธีเปิดโครงการฝึกอบรมหลักสูตรข้าราชการ บรรจใุ หม่ (New - entry Customs Officers) รุน่ ที่ 4 ประจ�ำปี งบประมาณ พ.ศ.2560 ใหแ้ กข่ า้ ราชการบรรจใุ หมใ่ นตำ� แหนง่ นกั วชิ าการ ศลุ กากรปฏบิ ตั กิ าร นกั วทิ ยาศาสตรป์ ฏบิ ตั กิ าร นกั วชิ าการพสั ดปุ ฏบิ ตั กิ าร นายช่างโยธาปฏบิ ตั ิงาน เจา้ พนกั งานเดนิ เรือปฏิบัติงาน และนายช่าง เครื่องกลปฏิบตั ิงาน จ�ำนวนทง้ั สนิ้ 61รายระหวา่ งวนั ท่ี13กรกฎาคม2560 ถงึ 5 กนั ยายน 2560 ณ หอ้ งประชมุ ใหญ่ ชนั้ 15 อาคาร 120 ปี กรมศลุ กากร Customs Buletin 15 กรกฎาคม 2560

16 Customs Snap Shot การประชมุ คณะอนกุ รรมการพฒั นานโยบายและก�ำกับดแู ล ระบบ NSW คร้งั ที่ 1/2560 เมอื่ วนั ท่ี 18 กรกฎาคม 2560 นายกลุ ศิ สมบตั ศิ ริ ิ อธบิ ดกี รมศลุ กากร เปน็ ประธานการประชมุ คณะอนกุ รรมการพฒั นานโยบายและกำ� กบั ดแู ล ระบบ National Single Window (NSW) ครั้งท่ี 1/2560 ณ ห้องประชมุ ภาสกรวงศ์ ช้ัน 2 อาคาร 1 กรมศลุ กากร อธิบดีกรมศุลกากร ใหก้ ารตอ้ นรบั เอกอคั รราชทตู แคนาดา ประจ�ำประเทศไทย เมอ่ื วนั ที่ 19 กรกฎาคม 2560 นายกลุ ศิ สมบตั ศิ ริ ิ อธบิ ดกี รมศลุ กากร ใหก้ ารต้อนรับ นางโดนกิ า พอตตี (H.E. Mrs. Donica Pottie) เอกอคั รราชทตู แคนาดาประจ�ำประเทศไทย พรอ้ มร่วมหารอื ในประเดน็ ความรว่ มมอื ดา้ นศุลกากร ณ ห้องรับรอง 3 ชัน้ 2 อาคาร 1 “คนคลงั รวมพลังสรา้ งความดี” (MOF International Culture Charity Fair) เมอ่ื วันท่ี 24 กรกฎาคม 2560 นายชยั ยทุ ธ ค�ำคณุ รษก.ทป่ี รึกษา ด้านพฒั นาระบบควบคุมทางศลุ กากรร่วมพธิ เี ปดิ “คนคลงั รวมพลงั สร้าง ความดี” (MOF International Culture Charity Fair) โดยกรมศลุ กากร ได้ร่วมจดั บูธกิจกรรมบิงโกและขายของราคาถกู ทัง้ นีก้ จิ กรรมดังกล่าว จัดข้ึนระหวา่ งวันที่ 24-25 กรกฎาคม 2560 ณ กระทรวงการคลงั

การประชมุ The Kick-Off Regional Customs Meeting ระหวา่ ง ศลุ กากรไทยและศุลกากรกมั พูชา เมอ่ื วนั ที่ 25 กรกฎาคม 2560 นายกลุ ศิ สมบตั ศิ ริ ิ อธบิ ดกี รมศลุ กากร พรอ้ มคณะเข้ารว่ มประชมุ TheKick-OffRegionalCustomsMeeting ระหว่างศลุ กากรไทยและศลุ กากรกัมพูชา ร่วมหารอื กนั ในหลายประเดน็ อาทเิ ช่น การอำ� นวยความสะดวกทางการค้า การควบคมุ สนิ ค้าผา่ นแดน โดยมีจุดประสงค์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการอ�ำนวยความสะดวกทาง การคา้ บริเวณชายแดนไทย-กมั พชู าอกี ทง้ั ยงั เพอ่ื เสริมสร้างความรว่ มมอื และความสัมพันธ์อันดีระหว่างกัน ณ โรงแรมอังกอร์พาเลซรสี อร์ท แอนดส์ ปา จังหวดั เสียมราฐ ประเทศกัมพูชา ลงนามถวายพระพรชยั มงคล สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั มหาวชริ าลงกรณ บดินทรเทพยวรางกรู เมอื่ วนั ที่ 27 กรกฎาคม 2560 นายกลุ ศิ สมบตั ศิ ริ ิ อธบิ ดกี รมศลุ กากร พรอ้ มคณะผู้บริหาร ขา้ ราชการ พนักงานราชการ และลกู จา้ งของ กรมศุลกากร รว่ มพธิ ีลงนามถวายพระพรชัยมงคล สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เนื่องในโอกาสวันเฉลิม- พระชนมพรรษา 65 พรรษา 28 กรกฎาคม 2560 ณ หอ้ งโถง อาคาร 1 กรมศลุ กากร CustomกsรกฎBาuคlมle2t5i6n0 17

18 Customs Snap Shot การประชุม 22nd Joint Development Area (JDA) เมอื่ วนั ท่ี25กรกฎาคม2560นายอวยชยั กลุ ทพิ ยม์ นตรีรองอธบิ ดี เปน็ ประธานการประชุม 22nd Joint Development Area (JDA) ณ โรงแรงแชงกรลี ่า จังหวดั เชยี งใหม่ การประชมุ ดงั กล่าวจัดขึ้นระหวา่ ง วันท่ี 25 - 27 กรกฎาคม 2560 พธิ ที ำ� บญุ ตกั บาตรถวายพระราชกศุ ล พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทร- มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร เม่ือวนั ท่ี 28 กรกฎาคม 2560 รฐั บาล นำ� โดย พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรฐั มนตรี รว่ มพิธที �ำบญุ ตักบาตรถวายพระราชกุศล พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร และ ถวายพระพรชัยมงคลกับถวายพระราชกุศลสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถในรชั กาลที่ 9 และสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั เนอ่ื งใน โอกาสเฉลมิ พระชนมพรรษา65พรรษา28กรกฎาคม2560โดยตกั บาตร พระสงฆแ์ ละสามเณร จ�ำนวน 651 รูป ณ พระลานพระราชวงั ดสุ ิต กรุงเทพมหานคร ทงั้ น้ี นายสมชัย สัจจพงษ์ ปลัดกระทรวงการคลงั พร้อมคณะร่วมดว้ ยนายกลุ ิศสมบัตศิ ิริอธบิ ดกี รมศลุ กากรและผ้บู รหิ าร กรมศุลกากร เป็นผ้แู ทนของกระทรวงการคลัง เขา้ รว่ มในพธิ ีดงั กลา่ ว

ประมวลภาพ พธิ ที ำ� บญุ ตกั บาตรถวายพระราชกศุ ล พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช และถวายพระพรชัยมงคลกับถวายพระราชกศุ ล สมเด็จพระนางเจ้าสริ กิ ิติ์ พระบรมราชนิ ีนาถ ในรชั กาลที่ 9 และสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั เนอื่ งในโอกาสเฉลมิ พระชนมพรรษา 65 พรรษา 28 กรกฎาคม 2560 CustomกsรกฎBาuคlมe2t5i6n0 19

20 Customs Update โครงการพันธมติ รศุลกากร : มาตรการหลักเพ่ือกา้ วเขา้ สู่ Customs 4.0 ปัจจุบันกรมศุลกากรก�ำลังด�ำเนินการปฏิรูปกระบวนการท�ำงาน ตลอดจนได้น�ำ 12 มาตรการสำ� คัญมาเป็นปจั จยั หลักในการดำ� เนินงาน ดา้ นศลุ กากรให้มีความโปร่งใสเป็นธรรม และมีความคล่องตัวเพอ่ื เพิม่ อนั เปน็ การสร้างความโปรง่ ใสและความเปน็ ธรรมให้แกผ่ ูป้ ระกอบการ ประสิทธิภาพในการท�ำงานและให้เป็นไปตามมาตรฐานศุลกากรโลก อนั เปน็ การกา้ วเขา้ สู่ Customs4.0 กรมศลุ กากรตระหนกั ดวี า่ การสรา้ งกลไก สำ� หรับโครงการดงั กล่าว ในระยะแรกเริม่ นำ� รอ่ งกับ 8 กลุม่ พิกัด ความร่วมมือท่ีดีในการท�ำงานระหว่างกรมศุลกากรกับภาคเอกชน สนิ คา้ ที่มกี ารน�ำเข้าและส่งออกทพ่ี บปญั หามากสุด ได้แก่ รหสั พกิ ดั ใน ถือเป็นภารกิจหลักในการปฏิรูปกระบวนการท�ำงานของกรมศุลกากร หมวด 07 : สินค้าเกษตร, รหสั พกิ ดั ในหมวด 30 : สินคา้ เภสัชกรรม, จงึ ไดจ้ ัดทำ� โครงการ “พนั ธมิตรศลุ กากร (Customs Alliances)” ข้ึน รหสั พิกดั ในหมวด 39 : สินค้าพลาสตกิ , รหัสพิกัดในหมวด 72 : สินค้า โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือเพิ่มช่องทางในการส่ือสารระหว่างภาคเอกชนกับ เหล็ก, รหัสพิกัดในหมวด 73 : สินคา้ ผลิตภัณฑ์จากเหล็ก, รหสั พกิ ัดใน กรมศลุ กากร ในการให้คำ� แนะนำ� ตดิ ต่อประสานงาน แก้ไขปญั หาและ หมวด 84 : สนิ คา้ เคร่อื งจกั ร, รหสั พกิ ดั ในหมวด 85 : สนิ ค้าIT และ สรา้ งความชดั เจน ลดขอ้ โตแ้ ยง้ ทจี่ ะเกดิ ขน้ึ ในดา้ นตา่ งๆ ทง้ั ปญั หาเชงิ นโยบาย รหสั พกิ ดั ในหมวด 87 : สินค้ายานพาหนะ ทง้ั นี้คณะท�ำงานพันธมติ ร และปญั หาหนา้ งานปกติ อาทิ พิธกี ารศุลกากร พกิ ดั อัตราศุลกากร ราคา ศุลกากร (Customs Alliances Team) นำ� โดยนายกุลิศ สมบัติศริ ิ อธิบดี ถน่ิ กำ� เนดิ กฎหมายศลุ กากรสทิ ธปิ ระโยชน์และปญั หาอนื่ ๆ โดยมอบหมาย กรมศลุ กากรในฐานะหวั หนา้ คณะทำ� งาน เดนิ สายเขา้ พบกบั ภาคเอกชนและ เจา้ หนา้ ทศ่ี ลุ กากรจากสว่ นกลาง (Account Officer Center : AOC) สมาคมธุรกิจการคา้ ต่างๆ มากว่า 18 แหง่ เพ่อื ประชาสัมพนั ธ์โครงการฯ ท�ำหน้าที่ติดต่อประสานกับผู้เชี่ยวชาญในแต่ละด้านของแต่ละพ้ืนท่ี สรา้ งความความรบั รู้ความเขา้ ใจ พรอ้ มหารอื รบั ฟังปญั หา แลกเปล่ียน (Account Officer Expert) เพอ่ื แก้ปัญหาและใหค้ ำ� ปรกึ ษาอย่างรวดเรว็ ความคดิ เห็น ตอบขอ้ ซักถาม และรว่ มกันแกไ้ ขปญั หา ทงั้ นโ้ี ครงการ ทนั ตอ่ เหตกุ ารณ์ ซง่ึ เปน็ การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการทำ� งาน ประหยดั เวลา “พนั ธมติ รศุลกากร (Customs Alliances)” ไดป้ ดิ การรบั ลงทะเบียน และลดค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในระหว่างการด�ำเนินพิธีการทางศุลกากร เปน็ สมาชกิ เป็นทเ่ี รียบรอ้ ยแลว้ เม่อื วันที่ 31 มีนาคม 2560 และได้ รับผลตอบรับเปน็ อย่างดจี ากภาคเอกชน ซึ่งปัจจุบันมีภาคเอกชนร่วม กCรuกsฎtาoคมm2s560Bul etin

ลงทะเบียนเปน็ สมาชิกโครงการพันธมติ รศุลกากรแล้วทั้งสิน้ 325 ราย และเมื่อวนั ที่ 7 มิถนุ ายน 2560 ทผ่ี า่ นมา กรมศุลกากรไดจ้ ัดงานเปดิ ตัว พันธมติ รศุลกากร (Customs Alliance Members) อยา่ งเป็นทางการ ณ ศนู ยก์ ารประชมุ แหง่ ชาตสิ ริ กิ ติ ิ์ พรอ้ มมอบใบรบั รองใหแ้ กส่ มาชกิ ทกุ ราย กรมศุลกากรมุ่งม่ันพัฒนาการท�ำงานอย่างต่อเน่ืองไม่หยุดย้ัง เพอ่ื พฒั นาเศรษฐกจิ ไทยและเศรษฐกจิ โลก อำ� นวยความสะดวกทางการคา้ ปกปอ้ งสงั คม ดงั วิสยั ทศั น์กรมศลุ กากรทวี่ า่ “องคก์ รทม่ี งุ่ มน่ั ใหบ้ รกิ าร ศลุ กากรเปน็ เลศิ เพอื่ การพฒั นาทย่ี งั่ ยนื ของเศรษฐกจิ ไทยและเชอ่ื มโยง การคา้ โลก” CustomกsรกฎBาuคlมe2t5i6n0 21

22 Customs News กรมศลุ กากร จดั งานวนั คลา้ ยวนั สถาปนากรมศุลกากร ครบรอบ 143 ปี เม่ือวันองั คารท่ี 4 กรกฎาคม 2560 เวลา 07.00น. - 12.00 น. ณ บรเิ วณหอ้ งโถง อาคาร 1 กรมศลุ กากร นายกลุ ศิ สมบตั ิศิริ อธิบดี กรมศุลกากร เปน็ ประธานในพธิ ีทางศาสนาและกิจกรรมวนั คลา้ ยวัน สถาปนากรมศลุ กากรครบรอบ143ปีพรอ้ มมอบเครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณ์ รางวัลเชิดชูเกียรติแก่คนดีศรีศุลกากรประพฤติปฏิบัติตนชอบ ดว้ ยความซอื่ สตั ยส์ จุ รติ ของกรมศลุ กากร ประจำ� ปี 2560 และขา้ ราชการ ผมู้ ผี ลงานดี ตลอดจนมอบทนุ การศกึ ษาแก่บตุ รธดิ าข้าราชการและ ลกู จ้างกรมศุลกากร นายกลุ ิศ สมบตั ศิ ิริ กล่าวว่า เนื่องในวนั ท่ี 4 กรกฎาคม 2560 ซง่ึ เปน็ วนั คลา้ ยวนั สถาปนากรมศลุ กากร ซงึ่ ปนี กี้ รมศลุ กากรครบรอบ 143 ปี ในการน้กี รมศุลกากรได้จัดพิธีการทางศาสนา ถวายภัตตาหารเช้าแด่ คณะสงฆ์ สกั การะส่งิ ศักดสิ์ ิทธ์ปิ ระจ�ำกรมศุลกากร เจริญพระพทุ ธมนต์ ถวายเครอื่ งสงั ฆทาน จากนนั้ จดั พธิ ีมอบเครอ่ื งราชอิสริยาภรณ์ รางวัล เชิดชเู กียรตแิ ก่คนดศี รศี ุลกากร ผมู้ ผี ลงานดขี องกรมศลุ กากร ผ้ปู ระพฤติ ปฏิบัติตนชอบด้วยความซ่ือสตั ย์สจุ ริตของกรมศลุ กากร ประจ�ำปี 2560 และขา้ ราชการพลเรอื นดเี ด่นของกรมศุลกากร ประจ�ำปี 2559 ตลอดจน มอบทุนการศึกษาแก่บุตรธิดาข้าราชการและลูกจ้างกรมศุลกากร นอกจากนไ้ี ดม้ กี ารจดั แสดงผลงานของกรมศลุ กากร โดยไดร้ บั เกยี รตจิ ากแขก ผูม้ เี กียรตเิ ข้าร่วมแสดงความยนิ ดกี ับกรมศุลกากรเปน็ จำ� นวนมาก

ตลอดระยะเวลาท่ีผ่านมากรมศุลกากรมุ่งม่ันพัฒนาการท�ำงาน อย่างต่อเน่ืองไม่หยุดย้ังเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก อ�ำนวยความสะดวกทางการค้า ปกป้องสงั คม ดงั วสิ ัยทศั น์กรมศุลกากร ท่ีว่า “องค์กรที่มุ่งมั่นใหบ้ รกิ ารศุลกากรเปน็ เลิศ เพื่อการพฒั นา ท่ยี งั่ ยนื ของเศรษฐกจิ ไทยและเชอ่ื มโยงการคา้ โลก” CustomกsรกฎBาuคlมe2t5i6n0 23

24 Customs News กรมศุลกากรขายทอดตลาดรถของกลาง 199 คัน กวาดรายไดเ้ ข้ารัฐกวา่ 365 ลา้ นบาท ผลการประมลู ขายทอดตลาดรถยนตแ์ ละรถจกั รยานยนตข์ องกลาง เมอ่ื วนั ที่6กรกฎาคม2560ทผี่ า่ นมากรมศลุ กากรสามารถขายทอดตลาด รถยนตแ์ ละรถจกั รยานยนตข์ องกลางได้ จำ� นวน 199 คนั นำ� รายไดเ้ ขา้ รฐั กวา่ 365 ลา้ นบาท นายชัยยุทธ ค�ำคุณ รองอธิบดีรักษาราชการแทนอธิบดี กรมศลุ กากร และในฐานะโฆษกกรมศลุ กากร เปดิ เผยวา่ จากทก่ี รมศลุ กากร ไดจ้ ดั งานการประมลู ขายทอดตลาดรถของกลางทง้ั สิ้น จำ� นวน 300 คนั โดยเป็นรถยนตข์ องกลางทน่ี �ำออกประมูล จำ� นวน 268 คัน และ รถจกั รยานยนตข์ องกลางทน่ี ำ� ออกประมลู จำ� นวน 32 คนั ทงั้ นก้ี รมศลุ กากร สามารถขายทอดตลาดรถยนต์และรถจักรยานยนต์ของกลางได้ทั้งส้ิน จำ� นวน 199 คนั ซง่ึ เปน็ รถยนตข์ องกลาง จำ� นวน 177 คนั รถจกั รยานยนต์ 22 คนั รวมรายไดเ้ ขา้ รฐั ทง้ั สนิ้ 365,172,000 บาท สำ� หรบั รถยนตข์ องกลาง ท่ีมีผู้ประมลู ไปในราคาสูงสุด 3 ล�ำดบั แรก ไดแ้ ก่ 1. รถยนตย์ ห่ี อ้ ROLLSROYCEรนุ่ PHANTOMBLACK ปี2006สดี ำ� เปิดประมูลในราคา 10,750,000 บาท สามารถจ�ำหน่ายได้ในราคา 18,200,000 บาท 2. รถยนตย์ หี่ อ้ PORSCHE รนุ่ 911 CARRERA TURBO S ปี 2014 สเี ทา เปดิ ประมลู ในราคา 9,290,000 บาท สามารถจ�ำหน่ายไดใ้ นราคา 14,600,000 บาท

3. รถยนต์ย่ีห้อ ROLLS ROYCE รุ่น PHANTOM ปี 2006 สีด�ำ เปิดประมูลในราคา 8,990,000 บาท สามารถจ�ำหน่ายได้ในราคา 13,100,000 บาท ในส่วนของรถจักรยานยนต์ของกลางท่ีมีผู้ประมูลไปในราคา สงู สุด 3 ล�ำดับแรก ไดแ้ ก่ 1. รถจกั รยานยนต์ยีห่ ้อ BMW รนุ่ R68 ปี 1954 สดี ำ� เปิดประมูล ในราคา 203,000 บาท สามารถจำ� หนา่ ยได้ในราคา 3,600,000 บาท 2. รถจกั รยานยนต์ ยห่ี อ้ BMW รุ่น R69 S สดี �ำ เปิดประมลู ใน ราคา 203,000 บาท สามารถจำ� หนา่ ยได้ ในราคา 1,750,000 บาท 3. รถจกั รยานยนต์ ยห่ี อ้ BMW รนุ่ R60US ปี 1969 สดี ำ� เปดิ ประมลู ในราคา 540,000 บาท สามารถจำ� หน่ายได้ในราคา 1,300,000 บาท ท้ังน้ีผู้ชนะการประมูลต้องช�ำระเงินค่าซื้อรถยนต์และ จักรยานยนต์ของกลางครบเต็มจ�ำนวนที่ได้ประมูลต่อกรมศุลกากร ภายในวนั พุธที่ 19 กรกฎาคม 2560 (ไม่รวมเงินคำ้� ประกนั การประมูล) แ ล ะ จ ะ ต ้ อ ง น� ำ ร ถ ย น ต ์ แ ล ะ ร ถ จั ก ร ย า น ย น ต ์ ไ ป จ ด ท ะ เ บี ย น ท่ี กรมขนสง่ ทางบก กระทรวงคมนาคม ภายใน 6 เดอื น นับตงั้ แตว่ นั ที่ออก ใบรบั รองการนำ� เข้า (แบบที่ 32) กรมศุลกากรมุ่งมั่นให้บริการเพื่อการพัฒนาท่ีย่ังยืน ของเศรษฐกิจไทยและเชอื่ มโยงการคา้ โลก จดั เก็บภาษีอย่างเปน็ ธรรม โปรง่ ใส และมีประสทิ ธิภาพ ปกป้องสังคมให้ปลอดภยั ด้วยระบบควบคุม ทางศุลกากร ท้ังยังอ�ำนวยความสะดวกทางการค้าและสง่ เสรมิ ระบบ โลจสิ ตกิ สข์ องประเทศ พรอ้ มสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ของประเทศดว้ ยมาตรการ ทางศลุ กากรและข้อมูลการค้าระหวา่ งประเทศ CustomกsรกฎBาuคlมe2t5i6n0 25

26 Customs Update Cกรuกsฎtาoคมm2s560Bul etin

CustomกsรกฎBาuคlมe2t5i6n0 27

28 Customs Relax พระราชประวัติ รัชกาลที่ 10 สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มหาวชริ าลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกูร รชั กาลที่10 มีพระนามเดิมว่า สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟา้ มหาวชริ าลงกรณฯ สยามมกุฎราชกมุ าร เปน็ พระโอรสพระองคเ์ ดียว ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช รัชกาลท่ี 9 และ สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ พระบรมราชนิ นี าถ ทรงเปน็ สยามมกฎุ ราชกมุ าร พระองค์แรกในสมัยระบอบการปกครองประชาธิปไตยของประเทศไทย พระราชสมภพเมอ่ื วนั จนั ทรท์ ่ี 28 กรกฎาคม พทุ ธศกั ราช 2495 ณ พระทนี่ งั่ อมั พรสถาน พระราชวังดุสติ ทรงมพี ระเชษฐภคนิ ี 1 พระองค์ คือ ทูลกระหม่อมหญิงอบุ ลรตั นราชกัญญาสริ ิวฒั นาพรรณวดี พระนามเดิม สมเดจ็ พระเจ้าลกู เธอ เจา้ ฟ้าอุบลรตั นราชกญั ญา สริ ิวัฒนาพรรณวดีและ พระขนษิ ฐภคนิ ี 2 พระองค์ คอื สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี และสมเด็จพระเจ้าลกู เธอ เจ้าฟ้าหญิงจฬุ าภรณวลัยลกั ษณ์ อคั รราช กมุ ารี เมือ่ พระชนมายุ 20 พรรษาบริบูรณ์ ทรงบรรลนุ ติ ิภาวะตาม กฎหมายจึงก�ำหนดให้มีการพระราชพิธีสถาปนาเฉลิมนามาภิไธย สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าชเจา้ ฟา้ มหาวชริ าลงกรณ สยามราชกุมาร ในเดือน ธนั วาคม พุทธศกั ราช 2515 และทางราชการได้ก�ำหนดให้มี พระราชพิธีสถาปนาเฉลิมนามาภิไธย สมเด็จพระบรมโอรสาธริ าชฯ สยามราชกุมาร ในวนั ท่ี 28 ธนั วาคม พุทธศักราช 2515 หลังจากได้

ว่างเว้น พระราชพิธีฯ มาเป็นระยะเวลา 78 ปี เน่ืองจากในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หวั รชั กาลท่ี 6 และรชั สมยั ของ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี 7 ไม่มีพระราชพิธี สถาปนาองค์รัชทายาทหรือมงกุฎราชกุมารเนื่องจากพระมหากษัตริย์ ทง้ั สองพระองคไ์ มท่ รงมีพระราชโอรส พระราชกรณียกจิ และพระปรชี าสามารถทางด้านต่างๆ ด้านศาสนา พระองค์ทรงมีพระราชศรัทธาทรงออกผนวชในพระบวร พระพทุ ธศาสนา เมอื่ วนั ท่ี 6 พฤศจกิ ายน พุทธศกั ราช 2521 ทรงศึกษา และปฏบิ ตั พิ ระธรรมวนิ ยั อยา่ งเครง่ ครดั นอกจากนนั้ ได้ เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ แทนพระองค์ ไปปฏบิ ัตพิ ระราชกิจทางศาสนาเป็นประจำ� เสมอ เชน่ ทรงเปลี่ยนเครอื่ งทรงพระพุทธมหามณรี ตั นปฏมิ ากร ณ วดั พระศรรี ัตน- ศาสดารามตามฤดกู าล เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ แทนพระองค์ ไปทรงบำ� เพญ็ พระราชกศุ ลในวนั สำ� คญั ตา่ งๆ ทางศาสนา และถวายกฐนิ หลวงตามวดั ตา่ งๆ อยา่ งตอ่ เน่ือง โดยมขิ าดตกบกพรอ่ ง ดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสุข ทรงพระราชทานพระราชทรพั ยส์ นบั สนนุ ใหม้ อี ปุ กรณก์ ารแพทย์ เครอื่ งมือเครอื่ งใช้ที่ทนั สมัยเพอื่ สามารถใหบ้ รกิ ารท่ดี ีแก่ประชาชน และ ทรงรับผูป้ ่วยยากไร้ไว้ในพระราชานุเคราะห์ ทรงตระหนักว่าสขุ ภาพ พลานามัยอันดีของประชาชนเป็นปัจจัยส�ำคัญของการสร้างสรรค์ ทรัพยากรบคุ คลอันมคี ณุ ภาพไว้เป็นก�ำลังในการพัฒนาประเทศ ดา้ นการทหาร ทรงเข้ารับการศกึ ษาด้านการทหาร เม่อื ปี พุทธศกั ราช 2515- พทุ ธศกั ราช 2519 ณ มหาวทิ ยาลัยนวิ เซาทเ์ วลส์ ประเทศออสเตรเลีย ทรงฝึกหลกั สูตรวิชาอาวุธพิเศษ การท�ำลายและยุทธวธิ ีรบนอกแบบ หลกั สตู รต้นหนชนั้ สูง หลักสูตรการลาดตระเวน และทรงการดำ� เนนิ งาน ด้านการทหารมาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะช่วงการปะทะกันระหวา่ ง ผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์กับเจ้าหน้าที่ทหารและต�ำรวจตามพื้นที่ต่างๆ ในประเทศ ทำ� ใหเ้ กดิ ความสญู เสยี แกค่ รอบครวั ผเู้ สยี ชวี ติ ในเหตกุ ารณน์ นั้ ทรงเสด็จพระราชด�ำเนินไปยังพื้นที่ที่มีการปะทะเพื่อเยี่ยมเยือนและ พระราชทานขวญั และก�ำลงั ใจ ด้านการบนิ ด้วยความตั้งพระราชฤทัยถ่ายทอดพระประสบการณ์และ ความรอบรู้ในเทคนิคสมัยใหม่เพื่อพัฒนากองทัพอากาศได้ทรงเข้าร่วม การฝึกซอ้ มการแข่งขันการใช้อาวุธทางอากาศ และทรงปฏิบัติหน้าที่ ครูการบินฝึกสอนนักบินขับไล่ของกองทัพอากาศท้ังด้านภาควิชาและ การฝึกบิน ต่อมาทรงเร่ิมฝึกการบินเครื่องบินล�ำเลียงเพ่ือเพ่ิมพูน ประสบการณแ์ ละความเชี่ยวชาญนำ� ไปสู่การบินพาณิชย์ได้ ทรงได้รับ ใบอนุญาตครูฝึกภาคอากาศและผู้ตรวจสอบนักบินส�ำหรับเคร่ืองบิน พาณชิ ย์ ทรงทุ่มเทฝกึ การบินแบบต่างๆ มาเป็นระยะเวลานาน ทรงฝึก หลกั สตู รการบินเฮลิคอปเตอร์เพื่อใช้งานท่ัวไป หลักสูตรเฮลิคอปเตอร์ โจมตี และแบบโจมตตี ิดอาวุธ CustomกsรกฎBาuคlมe2t5i6n0 29

30 Customs Relax ด้านเกษตรกรรม สืบเน่ืองมาจากแนวพระราชกรณียกิจทางด้านเกษตรของ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รัชกาลท่ี 9 คร้งั หนึง่ สมเด็จพระเจา้ อย่หู วั มหาวชริ าลงกรณ บดินทรเทพยางกรู รัชกาลท่ี 10 ทรงปฏบิ ตั ิการสาธิต การทำ� นาด้วยพระองค์เอง ไดท้ รงถอดฉลองพระบาทถลกพระสนบั เพลา ทรงพระดำ� เนนิ ลยุ โคลน หวา่ นพนั ธข์ุ า้ วปลกู และปยุ๋ หมกั ในแปลงนาสาธติ โดยมิไดม้ กี ำ� หนดการไวก้ ่อน สร้างความชนื่ ชมโสมนสั ปลาบปลม้ื ปติ ิและ ซาบซึ้งในพระราชจริยวัตรแก่บรรดาข้าราชการและประชาชนที่มาเฝ้า ทลู ละอองพระบาทในพธิ กี ารวนั นนั้ เปน็ อยา่ งยง่ิ ทงั้ ยงั พระราชทานอปุ กรณ์ การท�ำนาพนั ธ์ุข้าวปลกู และปุ๋ยหมักใหข้ า้ ราชการผูใ้ หญไ่ ปดำ� เนนิ การ สาธติ ดา้ นกีฬา เมอ่ื คร้งั ตามเสดจ็ ฯ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัวรัชกาลท่ี 9 และสมเดจ็ พระบรมราชินีนาถ เสด็จประพาสยโุ รป สมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั มหาวชิราลงกรณ บดนิ ทรเทพยางกรู รชั กาลที่ 10 ได้มโี อกาสทรงสเกต็ น้�ำแขง็ ร่วมกบั ทลู กระหมอ่ มหญิงอุบลรตั นราชกัญญาสริ ิวัฒนาพรรณวดี และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี รวมถงึ ทรง เรอื ใบร่วมแข่งขันกับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี 9 และ ทลู กระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี เม่ือเสด็จ แปรพระราชฐานไปประทับ ณ พระราชวังไกลกังวล หัวหิน อีกดว้ ย

ทรงมพี ระอธั ยาศยั รกั การผจญภยั และออกกำ� ลงั พระวรกาย มาตง้ั แตพ่ ระเยาว์ ท้งั การทรงม้า ที่ทรงฝึกหัดมาตั้งแต่พระชันษาเพียง 11-13 พรรษา ไดอ้ ยา่ งคล่องแคล่ว นอกจากนั้น ขณะที่ทรงศึกษาท้ังในประเทศและ ตา่ งประเทศ พระองคท์ รงร่วมกจิ กรรมกฬี ากับพระสหาย ท้ังการแขง่ ขัน ฟตุ บอล รักบ้ี และเรอื พาย ขอพระองคท์ รงพระเจรญิ ยงิ่ ยนื นาน ดว้ ยเกลา้ ดว้ ยกระหมอ่ ม ขอเดชะ อ้างอิงจาก : หนังสอื 63 พรรษามหาวชริ าลงกรณ สำ� นกั งานศิลปวัฒนธรรม หนังสือจดหมายเหตเุ ฉลมิ พระเกียรติ สมเด็จพระบรมโอรสาธริ าช เจา้ ฟา้ มหาวชิราลงกรณ สยามกุฎราชกุมาร เนอื่ งในโอกาสพระราชพธิ มี หามงคลเฉลมิ พระชน พรรษา 5 รอบ 28 กรกฎาคม 2555 http://www.thaigoodview.com http://www.koratstartup.com/king-rama-10/ http://www.news.sanook.com/2098526/ http://www.news.sanook.com/2098478/ http://www.news.sanook.com/2106006/ http://www.matichon.co.th/news/387757 http://www.thailandworldnews.com http://www.sites.google.com/site/aekarat4808/home/ phra-rach-krniykic-r-10 CustomกsรกฎBาuคlมe2t5i6n0 31

บรรณาธิการบริหาร นายกรีชา เกดิ ศรีพนั ธ์ุ หัวหน้ากองบรรณาธกิ าร นางปณุ ณภา ตอสวุ พรรณ ผชู้ ่วยกองบรรณาธิการ นางสาวนัยรตั น์ พงศศ์ กั ดนิ นท์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook