Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore PrabKaoKungThep

PrabKaoKungThep

Description: PrabKaoKungThep

Search

Read the Text Version

ความนำ�สั้นๆ ๑. ท่มี าของภาพ ภาพถา่ ยกรงุ เทพฯ หลายภาพไดจ้ ากหอจดหมายเหตแุ หง่ ชาติ และหลายภาพไดจ้ ากหอ้ งสมดุ สว่ นตวั บางภาพเชน่ ภาพชดุ ตลาดนา้ํ ยคุ ใกล้ ๒๕๐๘ ถูกท้ิงเปน็ ขยะ ซื้อไดจ้ ากแผงหนงั สือเกา่ วชิ าถ่ายภาพเรมิ่ เขา้ เมืองไทยเม่อื ราว พ.ศ. ๒๓๘๘ (ปลาย สมยั รชั กาลท่ี ๓) โดยสงั ฆราชปลั เลอกวั ซ์ ชาวฝรงั่ เศสซง่ึ ประจำ�อยู่ ท่วี ดั คอนเซป็ ชัญ สามเสน ขอใหบ้ าทหลวงลารโ์ นดี ผ้มู ีความร้ทู าง ชา่ งหลายสาขา นำ�กลอ้ งพรอ้ มอปุ กรณเ์ ขา้ มาระหวา่ งเดนิ ทางสบู่ างกอก สมยั รชั กาลท่ี ๔ เรมิ่ มรี า้ นถา่ ยรปู (ตง้ั อยบู่ นเรอื นแพหนา้ วดั ซางตาครสู้ ) ของขนุ สนุ ทรสาทสิ ลกั ษณ์ (นายจติ ร ตน้ สกลุ จติ ราคนี ตอ่ มาได้เป็นหลวงอัคนนี ฤมติ ร) และสมัยรชั กาลท่ี ๕ การถา่ ยรปู กเ็ รม่ิ ขยายตวั (รวมทง้ั ขยายไปยงั ตา่ งจงั หวดั ดว้ ย เชน่ ทสี่ งขลาและ เชยี งใหม)่ รัชกาลท่ี ๕ ทรงสนพระทัยเร่ืองการถ่ายรปู มาตง้ั แตย่ ังหนมุ่ ช่วงปลายรชั กาลทรงเลน่ กล้องและถ่ายรูปเองเป็นจำ�นวนมาก จาก ความสนพระทยั นท้ี ำ�ใหค้ นรนุ่ หลงั มภี าพเกา่ ไวศ้ กึ ษาจำ�นวนมหาศาล จงึ ควรช่วยกนั รกั ษาและเผยแพร่ให้คงอยตู่ ลอดไป เอนก นาวิกมูล 13 13

๒. กรุงเทพฯ บรเิ วณสองฝง่ั แมน่ า้ํ เจา้ พระยาแถบนเ้ี ดมิ เรยี กวา่ “บางกอก” เป็นชุมชนเก่ามาแต่ยุคกรุงศรีอยุธยา สังเกตได้จากวัดเก่าจำ�นวน มาก ซ่ึงสร้างมาแต่ครัง้ กระโนน้ รัชกาลท่ี ๑ (พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก- มหาราช) ทรงเริ่มสร้างกรุงเทพฯ เม่ือ พ.ศ. ๒๓๒๕ โปรดให้ขุด คลองรอบกรุง คลองมหานาค และสร้างกำ�แพงเป็นศรีสง่ารอบตัว พระนคร แต่ภายหลงั ถูกรื้อออกเสยี มากเพื่อการคมนาคม สมยั รชั กาลท่ี ๕ (พ.ศ. ๒๔๑๑-๒๔๕๓) มกี ารสรา้ งวงั สวยๆ และตึกแถวงามๆ มากขึ้น ทรงสร้างสะพานท่ีมีลวดลายประดับ งดงามหลายแห่ง บัดน้ี (พ.ศ. ๒๕๕๘) กรุงเทพฯ มีอายุ ๒๓๓ ปี ๓. ความเปลี่ยนแปลง พระมหากษัตริย์ เจ้านาย และพ่อค้า มักเป็นผู้นำ�ในการ เปลี่ยนแปลงด้านตา่ งๆ เสมอ เช่นรชั กาลท่ี ๔ ทรงเร่ิมใช้สนบั เพลา (กางเกง) อยา่ งชาวตะวันตก ทรงเรม่ิ ส่ง ส.ค.ส. หรอื บตั รอวยพร ปใี หม่อย่างตะวันตก ทรงเรียนร้ฝู ร่งั แตก่ ็ทรงรกั ษาสิง่ ดีๆ แบบไทย เอาไว้ได้อยา่ งสมดุล สมัยรัชกาลที่ ๓-๔-๕ จึงยังมีทั้งเรือนไทย โบสถ์วิหารที่ งดงาม มบี รเิ วณกวา้ งขวาง รม่ รน่ื ดดู ไี มแ่ พส้ ง่ิ กอ่ สรา้ งแบบตะวนั ตก 14 14 ภาพเก่ากรุงเทพฯ

สมัยรัชกาลท่ี ๕ ชายเริ่มตัดผมรองทรงแทนผมมหาดไทย แบบโบราณ หญงิ ตดั ผมทรงดอกกระทุ่มแทนผมปกี แบบโบราณ สมยั รชั กาลท่ี ๖ (ยคุ ๒๔๖๐) มพี ระราชนยิ มใหส้ ตรนี งุ่ ผา้ ซน่ิ สมยั รชั กาลท่ี ๗ (ยคุ ๒๔๗๐) มแี ฟชน่ั เสอ้ื แขนกดุ (ของสตร)ี ตามแบบตะวนั ตก สมัยรัชกาลท่ี ๘ (ยุค ๒๔๘๐ หรือยุคจอมพล ป. พิบูล- สงคราม) มีรัฐนิยมใหส้ วมหมวก แต่งตวั สภุ าพ หญิงนุ่งผา้ ถุงแทน โจงกระเบน ใหเ้ ลกิ กนิ หมาก รฐั บาลสรา้ งอาคารทด่ี มู นั่ คงหลายแหง่ เชน่ อาคารบนถนนราชดำ�เนนิ สมัยปัจจุบัน มีรถไฟฟ้าทั้งบนดินและใต้ดินที่ทันสมัย คอมพิวเตอร์-อินเทอร์เน็ต และโทรศัพท์มือถือมีบทบาทในการ ทำ�งานและการใชช้ ีวิตอย่างสูง ๔. การขยายตวั พ.ศ. ๒๔๙๕ กรุงเทพฯ มีประชากรจำ�นวนราว ๔ แสน แปดหมนื่ กว่าคน พ.ศ. ๒๕๒๐ กรงุ เทพฯ มีประชากร ๔ ลา้ นกว่าคน พ.ศ. ๒๕๕๔ กรงุ เทพฯ มีประชากรราว ๗ ล้านคน กรุงเทพฯ เริ่มขยายตวั ในยุค ๒๔๙๐ เห็นไดจ้ ากมติ ค.ร.ม. ที่ให้เตรียมขยายแผนผังเมืองใหม่ โดยจะขยายไปตามถนนสาย สมุทรปราการ นนทบรุ ี และเขตธนบรุ ี ซ่งึ ยงั เปน็ เรอื กสวนอยู่ พอท่ี จะเอามาขยายเมอื งไดอ้ กี มาก เอนก นาวิกมูล 15 15

พ.ศ. ๒๔๙๕ รัฐบาลเวนคืนท่ีดินแถบบางเขนเพ่ือสร้าง เรือนจำ�ใหม่ พ.ศ. ๒๔๙๕ รัฐบาลให้ชาวเรือท่ีมาจอดเรืออาศัยในคลอง ผดุงกรงุ เกษม คลองหวั ลำ�โพง คลองสีลม ตอ้ งยา้ ยออก ปจั จบุ นั กรงุ เทพฯ มี ๕๐ เขต มตี กึ รามบา้ นชอ่ งจำ�นวนมหาศาล ๕. การคมนาคม รถลากถกู ส่งั เลกิ เมือ่ พ.ศ. ๒๔๙๖ พ.ศ. ๒๕๐๓ เลิกรถสามล้อในกรุงเทพฯ รถสามล้อเคร่ือง (จากญีป่ ุ่น) เร่ิมเข้ามาทำ�หนา้ ทแี่ ทน ๑ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๑๑ เลกิ เดนิ รถรางในกรงุ เทพฯ ยคุ ๒๕๐๐ เรมิ่ มกี ารถมคคู ลองเพอื่ ทำ�ถนน ตลาดนา้ํ ทเี่ คยมี ในแถบมหานาค-วดั ไทร-บางแวก เร่ิมหายไป ยุค ๒๕๐๐ มีดำ�ริย้ายสถานีรถไฟจากหัวลำ�โพงไปบางซื่อ แตท่ ่ีสดุ กไ็ มไ่ ดย้ ้าย ต้น พ.ศ. ๒๕๐๓ มีการต้ังสถานีกลางขึ้นท่ีชานกรุง (ของ สมัยนั้น) ๓ แห่ง คือ ท่ีตลาดหมอชิต ท่ีสามแยกไฟฉาย และท่ี เอกมัย เป็นตน้ ทางเดินรถ พ.ศ. ๒๕๐๕ เริ่มมกี ารสรา้ งท่ีพกั คนโดยสารรถเมล์ พ.ศ. ๒๕๑๖ สร้างสะพานพระปิ่นเกล้าข้ามไปยังฝ่ังธนบุรี ทำ�ให้ท่ีสวนแถบนัน้ กลายเปน็ เมอื ง 16 16 ภาพเก่ากรุงเทพฯ

๖. เบ็ดเตล็ด ๑๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๙๖ เปิดสะพานพระราม ๖ หลังการ ซ่อมใหญ่ พ.ศ. ๒๔๙๗ เปิดอนสุ าวรยี พ์ ระเจา้ ตากสิน ๙ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๔๙๙ เปดิ โรงแรมเอราวัณ พ.ศ. ๒๕๐๑ เปิดสะพานกรุงธน พ.ศ. ๒๕๐๕ เร่ิมใชร้ ะบบสัญญาณไฟอัตโนมัติ พ.ศ. ๒๕๐๖ กระทรวงมหาดไทยเรม่ิ สรา้ งสะพานขา้ มถนนขน้ึ เพอื่ ใหป้ ระชาชนไดข้ า้ มถนนโดยสะดวกในแหลง่ ทม่ี กี ารจราจรคบั คง่ั พ.ศ. ๒๕๐๖ เปดิ ศนู ยก์ ารค้าราชประสงค์ ๑๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๐๙ เปิดสะพานลอยประตูน้ํา ซง่ึ เปน็ สะพานลอยแห่งแรก ๗. ความบนั เทงิ คนไทยร้จู ักภาพยนตรต์ ัง้ แต่ พ.ศ. ๒๔๓๙ หรอื ปลายสมัย รัชกาลท่ี ๕ ต่อจากนั้นโรงฉายภาพยนตร์ก็ค่อยๆ เปิดฉายกัน ในหลายพน้ื ที่ ยุค ๒๔๗๐-๒๔๘๐ คนไทยเร่ิมสร้างภาพยนตร์มากขึ้น ภาพยนตร์ที่มีช่ือเสียงเป็นของบริษัทศรีกรุง ซ่ึงโรงถ่ายอยู่ที่ “ท่งุ บางกะปิ” หรือย่านถนนอโศก (ขา้ งสยามสมาคม) เอนก นาวิกมูล 17 17

ยคุ ๒๔๙๐-๒๕๐๐ โทรทศั นเ์ รม่ิ เปน็ ทร่ี จู้ กั เพลงลกู ทงุ่ ลกู กรงุ เพลงสากล เปน็ ทนี่ ยิ ม การเลน่ แบบเกา่ เช่น ละครชาตรี หนงั ใหญ่ หุ่นกระบอก เพลงพ้ืนบ้าน ฯลฯ เริม่ หมดความนิยม ดาราภาพยนตรใ์ นยคุ ๒๕๐๐ ไดแ้ ก่ สรุ สทิ ธ์ิ สตั ยวงศ,์ ลอื ชยั นฤนาท (จาก เลบ็ ครฑุ ), อมรา อศั วนนท์ (จาก เหา่ ดง), รตั นาภรณ์ อนิ ทรกำ�แหง (จาก นทิ รา สายณั ห์), วไิ ลวรรณ วัฒนพานิช (จาก สาวเครอื ฟ้า) 18 18 ภาพเก่ากรุงเทพฯ

ความรูพ้ น้ื ฐานบางประการทค่ี วรทราบ๑ เม่อื เราศกึ ษาประวตั ศิ าสตร์ไทย เราจะพบการอา้ งศักราช วันเดือนปี รัชสมยั และมาตราตา่ งๆ เสมอ สงิ่ ท่ีทา่ นควรทราบคือ เร่ืองศกั ราช ๑. จ.ศ. มาจากคำ�ว่า จุลศกั ราช จะทำ� จ.ศ. ให้เปน็ พ.ศ. หรอื พทุ ธศกั ราช ใหเ้ อา ๑๑๘๑ ไปบวก เชน่ จ.ศ. ๑๒๖๒ เอา ๑๑๘๑ ไปบวก ไดเ้ ทา่ กบั พ.ศ. ๒๔๔๓ ๒. ร.ศ. มาจากคำ�ว่า รัตนโกสินทรศก จะทำ�ให้เปน็ พ.ศ. ใหเ้ อา ๒๓๒๔ ไปบวก เชน่ ร.ศ. ๑๑๙ เอา ๒๓๒๔ ไปบวก ไดเ้ ทา่ กบั พ.ศ. ๒๔๔๓ ๓. ตวั เลขทเ่ี กาะอยเู่ หนอื คำ�วา่ ศก หรมัตานยโถกงึ ปสทีินพ่ี ทรระเศจกา้ แผ๑น๓่ ๑ด๒๘นิ กำ�ลังครองราชย์อยู่ในขณะนั้น เช่น หมายความวา่ เปน็ ปที ่ี ๓๒ ของรัชกาลที่ ๕ อยใู่ นรัตนโกสนิ ทรศก ๑๑๘ หรือ พ.ศ. ๒๔๔๒ (ร. ๕ เรม่ิ ข้นึ ครองราชยเ์ มอ่ื พ.ศ. ๒๔๑๑ นบั ปี ๒๔๑๑ นน้ั เปน็ ปที ่ี ๑ ของ ร. ๕) ๑ คัดจากหนังสอื สมุดภาพกรงุ เทพฯ โดย เอนก นาวกิ มลู สำ�นักพมิ พโ์ นรา จัดพมิ พ์ พ.ศ. ๒๕๔๕ เอนก นาวิกมูล 19 19

๔. ค.ศ. มาจากคำ�วา่ ครสิ ตศ์ กั ราช จะทำ� ค.ศ. ใหเ้ ปน็ พ.ศ. ใหเ้ อา ๕๔๓ ไปบวก เชน่ ค.ศ. ๑๙๐๐ เอา ๕๔๓ ไปบวก ไดเ้ ท่ากบั พ.ศ. ๒๔๔๓ เร่อื งวันเดือนปี ในหนงั สอื ประเภทพงศาวดาร ทา่ นจะพบการอา่ นวนั เดอื นปี แ บบจัน๑ทฯ๕ร๗คตอแิ ยท่ารงกนแีอ้ ซ่ามนอวยา่ ู่เ“สวมนั ออาเชท่นิตย์ เดือน ๗ ขึน้ ๕ คํ่า” (หาก วางเลขไวข้ า้ งบนหมายถงึ วนั ขา้ งขนึ้ หากเอาตวั เลขลงไปไวข้ า้ งลา่ ง หมายถงึ วันข้างแรม ต้องอ่านวา่ แรม ๕ ค่ํา) อน่ึง ขอให้สังเกตว่าโบราณลำ�ดับการอ่านเลขในลักษณะนี้ เปน็ วนั -เดอื น-ขา้ งขนึ้ ขา้ งแรม แทนทจี่ ะเปน็ วนั -ขา้ งขนึ้ ขา้ งแรม- เดอื น (วนั วนั ท่ี เดอื น แบบทเ่ี รานยิ มใชก้ นั ในปจั จบุ นั ) อยา่ งไรกต็ าม ในส่วนตวั ของผู้เขยี นเองนิยมใชแ้ บบวัน-ขนึ้ แรม-เดอื น มากกวา่ ๑ เทา่ กบั วนั อาทติ ย์ ๒ เท่ากบั วันจันทร์ ๓ เท่ากับวันอังคาร ๔ เทา่ กบั วันพุธ ๕ เท่ากบั วันพฤหัสบดี ๖ เทา่ กบั วันศกุ ร์ ๗ เทา่ กบั วนั เสาร์ 20 20 ภาพเก่ากรุงเทพฯ

หนังสือที่ท่านควรมีไว้แปลงวันเดือนปีทางจันทรคติเป็น สุรยิ คติ ได้แก่ หนังสือจำ�พวก ปฏิทิน ๑๕๐ ปี แตท่ า่ นตอ้ งตงั้ กตกิ า ใหด้ ี เพราะแตล่ ะเลม่ เทยี บวนั ขนึ้ แรมทางจนั ทรคตแิ ตกตา่ งกนั อยา่ ง น่าฉงน แมว้ นั ขนึ้ แรมของปจั จุบนั ในหนังสือปฏทิ นิ ๑๐๐ ปี ๑๕๐ ปี กไ็ มค่ อ่ ยตรงกบั วนั ขนึ้ แรมในปฏทิ นิ ทเี่ รากำ�ลงั ใชก้ นั ทำ�ใหเ้ กดิ ความ ย่งุ เหยิงสับสนเป็นอันมาก เร่ืองนี้ผู้เขียนได้ประสบแล้ว และได้สอบถามอาจารย์ล้อม เพ็งแก้ว ผ้เู ชีย่ วชาญดา้ นปฏทิ ินดู ท่านวา่ ใหย้ ดึ เอาตัววัน คอื จนั ทร์ องั คาร พธุ พฤหัสบดี ศุกร์ เสาร์ อาทติ ย์ เปน็ หลกั อย่าเอาเลขขน้ึ แรมเปน็ เกณฑ์ รายละเอียดและเหตุผลมยี ืดยาว แตเ่ ราซงึ่ ไมส่ นใจ โหราศาสตร์คงฟังไมเ่ ขา้ ใจ จึงไม่ขอนำ�มาอธบิ ายใหร้ กรงุ รัง เรอ่ื งการขึ้นปใี หม่ ๑. โบราณไทยขึน้ ปีใหม่แรม ๑ ค่ํา เดือนอ้าย ตอ่ มาใช้ขึ้น ๑ คํ่า เดอื น ๕ ชว่ งเดอื นเมษายน เป็นชว่ งเปล่ยี นศักราช ๒. สมยั รชั กาลท่ี ๕ เรม่ิ ยดึ วนั ท่ี ๑ เมษายน เปน็ วนั ขน้ึ ปใี หม่ เมือ่ จ.ศ. ๑๒๕๑ ร.ศ. ๑๐๘ พ.ศ. ๒๔๓๒ ๓. พ.ศ. ๒๔๘๓ รฐั บาลใหถ้ อื วนั ท่ี ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๓ เปน็ วนั ขึน้ ปีใหม่แบบเกา่ ปสี ดุ ทา้ ย โดยให้ พ.ศ. ๒๔๘๓ ส้นิ สุดลง เพยี งวนั ท่ี ๓๑ ธนั วาคมเทา่ นน้ั รงุ่ ขน้ึ คอื วนั ที่ ๑ มกราคม ใหถ้ อื เปน็ พ.ศ. ๒๔๘๔ นับแต่นน้ั เราก็ข้ึนปีใหมใ่ นวันท่ี ๑ มกราคมเร่ือยมา เอนก นาวิกมูล 21 21

จนกระท่งั ถึงปัจจบุ นั (แตก่ ารเปลยี่ นปนี กั ษตั ร เช่น เปล่ียนปีมะโรง เป็นปีมะเสง็ ยังต้องไปเปลย่ี นในช่วงเดอื นเมษายน) เรอื่ งรชั กาล ๑. พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก รัชกาลที่ ๑ ทรงพระราชสมภพเมือ่ วันท่ี ๒๐ มนี าคม พ.ศ. ๒๒๗๙ ครองราชย์ วนั ที่ ๑๐ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๓๒๕ สวรรคตวนั ท่ี ๗ กันยายน พ.ศ. ๒๓๕๒ พระชนมายุ ๗๓ พรรษา ครองราชยน์ าน ๒๗ ปี ๒. พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลท่ี ๒ ทรงพระราชสมภพเม่ือวันพุธที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๓๑๐ ครองราชย์ พ.ศ. ๒๓๕๒ สวรรคตวนั ท่ี ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๓๖๗ พระชนมายุ ๕๘ พรรษา ครองราชยน์ าน ๑๕ ปี ๓. พระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา้ เจา้ อยหู่ วั รัชกาลที่ ๓ ทรง พระราชสมภพเมอื่ วนั จนั ทรท์ ี่ ๓๑ มนี าคม พ.ศ. ๒๓๓๐ ครองราชย์ พ.ศ. ๒๓๖๗ สวรรคตวนั ท่ี ๒ เมษายน พ.ศ. ๒๓๙๔ พระชนมายุ ๖๔ พรรษา ครองราชยน์ าน ๒๗ ปี ๔. พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ ๔ ทรง พระราชสมภพเมือ่ วนั พฤหัสบดที ่ี ๑๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๓๔๗ ครอง ราชย์ พ.ศ. ๒๓๙๔ สวรรคตวนั ท่ี ๑ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๔๑๑ พระชนมายุ ๖๕ พรรษา ครองราชย์นาน ๑๗ ปี 22 22 ภาพเก่ากรุงเทพฯ

๕. พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัว รัชกาลที่ ๕ ทรงพระราชสมภพเมื่อวันอังคารที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๓๙๖ ครองราชย์ พ.ศ. ๒๔๑๑ สวรรคตวนั ที่ ๒๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๕๓ พระชนมายุ ๕๗ พรรษา ครองราชย์นาน ๔๒ ปี ๖. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๖ ทรงพระราชสมภพเม่ือวันเสาร์ท่ี ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๒๓ ครองราชย์ พ.ศ. ๒๔๕๓ สวรรคตวันท่ี ๒๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๖๘ พระชนมายุ ๔๖ พรรษา ครองราชย์นาน ๑๕ ปี ๗. พระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจ้าอยูห่ วั รชั กาลท่ี ๗ ทรง พระราชสมภพเมอื่ วนั พธุ ท่ี ๘ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๔๓๖ ครองราชย์ พ.ศ. ๒๔๖๘ สละราชสมบัติ พ.ศ. ๒๔๗๗ สวรรคตวันที่ ๓๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๔ พระชนมายุ ๔๘ พรรษา ครองราชย์นาน ๙ ปี ๘. พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั อานนั ทมหดิ ล ทรงพระราช สมภพเมอื่ วนั อาทติ ยท์ ี่ ๒๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๔๖๘ ครองราชย์ พ.ศ. ๒๔๗๗ สวรรคตวันท่ี ๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๘๙ พระชนมายุ ๒๑ พรรษา ครองราชย์นาน ๑๒ ปี ๙. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาล ปจั จบุ นั ทรงพระราชสมภพเมอื่ วนั จนั ทรท์ ี่ ๕ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๔๗๐ ครองราชย์เมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๙ ปจั จบุ นั พ.ศ. ๒๕๕๘ ทรงครองราชย์ นาน ๖๙ ปี เอนก นาวิกมูล 23 23

มาตราตา่ งๆ๒ มาตราความยาวไทย ๒ คบื เทา่ กบั ๑ ศอก ๔ ศอก ” ๑ วา ๒๐ วา ” ๑ เส้น ๔๐๐ เส้น ” ๑ โยชน์ มาตราวดั ความยาวแบบไทยเทียบกับแบบสากล ๑ คืบ เทา่ กับ ๒๕ เซนติเมตร ๑ ศอก ” ๕๐ เซนตเิ มตร ๑ วา ” ๒ เมตร ๑ เส้น ” ๔๐ เมตร ๒๕ เส้น ” ๑ กโิ ลเมตร ๔๐ เสน้ ” ๑ ไมล์ หรอื ๑,๗๖๐ หลา ๑ โยชน ์ ” ๑๖ กิโลเมตร ๒ ประมวลและปรบั ปรงุ จากหนงั สอื ทร่ี ะลกึ งานพระราชทานเพลงิ ศพ อาจารย์ สวสั ดิ์ เกษสวุ รรณ จงั หวดั สมทุ รปราการ พ.ศ. ๒๕๒๘ ปกพน้ื ขาว ลายเซน็ สที องมมุ ขวาลา่ ง มเี รอ่ื งมาตราชง่ั ตวง วดั และอน่ื ๆ หนงั สอื เหรยี ญกษาปณ์ กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ พ.ศ. ๒๓๒๕-๒๕๒๕ โดย กรมธนารกั ษ์ พ.ศ. ๒๕๒๕ หนงั สอื ปทานกุ รมนักเรียน โดย เปล้อื ง ณ นคร 24 24 ภาพเก่ากรุงเทพฯ

มาตราตวงไทยปจั จบุ นั ๑ เกวยี น เท่ากับ ๒ บ้นั (๑๐๐ ถงั ) ๑ บน้ั ” ๕๐ ถงั ๑ ถัง ” ๒๐ ลติ ร ๑ ลติ ร ” ๑,๐๐๐ ลกู บาศกเ์ ซนตเิ มตร หรอื ๑ ทะนานหลวง ๑ แกลลอน ” ๔.๕๔ ลิตร มาตราวัดเนอื้ ท่ี ๔ ตารางคืบ เท่ากบั ๑ ตารางศอก ๑๖ ตารางศอก ” ๑ ตารางวา ๑๐๐ ตารางวา ” ๑ งาน ๔ งาน หรือ ๔๐๐ ตารางวา ” ๑ ไร่ ๑ ไร่ ” ๑,๖๐๐ ตารางเมตร ๑ งาน ” ๔๐๐ ตารางเมตร ๑ ตารางวา ” ๔ ตารางเมตร มาตราเงนิ กอ่ นการผลติ เหรยี ญกษาปณใ์ นสมยั รชั กาลท่ี ๔ เบยี้ หอย ๕๐ เบย้ี เทา่ กับ ๑ กลอ่ ม เบย้ี หอย ๑๐๐ เบยี้ ” ๒ กลอ่ ม เท่ากบั ๑ กล่ํา เบี้ยหอย ๒๐๐ เบี้ย ” ๒ กลํา่ เท่ากบั ๑ ไพ เบี้ยหอย ๘๐๐ เบ้ีย ” ๔ ไพ เทา่ กับ ๑ เฟอื้ ง เอนก นาวิกมูล 25 25

เบี้ยหอย ๑,๖๐๐ เบีย้ ” ๒ เฟือ้ ง เทา่ กับ ๑ สลึง ๔ สลึง ” ๑ บาท ๔ บาท ” ๑ ตำ�ลึง ๒๐ ตำ�ลงึ ” ๑ ช่ัง มาตราเงนิ เมื่อผลติ เหรียญกษาปณใ์ นสมัยรชั กาลท่ี ๔ แลว้ เบี้ยหอย ๕๐ เบยี้ เทา่ กับ ๑ โสฬส เบี้ยหอย ๑๐๐ เบ้ีย ” ๑ อัฐ เบ้ียหอย ๒๐๐ เบ้ีย ” ๑ เส้ียว เบย้ี หอย ๔๐๐ เบยี้ ” ๑ ซกี เบ้ียหอย ๘๐๐ เบี้ย ” ๑ เฟ้อื ง เบย้ี หอย ๑,๖๐๐ เบี้ย ” ๒ เฟอ้ื ง เทา่ กบั ๑ สลงึ (๒๕ สตางค์) ๔ สลงึ ” ๑ บาท ๑๐ สลึง ” ๑ ทองพดั ดงึ ส์ ๔ บาท ” ๑ ทองพิศ ๘ บาท ” ๑ ทองทศ ๘๐ บาท ” ๑ ชัง่ ตอ่ มาเมือ่ มีพระราชบญั ญตั ิมาตราทองคำ� ร.ศ. ๑๒๗ พ.ศ. ๒๔๕๑ ประกาศออกใชแ้ ลว้ ทำ�ใหเ้ กดิ ระบบทศนยิ ม คอื เงนิ ตราเปน็ ระบบบาท-สตางค์ ทำ�ใหห้ นว่ ยนบั แบบเดมิ หายไป คงเหลอื แตค่ ำ�วา่ สลงึ ซงึ่ มีค่าเทา่ กับ ๒๕ สตางค์ 26 26 ภาพเก่ากรุงเทพฯ

ประวัตสิ มดุ ภาพ๓ วชิ าถา่ ยรูปเขา้ มาถึงเมอื งไทยในสมัยรัชกาลที่ ๔ เมอ่ื พ.ศ. ๒๓๘๘ หรอื เมอ่ื ๑๕๗ ปีกอ่ น (นับจาก พ.ศ. ๒๕๔๕) โดยการ เร่ิมตน้ ของชาวฝรง่ั เศสสองคนคอื สังฆราชปัลเลอกัวซ์ (Jean-Baptiste Pallegoix พ.ศ. ๒๓๔๘-๒๔๐๕ อายุ ๕๗ ปี) บาทหลวงลาร์โนดี (L’Abbe Larnaudie) โดยใน พ.ศ. ๒๓๘๘ สงั ฆราชปัลเลอกัวซซ์ ่ึงประจำ�อย่ทู ่วี ดั อสั สมั ชญั (คอนเซป็ ชญั ) กรงุ เทพฯ ไดเ้ ขยี นจดหมายบอกบาทหลวง ลาร์โนดีซง่ึ อยู่ที่ฝร่งั เศส และกำ�ลงั จะเดินทางมายงั เมอื งไทย ให้นำ� กล้องถ่ายรูปและอุปกรณ์มาด้วย จึงเร่ิมมีการบันทึกภาพเมืองไทย กันตั้งแต่น้ัน (ดูรายละเอียดในหนังสือ ประวัติการถ่ายรูปยุคแรก ของไทย โดย เอนก นาวกิ มลู เพมิ่ เตมิ ) สว่ นการทำ�สมดุ ภาพในเมืองไทยมีมาอย่างนอ้ ยตง้ั แต่ สมัย พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ ๕ หรอื เมอื่ ประมาณ ๑๐๐ ปีเศษ หลักฐานเก่าสดุ เทา่ ท่ี เอนก นาวกิ มลู พอจะ ค้นได้ในตอนนี้ ได้แก่ ๓ คดั จากหนังสอื สมดุ ภาพกรงุ เทพฯ โดย เอนก นาวกิ มูล สำ�นักพิมพ์โนรา จัดพิมพ์ พ.ศ. ๒๕๔๕ เอนก นาวิกมูล 27 27

๑. โฆษณาขายสมุดอัลบัมรูป ตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ สยามไสมย ปที ี่ ๗ ฉบบั ท่ี ๓ เดอื น ๑๑ พ.ศ. ๒๔๒๗ หน้า ๒๖๓ เปน็ โฆษณาของหา้ งแฮรี เอ. แบดแมน ตนี ตะพานช้าง ถัดวงั กรม- หม่ืนภูธเรศฯ ขึน้ ไป (ถนนบำ�รงุ เมอื ง) โฆษณากล่าวว่ามีสมุดอัลบัมใส่รูปชัก มีรูปสวนสราญรมย์ ปราสาทราชวงั วดั อรณุ ฯ และวัดโพธิ์ เป็นตน้ แมส้ มดุ รปู ดังกลา่ ว ไมใ่ ชส่ มดุ แบบตพี มิ พ์ แตก่ แ็ สดงวา่ มกี ารพยายามนำ�ภาพตา่ งๆ มา รวบรวมขายอยา่ งเป็นกิจจะลกั ษณะแล้ว เมื่อ ๑๑๔ ปีกอ่ น นับจาก พ.ศ. ๒๕๔๒ ๒. โฆษณาในหนงั สอื พิมพ์ อาจารย์ ปที ่ี ๑ ฉบบั ท่ี ๓ วนั ที่ ๑๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๕๘ (มีไมโครฟิล์มในหอสมุดแห่งชาติ) ประกาศทำ� “สมุดพระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวง” โดยนายเบนยามิน เอ. เปเรร่า นายเบนยามินกล่าวว่าตนกำ�ลังรวบรวมพระบรมรูปและ พระราชประวตั ิ ร. ๕ เพอื่ จดั พมิ พเ์ ปน็ ภาษาไทยและองั กฤษจำ�หนา่ ย ทา่ นผใู้ ดมพี ระบรมรปู จะใหล้ ง ขอใหส้ ง่ มายงั นายเบนยามนิ สำ�นกั งาน โรงหนังพัฒนากร เจ้าของพระบรมรูปจะได้รับสมุดพระบรมรูป เปน็ บำ�เหน็จ ๑ เล่ม ขณะน้ียังพิสูจน์ไม่ได้ว่านายเบนยามินพิมพ์หนังสือสำ�เร็จ หรือไม่ แต่ก็ทำ�ใหเ้ ห็นว่ามกี ารคิดพมิ พ์หนงั สอื พระบรมรูป ร. ๕ มา ตั้งแต่เมอ่ื ๘๐ กวา่ ปีมาแล้ว ถ้าหากใครมหี นังสอื เล่มนี้ ต้องนับวา่ เป็นผูโ้ ชคดียิ่ง 28 28 ภาพเก่ากรุงเทพฯ

สมยั พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี ๖ สมุดภาพที่น่าสนใจไดแ้ ก่ หนงั สือ ทีร่ ะฦกแห่งการเปิดทางรถไฟ- หลวงสายใต้ ๒๔๕๙ กับ สมดุ ภาพ Siam ของคารล์ ดอหร์ งิ พมิ พ์ เม่ือ พ.ศ. ๒๔๖๖ ไดน้ ำ�มาลงเป็นตวั อยา่ งในครัง้ น้ีสว่ นหนงึ่ แล้ว สมยั พระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจา้ อยู่หัว รชั กาลที่ ๗ ไดแ้ ก่ หนงั สอื พมิ พภ์ าพ โฟแทก๊ ซ์ ซง่ึ เปน็ หนงั สอื พมิ พภ์ าพฉบบั แรก ของประเทศไทย เริ่มออกเม่ือวันอาทิตย์ที่ ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๗๑ (มีไมโครฟลิ ์มในหอสมุดแหง่ ชาติ ดูเรื่อง “แรกคนไทยใช้ รปู ถา่ ยทำ�บลอ็ ก” โดย เอนก นาวกิ มลู ในหนงั สอื วนั ชา่ งภาพ’๔๐) สมดุ ภาพขนาดเลก็ ของนายเกรน่ิ ศลิ ปเ์ พช็ ร์ เจา้ ของรา้ นโปเตชแตนท์ แสตมป์ หัวมุมถนนดินสอ (เลิกกิจการไปนานแล้ว) มีสมุดภาพ ทศชาตชิ าดก สมดุ ภาพเทย่ี วเพชรบรุ ี เปน็ ต้น สมยั พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั อานนั ทมหดิ ล รชั กาล ท่ี ๘ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในชว่ งทจ่ี อมพล ป. พบิ ลู สงคราม เปน็ นายก- รฐั มนตรี มกี ารทำ�วารสารภาพ หนงั สอื ภาพแสดงผลงานของรฐั บาล ออกมาค่อนข้างมาก แม้หนังสือประจำ�ปีหรือหนังสือในวาระพิเศษ ของนสิ ติ มหาวทิ ยาลัย กท็ ำ�ไดอ้ ยา่ งยอดเยยี่ ม คือประมวลภาพเกา่ ใหมเ่ อาไวอ้ ยา่ งอุตสาหะ พมิ พภ์ าพคมชัด มขี อ้ มูลละเอียด นับเป็น เรอ่ื งทน่ี า่ ยกยอ่ งยงิ่ ตัวอยา่ งสมุดภาพสมยั นน้ั ได้แก่ หนังสอื เวชนสิ สิต ๒๔๗๘ รวบรวมโดยนกั เรยี นแพทยช์ น้ั ปีที่ ๔ คณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั เอนก นาวิกมูล 29 29

หนงั สอื พิมพ์ ข่าวภาพ (Pictorial News) เลม่ บางๆ หนา ๒๘ หนา้ เรม่ิ ออกฉบบั แรกเมอื่ วนั เสารท์ ี่ ๑๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๔๘๑ หนงั สอื ไทยในสมยั รฐั ธรรมนญู พมิ พเ์ ปน็ ทร่ี ะลกึ ในงานฉลอง วันชาตแิ ละสนธสิ ัญญา ๒๔ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๔๘๒ ปกแขง็ หมุ้ ผา้ เล่มยาวๆ เกร็ดกรุงเทพฯ๔ เรอ่ื งของกรงุ เทพฯ เปน็ เรอ่ื งทม่ี รี ายละเอยี ดมหาศาล แตก่ ม็ ผี เู้ ขยี นถงึ กันมากพอสมควร จึงขอให้ท่านที่สนใจรายละเอียดได้ไปค้นข้อมูล เพ่ิมเติมเอง ในที่น้ีจะเขียนถึงกรุงเทพฯ เพียงส้ันๆ พอกระตุ้นให้ ทา่ นไปค้นควา้ ต่อเท่านน้ั หนงั สือทีค่ วรอ่านประกอบ หนงั สอื ทบ่ี อกประวตั กิ รงุ เทพฯ และรายละเอยี ดตา่ งๆ ไดด้ มี าก สมควรหาอ่าน คือ หนังสือ พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รชั กาลที่ ๑-๔ ซึง่ แต่งโดยเจ้าพระยาทพิ ากรวงศ์ (ขำ� บนุ นาค) ๔ คัดจากหนงั สือ สมดุ ภาพกรงุ เทพฯ โดย เอนก นาวิกมลู สำ�นกั พิมพ์โนรา จัดพมิ พ์ พ.ศ. ๒๕๔๕ 30 30 ภาพเก่ากรุงเทพฯ

หนังสือยุคปัจจุบัน ได้แก่ จดหมายเหตุการอนุรักษ์กรุง รตั นโกสนิ ทร์ โดย กองจดหมายเหตแุ หง่ ชาติ กรมศลิ ปากร พมิ พเ์ มอ่ื พ.ศ. ๒๕๒๕ เปน็ หนงั สอื ปกแขง็ ราคาเลม่ ละ ๒๕๐ บาท สรปุ ความ เปน็ มาและสถานทสี่ ำ�คญั ตา่ งๆ ของกรงุ เทพฯ-ธนบรุ ไี วเ้ ปน็ จำ�นวน มาก หาซอ้ื ไดท้ ีห่ อจดหมายเหตุแห่งชาติ ทา่ วาสุกรี เมืองหลวงท่ีมีชื่อยาวทส่ี ดุ ในโลก ติดอันดับกนิ เนสบุ๊ก ชื่อกรุงเทพฯ เต็มๆ ในฐานะพระนครของกรุงรัตนโกสินทร์ ถือเปน็ ชอื่ เมืองหลวงทย่ี าวท่สี ดุ ในโลก คือ กรงุ เทพมหานคร อมร รตั นโกสนิ ทร์ มหินทรายุธยา มหาดิลกภพ นพรตั นราชธานีบรู ีรมย์ อดุ มราชนเิ วศนม์ หาสถาน อมรพมิ านอวตารสถติ สกั กะทตั ตยิ วษิ ณ-ุ กรรมประสทิ ธ์ิ บางกอก เปน็ ชอ่ื เกา่ หมายถงึ ทง้ั ฝงั่ กรงุ เทพฯ (บางทจี ะเรยี กวา่ ฝง่ั ขวา หรือฝั่งตะวันออก คอื ฝง่ั ท่ีเห็นพระอาทติ ยข์ ้ึนก่อน) และธนบุรี (ฝง่ั ทเ่ี หน็ พระอาทติ ยต์ ก) ในปจั จบุ นั ชาวตา่ งประเทศสมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยา เขยี นในแผนท่ีวา่ Bangkok บา้ ง Bancok บา้ ง Banckock บ้าง ฯลฯ เมอื่ ร.๔ มพี ระราชหตั ถเลขาถงึ เซอรจ์ อหน์ เบาวร์ งิ ใน ค.ศ. ๑๘๕๕ พ.ศ. ๒๓๙๘ น้นั ทรงใชค้ ำ�ว่า Bangkok ปัจจบุ นั เราใช้คำ�ว่า Bangkok กันโดยท่ัวไป เอนก นาวิกมูล 31 31

ร. ๑ เสวยราชยเ์ มอื่ ไร ขณะพระชนมายเุ ท่าไร วันเสาร์ท่ี ๖ เมษายน พ.ศ. ๒๓๒๕ ขณะมพี ระชนมายุ ๔๖ พรรษา เสด็จพระราชสมภพเมอื่ ปมี ะโรง พ.ศ. ๒๒๗๙ ยกเสาหลกั เมอื งกรงุ เทพฯ การพระราชพธิ ยี กเสาหลกั เมอื งมขี นึ้ ณ วนั อาทติ ย์ เดอื น ๖ ข้ึน ๑๐ ค่ํา ปขี าล จ.ศ. ๑๑๔๔ ตรงกับวันอาทิตยท์ ี่ ๒๑ เมษายน พ.ศ. ๒๓๒๕ ฤกษเ์ วลายํา่ ร่งุ แลว้ ๕๔ นาที คลองคูเมอื งฝง่ั กรงุ เทพฯ มี ๓ คลองคอื คลองคเู มืองเดิม ขุดต้ังแต่สมยั กรุงธนบรุ ี ถ้าดจู ากปัจจุบัน คอื คลองทลี่ อ้ มสนามหลวงและพระบรมมหาราชวงั ไว้ ปากคลองอยู่ ตรงปากคลองตลาด กับตรงสะพานพระปนิ่ เกล้า คลองรอบกรุง พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟา้ จุฬาโลก- มหาราช รชั กาลท่ี ๑ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหข้ ดุ ใหม่ ขนานไป กบั คลองคเู มอื งเดมิ เรม่ิ จากบางลำ�พู (จงึ เรยี กคลองดา้ นนอ้ี กี ชอ่ื วา่ คลองบางลำ�พู) ไปถึงเหนือวัดจักรวรรดิฯ (เรียกคลองด้านนั้นอีก ช่ือว่า คลองโอ่งอ่าง) ส่วนคลองเล็กตรงๆ ที่เชื่อมระหว่างคลอง 32 32 ภาพเก่ากรุงเทพฯ

คเู มืองเดมิ กบั คลองรอบกรงุ มี ๒ คลอง เรยี กวา่ คลองหลอดวดั ราช- นดั ดาราม กบั คลองหลอดวดั ราชบพิธ คลองผดงุ กรงุ เกษม พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ ๔ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหข้ ดุ เปน็ คพู ระนครชนั้ ที่ ๓ เริม่ จากขา้ งวดั เทวราชกุญชรไปยังวดั แกว้ แจม่ ฟ้า (วัดแก้วแจม่ ฟ้า เดิมอย่รู มิ แม่นาํ้ เจ้าพระยา) ขุดเสร็จเมือ่ พ.ศ. ๒๓๙๕ ป้อม กำ�แพง ๑. กำ�แพงทสี่ รา้ งตามแนวคลองรอบกรงุ ยาว ๗.๒ กโิ ลเมตร มีป้อมทั้งหมด ๑๙ ป้อม (นับรวมป้อมที่อยู่ตามแนวกำ�แพงพระ บรมมหาราชวงั ดา้ นทา่ เตียนด้วย ๕ ปอ้ ม ดงั ท่เี นน้ คำ�ไว้ ถ้าไม่นบั ปอ้ มเหล่านดี้ ้วยจะเหลือ ๑๔ ป้อม) ไดแ้ ก่ เรมิ่ จากบางลำ�พ-ู ปอ้ มพระสเุ มรุ ปอ้ มยคุ นธร ปอ้ มมหาปราบ ป้อมมหากาฬ ป้อมหมูทลวง ป้อมเสือทยาน ป้อมมหาไชย ป้อม จกั รเพชร ปอ้ มผเี สอื้ ปอ้ มมหาฤกษ์ ปอ้ มมหายกั ษ์ ปอ้ มภผู าสทุ ศั น์ ปอ้ มสตั บรรพต ปอ้ มโสฬสศลิ า ปอ้ มมหาโลหะ ปอ้ มอนิ ทรงั สรร ปอ้ มพระจนั ทร์ ป้อมพระอาทติ ย์ ปอ้ มอสิ ินธร หลังจากการรื้อในระยะต่างๆ ซ่ึงไม่ค่อยปรากฏหลักฐาน เดือนปีชัดเจนนัก ปัจจุบันเราเหลือป้อมเก่าให้ดูเพียง ๒ แห่ง คือ ปอ้ มพระสเุ มรกุ บั ป้อมมหากาฬ เอนก นาวิกมูล 33 33

๒. คลองผดุงกรุงเกษม ไม่มีการก่อกำ�แพงเหมือนคลอง รอบกรุง เพียงแตส่ ร้างป้อมเลยี บตามแนวคลองเทา่ น้นั ป้อมเหลา่ น้ี มี ๘ ปอ้ ม ได้แก่ ป้อมปัจจามิตร (อยู่ทางฝั่งคลองสาน ธนบุรี ยังคงเหลือ มาถึงปัจจุบัน) ป้อมป้องปิดปัจจนึก (อยู่ปากคลองผดุงกรุงเกษม ตรงท่าเรือส่ีพระยาเด๋ียวนี้ ถูกร้ือนานแล้ว) ป้อมฮึกเหี้ยมหาญ ป้อมผลาญไพรรี าบ ปอ้ มปราบศตั รพู า่ ย ปอ้ มทำ�ลายปรปกั ษ์ ปอ้ มหกั กำ�ลงั ดัษกร ป้อมมหานครรักษา (เหลา่ น้กี ถ็ กู รือ้ หมดแลว้ เท่ากบั เหลือป้อมปจั จามิตรทางฝงั่ ธนบุรีเพยี งแหง่ เดียวเท่านน้ั ) 34 34 ภาพเก่ากรุงเทพฯ

แผนที่ “จงั หวดั พระนคร” จากหนงั สอื แผนทภ่ี มู ศิ าสตร์ โดย นายทองใบ แตงนอ้ ย สำ�นกั พมิ พไ์ ทยวฒั นาพานชิ เมอ่ื พ.ศ. ๒๕๑๐ กรงุ เทพฯ ยังมีแค่ ๑๓ อำ�เภอ คือ พระนคร ป้อมปราบศตั รพู า่ ย ดสุ ติ ปทมุ วนั ยานนาวา บางรกั สมั พนั ธวงศ์ บางเขน มนี บรุ ี บางกะปิ พระโขนง หนองจอก ลาดกระบัง (๗๘๙B-๐๙๖) เอนก นาวิกมูล 35 35

ภาพพิมพ์หนิ (Lithography) ๗ รชั กาล พิมพส์ อดสอี ย่าง สวยงามในราวยุค ๒๔๗๐ คณุ สุรจิตต์ เศารยะเสน บรจิ าคใหบ้ า้ น พิพธิ ภณั ฑ์เมือ่ วนั อาทิตย์ ๑๙ มิถนุ ายน ๒๕๔๘ (ซดี เี อนก๐๒๘๓- ๐๐๖) แถวบนจากซา้ ยไปขวา รชั กาลท่ี ๒-รชั กาลท่ี ๑-รชั กาลท่ี ๓ ตรงกลาง รัชกาลที่ ๔ แถวลา่ งจากซา้ ยไปขวา รชั กาลท่ี ๕-รชั กาลท่ี ๗-รชั กาลท่ี ๖ 36 36 ภาพเก่ากรุงเทพฯ

เอนก นาวิกมูล 37 37

รัชกาลที่ ๑ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลก รชั กาลท่ี ๑ (ครองราชย์ พ.ศ. ๒๓๒๕-๒๓๕๒) ชา่ งฝรง่ั วาดเมอ่ื สมยั รชั กาลท่ี ๕ (ดรู ายละเอยี ด ในหนังสือ การแต่งกายสมัยรัตนโกสินทร์ โดย เอนก นาวิกมูล สำ�นกั พมิ พเ์ มอื งโบราณ) ภาพจากหอจดหมายเหตแุ หง่ ชาติ (ซดี เี อนก ๑๒๖-๑๐๓) 38 38 ภาพเก่ากรุงเทพฯ

เอนก นาวิกมูล 39 39

รชั กาลท่ี ๒ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลท่ี ๒ (ครองราชย์ พ.ศ. ๒๓๕๒-๒๓๖๗) ชา่ งฝรง่ั วาดเมอ่ื สมยั รชั กาลท่ี ๕ (ดูรายละเอียดในหนังสือ การแต่งกายสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ โดย เอนก นาวกิ มลู สำ�นกั พมิ พเ์ มอื งโบราณ) ภาพจากหอจดหมายเหตุ แห่งชาติ (ซดี ีเอนก๑๒๖-๑๐๔) 40 40 ภาพเก่ากรุงเทพฯ

เอนก นาวิกมูล 41 41

รชั กาลที่ ๓ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๓ (ครอง ราชย์ พ.ศ. ๒๓๖๗-๒๓๙๔) ชา่ งฝรง่ั วาดเม่ือสมยั รชั กาลที่ ๕ (ดู รายละเอียดในหนังสือ การแต่งกายสมัยรัตนโกสินทร์ โดย เอนก นาวิกมลู สำ�นักพิมพเ์ มืองโบราณ) ภาพจากโปสต์การด์ (ซีดเี อนก ๔๖๗-๐๓๔) 42 42 ภาพเก่ากรุงเทพฯ

เอนก นาวิกมูล 43 43

รชั กาลที่ ๔ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี ๔ (ครองราชย์ พ.ศ. ๒๓๙๔-๒๔๑๑) จากหนงั สอื ของเซอรจ์ อหน์ เบาวร์ งิ (ซดี เี อนก ๓๔๙-๐๔๐) 44 44 ภาพเก่ากรุงเทพฯ

เอนก นาวิกมูล 45 45

พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ ๔ ทรงฉาย กับสมเด็จพระเทพศิรินทรา บรมราชินี ภาพจากหอจดหมายเหตุ แหง่ ชาติ (SLC-๐๐๑-๐๔๔) 46 46 ภาพเก่ากรุงเทพฯ

เอนก นาวิกมูล 47 47


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook