Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore NHES4_NUTRITION

NHES4_NUTRITION

Description: NHES4_NUTRITION

Search

Read the Text Version

ขอ้ มลู ทางบรรณานุกรมของสำนักหอสมุดแห่งชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data สำนักงานสำรวจสขุ ภาพประชาชนไทย สถาบันวจิ ัยระบบสาธารณสุข รายงานการสำรวจการบรโิ ภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสขุ ภาพประชาชนไทยโดยการตรวจ ร่างกาย คร้งั ที่ 4 พ.ศ.2551-2552.-- นนทบรุ ี : สำนักงาน, 2554. 200 หนา้ . 1. สุขภาพ--วจิ ัย. 2. การตรวจสขุ ภาพ. I. วชิ ัย เอกพลากร, บรรณาธกิ าร. II. วราภรณ์ เสถียรนพเก้า, บรรณาธกิ ารร่วม. III. ชื่อเรื่อง. 613.072 ISBN 978-974-299-161-6 พิมพ์คร้งั แรก : มิถนุ ายน 2554 จำนวนพมิ พ์ : 2000 เลม่

รายงานการสำรวจการบริโภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสขุ ภาพประชาชนไทยโดยการตรวจรา่ งกายคร้ังท่ี 4 พ.ศ. 2551-2552 สนับสนนุ โดย สถาบันวจิ ัยระบบสาธารณสขุ สำนักงานกองทนุ สนับสนนุ การสร้างเสริมสขุ ภาพ สำนักงานหลกั ประกันสขุ ภาพแห่งชาติ และกระทรวงสาธารณสขุ

รายงานการสำรวจการบริโภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งท่ี 4 พ.ศ.2551-2552 ทีป่ รึกษา รองศาสตราจารย์ พญ.เยาวรัตน์ ปรปกั ษข์ าม ท่ีปรกึ ษาสำนกั งานสำรวจสุขภาพประชาชนไทย รองศาสตราจารย์ ดร.พญ.มันทนา ประทีปะเสน ภาควชิ าโภชนวิทยา คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหดิ ล ผูช้ ่วยศาสตราจารย์รตั นาภรณ์ เจริญพงศ์ บรรณาธกิ าร รองศาสตราจารย์ นพ.วชิ ัย เอกพลากร คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวทิ ยาลัยมหิดล ผเู้ ขยี น ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.วราภรณ์ เสถยี รนพเก้า ภาควิชาโภชนวิทยา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล รองศาสตราจารย์ นพ.วิชยั เอกพลากร คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธบิ ดี มหาวิทยาลยั มหิดล แพทย์หญิง รชั ดา เกษมทรพั ย์ สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชนิ ี คุณหทยั ชนก พรรคเจริญ สำนักงานสถติ ิแหง่ ชาต ิ ผ้ชู ่วยวเิ คราะห์ข้อมลู อาหารบริโภค นางสาวเจนจิรา เล็กอุทัย นางสาวณฐั พร มิ่งโมรา นางสาวกรรณิการ์ ตั้งมั่นจิตเจรญิ นางสาวกรรณิการ์ หมอนพงั เทียม นางสาวกาญจนา คงรกั ษ์ นางสาวนชั ชา สิทธิมงคล นางสาววรรณวสิ า สุดสงวน นางสาวนนั ทกานต์ แสงใส นางสาวพจิ ิตรา สริ ฐิ ากรู นายพิชิตพล ชาลีรริ นทร์ ผชู้ ว่ ยวิเคราะห์ข้อมลู สถิตแิ ละจดั ทำเล่มรายงาน นางสาวร่งุ กานต์ อินทวงศ ์ นางสาวจริ าลกั ษณ์ นนทารกั ษ ์ ผสู้ นับสนนุ สถาบนั วจิ ัยระบบสาธารณสขุ สำนกั นโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสขุ สำนกั งานกองทุนสนบั สนุนการสรา้ งเสริมสุขภาพ สำนกั งานหลักประกันสุขภาพแห่งชาต ิ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ สำนักงานพฒั นาระบบข้อมลู ข่าวสารสุขภาพ เครือข่ายการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยคร้งั ที่ 4 พ.ศ. 2551-2552 : ผดู้ ำเนินการเกบ็ ข้อมูล สว่ นกลาง รองศาสตราจารย์ นพ.วชิ ยั เอกพลากร คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลยั มหดิ ล นางสาวรุ่งกานต์ อินทวงศ ์ สำนกั งานสำรวจสุขภาพประชาชนไทย นางสาวจริ าลกั ษณ์ นนทารกั ษ ์ สำนักงานสำรวจสขุ ภาพประชาชนไทย นางสาวปิยะฉัตร สมทรง สำนกั งานสำรวจสขุ ภาพประชาชนไทย นายสุพรศักดิ์ ทิพย์สขุ มุ สำนกั งานสำรวจสขุ ภาพประชาชนไทย นางสิรธี ร ภูมริ ัตน์ สำนักงานสำรวจสุขภาพประชาชนไทย II รายงานการสำรวจการบรโิ ภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครง้ั ท่ี 4 พ.ศ. 2551-2552

ภาคเหนือ รองศาสตราจารย์ นพ.สวุ ัฒน์ จรยิ าเลศิ ศักด ์ิ สถาบนั วิจัยวทิ ยาศาสตร์สขุ ภาพ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ อาจารย์กนษิ ฐา ไทยกล้า สถาบันวจิ ยั วิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม ่ รองศาสตราจารย์ ดร.วงศา เลาหศริ ิวงศ ์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น อาจารย์เทอดศกั ดิ์ พรหมอารกั ษ์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม อาจารยว์ ลั ลภ ใจดี คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยบรู พา คณุ สุทธินนั ท์ สระทองหน คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ ภาคกลาง ศาสตราจารย์ นพ.สุรศกั ดิ์ ฐานพี านิชสกุล สถาบนั วิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย รองศาสตราจารย์ สมรัตน์ เลิศมหาฤทธ ์ิ สถาบันวจิ ยั วิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั อาจารย์ วิไล ชินเวชกจิ วานชิ ย ์ สถาบันวิจยั วทิ ยาศาสตร์การแพทย์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย คณุ อรอมุ า ซองรมั ย์ สถาบันวจิ ยั วิทยาศาสตร์การแพทย์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย คุณนุชนาฏ หวงนากลาง สถาบันวิจัยวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย คุณศกุ รินทร์ วมิ กุ ตายน สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ นพ.ปตั พงษ์ เกษสมบูรณ์ ภาควิชาเวชศาสตรช์ ุมชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ รองศาสตราจารย์ นพ.สมเดช พินิจสุนทร ภาควชิ าเวชศาสตรช์ มุ ชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น ดร.ปิยธดิ า คูหริ ญั ญรตั น์ ภาควิชาเวชศาสตรช์ ุมชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ แพทย์หญิงเสาวนันท์ บำเรอราช ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น รองศาสตราจารย์ อมรรัตน์ รตั นสิริ ภาควิชาเวชศาสตรช์ มุ ชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ สชุ าดา ภัยหลกี ล้ ี ภาควชิ าเวชศาสตร์ชมุ ชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณุ นภาพร ครสุ นั ธิ ์ ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น คณุ บังอรศรี จนิ ดาวงศ์ ภาควชิ าเวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น คุณวรี ะพงษ์ สอี ปุ ลัด ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ ภาคใต ้ ศาสตราจารย์ นพ.วรี ะศักด์ิ จงส่วู วิ ัฒน์วงศ์ หน่วยระบาดวทิ ยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ แพทย์หญิงรศั มี สงั ขท์ อง หนว่ ยระบาดวทิ ยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ์ คุณมะเพาซิส ดอื ราวี หน่วยระบาดวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ กรุงเทพมหานคร รองศาสตราจารย์ ดร.พรรณวดี พุธวฒั นะ ภาควชิ าพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ เฉลมิ ศรี นันทวรรณ ภาควชิ าพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี ทีป่ รกึ ษาวิชาการดา้ นโภชนาการ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.วราภรณ์ เสถียรนพเกา้ ภาควชิ าโภชนวิทยา คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหิดล รองศาสตราจารย์ ดร.พญ.มันทนา ประทีปะเสน ภาควิชาโภชนวิทยา คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหดิ ล ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี จงสวุ ัฒน์ ภาควิชาโภชนวิทยา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหิดล แพทยห์ ญงิ แสงโสม สนี ะวัฒน ์ สำนักท่ีปรกึ ษา กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ รองศาสตราจารย์ พตั ธนี วินจิ จะกุล สถาบนั วิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล รองศาสตราจารย์ ดร.อไุ รพร จติ ตแ์ จ้ง สถาบันวจิ ยั โภชนาการ มหาวิทยาลัยมหดิ ล คณุ สจุ ติ ต์ สาลีพันธ์ กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ ดร.กานดาวสี มาลวี งษ ์ กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ รายงานการสำรวจการบริโภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจรา่ งกายครั้งท่ี 4 พ.ศ. 2551-2552 III

กิตตกิ รรมประกาศ ทางสำนกั งานสำรวจสขุ ภาพประชาชนไทย สถาบนั วจิ ยั ระบบสาธารณสขุ ขอขอบคณุ หนว่ ยงานทสี่ นบั สนนุ งบประมาณในการสำรวจครง้ั นี้ ไดแ้ ก่ สวรส. สสส. สปสช. และกระทรวงสาธารณสุข และขอขอบคณุ เปน็ อย่างยิง่ ตอ่ ผ้ใู ห้ความช่วยเหลอื สนบั สนุนให้มกี ารสำรวจนีข้ น้ึ ไดแ้ ก่ นพ.มงคล ณ สงขลา นพ.สวุ ิทย์ วบิ ุลผลประเสริฐ นพ.ไพจติ ร์ วราชิต นพ.ศิรวิ ัฒน์ ทิพย์ธราดล นพ.สุภกร บัวสาย ทพ.กฤษดา เรืองอารยี ์รชั ต์ นพ.วินยั สวสั ดิวร นพ.พงษพ์ ิสุทธิ์ จงอุดมสขุ นพ.ศภุ กจิ ศิริลักษณ์ รศ.พญ.เยาวรัตน์ ปรปกั ษ์ขาม ศ.นพ.ธาดา ยิบอินซอย และ รศ.พญ.พรพันธุ์ บุณยรัตพนั ธุ์ ศ.นพ.รชั ตะ รัชตะนาวิน นพ.พนิ ิจ ฟ้าอำนวยผล คุณเบญจมาภรณ์ จนั ทรพัฒน์ และผทู้ ่ีมีสว่ นชว่ ยสนับสนนุ ใหก้ ารสำรวจครงั้ นีส้ ำเรจ็ ลลุ ว่ ง ขอขอบคณุ ผวู้ เิ คราะห์ สงั เคราะหข์ อ้ มลู และผรู้ ว่ มเขยี นรายงาน ไดแ้ ก่ ผศ.ดร.วราภรณ์ เสถยี รนพเกา้ และพญ.รัชดา เกษมทรพั ย์ และขอขอบคุณทมี ทีป่ รึกษา ได้แก่ รศ.พญ.มนั ทนา ปะทีปเสน และ ผศ.รตั นาภรณ์ เจริญพงศ ์ นอกจากนข้ี อขอบคณุ เครอื ขา่ ยทมี เกบ็ ขอ้ มลู ภาคสนามซง่ึ ประกอบดว้ ย อาจารยจ์ ากมหาวทิ ยาลยั ในภาค ตา่ งๆ ไดแ้ ก่ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม,่ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ , มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล, จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั และ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ เป็นอย่างยิ่ง นอกจากนี้ยงั ได้รับความช่วยเหลอื เปน็ อยา่ งดจี ากบุคลากรสาธารณสุข ในพ้นื ที่ 21 จงั หวัด จงึ ขอขอบคณุ เปน็ อยา่ งยง่ิ และสดุ ทา้ ยขอขอบคณุ กลมุ่ ตวั อยา่ งชายและหญงิ จำนวน 29,000 ราย รวมทง้ั ผปู้ กครองเดก็ ทีไ่ ดส้ ละเวลาในการใหข้ ้อมลู เปน็ อย่างดียิง่ มา ณ ท่ีน ้ี นพ.วชิ ัย เอกพลากร บรรณาธิการ IV รายงานการสำรวจการบริโภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายคร้ังท่ี 4 พ.ศ. 2551-2552

คำนำ อาหารเปน็ ปจั จยั ทสี่ ำคญั ตอ่ ชวี ติ และสขุ ภาพของมนษุ ย์ การไดร้ บั อาหารทไี่ มเ่ หมาะสม ทง้ั ประเภทและ ปรมิ าณ ยอ่ มมผี ลกระทบตอ่ สขุ ภาพอยา่ งหลกี เลย่ี งไมไ่ ด้ การประเมนิ เพอื่ ทราบสถานะและพฤตกิ รรมการบรโิ ภค อาหารของประชาชนจงึ มคี วามสำคญั ตอ่ การจดั การระบบสขุ ภาพและสขุ ภาวะของประชาชน ประเทศไทยมกี าร สำรวจภาวะอาหารและโภชนาการของประชากรไทยมาแล้ว 5 ครงั้ โดยกองโภชนาการ กรมอนามยั กระทรวง สาธารณสขุ และภาควชิ าโภชนวิทยา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล ในปี พ.ศ. 2503, 2518, 2529, 2538 และ 2546 ตามลำดบั สำหรบั การสำรวจดา้ นพฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหารในปี พ.ศ. 2551-2 นี้ เปน็ สว่ นหนง่ึ ของการสำรวจสขุ ภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครง้ั ท่ี 4 ปี พ.ศ. 2551-2 ซึ่งดำเนนิ การโดย สำนกั งานสำรวจสขุ ภาพประชาชนไทย สถาบนั วจิ ยั ระบบสาธารณสขุ และนบั เปน็ ครงั้ แรกของการสำรวจสขุ ภาพ ประชาชนไทยโดยการตรวจรา่ งกายทมี่ กี ารสำรวจดา้ นโภชนาการรวมอยดู่ ว้ ย โดยการสำรวจครอบคลมุ พฤตกิ รรม การกินอาหาร ความถ่ีในการบริโภคอาหารชนิดต่างๆ และอาหารที่บริโภคย้อนหลัง 24 ชั่วโมง สำหรับใน รายงานฉบับนเ้ี ป็นการเสนอผลการสำรวจความถ่ีในการบริโภคอาหารและอาหารทบี่ ริโภคยอ้ นหลัง 24 ช่วั โมง ที่ผ่านมา ทางคณะผู้ดำเนินงานหวังเป็นอย่างย่ิงว่า รายงานผลการศึกษานี้จะเป็นประโยชน์ต่อการดำเนินด้าน โภชนาการและสุขภาพของประชาชนไทยตอ่ ไป นพ.พงษพ์ ิสุทธ์ิ จงอุดมสขุ สถาบนั วิจยั ระบบสาธารณสุข รายงานการสำรวจการบรโิ ภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครง้ั ที่ 4 พ.ศ. 2551-2552 V

ส ารบัญ หนา้ กิตตกิ รรมประกาศ IV คำนำ V สารบัญ VI สารบญั ตาราง VII สารบญั รูป X บทคดั ยอ่ สำหรับผบู้ รหิ าร 1 บทที่ 1 ความเป็นมาและวตั ถปุ ระสงค์ 5 1.1 ความเปน็ มา 5 1.2 วัตถปุ ระสงค ์ 6 บทท่ี 2 ระเบียบวธิ กี ารสำรวจ 7 2.1 การสัมภาษณค์ วามถใี่ นการบริโภคอาหาร 7 2.1.1 ประชากรกลมุ่ เป้าหมาย 7 2.1.2 การสมุ่ ตัวอยา่ งและจำนวนประชากรตวั อย่าง 8 2.1.3 กลมุ่ เป้าหมายและขนาดตัวอย่างของแตล่ ะกลุม่ 9 2.1.4 การวเิ คราะหข์ อ้ มูล 9 2.1.4.1 การคำนวณค่าถว่ งนำ้ หนัก 10 2.1.4.2 การปรบั ค่าถ่วงนำ้ หนกั ดว้ ยการไม่ตอบ 10 2.1.4.3 การปรับค่าถ่วงนำ้ หนกั ด้วยการแบ่งขอ้ มลู ออกเป็นชน้ั ภมู ิ 10 2.1.5 เครื่องมือและวธิ ีการสัมภาษณค์ วามถี่ในการบรโิ ภคอาหาร 10 2.1.5.1 เครื่องมือการสมั ภาษณ์ความถ่ใี นการบรโิ ภคอาหาร 11 2.1.5.2 วธิ ีการสัมภาษณค์ วามถใ่ี นการบริโภคอาหาร 11 2.1.6 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ความถใ่ี นการบรโิ ภคอาหาร 2.2 การสัมภาษณอ์ าหารบรโิ ภคทบทวนความจำยอ้ นหลัง 24 ชว่ั โมง 12 2.2.1 ประชากรกลุ่มเปา้ หมาย 12 2.2.2 การคดั เลอื กกลุม่ ตวั อยา่ ง 12 2.2.3 การส่มุ บคุ คลตวั อย่าง 13 2.2.4 เครอ่ื งมือและวธิ ีการสมั ภาษณอ์ าหารบรโิ ภคทบทวนความจำยอ้ นหลงั 24 ชั่วโมง 14 2.2.4.1 เคร่อื งมือการสมั ภาษณอ์ าหารบรโิ ภคทบทวนความจำย้อนหลงั 24 ชัว่ โมง 14 2.2.4.2 วิธีการสัมภาษณ์อาหารบริโภคทบทวนความจำยอ้ นหลัง 24 ชั่วโมง 15 2.2.5 การเก็บรวบรวมข้อมูล 15 2.2.5.1 การอบรมเจ้าหน้าทก่ี อ่ นปฏบิ ัติการภาคสนาม 15 2.2.5.2 การควบคุมคุณภาพ 16 2.2.5.3 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 16 VI รายงานการสำรวจการบริโภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสขุ ภาพประชาชนไทยโดยการตรวจรา่ งกายคร้งั ท่ี 4 พ.ศ. 2551-2552

สารบัญ (ต่อ) 2. 2.6 การด ำเนินการและวเิ คราะหข์ อ้ มลู อาหารบริโภค หน้า 17 2.2.7 การวิเคราะห์ขอ้ มลู ทางสถิต ิ 18 บทที่ 3 ผลการสำรวจความถี่ในการบริโภคอาหาร 19 3.1 ลักษณะขอ้ มลู ประชากร 19 3.2 ความถีใ่ นการบรโิ ภคอาหารประเภทตา่ งๆ 20 3.2.1 ความถี่ในการบรโิ ภคอาหารประเภทตา่ งๆ ของประชากรเดก็ อายุ 2-14 ปี 21 3.2.2 ความถีใ่ นการบริโภคอาหารประเภทต่างๆ ของประชากรกลมุ่ อายุ 15 ปขี นึ้ ไป 22 3.3 บทสรุปและขอ้ เสนอแนะจากการสัมภาษณ์ความถ่ีในการบริโภคอาหาร 25 3.3.1 บทสรุปจากการสมั ภาษณ์ความถ่ใี นการบริโภคอาหาร 25 3.3.2 ข้อเสนอแนะจากการสัมภาษณค์ วามถ่ใี นการบริโภคอาหาร 29 บทที่ 4 ผลการสำรวจอาหารบริโภคโดยการสัมภาษณ์อาหารบรโิ ภคทบทวน 31 ความจำยอ้ นหลงั 24 ช่วั โมง 4.1 ลกั ษณะขอ้ มลู ประชากรและอาหารบริโภค 31 4.2 การได้รับพลังงานและสารอาหารและการบรโิ ภคอาหารกลมุ่ ตา่ งๆ 35 4.2.1 เดก็ อายุ 1-8 ปี 35 4.2.2 วยั ร่นุ อายุ 9-18 ปี 42 4.2.3 ผใู้ หญอ่ ายุ 19-59 ป ี 49 4.2.4 ผูส้ ูงอายอุ ายุ 60 ปีข้ึนไป 56 4.3 ร้อยละของปรมิ าณสารอาหารอ้างองิ ทคี่ วรได้รบั ประจำวันสำหรับคนไทย 63 จำแนกตามภาคและเขตการปกครอง 4.4 บทสรุปและขอ้ เสนอแนะจากการสมั ภาษณอ์ าหารบริโภคทบทวน 72 ความจำยอ้ นหลงั 24 ชว่ั โมง 4.4.1 บทสรปุ : การไดร้ บั พลังงานและสารอาหาร และการบริโภคอาหารกลมุ่ ต่างๆ 72 4.4.1.1 การได้รับพลังงานและสารอาหาร 72 4.4.1.2 การบริโภคอาหารกลุ่มต่างๆ 75 4.4.2 ข้อเสนอแนะในการดำเนินการสำรวจอาหารบริโภคทบทวน 76 ความจำย้อนหลงั 24 ชั่วโมง รายงานการสำรวจการบรโิ ภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายคร้ังที่ 4 พ.ศ. 2551-2552 VII

ส ารบญั (ตอ่ ) หนา้ บรรณานุกรม 78 ภาคผนวก 81 ภาคผนวก ก การกระจายพลงั งานจากคาร์โบไฮเดรต โปรตนี และไขมนั 83 ที่ได้รับจากการบริโภคอาหารใน 1 วัน ภาคผนวก ข การบรโิ ภคอาหาร (กรมั ) ใน 1 วนั เฉพาะกลมุ่ ตวั อย่างท่ีบรโิ ภคอาหาร 89 ตามกล่มุ อาหารตา่ งๆ จรงิ ในวันท่สี ำรวจอาหารบรโิ ภค ภาคผนวก ค รอ้ ยละของฐานข้อมูลพลังงาน สารอาหาร และสว่ นประกอบทางเคมีในอาหาร 97 ภาคผนวก ง ความถใ่ี นการบริโภคประเภทตา่ งๆ 99 VIII รายงานการสำรวจการบริโภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสขุ ภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครงั้ ที่ 4 พ.ศ. 2551-2552

ส ารบัญตาราง หน้า 2.1 จำนวนประชากรตัวอย่าง 9 2.2 การคำนวณจำนวนตัวอย่าง 12 2.3 การคดั เลือกกลุ่มตวั อย่างจำแนกตามภาคและเขตการปกครอง 13 2.4 การคัดเลือกบุคคลตัวอยา่ งสำหรบั การสัมภาษณ์อาหารบริโภคทบทวนความจำย้อนหลัง 24 ชวั่ โมง 14 2.5 การจัดกล่มุ อาหารบริโภค 18 3.1 ร้อยละของตัวอย่างอายุ 1-14 ปี จำแนกตามอายุ เพศ เขตการปกครองและภาค (Unweighted) 19 3.2 ร้อยละของตวั อย่างอายุ 15 ปขี ึ้นไป จำแนกตามอายุ เพศ เขตการปกครองและภาค (Unweighted) 20 3.3 การเปรียบเทยี บความถ่ีในการกินอาหารบางประเภทของการสำรวจ ปี พ.ศ. 2546 26 และปี พ.ศ. 2552 ในกลมุ่ เดก็ 3.4 การเปรยี บเทียบความถีใ่ นการกนิ อาหารบางประเภทของการสำรวจ ปี พ.ศ. 2546 27 และ ปี พ.ศ. 2552 ในกล่มุ ผ้ใู หญ ่ 4.1 รอ้ ยละของกลุ่มตวั อย่าง จำนวน 2,969 คน จำแนกตามภาคและลกั ษณะประชากร 32 4.2 รอ้ ยละของกลุม่ ตวั อย่าง จำนวน 2,969 คน จำแนกตามภาคและขอ้ มลู อาหารบรโิ ภค 34 4.3 ค่ามธั ยฐานและค่าเฉล่ียของปริมาณพลังงาน สารอาหาร และส่วนประกอบเคมใี นอาหาร 37 ทไี่ ดร้ ับจากการบริโภคอาหารใน 1 วัน และรอ้ ยละของปรมิ าณสารอาหารอา้ งองิ ทคี่ วรได้รบั ประจำวนั สำหรบั คนไทย ของกลมุ่ ตวั อยา่ งเดก็ อายุ 1-8 ปี จำนวน 448 คน จำแนกตามกลุ่มอายุ 4.4 คา่ มธั ยฐานและค่าเฉล่ยี ของปรมิ าณอาหารบริโภค (กรัม) ใน 1 วนั 40 ของกลุม่ ตัวอยา่ งเด็กอายุ 1-8 ปี จำนวน 448 คน จำแนกตามกลุ่มอายุและกลมุ่ อาหาร 4.5 ค่ามธั ยฐานและค่าเฉล่ยี ของปริมาณอาหารบริโภค (หนว่ ยครัวเรือน) 41 ใน 1 วนั ของกลมุ่ ตวั อยา่ งเด็กอายุ 1-8 ปี จำนวน 448 คน จำแนกตามกล่มุ อายแุ ละกลมุ่ อาหาร 4.6 คา่ มัธยฐานและคา่ เฉลยี่ ของปริมาณพลังงาน สารอาหาร และสว่ นประกอบเคมใี นอาหาร 44 ท่ไี ดร้ ับจากการบริโภคอาหารใน 1 วนั และร้อยละของปริมาณสารอาหารอา้ งองิ ที่ควรไดร้ บั ประจำวันสำหรบั คนไทย ของกลมุ่ ตัวอย่างวัยรนุ่ อายุ 9-18 ปี จำนวน 602 คน จำแนกตามกล่มุ อาย ุ 4.7 ค่ามัธยฐานและค่าเฉลีย่ ของปริมาณอาหารบรโิ ภค (กรมั ) ใน 1 วัน ของกลมุ่ ตวั อย่างวัยร่นุ 47 อายุ 9-18 ปี จำนวน 602 คน จำแนกตามกล่มุ อายุและกลุม่ อาหาร 4.8 ค่ามธั ยฐานและคา่ เฉลี่ยของปรมิ าณอาหารบริโภค (หน่วยครัวเรอื น) ใน 1 วัน 48 ของกลุ่มตวั อย่างวยั รุ่นอายุ 9-18 ปี จำนวน 602 คน จำแนกตามกลมุ่ อายแุ ละกลุ่มอาหาร 4.9 คา่ มธั ยฐานและคา่ เฉลี่ยของปรมิ าณพลังงาน สารอาหาร และสว่ นประกอบเคมใี นอาหารทีไ่ ดร้ ับ 51 จากการบริโภคอาหารใน 1 วนั และร้อยละของปริมาณสารอาหารอ้างอิงท่คี วรไดร้ บั ประจำวัน สำหรบั คนไทย ของกลมุ่ ตัวอยา่ งผูใ้ หญอ่ ายุ 19-59 ปี จำนวน 935 คน จำแนกตามกลุม่ อายุ 4.10 คา่ มธั ยฐานและคา่ เฉลี่ยของปรมิ าณอาหารบริโภค (กรัม) ใน 1 วัน ของกลุ่มตัวอยา่ ง 54 ผู้ใหญอ่ ายุ 19-59 ปี จำนวน 935 คน จำแนกตามกลมุ่ อายแุ ละกลมุ่ อาหาร รายงานการสำรวจการบริโภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจรา่ งกายคร้ังที่ 4 พ.ศ. 2551-2552 IX

ส ารบญั ตาราง (ต่อ) หน้า 4.11 คา่ มธั ยฐานและค่าเฉล่ยี ของปรมิ าณอาหารบริโภค (หนว่ ยครวั เรือน) ใน 1 วัน 55 ของกล่มุ ตวั อยา่ งผู้ใหญอ่ ายุ 19-59 ปี จำนวน 935 คน จำแนกตามกล่มุ อายแุ ละกล่มุ อาหาร 4.12 คา่ มธั ยฐานและค่าเฉล่ยี ของปรมิ าณพลงั งาน สารอาหาร และสว่ นประกอบเคมใี นอาหารที่ได้รับ 58 จากการบริโภคอาหารใน 1 วัน และร้อยละของปรมิ าณสารอาหารอา้ งองิ ท่ีควรได้รบั ประจำวัน สำหรับคนไทย ของกลุม่ ตวั อยา่ งผู้สูงอายุ 60 ปขี ึ้นไป จำนวน 984 คน จำแนกตามกลมุ่ อาย ุ 4.13 คา่ มธั ยฐานและค่าเฉลย่ี ของปริมาณอาหารบรโิ ภค (กรมั ) ใน 1 วัน ของกล่มุ ตัวอย่าง 61 ผสู้ งู อายุ 60 ปีขึน้ ไป จำนวน 984 คน จำแนกตามกลมุ่ อายุและกลุ่มอาหาร 4.14 คา่ มัธยฐานและคา่ เฉล่ยี ของปริมาณอาหารบรโิ ภค (หนว่ ยครัวเรือน) ใน 1 วนั 62 ของกลุ่มตัวอยา่ งผู้สูงอายุ 60 ปขี ้นึ ไป จำนวน 984 คน จำแนกตามกลุม่ อายุและกลุ่มอาหาร 4.15 คา่ มธั ยฐานและคา่ เฉลี่ยรอ้ ยละของพลงั งานและสารอาหารของกลมุ่ ตัวอย่าง 67 จำนวน 2,969 คนบรโิ ภค เมอื่ เปรียบเทียบกับปริมาณสารอาหารอ้างอิงที่ควรไดร้ บั ประจำวนั สำหรับคนไทยใน 1 วัน จำแนกตามภาค 4.16 ค่ามัธยฐานและคา่ เฉลย่ี ร้อยละของพลงั งานและสารอาหารของกลมุ่ ตวั อยา่ ง 69 จำนวน 2,969 คนบริโภค เม่อื เปรยี บเทยี บกบั ปริมาณสารอาหารอา้ งองิ ทคี่ วรได้รับประจำวนั สำหรับคนไทยใน 1 วัน จำแนกตามเขตการปกครอง ก 1 ค่ามธั ยฐานและคา่ เฉลยี่ รอ้ ยละของการกระจายพลงั งานจากคาร์โบไฮเดรต โปรตนี และไขมนั 84 ทไี่ ดร้ ับจากการบริโภคอาหารใน 1 วัน ของกลุม่ ตวั อย่างเด็กอายุ 1-8 ปี จำนวน 448 คน จำแนกตามกลุ่มอายุ ก 2 คา่ มธั ยฐานและค่าเฉลยี่ ร้อยละของการกระจายพลังงานจากคาร์โบไฮเดรต โปรตนี และไขมัน 84 ท่ไี ดร้ บั จากการบรโิ ภคอาหารใน 1 วัน ของกลุ่มตวั อยา่ งวยั รุ่นอายุ 9-18 ปี จำนวน 602 คน จำแนกตามกลุ่มอายุ ก 3 ค่ามัธยฐานและคา่ เฉลย่ี ร้อยละของการกระจายพลังงานจากคาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน 85 ทไี่ ดร้ บั จากการบริโภคอาหารใน 1 วัน ของกลมุ่ ตัวอย่างผู้ใหญอ่ ายุ 19-59 ปี จำนวน 935 คน จำแนกตามกลมุ่ อายุ ก 4 คา่ มัธยฐานและคา่ เฉล่ียรอ้ ยละของการกระจายพลงั งานจากคารโ์ บไฮเดรต โปรตนี และไขมัน 85 ท่ไี ด้รบั จากการบรโิ ภคอาหารใน 1 วัน ของกลมุ่ ตวั อยา่ งผู้สงู อายุ 60 ปขี ึ้นไป จำนวน 984 คน จำแนกตามกลุม่ อาย ุ ก 5 ค่ามัธยฐานและคา่ เฉลีย่ รอ้ ยละของการกระจายพลงั งานจากคาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมนั 86 ท่ีไดร้ ับจากการบรโิ ภคอาหารใน 1 วัน ของกลุ่มตวั อยา่ งจำนวน 2,969 คน จำแนกตามภาค ก 6 คา่ มธั ยฐานและคา่ เฉลี่ยรอ้ ยละของการกระจายพลงั งานจากคารโ์ บไฮเดรต โปรตีน และไขมนั 87 ท่ีได้รบั จากการบรโิ ภคอาหารใน 1 วัน ของกลมุ่ ตัวอยา่ งจำนวน 2,969 คน จำแนกตามเขตการปกครอง X รายงานการสำรวจการบรโิ ภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสขุ ภาพประชาชนไทยโดยการตรวจรา่ งกายครั้งที่ 4 พ.ศ. 2551-2552

สารบัญตาราง (ต่อ) หนา้ ข 1 รอ้ ยละของกลมุ่ ตวั อย่างที่บริโภคอาหารกล่มุ ต่างๆ ในวันที่สำรวจอาหารบริโภค 90 จำแนกตามกลุ่มอายุ ค 1 รอ้ ยละของฐานขอ้ มูลพลงั งาน สารอาหาร และส่วนประกอบทางเคมใี นอาหารทไี่ ดจ้ าก 98 การประมวลผล ดว้ ยโปรแกรม INMUCAL-N V.2.0 ง 1 ร้อยละของประชากรไทยอายุ 2-14 ปี ในการบรโิ ภคอาหารจำแนกตามประเภทอาหาร 101 ความถ่บี รโิ ภค เพศ อายุ และในเขต/นอกเขตการปกครองปี พ.ศ. 2551-2 ง 2 ร้อยละของประชากรไทยอายุ 2-14 ปี ในการบริโภคอาหารจำแนกตามประเภทอาหาร 121 ความถบ่ี ริโภค เพศ ในเขต/นอกเขตการปกครอง และภาคปี พ.ศ. 2551-2 ง 3 รอ้ ยละของประชากรไทยอายุ 15 ปขี ้นึ ไป ในการบรโิ ภคอาหาร จำแนกตามประเภทอาหาร 142 ความถี่บริโภค เพศ อายุ และในเขต/นอกเขตการปกครองปี พ.ศ. 2551-2 ง 4 รอ้ ยละของประชากรไทยอายุ 15 ปขี ้นึ ไป ในการบรโิ ภคอาหาร จำแนกตามประเภทอาหาร 164 ความถ่บี รโิ ภค เพศ ในเขต/นอกเขตการปกครอง และภาคปี พ.ศ. 2551-2 รายงานการสำรวจการบรโิ ภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจรา่ งกายครงั้ ท่ี 4 พ.ศ. 2551-2552 XI

ส ารบญั รปู หนา้ 4.1 ค่าเฉล่ียรอ้ ยละของการกระจายพลังงานจากคาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมนั ทไี่ ด้รับจาก 35 การบรโิ ภคอาหารใน 1 วนั ของกลุ่มตวั อยา่ งเดก็ อายุ 1-8 ปี จำนวน 448 คน จำแนกตามกล่มุ อาย ุ 4.2 ค่าเฉลี่ยร้อยละของการกระจายพลงั งานจากคารโ์ บไฮเดรต โปรตนี และไขมัน ทีไ่ ดร้ ับจาก 42 การบรโิ ภคอาหารใน 1 วัน ของกลมุ่ ตัวอยา่ งวัยรนุ่ อายุ 9-18 ปี จำนวน 602 คน จำแนกตามกลมุ่ อายุ 4.3 คา่ เฉลยี่ รอ้ ยละของการกระจายพลังงานจากคารโ์ บไฮเดรต โปรตีน และไขมนั ท่ีไดร้ ับจาก 49 การบริโภคอาหารใน 1 วนั ของกลุ่มตัวอย่างผูใ้ หญ่อายุ 19-59 ปี จำนวน 935 คน จำแนกตามกล่มุ อาย ุ 4.4 ค่าเฉลี่ยร้อยละของการกระจายพลังงานจากคารโ์ บไฮเดรต โปรตีน และไขมัน ทีไ่ ดร้ บั จาก 56 การบริโภคอาหารใน 1 วนั ของกล่มุ ตัวอยา่ งผ้สู ูงอายุ 60 ปขี น้ึ ไป จำนวน 984 คน จำแนกตามกลุ่มอายุ 4.5 ค่าเฉลี่ยร้อยละของการกระจายพลังงานจากคาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมนั ท่ไี ด้รับจาก 63 การบรโิ ภคอาหารใน 1 วนั ของกล่มุ ตวั อยา่ ง จำนวน 2,969 คน จำแนกตามภาค 4.6 ค่าเฉลย่ี ร้อยละของการกระจายพลังงานจากคารโ์ บไฮเดรต โปรตนี และไขมัน ท่ีไดร้ ับจาก 64 การบริโภคอาหารใน 1 วนั ของกลุม่ ตัวอย่าง จำนวน 2,969 คน จำแนกตามเขตการปกครอง 4.7 คา่ มัธยฐานของการบรโิ ภคโซเดียมของกลมุ่ ตัวอยา่ ง จำนวน 2,969 คน จำแนกตามภาค 65 4.8 คา่ มธั ยฐานของการบรโิ ภคโซเดียมของกล่มุ ตวั อยา่ ง จำนวน 2,969 คน 65 จำแนกตามเขตการปกครอง 4.9 ค่ามัธยฐานของการบริโภคคอเลสเตอรอลของกล่มุ ตัวอย่าง จำนวน 2,969 คน จำแนกตามภาค 70 4.10 ค่ามธั ยฐานของการบรโิ ภคคอเลสเตอรอลของกลุ่มตวั อย่าง จำนวน 2,969 คน 71 จำแนกตามเขตการปกครอง 4.11 คา่ มธั ยฐานของการบรโิ ภคใยอาหารของกลุม่ ตัวอยา่ ง จำนวน 2,969 คน จำแนกตามภาค 71 4.12 ค่ามธั ยฐานของการบริโภคใยอาหารของกล่มุ ตัวอย่าง จำนวน 2,969 คน 72 จำแนกตามเขตการปกครอง ข 1 การบริโภคขา้ วแปง้ และผลติ ภัณฑข์ องกล่มุ ตวั อย่าง จำนวน 2,960 คน จำแนกตามกลุ่มอาย ุ 91 ข 2 การบริโภคเนื้อสัตวแ์ ละผลิตภัณฑข์ องกลุ่มตวั อย่าง จำนวน 2,891 คน จำแนกตามกลุ่มอาย ุ 92 ข 3 การบริโภคไข่ของกล่มุ ตัวอยา่ ง จำนวน 1,297 คน จำแนกตามกลุม่ อาย ุ 92 ข 4 การบรโิ ภคถัว่ และผลติ ภัณฑ์ของกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 783 คน จำแนกตามกล่มุ อายุ 93 ข 5 การบรโิ ภคนมและผลติ ภัณฑ์ของกลมุ่ ตวั อย่าง จำนวน 1,051 คน จำแนกตามกลุ่มอายุ 94 ข 6 การบรโิ ภคผกั ของกลมุ่ ตวั อยา่ ง จำนวน 2,821 คน จำแนกตามกล่มุ อาย ุ 94 ข 7 การบริโภคผลไม้ของกลุม่ ตวั อย่าง จำนวน 1,453 คน จำแนกตามกลมุ่ อายุ 95 ข 8 การบริโภคนำ้ มนั กะทิ ไขมนั และครีมชนดิ ต่างๆ ของกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 2,575 คน 96 จำแนกตามกลุ่มอาย ุ ข 9 การบรโิ ภคเครอื่ งปรุงรสของกลุม่ ตวั อย่าง จำนวน 2,928 คน จำแนกตามกลุ่มอาย ุ 96 XII รายงานการสำรวจการบรโิ ภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสขุ ภาพประชาชนไทยโดยการตรวจรา่ งกายครัง้ ที่ 4 พ.ศ. 2551-2552

บทคัดยอ่ สำหรบั ผ้บู ริหาร การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 4 ปี พ.ศ. 2551-2 นี้ ดำเนินการโดย สำนกั งานสำรวจสขุ ภาพประชาชนไทย สถาบนั วจิ ยั ระบบสาธารณสขุ นบั เปน็ ครงั้ แรกทไ่ี ดม้ กี ารผนวกการสำรวจ การบริโภคอาหารของประชาชนไทย ไวใ้ นการสำรวจสุขภาพฯ นี้ โดยได้สัมภาษณ์เกย่ี วกับความถีใ่ นการบรโิ ภค อาหาร (Frequency of food consumption) ในบคุ คลตัวอย่างอายุ 2-14 ปี จำนวน 8,462 คนและ 15 ปี ขึ้นไป 20,470 คน และสัมภาษณ์เก่ียวกับอาหารบริโภคทบทวนความจำย้อนหลัง 24 ช่ัวโมง จากบุคคล ตัวอย่าง 2,969 คน โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือทราบแบบแผนการบริโภคอาหารประเภทต่างๆ และประเมิน ปรมิ าณของการไดร้ บั พลงั งาน และสารอาหารของกลุ่มตัวอย่างประชากรไทย ซึ่งผลการสำรวจพอสรุปไดด้ ังน้ ี ความถ่ีการบรโิ ภคอาหาร 1. ประเภทอาหารทเี่ ดก็ อายุ 2-14 ปี กนิ ทกุ วัน ได้แก่ ร้อยละ 70 กนิ ข้าวขาว ทกุ วัน, ร้อยละ 40-50 กิน นมจืด ทุกวนั รอ้ ยละ 20-30 กิน ไข่เจยี ว/ไขด่ าว นมหวาน ขนมกรบุ กรอบ ทกุ วัน ร้อยละ 10-20 กิน เนื้อสัตวท์ อด/ผัด/ตุ๋น ปลา ลูกชิน้ ขนมปงั นำ้ อดั ลม ไอศกรีม ลูกอม ทุกวนั ร้อยละ 1-10 กนิ บะหมี่ก่งึ สำเร็จรปู กุ้ง/หอย/ปู ปลาเส้น คุ๊กก้ี ขนมหวาน ทกุ วนั 2. ประเภทอาหารท่ีผใู้ หญอ่ ายุ 15 ปขี นึ้ ไป กนิ ทุกวัน ไดแ้ ก่ ร้อยละ ≥70 กนิ ข้าวขาว ทกุ วนั , ร้อยละ 30-40 กิน ชา กาแฟ ขา้ วเหนยี ว ทุกวนั ร้อยละ 20-30 กนิ ปลาร้า/ปลาเจ่า ทกุ วัน รอ้ ยละ 10-20 กิน เน้ือสตั ว์ ปลา ไข่ ผลไม้ ขนมปัง ไอศกรมี ลูกอม ทุกวัน ร้อยละ 1-10 กนิ ข้าวกลอ้ ง กุง้ หอย ปู นม น้ำอดั ลม เครื่องดมื่ ชูกำลงั ค๊กุ ก้ี นมถั่วเหลอื ง ขนมปัง ถวั่ ขนมหวาน ขนมกรุบกรอบ ทกุ วัน 3. เมอ่ื เปรยี บเทยี บกบั ผลการสำรวจภาวะอาหารและโภชนาการของประเทศไทย โดยกองโภชนาการ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ ในปี พ.ศ. 2546 กบั ผลการสำรวจฯ คร้งั น้ี พบว่า ในเดก็ อายุ 2-14 ปี อาหารบางประเภท มรี อ้ ยละของการกินเกือบทกุ วัน/ทกุ วนั เพิม่ ขนึ้ ได้แก่ • บะหมี่สำเรจ็ รูป โดยพบวา่ เดก็ อายุ 6-14 ปี มสี ัดส่วนกินเกือบทุกวนั และทกุ วันเพ่ิมขึ้น กลา่ วคอื ประมาณ 1 ใน 10 คนกินบะหม่สี ำเร็จรปู ทุกวัน • น้ำอัดลม/นำ้ หวาน พบวา่ เพ่ิมทง้ั ในเดก็ ก่อนวัยเรียน และเด็กนกั เรยี น (อายุ 6-14 ปี) ประมาณ 1 ใน 5 คน กนิ นำ้ อดั ลม/น้ำหวาน ทุกวนั • ขนมขบเคีย้ ว พบวา่ ความถี่การกนิ เพม่ิ ขึ้นในกลุ่มเด็ก 6-14 ปี และมีมากกวา่ 1 ใน 4 คน กนิ ขนมขบเคย้ี ว ทุกวัน • นมจดื กนิ ทกุ วนั มสี ดั สว่ นทเี่ พม่ิ ขน้ึ เปน็ รอ้ ยละ 42.9 ในปี พ.ศ. 2552 พบทง้ั ในเขตเทศบาล และนอกเขตเทศบาล และทุกภาคของประเทศ รายงานการสำรวจการบริโภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสขุ ภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายคร้งั ท่ี 4 พ.ศ. 2551-2552 1

4. ในผูใ้ หญ่ เมอื่ เปรียบเทยี บการสำรวจปี พ.ศ. 2546 พบการเปลี่ยนแปลงเชน่ กัน ท้ังเพ่ิมข้นึ และ ลดลง การเปลยี่ นแปลงในทางบวกตอ่ สขุ ภาพ พบวา่ • สัดสว่ นการกนิ อาหารประเภทเนอ้ื ติดมันทุกวัน ไม่ไดเ้ พิ่มข้นึ จากการสำรวจคร้ังก่อน และ ลดลงอย่างชัดเจนในกลุ่มผสู้ ูงอายุ จากร้อยละ 10 ทง้ั ในกลมุ่ วัยแรงงานและผสู้ งู อายุในปี พ.ศ.2546 ลดลงเป็นรอ้ ยละ 8.5 และ 5.5 ตามลำดับในปี พ.ศ. 2552 • สดั สว่ นของการท่กี ินขา้ วกล้องทกุ วันเพ่ิมขนึ้ จากร้อยละ 2 เปน็ รอ้ ยละ 7 • การกนิ อาหารประเภทปลา มีการกินทกุ วันในกลมุ่ วัยแรงงานเพมิ่ ขน้ึ เพียงเล็กนอ้ ย และใน กลมุ่ ผสู้ ูงอายกุ ลบั มีความถ่ีลดลงเท่าตัว การเปล่ยี นแปลงในทางลบตอ่ สขุ ภาพ พบว่า • อาหารทมี่ สี ัดส่วนของการกินทุกวันเพ่ิมข้ึน ได้แก่ น้ำอัดลม เครื่องดื่มชูกำลัง และขนม ขบเค้ียว เปน็ ต้น การสัมภาษณ์อาหารบรโิ ภคทบทวนความจำย้อนหลงั 24 ชว่ั โมง 5. การวเิ คราะห์แหล่งพลงั งานจากอาหารบรโิ ภค พบว่า ประชากรไทยได้พลงั งานจากคาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน เฉลยี่ รอ้ ยละ 57.6, 16.0 และ 26.4 ตามลำดบั 6. ค่ามัธยฐานร้อยละของปริมาณพลังงานท่ีควรได้รับประจำวันมีแนวโน้มที่จะลดลงเม่ืออายุเพ่ิม มากขน้ึ การไดร้ บั โปรตนี ในปริมาณทมี่ ากกว่าร้อยละ 82 ในทกุ ภมู ภิ าค กลมุ่ อายุ 1-8 ปีบริโภค โปรตนี ในปรมิ าณมาก ในขณะทก่ี ลมุ่ ผสู้ งู อายบุ รโิ ภคโปรตนี นอ้ ยและตำ่ กวา่ ความตอ้ งการของรา่ งกาย การกระจายพลงั งานจากคารโ์ บไฮเดรต โปรตนี และไขมนั แตกตา่ งกนั ตามภมู ภิ าคและเขตการปกครอง 7. การไดร้ ับแคลเซียมและธาตุเหล็กจากอาหาร ต่ำกว่ารอ้ ยละ 30.0 และ 67.0 ของปรมิ าณทีค่ วรได ้ รับประจำวัน ตามลำดับ 8. การไดร้ ับฟอสฟอรสั จากอาหาร มากกว่ารอ้ ยละ 70.0 ของปรมิ าณท่คี วรไดร้ ับประจำวนั และ กลมุ่ ตัวอยา่ งอายุตั้งแต่ 6 ปีขน้ึ ไป 9. การได้รับโซเดียมจากอาหาร ได้รับมากกว่า 2,400 มิลลิกรัมต่อวัน (มัธยฐานได้รับ 3,264 มิลลิกรมั ต่อวนั ) 10. การได้รบั วิตามนิ จากอาหาร พบวา่ กลมุ่ อายุ 1-3 ปี มคี า่ มัธยฐานการได้รบั วิตามนิ เอมากกวา่ รอ้ ยละ 80.0 ของปรมิ าณท่คี วรไดร้ บั ประจำวนั และเริม่ ลดลงเมื่ออายเุ พม่ิ มากข้นึ วติ ามนิ บี 1 บี 2 และไนอะซีน พบวา่ มปี รมิ าณการบรโิ ภคลดลง ในกลุม่ ท่มี อี ายุเพิ่มมากข้นึ กลุ่มตัวอย่างใน บางภูมิภาค โดยเฉพาะอย่างยิ่งกรุงเทพมหานคร ค่ามัธยฐานการได้รับวิตามินดังกล่าวต่ำกว่า ร้อยละ 70.0 11. การได้รบั วติ ามนิ ซีจากอาหาร น้อยกว่าร้อยละ 50.0 ของปรมิ าณที่ควรไดร้ บั ประจำวัน 12. การบรโิ ภคคอเลสเตอรอลต่ำกวา่ 300 มิลลิกรมั ตอ่ วัน 13. การบริโภคใยอาหารค่อนข้างต่ำ (ค่ามัธยฐานต่ำสุดเท่ากับ 1.8 กรัม ค่ามัธยฐานสูงสุดเท่ากับ 8.0 กรมั ) 14. การบริโภคอาหารกลุ่มต่างๆ พบว่า ในแต่ละวันกลุ่มตัวอย่างบริโภคอาหารไม่ครบทุกหมวดหมู่ โดยเฉพาะอาหารหลัก 5 หมู่ 15. กลุ่มอาหารหลักท่ีกลุ่มตัวอย่างประชากรไทยบรโิ ภคต่ำกวา่ ปริมาณท่แี นะนำใหบ้ รโิ ภค ไดแ้ ก่ นม และผลิตภัณฑ์ ผัก และผลไม ้ 2 รายงานการสำรวจการบริโภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสขุ ภาพประชาชนไทยโดยการตรวจรา่ งกายครั้งที่ 4 พ.ศ. 2551-2552

16. สำหรบั กลมุ่ ข้าวแปง้ และผลิตภณั ฑ์ พบวา่ ส่วนใหญบ่ ริโภคขา้ วแป้งและผลติ ภัณฑ์ทีข่ ดั สี ปรมิ าณ การบริโภคจะเพ่มิ ตามอายุ และจะลดลงเม่อื เข้าส่วู ัยสูงอายุ 17. การบรโิ ภคอาหารท่ีเปน็ แหลง่ สำคญั ของโปรตีน ไดแ้ ก่ กลุ่มเนื้อสัตวแ์ ละผลติ ภัณฑ์ ไข่ และถ่ัว และผลิตภัณฑข์ องกล่มุ ตวั อย่างจะอยใู่ กลเ้ คียงกับปรมิ าณที่แนะนำตามธงโภชนาการ 18. ค่ามัธยฐานปรมิ าณนำ้ มนั กะทิ ไขมนั และครีมชนดิ ตา่ งๆ ที่กลุ่มตวั อยา่ งบริโภคอยู่ระหวา่ ง 12.5 ถงึ 30.0 กรัม และค่ามัธยฐานปรมิ าณเคร่อื งปรุงรส อยู่ระหว่าง 18.6 ถึง 74.9 กรัม ผลการสำรวจนี้แสดงให้เห็นว่า แนวโน้มการบริโภคอาหารของประชากรไทย ยังมีส่วนท่ีต้องมีการ ปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมการบรโิ ภค ดงั นนั้ ภาคสว่ นทเ่ี กย่ี วขอ้ งควรเรง่ ดำเนนิ การ ทางดา้ นนโยบายและยทุ ธศาสตร์ ด้านอาหารเพื่อสขุ ภาพ ปรบั กลยุทธดา้ นการสร้างเสรมิ การบรโิ ภคอาหารที่ดีตอ่ สขุ ภาพในประชาชนไทย โดยมี เปา้ หมายและการดำเนนิ งานอยา่ งชดั เจน รว่ มกบั การรณรงคใ์ หค้ วามรแู้ กป่ ระชาชนและทกุ ภาคสว่ นใหต้ ระหนกั ถงึ การบริโภคอาหารท่ดี ตี ่อสุขภาพและมีการเฝ้าระวังพฤติกรรมการบริโภคอาหารโดยการสำรวจฯ เป็นระยะ รายงานการสำรวจการบริโภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 4 พ.ศ. 2551-2552 3

4 รายงานการสำรวจการบริโภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสขุ ภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายคร้งั ท่ี 4 พ.ศ. 2551-2552

1บทท่ี ค วามเป็นมาและวัตถุประสงค์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วราภรณ์ เสถยี รนพเก้า 1.1 ความเปน็ มา ในชว่ งระยะเวลาหลายสบิ ปที ผี่ า่ นมา ประเทศไทยเปน็ หนงึ่ ในหลายๆ ประเทศทป่ี ระสบความสำเรจ็ อยา่ งสงู ในการลดอัตราการเกิด ขณะที่อัตราการเกดิ ลดลงอยา่ งรวดเรว็ อตั ราการตายก็ลดลงเช่นกัน ทงั้ นเ้ี นือ่ งจากความ กา้ วหนา้ ทางวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ และการใหบ้ รกิ ารทที่ วั่ ถงึ และครอบคลมุ ของการสาธารณสขุ ไทย ทำใหอ้ ายขุ ยั เฉลีย่ ของประชากรไทยเพ่มิ ข้ึนทงั้ ในเพศชายและหญิง และส่งผลให้สัดสว่ นของประชากรวัยสงู อายเุ พิม่ ขน้ึ อย่าง รวดเรว็ โดยพบวา่ ในปี พ.ศ. 2539 จำนวนประชากรผูส้ งู อายเุ ท่ากบั รอ้ ยละ 7 ของประชากรรวม และเพิ่มเปน็ ร้อยละ 9 ในปี พ.ศ. 2543 และมีการคาดการณว์ า่ ในปี พ.ศ. 2563 สัดส่วนของประชากรผูส้ ูงอายจุ ะเพ่มิ ขึน้ เป็น ร้อยละ 15 ของประชากรรวม1 การเพ่มิ ขึน้ ของประชากรผู้สงู อายุ สามารถนำมาซงึ่ ปญั หาตา่ งๆ มากมาย โดยเฉพาะอย่างย่งิ ปัญหา ทางดา้ นสขุ ภาพ ผสู้ งู อายจุ ำนวนมากกำลงั เผชญิ หนา้ กบั โรคภยั ไขเ้ จบ็ รวมถงึ ภาวะแทรกซอ้ นอนั เนอื่ งจากการขาด การดูแลหรือรักษาท่ตี อ่ เนอื่ ง การพฒั นาระบบการดแู ลสุขภาพขัน้ พน้ื ฐานสำหรับผู้สงู อายุ หรอื การจัดตัง้ ระบบ การดแู ลสขุ ภาพเชงิ รกุ สำหรบั ผสู้ งู อายทุ ปี่ ว่ ยดว้ ยโรคเรอื้ รงั ไมส่ ามารถรองรบั ปญั หาทเ่ี กดิ จากการเปลยี่ นผา่ นเขา้ ส ู่ สังคมผู้สูงอายุไดเ้ พียงพอ Johanna Dwyer2 เสนอแนะว่า การให้การดูแลสขุ ภาพตั้งแต่เรม่ิ ต้นของชีวติ เพอ่ื เข้า ส่วู ยั สงู อายอุ ยา่ งมคี ณุ ภาพชีวิตที่ดีเป็นสงิ่ สำคญั ทท่ี ุกฝ่ายตอ้ งให้ความสนใจ เพราะการให้การดูแลสขุ ภาพตั้งแต่ เริ่มต้นของชีวิตสามารถลดอัตราการเจ็บป่วยและค่าใช้จ่ายทางสังคมที่เก่ียวข้องกับโรคเรื้อรังและทุพพลภาพลง ไดม้ าก จากอดีตถึงปัจจุบันมีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์จำนวนมากท่ียืนยันถึงความเก่ียวข้องของอาหารและ โภชนาการกับภาวะสุขภาพในทุกช่วงชีวิต จากการศึกษาขนาดของภาระโรคที่เกิดจากปัจจัยเส่ียงที่สำคัญใน ประเทศกำลงั พัฒนาในปี ค.ศ. 20003 ชใี้ หเ้ ห็นวา่ โรคท่เี กยี่ วข้องกบั โภชนาการทำให้เกิดการสูญเสียปีสุขภาวะ (Disability-adjusted life years-DALYs) ท่ีสูง โรคดงั กลา่ วประกอบดว้ ย โรคหลอดเลือดสมอง คดิ เปน็ 4.7% DALYs และโรคหลอดเลอื ดหัวใจ 3.2%DALYs โดยปจั จัยเสย่ี งที่สัมพันธก์ บั ท้งั สองโรคนี้ คือ ความดนั โลหติ สูง เทา่ กบั 5%DALYs ภาวะนำ้ หนกั เกินและโรคอว้ น 2.7%DALYs ระดบั คอเลสเตอรอลในเลอื ดสงู 2.1%DALYs และการบรโิ ภคผักและผลไมน้ อ้ ย 1.9%DALYs สำหรบั ประเทศไทย คณะทำงานภาระโรคและการบาดเจบ็ ทเ่ี กดิ จากพฤตกิ รรมสขุ ภาพและปจั จยั เสย่ี ง กระทรวงสาธารณสขุ 4 ทำการศกึ ษาขนาดของภาระโรคทเี่ กดิ จากปจั จยั เสย่ี ง ในปี พ.ศ. 2542 พบวา่ ทง้ั เพศชาย และหญิงมีการสูญเสียปสี ขุ ภาวะสงู จากโรคหลอดเลือดสมอง เท่ากับ 5%DALYs ในเพศชาย และ 6%DALYs ใน เพศหญงิ เบาหวาน 3%DALYs ในเพศชาย และ 6%DALYs ในเพศหญิง โรคหลอดเลอื ดหัวใจ 3%DALYs ใน เพศชายและเพศหญิง และโลหิตจาง 3%DALYs ในเพศหญงิ โดยมีความสมั พันธ์กบั ปจั จัยเสย่ี งทางดา้ นอาหาร และโภชนาการ เช่นเดียวกับทพ่ี บในประเทศกำลงั พัฒนาอื่นๆ3 รายงานการสำรวจการบรโิ ภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายคร้ังท่ี 4 พ.ศ. 2551-2552 5

การสำรวจสภาวะสุขภาพอนามยั ของประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย คร้งั ที่ 3 พ.ศ.2546-25475 ในประชากรกลุ่มศึกษาอายุ ≥15 ปี จำนวน 39,290 คน พบว่า ประชากรไทย รอ้ ยละ 22.5 ในเพศชาย และ 34.4 ในเพศหญงิ มภี าวะน้ำหนักเกนิ และอ้วน รอ้ ยละ 15.4 ในเพศชาย และ 10.6 ในเพศหญงิ มีความผดิ ปกติ ของน้ำตาลในเลือด และร้อยละ 23.3 ในเพศชายและ 20.9 ในเพศหญิงเป็นโรคความดันโลหิตสูง เป็นต้น ปญั หาสขุ ภาพดงั กลา่ ว เกยี่ วขอ้ งโดยตรงกบั ปจั จยั ดา้ นอาหารและพฤตกิ รรมการบรโิ ภคทไี่ มเ่ หมาะสม นอกจากนี้ ในการสำรวจคร้ังนี้ได้เร่ิมมีการสำรวจพฤติกรรมการบริโภคอาหาร โดยใช้แบบสัมภาษณ์ความถ่ีกึ่งปริมาณใน การบรโิ ภคผกั และผลไม้ และแบบสมั ภาษณค์ วามถใ่ี นการบรโิ ภคอาหารกลมุ่ ตา่ งๆ จากการสำรวจการบรโิ ภคผกั และผลไม6้ พบว่า เพยี งร้อยละ 26.6 หรือ 1 ใน 4 ของประชากรไทยท่รี ับประทานผกั และผลไมต้ ามปรมิ าณท่ี แนะนำ (≥5 สว่ นต่อวัน)7 สำหรับความถ่ีในการบริโภคอาหาร พบวา่ ประชากรไทยอายุ ≥15 ปกี ินเนอื้ สัตวใ์ น กลุ่มไขมนั สูงเช่น ขาหมู หมูสามช้ัน หนังเปด็ /ไก่ ไส้กรอก กุนเชียง หมยู อ เกือบทกุ วนั (4-6 คร้งั /สปั ดาห์) รอ้ ยละ 12.1 และรอ้ ยละ 8.5 กนิ ทกุ วนั (≥1 ครงั้ ตอ่ วนั ) กนิ อาหารทอดเกอื บทกุ วนั รอ้ ยละ 10.0 และกนิ ทกุ วนั รอ้ ยละ 6.8 กนิ อาหารทีม่ กี ะทิ เชน่ แกงเผด็ ตม้ ขา่ กลว้ ยบวดชี เกือบทุกวันรอ้ ยละ 10.1 และกินทุกวัน ร้อยละ 4.9 กนิ ขนมขบเคี้ยวเกือบทุกวนั ร้อยละ 5.6 และกินทกุ วันร้อยละ 5.3 ดม่ื นำ้ อดั ลม/น้ำหวานเกอื บ ทุกวันร้อยละ 7.5 และดื่มทุกวนั ร้อยละ 8.6 ด่มื นมสด/กนิ โยเกริ ต์ แบบกระปอ๋ งเกอื บทุกวันร้อยละ 5.8 และ กนิ ทกุ วนั รอ้ ยละ 6.6 และดื่มโยเกริ ต์ ชนิดด่มื เกอื บทกุ วันร้อยละ 4.1 และดืม่ ทุกวันร้อยละ 4.2 (หมายเหตุ: ข้อมูลความถ่ใี นการบริโภคอาหารกลุ่มต่างๆ ไดจ้ ากการวิเคราะหข์ ้อมลู ดบิ ของการสำรวจสภาวะสุขภาพอนามัย ของประชาชนไทยโดยการตรวจรา่ งกาย ครงั้ ที่ 3 พ.ศ. 2546-2547 ซง่ึ ขอ้ มลู สว่ นนไ้ี มไ่ ดถ้ กู บนั ทกึ ในเลม่ รายงาน ฉบบั สมบูรณ์) การสำรวจสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทยโดยการตรวจรา่ งกาย ครง้ั ท่ี 4 พ.ศ. 2551-2552 นอกจากทำการสำรวจพฤติกรรมสุขภาพและตรวจร่างกายเช่นเดียวกับการสำรวจสภาวะสุขภาพอนามัยของ ประชาชนไทยโดยการตรวจรา่ งกาย ครง้ั ที่ 3 พ.ศ. 2546-2547 แลว้ ไดข้ ยายกลมุ่ ประชากรทสี่ ำรวจใหค้ รอบคลมุ ประชากรต้ังแต่อายุ ≥1 ปี ทำการสำรวจโดยการสัมภาษณ์ความถใ่ี นการบรโิ ภคอาหารของประชากรไทยอาย ุ 2 ปีขึ้นไป และสำรวจอาหารบริโภคโดยการสัมภาษณ์อาหารบริโภคทบทวนความจำย้อนหลัง 24 ช่ัวโมง (24-hourDietary Recall) ซงึ่ วธิ กี ารประเมนิ อาหารดงั กลา่ วทำใหท้ ราบขอ้ มลู รายละเอยี ดเกย่ี วกบั ชนดิ ของอาหาร ท่บี ริโภค, สามารถใช้เพ่ือประเมินการไดร้ ับสารอาหารของกลุ่มประชากร/ตวั อยา่ ง, ภาระตอ่ ผถู้ กู สัมภาษณอ์ ยู่ ในระดับปานกลางถึงต่ำ เป็นตน้ 1.2 วัตถปุ ระสงค ์ 1. ศกึ ษาความถี่การบรโิ ภคอาหาร ประเภทอาหารและกลมุ่ อาหารหลกั ของประชากรไทยอายุ 2 ปี ขน้ึ ไป 2. ประเมินปริมาณของการได้รับพลังงาน และสารอาหารของกลุ่มตัวอย่างประชากรไทย เม่ือ เปรยี บเทยี บกบั ปรมิ าณสารอาหารอา้ งองิ ทค่ี วรไดร้ บั ประจำวนั สำหรบั คนไทย รวมถงึ แบบแผนการบรโิ ภคอาหาร กลุ่มต่างๆ ในกลมุ่ ตัวอย่างประชากรไทยอายุ 1 ปขี ึน้ ไป 6 รายงานการสำรวจการบรโิ ภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครัง้ ท่ี 4 พ.ศ. 2551-2552

2บทท่ี ระเบียบวธิ ีการสำรวจ ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.วราภรณ์ เสถยี รนพเกา้ รองศาสตราจารย์ นพ.วชิ ัย เอกพลากร คุณหทัยชนก พรรคเจริญ 2.1 การสัมภาษณ์ความถ่ใี นการบรโิ ภคอาหาร 2.1.1 ประชากรกลุ่มเป้าหมาย ประชากรอายตุ ัง้ แต่ 1 ปขี ้นึ ไป โดยแบง่ เปน็ กลุ่มอายตุ ามพฒั นาการทางชีวภาพและดา้ นสงั คม การ ศกึ ษา เปน็ 3 กลุ่ม คอื 1. กลุ่มเด็ก (อายุ 1-14 ป)ี ซง่ึ ในกลมุ่ นี้ยังแยกตามการเจริญเตบิ โตเป็น 1.1 กลุ่มเดก็ ก่อนวัยเรยี น (1-5 ป)ี สำหรับการสมั ภาษณ์ขอ้ มูลความถ่บี รโิ ภคอาหาร เริม่ จากเดก็ อายุ 2 ปขี นึ้ ไป 1.2 กลุ่มเด็กวัยเรยี น (6-14 ป)ี 2. วยั ทำงาน (15-59 ป)ี 3. วยั สูงอายุ (60 ปขี ึน้ ไป) 2.1.2 การส่มุ ตวั อยา่ งและจำนวนประชากรตัวอย่าง การสำรวจครง้ั นีใ้ ชแ้ ผนการสุ่มตัวอยา่ งเชงิ ความนา่ จะเปน็ (Probability sampling) แบบกลุม่ หลาย ขน้ั (Multistage cluster sampling) โดยมปี ระชากรกลุ่มเป้าหมายคอื ประชากรทม่ี รี ายช่อื ในทะเบียนราษฎร์ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ที่อาศัยอยู่ใน 4 ภาคของประเทศและกรุงเทพมหานคร และแบ่ง ประชากรเป็นกลุม่ ตามชั้นภูมติ ่างๆ ขน้ั ตอนการสุ่มมดี งั นี้ ขนั้ ท่ี 1 เลอื กจังหวดั 5 จงั หวดั จากแต่ละภาคใน 4 ภาคของประเทศโดยวิธีการส่มุ ตัวอย่าง (Random sampling) ตามขนาดของประชากร (Proportional to size) โดยแบ่งจังหวัดตามขนาดประชากรเปน็ 3 ระดบั คอื ใหญ่ กลาง และเล็กไดจ้ ังหวดั ตัวอยา่ ง 20 จงั หวัดดงั น ี้ ภาคเหนือ ประกอบดว้ ย เชยี งใหม่ นา่ น สุโขทัย เพชรบรู ณ์ และอุทยั ธาน ี ภาคกลาง ประกอบด้วย ปราจีนบรุ ี ลพบุรี จนั ทบุรี นครปฐม และเพชรบุรี ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ประกอบด้วย เลย ขอนแก่น บรุ ีรัมย์ มุกดาหาร และอบุ ลราชธาน ี ภาคใต้ ประกอบด้วย ชมุ พร สรุ าษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พทั ลงุ และสตูล ขัน้ ที่ 2 เลอื กอำเภอตวั อย่าง จากแตล่ ะจงั หวัดตัวอย่างโดยใช้การสมุ่ เลอื กเป็นสดั สว่ นตามขนาดของ ประชากร เชน่ เดียวกับระดับจังหวดั โดยเลอื กจากจงั หวัดใหญ่ 7 อำเภอ จังหวัดขนาดกลาง 5 อำเภอ และ จังหวดั เล็ก 3 อำเภอ รายงานการสำรวจการบริโภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสขุ ภาพประชาชนไทยโดยการตรวจรา่ งกายคร้งั ที่ 4 พ.ศ. 2551-2552 7

ขน้ั ท่ี 3 เลอื กหนว่ ยเลอื กต้งั หรือหมบู่ า้ น จากแตล่ ะเขตเทศบาล และนอกเขตเทศบาล ในแต่ละอำเภอ ตวั อยา่ ง ขั้นที่ 4 สุ่มเลอื กบคุ คลตัวอย่างตามกลมุ่ อายุ เพศ ทกี่ ำหนดไว้ (ชาย/หญงิ ในกลมุ่ อายุ 1-14 ป,ี 15-59 ปี และ 60 ปีขึ้นไป) โดยวธิ ี Systematic random sampling จากหนว่ ยเลอื กต้ังหรอื หมบู่ า้ นตัวอย่าง สำหรบั กรุงเทพมหานคร จะสมุ่ เลือก 1 เขต จากแตล่ ะกลุ่มพนื้ ทข่ี อง 12 กล่มุ พ้ืนที่ของกรุงเทพมหานคร (คือ รตั นโกสินทร์ ลุมพินี วภิ าวดี เจ้าพระยา ธนบุรี ตากสนิ พระนครเหนอื บรู พา สุวินทวงศ์ ศรนี ครนิ ทร์ มหาสวสั ดิ์ และกลมุ่ สนามชัย) จากนั้นในแต่ละเขตจะสุม่ หนว่ ยเลือกตง้ั และขั้นสุดท้ายคอื การสุ่มประชากรตาม เพศและกลมุ่ อายุ จากหน่วยเลอื กต้งั /หมูบ่ ้าน แต่ละหน่วย 2.1.3 ขนาดตัวอยา่ ง การกำหนดขนาดของประชากรกลมุ่ เปา้ หมาย ใชค้ วามชกุ ของสถานะสขุ ภาพทตี่ ำ่ ทสี่ ดุ ในแตล่ ะประชากร กลุม่ เป้าหมายเปน็ เกณฑ์โดยคำนงึ ถงึ การสุ่มเลือกประชากรตวั อย่างโดยไม่มี Replacement ด้วย ตาราง 2.1 คอื ขนาดตวั อยา่ งทป่ี ระมาณไดโ้ ดยเกณฑด์ งั กลา่ วแลว้ แยกตามกลมุ่ อายทุ ศ่ี กึ ษา สมุ่ จากประชาชนไทยทมี่ รี ายชอื่ อยูใ่ นสำนักทะเบียนราษฎร์ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ขนาดตวั อยา่ ง เพ่อื ใหส้ ามารถนำเสนอผลไดต้ ามระดับของการนำเสนอผลท่ีกำหนด คอื กรงุ เทพมหานคร และภาค 4 ภาค จำแนกตามเขตการปกครอง กลุม่ อายุ และเพศ รวมท้งั สน้ิ 27 สตราตมั ดังน้ันในการกำหนดขนาด ตัวอยา่ งเพือ่ ให้สามารถนำเสนอผลไดท้ กุ สตราตัม จะต้องกำหนดขนาดตัวอยา่ งในแตล่ ะสตราตัมอย่างอสิ ระต่อ กนั โดยได้ทำการคำนวณขนาดตวั อยา่ งทเี่ หมาะสมสำหรับการประมาณคา่ สดั สว่ นประชากร ในกรณใี ช้แผนการ สมุ่ ตัวอยา่ งอยา่ งงา่ ย โดยใชส้ ตู รการคำนวณขนาดตัวอยา่ งดังนี้ n = Nk2PQ k2PQ+NE2 โดยที ่ n = ขนาดตัวอย่าง N = ขนาดประชากร k = ค่าคงที่ของระดับความเชอ่ื ม่นั ท่ี 1-α P = สดั สว่ นของประชากรท่สี นใจศึกษา Q = 1 – P E = ขนาดของความคลาดเคลอ่ื นท่ยี อมรับได้ หลงั จากที่ไดข้ นาดตัวอย่างในแตล่ ะสตราตมั แลว้ สิ่งทต่ี อ้ งนำมาใชป้ ระกอบการพจิ ารณาคือทรพั ยากร ทม่ี ีอยู่ เช่น งบประมาณ เวลา และกำลงั คน นอกจากนย้ี งั ต้องพจิ ารณาจากแผนการสุ่มตัวอย่าง โดยขนาด ตวั อยา่ งในแต่ละขัน้ จะปรากฏอยใู่ นหัวขอ้ 2.4 8 รายงานการสำรวจการบริโภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสขุ ภาพประชาชนไทยโดยการตรวจรา่ งกายครงั้ ท่ี 4 พ.ศ. 2551-2552

ตารางที่ 2.1 จำนวนประชากรกลุม่ เปา้ หมาย กลุม่ อายุ (ป)ี ชาย หญิง รวม 1-14 4,870 4,870 9,740 15-59 6,120 6,120 12,240 60+ 4,860 4,860 9,720 รวม 15,850 15,850 31,700 2.1.4 การวิเคราะห์ข้อมลู 2.1.4.1 การคำนวณค่าถ่วงน้ำหนกั การคำนวณคา่ ประมาณยอดรวมของจำนวนประชากรทตี่ อ้ งการศกึ ษา ตอ้ งใชค้ า่ ถว่ งนำ้ หนกั ซง่ึ สามารถ คำนวณไดจ้ ากผลคูณของค่าต่างๆ เหลา่ น้ี การคำนวณค่าถว่ งนำ้ หนักเรม่ิ ต้น (Base weights) คำนวณจากแผนการสมุ่ ตวั อย่างทใ่ี ช้ โดยค่าถ่วง น้ำหนักเร่ิมต้นจะมีค่าเท่ากับผลคูณส่วนกลับของความน่าจะเป็นที่หน่วยตัวอย่างจะถูกเลือกมาเป็นตัวแทนใน แตล่ ะขนั้ ในการสำรวจนี้แผนการสมุ่ ตวั อยา่ งท่ีใช้เป็นแบบ Stratified four–stage sampling ดงั นนั้ ความนา่ จะเป็นที่หน่วยตัวอยา่ งในแต่ละขั้นจะถกู เลอื กเปน็ ตัวแทนสามารถคำนวณไดด้ งั น้ี • หนว่ ยตวั อย่างขั้นท่ี 1 (กรงุ เทพมหานคร/จงั หวดั ตวั อย่าง) ถูกเลือกด้วยวิธีการสมุ่ ตัวอยา่ งแบบ Systematic Sampling ดว้ ยความน่าจะเป็น ah โดยท่ี Ah ah คือ จำนวนกรุงเทพมหานคร/จังหวดั ตวั อยา่ ง สตราตมั h Ah คอื จำนวนกรุงเทพมหานคร/จังหวัดทัง้ สน้ิ สตราตัม h • หน่วยตวั อยา่ งขน้ั ที่ 2 (เขต/อำเภอตวั อย่าง) ถกู เลอื กดว้ ยวธิ ีการสุ่มตัวอยา่ งแบบ Systematic Sampling ด้วยความน่าจะเป็น bhc โดยที่ Bhc bhc คอื จำนวนเขต/อำเภอตัวอยา่ ง ของกรุงเทพมหานคร/จังหวัดตวั อยา่ ง c สตราตัม h Bhc คือ จำนวนเขต/อำเภอท้งั สิน้ ของกรงุ เทพมหานคร/จงั หวัดตวั อย่าง c สตราตมั h • หน่วยตัวอย่างขั้นที่ 3 (หน่วยเลือกตั้ง/หมู่บ้านตัวอย่าง) ถูกเลือกด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ Systematic Sampling ด้วยความน่าจะเป็น mhcdi โดยที่ Mhcdi mhcdi คอื จำนวนหนว่ ยเลือกตง้ั ตัวอย่างของเขตการปกครอง i เขต/อำเภอตัวอยา่ ง d กรงุ เทพมหานคร/จังหวัดตวั อย่าง c สตราตัม h Mhcdi คือ จำนวนหน่วยเลือกตั้งทั้งสิน้ ของเขตการปกครอง i เขต/อำเภอตัวอย่าง d กรุงเทพมหานคร/จังหวัดตวั อย่าง c สตราตัม h • หนว่ ยตวั อยา่ งข้นั ท่ี 4 (ประชาชนตวั อย่าง) ถูกเลอื กด้วยวธิ กี ารสุ่มตัวอยา่ งแบบ Systematic Sampling ดว้ ยความน่าจะเป็น nhcdiejk โดยท ่ี Nhcdiejk nhcdiejk คือ จำนวนประชาชนตัวอย่างตามทกี่ ำหนดใหข้ องกล่มุ อายุ k เพศ j หนว่ ยเลือกตง้ั e เขตการปกครอง i เขต/อำเภอตวั อยา่ ง d กรงุ เทพมหานคร/จงั หวดั ตวั อยา่ ง c สตราตมั h รายงานการสำรวจการบรโิ ภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสขุ ภาพประชาชนไทยโดยการตรวจรา่ งกายคร้งั ที่ 4 พ.ศ. 2551-2552 9

Nhcdiejk คอื จำนวนประชาชนทงั้ สน้ิ ของกลมุ่ อายุ k เพศ j หนว่ ยเลอื กตง้ั e เขตการปกครอง i เขต/อำเภอตวั อยา่ ง d กรงุ เทพมหานคร/จังหวดั ตวั อย่าง c สตราตมั h ดังน้ันคา่ ถ่วงน้ำหนกั เริม่ ตน้ สำหรบั ประชาชนตัวอยา่ ง f กล่มุ อายุ k เพศ j หนว่ ยเลือกตงั้ e เขตการ ปกครอง i เขต/อำเภอตวั อยา่ ง d กรงุ เทพมหานคร/จังหวดั ตัวอย่าง c สตราตมั h คอื Whcdiejkf = Ah X Bhc X Mhcdi X Nhcdiejk ah bhc Mhcdi Nhcdiejk 2.1.4.2 การปรับคา่ ถ่วงน้ำหนักดว้ ยการไมต่ อบ (Non-responseadjustment) Adj_NRhcdiejkf = nhcdiejk n’hcdiejk nhcdiejk คอื จำนวนประชาชนตัวอยา่ งตามที่กำหนดให้ ของกลุม่ อายุ k เพศ j หน่วยเลือกต้ัง e เขตการปกครอง i เขต/อำเภอตัวอย่าง d กรุงเทพมหานคร/จังหวดั ตวั อย่าง c สตราตัม h n’hcdiejk คอื จำนวนประชาชนตัวอย่างทใ่ี ห้ความรว่ มมอื ของกลมุ่ อายุ k เพศ j หน่วยเลือกต้ัง e เขตการปกครอง i เขต/อำเภอตวั อย่าง d กรงุ เทพมหานคร/จงั หวัดตัวอยา่ ง c สตราตมั h 2.1.4.3 การปรบั คา่ ถ่วงน้ำหนกั ด้วยการแบง่ ขอ้ มลู ออกเป็นชนั้ ภมู ิ (Post stratification calibration adjustment) การปรับค่าถ่วงน้ำหนกั ด้วยการแบง่ ข้อมลู ออกเปน็ ช้นั ภมู นิ ้ัน ใช้ค่าจำนวนประชากรจากสำนกั บริหาร การทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทยปรับ โดยเป็นค่าจำนวนประชากร ของกลุ่มอายุ k เพศ j เขตการปกครอง i จงั หวดั ตวั อยา่ ง c สตราตัม h ดงั นั้นค่าถ่วงนำ้ หนักสดุ ท้าย (Final weights) ทก่ี ำหนดให้แตล่ ะหน่วยตวั อยา่ งขน้ั สดุ ท้ายน้ัน ได้คำนวณ จากผลคูณของค่าถ่วงนำ้ หนักเร่ิมตน้ (Base weights) การปรบั การไมต่ อบ (Non-response adjustment) และการปรบั ดว้ ยการแบง่ ขอ้ มลู ออกเปน็ ชน้ั ภมู ิ โดยคา่ ถว่ งนำ้ หนกั นจ้ี ะใชเ้ พอ่ื ทำการวเิ คราะหข์ อ้ มลู โดยการประมาณ คา่ ประชากร 2.1.5 เครื่องมอื และวิธกี ารสัมภาษณค์ วามถี่ในการบรโิ ภคอาหาร 2.1.5.1 เคร่ืองมือการสมั ภาษณ์ความถ่ีในการบริโภคอาหาร เคร่ืองมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลความถ่ีในการบริโภคอาหารโดยใช้แบบสัมภาษณ์ความถ่ีในการบริโภค อาหาร (Food Frequency Questionnaire, FFQ) ประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ 2 ชุดย่อย ซงึ่ แต่ละชุดจะใช้ ในการสัมภาษณป์ ระชากรไทยในกลมุ่ อายุแตกตา่ งกนั ดังน้ี 1. แบบสัมภาษณค์ วามถ่ใี นการบริโภคอาหารชุดท่ี 1 ใชใ้ นการสมั ภาษณป์ ระชากรไทยอายุ 2 ป-ี 14 ปี 11 เดือน โดยคำถาม เกยี่ วข้องกบั ความถี่ในการบริโภคอาหารจำนวน 39 ประเภท อาหารดังกล่าวจำแนก เป็นกลมุ่ ต่างๆ ดังน้ ี 10 รายงานการสำรวจการบรโิ ภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจรา่ งกายคร้งั ท่ี 4 พ.ศ. 2551-2552

1.1 อาหารในกลุ่มอาหารหลกั ได้แก่ กล่มุ เน้อื สตั วต์ ่างๆ นม ไข่ และถว่ั และกลมุ่ ธญั พชื และแป้ง 1.2 อาหารกลุ่มเส่ยี ง เชน่ อาหารท่ีมไี ขมนั สูง อาหารทมี่ ไี ขมันและโซเดียมสูง อาหารท่มี ีโซเดียม สูง อาหารทม่ี คี อเลสเตอรอลสูง อาหารท่มี คี อเลสเตอรอลสงู และไขมันสงู อาหารที่มนี ำ้ ตาลสูง อาหารที่มไี ขมนั สงู และนำ้ ตาลสงู และหน่อไม้ประเภทต่างๆ 2. แบบสมั ภาษณ์ความถีใ่ นการบรโิ ภคอาหารชดุ ที่ 2 ใชใ้ นการสมั ภาษณป์ ระชากรไทยอายุ 15 ปีขึน้ ไป (แบบสัมภาษณว์ ยั แรงงาน และวัยสงู อายุ) โดยคำถาม เกยี่ วข้องกับความถีใ่ นการบรโิ ภคอาหารจำนวน 44 ประเภท อาหารดังกล่าวจำแนกเปน็ กลุม่ ต่างๆ ดังน้ี 2.1 อาหารในกลมุ่ อาหารหลกั ได้แก่ กล่มุ เนอ้ื สัตว์ตา่ งๆ นม ไข่ และถวั่ และกลมุ่ ธญั พืช และแป้ง 2.2 อาหารกลมุ่ เส่ียง เชน่ อาหารที่มไี ขมนั สงู อาหารท่มี ไี ขมนั และโซเดียมสงู อาหารทม่ี ีคอเลส- เตอรอลสงู อาหารท่มี ีโซเดยี มสงู อาหารทมี่ ีน้ำตาลสงู อาหารท่มี คี อเลสเตอรอลและแปง้ /น้ำตาลสงู อาหารทีม่ ี ไขมนั และแป้ง/น้ำตาลสงู อาหารท่มี ไี ขมนั โซเดียม และแป้งสูง อาหารท่ีมสี ว่ นประกอบของคาเฟอนี และ หน่อไมป้ ระเภทตา่ งๆ 2.3 อาหารกลมุ่ ปอ้ งกนั ไดแ้ ก่ อาหารทมี่ คี ณุ คา่ ทางโภชนาการสงู (วติ ามนิ /เกลอื แร/่ เสน้ ใยอาหาร สงู ) และอาหารทม่ี ไี ขมันตำ่ โดยกำหนดระดบั ความถขี่ องการกนิ อาหารประเภทต่างๆ 7 ระดับดงั น้ี ไม่กนิ เลย, น้อยกว่า 1 คร้ังต่อ เดอื น, 1-3 ครง้ั ต่อเดือน, 1-3 ครัง้ ตอ่ สัปดาห์, 4-6 คร้งั ตอ่ สัปดาห,์ 1 ครัง้ ตอ่ วนั , หรอื มากกว่า 1 ครัง้ ตอ่ วัน 2.1.5.2 วธิ ีการสมั ภาษณค์ วามถใ่ี นการบรโิ ภคอาหาร ในการสัมภาษณใ์ หถ้ ามประเภทอาหารเรียงไปตามลำดับตง้ั แต่ข้อ 1 เปน็ ต้นไป โดยมขี ั้นตอนการถาม คำถาม ดงั น้ี 1. ให้ผสู้ มั ภาษณ์ถาม ดังน้ี “ในอาหารแต่ละประเภททา่ น (ผู้ถูกสมั ภาษณ์) กินหรือไม”่ 2. ผู้สมั ภาษณ์พจิ ารณาเฉพาะประเภทอาหารทีผ่ ู้ถกู สัมภาษณ์ระบวุ ่ากิน และถามคำถามดังนี้ “ทา่ น (ผูถ้ ูกสมั ภาษณ์) กินอาหารดังต่อไปน้บี ่อยเพียงใด” 3. ในขณะทถ่ี ามความถใ่ี นการกนิ อาหารผสู้ มั ภาษณใ์ ชแ้ ผน่ ภาพ แสดงความถขี่ องการกนิ อาหารประเภท ต่างๆ ประกอบในการจดบนั ทกึ โดยระดับความถ่ีในการกนิ อาหาร แบง่ ได้ 7 ระดบั ดังนี้ ไมก่ นิ เลย, น้อยกวา่ 1 ครงั้ ตอ่ เดอื น, 1-3 คร้งั ตอ่ เดอื น, 1-3 ครงั้ ตอ่ สปั ดาห,์ 4-6 ครั้งต่อสปั ดาห,์ 1 ครงั้ ต่อวนั , หรือ มากกวา่ 1 ครง้ั ตอ่ วนั หมายเหต:ุ ผู้ให้ข้อมลู กลุ่มเดก็ อายุ 2-5 ปี : พอ่ หรอื แมห่ รือผูด้ ูแลเด็ก เป็นผู้ให้ขอ้ มูล กลมุ่ เดก็ อายุ 6-9 ปี : พอ่ หรอื แมห่ รอื ผู้ดูแลเดก็ ร่วมกบั เดก็ เป็นผใู้ ห้ข้อมูล กลุม่ เด็กอายุ 10-14 ปี : เดก็ เปน็ ผ้ใู หข้ ้อมูลเปน็ หลัก 2.1.6 การวเิ คราะหท์ างสถิติของข้อมลู ความถี่ในการบรโิ ภคอาหาร ทำการแจกแจงความถี่ (เปน็ ร้อยละ) ของการบริโภคอาหารแต่ละประเภท โดยจำแนกตามเพศ กล่มุ อายุ 4 กลุม่ (2-5 ป,ี 6-14 ปี, 15-59 ปี และ 60 ปขี น้ึ ไป), เขตการปกครอง (ในเขตเทศบาล/นอกเขตเทศบาล) และภมู ิภาค (4 ภาค และกรงุ เทพมหานคร) จากการคำนวณเบ้ืองตน้ พบวา่ ความถ่กี ารบริโภค 2 อันดับแรกคือ ไม่กิน และกนิ น้อยกวา่ 1 คร้ัง เดือน และ 2 อันดบั ทา้ ย คือ 1 ครง้ั /วนั และมากกว่า 1 ครงั้ ต่อวนั มีจำนวนความถไี่ ม่มาก ในการคำนวณ ความถี่ จึงได้ยบุ ระดบั ความถี่ เหลือ 5 ระดับ คอื 0-<1 ครัง้ ต่อเดอื น, 1-3 คร้ังตอ่ เดอื น, 1-3 ครัง้ ต่อสปั ดาห,์ 4-6 ครงั้ ตอ่ สปั ดาห์ และ 1->1 ครงั้ ตอ่ วนั การวเิ คราะหค์ วามถเ่ี หลา่ นไี้ ดถ้ ว่ งนำ้ หนกั ตามความนา่ จะเปน็ ของการ ส่มุ ตัวอย่าง (Weighted) สำหรบั การสุม่ ตัวอยา่ งแบบหลายขนั้ ตอน (Complex Sampling Survey Design) รายงานการสำรวจการบริโภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสขุ ภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครง้ั ท่ี 4 พ.ศ. 2551-2552 11

2.2 การสมั ภาษณ์อาหารบริโภคทบทวนความจำยอ้ นหลงั 24 ชว่ั โมง 2.2.1 ประชากรกล่มุ เปา้ หมาย ประชากรไทยทง้ั เพศชายและเพศหญิง อายุตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป ประกอบด้วยกลุ่มประชากร 3 กลมุ่ คือ 1. ประชากรวยั เด็ก อายุตัง้ แต่ 1 ปี ถงึ 14 ปี 11 เดอื น 2. ประชากรวยั แรงงาน อายตุ งั้ แต่ 15 ปี ถงึ 59 ปี 11 เดอื น 3. ประชากรวยั สงู อายุ อายุตงั้ แต่ 60 ปีขน้ึ ไป 2.2.2 การคดั เลอื กกลุ่มตวั อย่าง การคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างในการสำรวจอาหารบริโภคโดยใช้วิธีการสัมภาษณ์อาหารบริโภคทบทวน ความจำยอ้ นหลงั 24 ช่วั โมง ทำโดยวธิ ีการเลือกกลุ่มตัวอยา่ งยอ่ ย (Sub-sample) จากกลุม่ ตวั อยา่ งที่ใช้ในการ สำรวจสภาวะสุขภาพประชากรไทยครั้งท่ี 4 พ.ศ. 2551-2552 ตามจำนวนกลุ่มตัวอย่างย่อยที่ได้จากสูตรการ คำนวณจำนวนตวั อยา่ งดังน้ ี n Zα/2 X SD 2 d เม่ือกำหนดให้ n = จำนวนตัวอย่าง α = 0.10 Zα/2 = 1.645 SD = ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานของปริมาณไขมนั ทีป่ ระชากรไทยบรโิ ภคจำแนกตามกลุม่ อาย9ุ d = 5% ของคา่ เฉลี่ยของปรมิ าณไขมนั ท่ปี ระชากรไทยบรโิ ภคจำแนกตามกลมุ่ อาย9ุ ผลการคำนวณจำนวนตัวอยา่ งแสดงในตารางท่ี 2.2 ตารางที่ 2.2 การคำนวณจำนวนตวั อยา่ ง กล่มุ อาย(ุ ปี) ค่าเฉลยี่ ±ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน การคำนวณ จำนวนตวั อยา่ ง 1-5 25.69±7.51 1.645×7.51 2 92.5 = 93 1.2845 91.8 = 92 179.4 = 180 6-14 32.51±9.47 1.645×9.47 2 182.2 = 183 1.6255 15-59 38.29±15.59 1.645×15.59 2 1.9145 60 ปีขนึ้ ไป 32.73±13.43 1.645×13.43 2 1.6365 12 รายงานการสำรวจการบริโภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสขุ ภาพประชาชนไทยโดยการตรวจรา่ งกายครงั้ ที่ 4 พ.ศ. 2551-2552

จำนวนตัวอยา่ งจาก 4 ภาคและกรงุ เทพมหานคร = (93×5) + (92×5) + (180×5) + (183×5) = 2,740 คน สุ่มตัวอย่างเพ่มิ ประมาณร้อยละ 10 หรอื 274 คน รวมจำนวนตัวอย่าง = 2,740 + 274 = 3,014 คน การคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างย่อย (Sub-sample) ทำโดยการสุ่มเลือกแบบง่าย (Simple random sampling) จากหน่วยเลอื กต้ังหรือหมบู่ ้านใน 4 ภาค ภาคละ 50 หน่วยเลือกตง้ั หรือหมู่บา้ น จำแนกตามเขต การปกครองดงั นี้ ในเขตเทศบาล 25 หนว่ ยเลอื กต้ัง และนอกเขตเทศบาล 25 หมบู่ า้ น สำหรบั กรงุ เทพมหานคร ทำการสุม่ เลือกมาทง้ั หมด 50 หน่วยเลือกตั้ง รวมจำนวนทง้ั สนิ้ 250 หนว่ ยเลือกต้ังหรอื หมูบ่ า้ น ดงั แสดงใน ตารางท่ี 2.3 ตารางที่ 2.3 การคัดเลือกกลุ่มตัวอยา่ งยอ่ ยจำแนกตามภาคและเขตการปกครอง รวม ในเขตเทศบาล นอกเขตเทศบาล ภาค หนว่ หยมเบู่ลอืา้ นกต งั้ / คน หนว่ ยเลือกต้ัง คน หมบู่ ้าน คน เหนอื 50 600 25 300 25 300 กลาง 50 600 25 300 25 300 ตะวนั ออกเฉียงเหนอื 50 600 25 300 25 300 ใต ้ 50 600 25 300 25 300 กรงุ เทพมหานคร 50 600 50 600 - - รวมทง้ั ประเทศ 250 3,000 150 1,800 100 1,200 2.2.3 การสมุ่ บุคคลตัวอย่าง การคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างย่อย การสุ่มบุคคลตัวอย่าง ใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple random sampling) จากหนว่ ยเลือกตัง้ /หมู่บ้านท่ีตกเปน็ หน่วยตวั อยา่ งของการสัมภาษณอ์ าหารบริโภคทบทวนความจำ ยอ้ นหลงั 24 ชวั่ โมง โดยแบง่ กลมุ่ ประชากรออกเป็น 6 กลุม่ จำแนกตามกลุ่มอายุ (1-14 ป,ี 15-59 ปี และ 60 ปีขึ้นไป) และเพศ กลมุ่ ละ 10 บคุ คลตวั อยา่ งในแตล่ ะกลุม่ กำหนดขนาดตวั อย่างเป็นเพศชาย 1 คน และเพศ หญงิ 1 คน โดยเลอื กแตล่ ะเพศอย่างเปน็ อสิ ระต่อกัน ซง่ึ ใชต้ ารางเลขสมุ่ เพ่ือเลอื กตวั อยา่ งในการสมั ภาษณ์ จะ ได้บคุ คลตัวอยา่ งสำหรบั การสัมภาษณ์การบรโิ ภคอาหารยอ้ นหลัง 24 ช่ัวโมงจำนวน 3,170 คนดังแสดงใน ตารางท่ี 2.4 รายงานการสำรวจการบรโิ ภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจรา่ งกายครง้ั ที่ 4 พ.ศ. 2551-2552 13

ตารางท่ี 2.4 การคดั เลอื กบคุ คลตวั อยา่ งสำหรบั การสมั ภาษณอ์ าหารบรโิ ภคทบทวนความจำยอ้ นหลงั 24 ชวั่ โมง กล่มุ ที ่ กลุ่มอายุ เพศ บคุ คลตวั อย่าง การคัดเลอื กบุคคล บคุ คลตวั อย่าง บคุ คลตวั อย่าง (คน) ตอ่ หน่วย ตวั อยา่ งสำหรบั ท่จี ะทำการ สำหรับการ เลือกตง้ั /หมู่บา้ น การสมั ภาษณ์การ สำรวจ สมั ภาษณก์ าร บรโิ ภคอาหาร ท้ังหมด (คน) บริโภคอาหาร ทบทวนความจำ ทบทวนความจำ ยอ้ นหลงั ย้อนหลัง 24 24 ช่ัวโมง (คน) ชั่วโมง (คน) 1 1-14 ป ี ชาย 10 1 4,870 487 2 1-14 ปี หญิง 10 1 4,870 487 3 15-59 ปี ชาย 10 1 6,120 612 4 15-59 ป ี หญงิ 10 1 6,120 612 5 60 ปีข้ึนไป ชาย 10 1 4,860 486 6 60 ปีข้นึ ไป หญิง 10 1 4,860 486 รวม 31,700 3,170 2.2.4 เครือ่ งมอื และวิธีการสัมภาษณ์อาหารบริโภคทบทวนความจำยอ้ นหลัง 24 ช่ัวโมง 2.2.4.1 เครอ่ื งมือการสมั ภาษณอ์ าหารบริโภคทบทวนความจำยอ้ นหลัง 24 ช่ัวโมง การสัมภาษณ์อาหารบริโภคทบทวนความจำย้อนหลัง 24 ชั่วโมงเป็นวิธีการสัมภาษณ์บุคคลหรือ ผู้เก่ียวข้องกับบุคคลท่ีต้องการศึกษาเก่ียวกับชนิดและปริมาณของอาหารและเครื่องด่ืมท่ีบริโภคในวันที่ผ่านมา ท้ังวัน เพื่อให้ผู้ถูกสัมภาษณ์ประเมินปริมาณของอาหารที่บริโภคให้ใกล้เคียงความจริงมากท่ีสุด ในการสำรวจ อาหารบรโิ ภคครง้ั นไี้ ดจ้ ดั อปุ กรณห์ รอื เครอื่ งมอื ทช่ี ว่ ยในการประเมนิ ปรมิ าณและขนาดของอาหาร ประกอบดว้ ย 1. สมุดภาพตัวอย่างอาหารขนาดเทา่ ของจริง 2. ช้อนกินข้าว ช้อนชา (ช้อนตักกาแฟ) ถว้ ยตวงขนาด 250 ซซี ี แก้วน้ำขนาด 200 ซซี ี และทพั พี ตกั ข้าว 3. แผ่นภาพแสดงขนาดของอาหารบริโภค 2 มิติ สำหรับเครือ่ งมอื ทใ่ี ช้ในการบันทกึ อาหารบรโิ ภค ได้แก่ แบบบันทกึ อาหารบริโภคทบทวนความจำย้อน หลงั 1 วัน ประกอบดว้ ย มอ้ื อาหาร แหลง่ ท่ีมาของอาหาร รายละเอยี ดรายการอาหารและเครอื่ งดมื่ ทกี่ นิ /ดมื่ ใน 24 ช่วั โมงท่ผี า่ นมา ปริมาณที่กิน/ดืม่ หมายเหตุ และ Food code นอกจากนไี้ ด้จัดทำขอ้ คำถาม 3 ข้อเกยี่ วกับ ข้อมูลอาหารท่ถี กู สมั ภาษณ์ ดงั น้ี 1. ผ้ถู ูกสมั ภาษณข์ ้อมลู อาหารบริโภคคือใคร (ตนเอง, มารดา, ผเู้ ลยี้ งดู) 2. วันท่ีผู้ถูกสัมภาษณ์ให้ข้อมูลอาหารบริโภคทบทวนความจำย้อนหลัง 24 ชั่วโมงเป็นวันอะไร (วนั ธรรมดา, วันหยุด/วันนักขัตฤกษ)์ 3. ลักษณะและปริมาณของอาหารที่ผู้ถูกสัมภาษณ์ให้ข้อมูลเป็นรูปแบบของอาหารท่ีผู้ถูกสัมภาษณ์ มกั กนิ ทัว่ ไปในแตล่ ะวันใช่หรอื ไม่ (ใช,่ ไม่ใช่) 14 รายงานการสำรวจการบรโิ ภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจรา่ งกายคร้งั ที่ 4 พ.ศ. 2551-2552

2.2.4.2 วิธกี ารสัมภาษณ์อาหารบริโภคทบทวนความจำยอ้ นหลงั 24 ช่วั โมง ประกอบด้วย 4 ข้นั ตอนหลกั สรุปไดด้ งั น้ี 1. เร่ิมต้นสัมภาษณ์ โดยการแนะนำตนเอง สร้างบรรยากาศเปน็ กันเอง อธิบายวัตถุประสงค์ของการ สมั ภาษณ์ และบอกประโยชนท์ ีจ่ ะไดร้ ับจากการใหส้ มั ภาษณ์ 2. การสมั ภาษณแ์ ละการบนั ทึก การสมั ภาษณอ์ าหารที่บริโภคมลี ำดบั ขน้ั ดังนี้ 2.1 จำนวนม้ือท่ีกินท้ังหมดตลอดทั้งวนั ทัง้ มื้อหลกั และอาหารวา่ ง 2.2 รายการอาหารและเคร่ืองดื่มทกุ ชนิดทบ่ี รโิ ภค 2.3 แหล่งทม่ี าของอาหาร และสว่ นประกอบของอาหารแต่ละรายการ โดยต้องพยายามสอบถาม ให้ครบทกุ ชนิด ตามสว่ นประกอบของอาหารทีค่ วรจะมี ถา้ ปรากฏวา่ ไมม่ ี ต้องใส่ไว้ในชอ่ งหมายเหตวุ ่า “ไมม่ ี” เป็นการยนื ยันว่าผ้สู ัมภาษณ์มไิ ด้ลืมถาม 2.4 ในกรณีที่ผถู้ ูกสมั ภาษณ์หรือครอบครัวผถู้ ูกสมั ภาษณป์ ระกอบอาหารเอง ผู้สมั ภาษณ์ต้องถาม เกย่ี วกบั วธิ กี ารเตรยี มและปรงุ ประกอบ เนอ่ื งจากอาหารชนดิ เดยี วกนั อาจมวี ธิ กี ารปรงุ ประกอบไดห้ ลายวธิ ี หรอื อาจใชเ้ ครือ่ งปรงุ ทแ่ี ตกต่างกัน 2.5 การบันทึกชนดิ ของอาหารทีเ่ ปน็ สว่ นประกอบ ต้องบันทกึ ให้มคี วามละเอียดมากทีส่ ดุ กรณีท่ี เป็นอาหารปรงุ สำเรจ็ ทบี่ รรจุในกลอ่ งหรอื ห่อบรรจภุ ณั ฑ์ อาจขอดหู อ่ บรรจภุ ณั ฑ์หรอื สอบถามเก่ยี วกบั ตราของ ผลติ ภณั ฑ์ ราคาฯลฯ 2.6 การเกบ็ ขอ้ มลู รายละเอยี ดเกย่ี วกบั ปรมิ าณของอาหารทบี่ รโิ ภค ผสู้ มั ภาษณต์ อ้ งซกั ถามเกย่ี วกบั ปรมิ าณทร่ี ับประทาน เชน่ จำนวน รูปรา่ ง/ลักษณะ ขนาด และปรมิ าตร การกะปรมิ าณอาหารท่ีบรโิ ภค ควรใช้ อุปกรณ์ที่ช่วยในการประมาณปรมิ าณของอาหาร ในกรณีทร่ี ายการอาหารนัน้ บรโิ ภคโดยบคุ คลหลายคน อาจ ต้องใช้วิธีการประมาณโดยนำจำนวนคนที่บริโภคอาหารชนิดน้ันมาหารปริมาณอาหารทั้งหมดท่ีรับประทาน (หมายเหตุ: ในกรณผี เู้ ลย้ี งดูให้สมั ภาษณอ์ าหารแทนเด็ก ให้ตรวจสอบซ้ำกบั เดก็ ) 3. การตรวจสอบข้อมูลเม่ือได้ข้อมูลครบถ้วน ก่อนเสร็จส้ินการสัมภาษณ์ ผู้สัมภาษณ์ต้องตรวจสอบ ความสมบูรณ์ของข้อมูลตา่ งๆ ท่ไี ดจ้ ากการสมั ภาษณอ์ ีกครัง้ หนง่ึ 4. การตรวจทาน หลังตรวจสอบข้อมูลเสร็จเรียบร้อย ผู้สัมภาษณ์ต้องส่งแบบสัมภาษณ์ให้ผู้นิเทศ ทนั ทเี พื่อตรวจทานความถกู ต้องของขอ้ มูลใหใ้ กลเ้ คียงกบั ความเป็นจริงมากที่สุด 2.2.5 การเก็บรวบรวมข้อมูล 2.2.5.1 การอบรมเจ้าหนา้ ท่ีกอ่ นปฏิบัติการภาคสนาม กอ่ นดำเนนิ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู สำนกั งานสำรวจสขุ ภาพประชาชนไทย (สสท.) ประสานงานเครอื ขา่ ย ความรว่ มมอื ในการสำรวจสขุ ภาพประชาชนไทยครง้ั ท่ี 4 ประกอบดว้ ย 1. สถาบนั วิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ รับผิดชอบการสำรวจในภาคเหนือ 2. สถาบันวิจยั วทิ ยาศาสตร์การแพทย์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย รับผดิ ชอบการสำรวจในภาคกลาง 3. ภาควชิ าเวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น รบั ผิดชอบการสำรวจในภาค ตะวันออกเฉียงเหนอื 4. หน่วยระบาดวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รับผิดชอบการสำรวจใน ภาคใต้ 5. ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี รับผิดชอบการสำรวจใน กรงุ เทพมหานคร รายงานการสำรวจการบรโิ ภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจรา่ งกายครัง้ ท่ี 4 พ.ศ. 2551-2552 15

เครอื ขา่ ยส่งผ้แู ทนทร่ี ับผิดชอบในการเกบ็ ข้อมลู อาหารบรโิ ภคภาคสนาม เขา้ รับการฝึกอบรม “เทคนิค การสมั ภาษณ์อาหารบริโภค และการประมาณส่วน/ขนาดของอาหารบรโิ ภคชนิดต่างๆ” จากผู้เชย่ี วชาญด้าน อาหารและโภชนาการโดยมีขัน้ ตอนดังน้ี 1. ชแ้ี จงหลกั การและวตั ถปุ ระสงคข์ องการสมั ภาษณอ์ าหารบรโิ ภคทบทวนความจำยอ้ นหลงั 24 ชว่ั โมง 2. ระบุและอธบิ ายอุปกรณห์ รอื เคร่อื งมือทชี่ ว่ ยในการประเมินปริมาณของอาหาร 3. อธบิ ายโครงสรา้ งของแบบสัมภาษณอ์ าหารบรโิ ภค 4. อธบิ ายขน้ั ตอนการสมั ภาษณอ์ าหารบรโิ ภค พรอ้ มยกตวั อยา่ งวธิ กี ารสมั ภาษณแ์ ละการบนั ทกึ ขอ้ มลู อาหารบริโภค 5. เปิดโอกาสให้ผู้แทนที่รับผิดชอบในการเก็บข้อมูลอาหารบริโภคได้สัมภาษณ์อาหารบริโภคทบทวน ความจำย้อนหลงั 24 ชั่วโมง และซักถามข้อสงสัยในประเด็นต่างๆ รวมถงึ การแลกเปลีย่ นความคดิ เหน็ ระหวา่ ง ผู้แทนท่ีรับผิดชอบในการเก็บข้อมูลอาหารบริโภคภาคสนามของแต่ละภูมิภาค และระหว่างผู้แทนที่รับผิดชอบ ในการเก็บข้อมูลอาหารบริโภคภาคสนามกับผู้เช่ียวชาญด้านอาหารและโภชนาการที่รับผิดชอบการสำรวจ อาหารบริโภค 6. ยกตัวอย่างข้อผิดพลาดที่อาจจะเกิดข้ึนในการเก็บรวมรวมข้อมูล รวมถึงวิธีการแก้ไขข้อผิดพลาด ดังกลา่ ว 2.2.5.2 การควบคุมคณุ ภาพ เพอื่ ใหไ้ ดข้ อ้ มลู อาหารบรโิ ภคทใี่ กลเ้ คยี งกบั ความเปน็ จรงิ ในการสำรวจอาหารบรโิ ภคไดก้ ำหนดวธิ กี าร และการดำเนนิ การควบคุมคุณภาพสรปุ ดงั นี้ 1. กำหนดคุณสมบตั ขิ องเจ้าหนา้ ท่ีเก็บขอ้ มลู อาหารบรโิ ภค ประกอบด้วย (ก) ตอ้ งมีพ้นื ฐานความรู้ที่ เกยี่ วข้องกับอาหารและโภชนาการหรือคหกรรมศาสตร์ เชน่ นกั โภชนาการ พยาบาล เจา้ หน้าที่อนามัย นัก คหกรรม เป็นต้น และ (ข) ต้องผ่านการอบรมเร่ือง เทคนิคการสัมภาษณ์อาหารบริโภค และการประมาณสว่ น/ ขนาดของอาหารบรโิ ภคชนิดตา่ งๆ 2. จดั ทำคมู่ อื กำหนดแนวทางการดำเนนิ การในการเกบ็ ขอ้ มลู และตรวจสอบขอ้ มลู ใหค้ รบถว้ น เพอื่ ให ้ เจ้าหน้าที่เก็บข้อมูลอาหารไดศ้ กึ ษาและทบทวน 3. แบบบนั ทกึ อาหารบรโิ ภคจะถูกสมุ่ เพือ่ ตรวจสอบซำ้ โดยผู้เช่ียวชาญด้านอาหารและโภชนาการ 2.2.5.3 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ใชว้ ธิ กี ารสมั ภาษณร์ ะหวา่ งเดอื นกรกฎาคม พ.ศ. 2551 ถงึ เดอื นมนี าคม พ.ศ. 2552 โดยมขี น้ั ตอนสรุปได้ดงั น ี้ 1. กอ่ นเกบ็ ขอ้ มลู 2 สปั ดาห์ คณะผสู้ ำรวจจากเครอื ขา่ ยความรว่ มมอื ในการสำรวจสขุ ภาพประชาชนไทย คร้งั ท่ี 4 ทำการติดต่อกลุ่มตวั อยา่ งเพ่ือขอความรว่ มมอื และช้ีแจงเกย่ี วกับการเก็บขอ้ มูล กลุม่ ตวั อยา่ งที่เข้าร่วม การศึกษาครั้งนี้ต้องลงนามในใบยินยอมดว้ ยความสมคั รใจ และคณะผู้สำรวจไดน้ ัดหมายเพอ่ื ทำการสมั ภาษณ์ 2. ในวันทส่ี มั ภาษณ์ เจา้ หน้าที่เก็บข้อมลู อาหารในฐานะผสู้ มั ภาษณ์ดำเนนิ การสัมภาษณ์ตามข้นั ตอน ท่กี ำหนด โดยใช้แบบบนั ทกึ อาหารบรโิ ภคทบทวนความจำย้อนหลงั 1 วัน และอปุ กรณ์หรอื เครื่องมือทชี่ ่วยใน การประเมินปริมาณและขนาดของอาหาร เพ่ือให้ผู้ถูกสัมภาษณ์เข้าใจได้ง่ายและสามารถประมาณปริมาณการ บรโิ ภคใกล้เคียงกบั ความเปน็ จรงิ มากทสี่ ุด 3. เมื่อเสร็จส้ินการสัมภาษณ์ เจ้าหน้าท่ีเก็บข้อมูลอาหารในฐานะผู้สัมภาษณ์จะต้องตรวจสอบความ ครบถว้ นของขอ้ มูลในแบบบันทึกอาหารบรโิ ภคอกี ครงั้ ก่อนทีจ่ ะส่งใหผ้ ู้ตรวจสอบแบบสอบถามเพือ่ ตรวจซ้ำ 16 รายงานการสำรวจการบริโภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจรา่ งกายครง้ั ท่ี 4 พ.ศ. 2551-2552

4. ขอ้ มลู ถกู จดั ส่งสำนักงานสำรวจสขุ ภาพประชาชนไทย (สสท.) เพ่ือดำเนนิ การวิเคราะหข์ อ้ มูลอาหาร บริโภคต่อไป 2.2.6 การดำเนินงานและวิเคราะห์ข้อมลู อาหารบริโภค ข้ันตอนการดำเนินงานสรปุ ไดด้ งั น ้ี 1. การวางแผนในการประเมนิ อาหารบริโภค ประกอบด้วย (1) ขน้ั ตอนและวิธีการการประเมนิ ข้อมลู อาหารบรโิ ภค (2) ลกั ษณะของขอ้ มูลที่ต้องการจะนำเสนอในรปู ตารางห่นุ (Dummy table) (3) การกำหนด คณุ ลกั ษณะและการคดั เลือกผ้ทู ำหน้าท่ีตรวจสอบความถูกตอ้ งของขอ้ มลู (Data editors) ผู้ทำหน้าทปี่ ระมวล ขอ้ มูล (Data coders) และเจ้าหนา้ ทผี่ ชู้ ่วยในการจดั ซอ้ื และชง่ั ตวงอาหาร (4) การกำหนดระยะเวลาดำเนินการ (5) การบริหารจัดการ (6) การวิเคราะห์ข้อมลู ทางสถติ ิ และ (7) งบประมาณทค่ี าควา่ จะใช้ 2. การนำเสนอแผนการประเมินอาหารบริโภคต่อผ้ทู รงคุณวุฒิ 3. การปรับปรุงแผนการประเมินและวเิ คราะห์ตามขอ้ เสนอแนะของผ้ทู รงคณุ วุฒิ 4. การประชมุ ช้แี จงผทู้ ำหน้าที่ตรวจสอบความถกู ตอ้ งของขอ้ มลู (Data editors) จำนวน 7 คน ผทู้ ำ หนา้ ที่ประมวลขอ้ มลู (Data coders) จำนวน 3 คน และเจ้าหน้าที่ผู้ช่วยในการจัดซือ้ และชง่ั ตวงอาหาร (เพื่อ ตรวจสอบนำ้ หนักของอาหารบางชนิด)จำนวน 1 คน เพื่อทำความเขา้ ใจเกีย่ วกับวัตถุประสงค์ ข้นั ตอนตา่ งๆ และระยะเวลาทใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะหข์ อ้ มูลอาหารบรโิ ภค 5. การเตรยี มขอ้ มลู ไดแ้ ก่ การจดั แบง่ กลมุ่ แบบสมั ภาษณอ์ าหารบรโิ ภคตามเพศและอายุ การจดั เตรยี ม ตำรบั อาหารทจี่ ะใชป้ ระกอบการตรวจสอบความถกู ตอ้ งของขอ้ มลู และจดั เอกสารประมวลรหสั คำและความหมาย (Codebook) 6. การตรวจสอบความถกู ตอ้ งของข้อมลู (Data editing) พรอ้ มกบั จำแนกอาหารที่จำเปน็ ต้องตรวจ สอบเพิม่ เติม 7. การประมวลผลขอ้ มลู (Data coding) โดยใชโ้ ปรแกรม INMUCAL-N V.2.0 ของสถาบนั วจิ ัย โภชนาการ มหาวทิ ยาลยั มหิดล ข้อมูลท่ีไดจ้ ากการประมวลผลด้วยโปรแกรมดังกล่าว คอื (1) พลังงาน สาร อาหาร สว่ นประกอบทางเคมใี นอาหาร การกระจายพลงั งานจากสารอาหารทใี่ หพ้ ลงั งาน และรอ้ ยละของปรมิ าณ สารอาหารอา้ งอิงท่คี วรไดร้ บั ประจำวันสำหรับคนไทย (Percentage of Dietary Reference Intakesfor Thais, %DRIs) และ (2) รายการอาหารที่บรโิ ภค 8. การตรวจสอบความถูกต้องของขอ้ มลู ซำ้ (Data reediting) เพื่อแกไ้ ข ในกรณีท่ีมีการคยี ข์ อ้ มูล อาหาร (ชนิดของอาหาร หนว่ ยบริโภค หรอื ปริมาณทีบ่ รโิ ภค) ผิดพลาด โดยขอ้ มูลพลังงาน สารอาหาร สว่ น ประกอบทางเคมใี นอาหาร การกระจายพลงั งานจากสารอาหารทใี่ หพ้ ลงั งาน และรอ้ ยละของปรมิ าณสารอาหาร อา้ งองิ ทคี่ วรได้รับประจำวนั สำหรบั คนไทย (%DRI) ทน่ี ำเสนอในรายงานฉบับน้ีประกอบดว้ ย พลงั งาน (กโิ ล แคลอรี), %DRI ของพลังงาน, คาร์โบไฮเดรต (กรัม), ไขมนั (กรัม), โปรตนี (กรมั ), %DRI ของโปรตีน, โปรตนี จากสัตว์ (กรมั ), โปรตีนจากพชื (กรัม), แคลเซยี ม (มิลลิกรมั ), %DRI ของแคลเซยี ม, ฟอสฟอรสั (มลิ ลิกรมั ), %DRI ของฟอสฟอรัส, ธาตุเหล็ก (มลิ ลกิ รัม), %DRI ของธาตุเหลก็ , ธาตเุ หลก็ จากสัตว์ (มลิ ลิกรัม), ธาตเุ หล็ก จากพืช (มลิ ลกิ รัม), โซเดียม (มิลลกิ รมั ), โปตัสเซยี ม (มิลลกิ รมั ), วิตามนิ เอ (อาร.์ อี), %DRI ของวิตามนิ เอ, เรตินอล (ไมโครกรมั ), เบตา้ แคโรทีน (ไมโครกรัม), วติ ามินบี 1 (มลิ ลิกรมั ), %DRI ของวติ ามนิ บี 1, วติ ามินบี 2 (มลิ ลิกรมั ), %DRI ของวติ ามนิ บี 2, ไนอาซิน (มิลลกิ รัม), %DRI ของไนอาซนิ , วิตามินซี (มลิ ลิกรมั ), %DRI ของ วิตามินซ,ี คอเลสเตอรอล (มลิ ลกิ รมั ), ใยอาหาร (กรัม), ร้อยละของพลังงานจากคารโ์ บไฮเดรต, รอ้ ยละของ พลังงานจากโปรตีน, และร้อยละของพลังงานจากไขมัน รายงานการสำรวจการบริโภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสขุ ภาพประชาชนไทยโดยการตรวจรา่ งกายครั้งที่ 4 พ.ศ. 2551-2552 17

9. การจดั กลมุ่ อาหาร ขอ้ มลู “รายการอาหารทบ่ี ริโภค” ท่ีผา่ นการตรวจสอบจะถกู จดั กลุ่ม ดงั แสดง ในตารางที่ 2.5 โดยหน่วยวัดปริมาณจะแสดงเปน็ กรัม และสว่ นบรโิ ภคในหนว่ ยครวั เรือนไทย และการตรวจ สอบความถกู ตอ้ งของข้อมูลการจัดกล่มุ อาหาร (Data editing) เพ่อื แกไ้ ขในกรณที ่มี ีจัดกลุม่ ขอ้ มลู รายการ อาหารผดิ กลมุ่ ตารางที่ 2.5 การจัดกล่มุ อาหารบรโิ ภค กลุ่มอาหาร กรมั ส่วนบรโิ ภคใหนนห่วนยว่ วยดั ค รัวเรอื นไทย ข้าวแปง้ และผลติ ภณั ฑ์ กรัม ทพั พี - ขา้ วแป้งและผลติ ภณั ฑ์ขัดสี กรัม ทพั พี - ข้าวแป้งและผลิตภณั ฑ์ไม่ขัดส ี กรมั ทพั พ ี เนื้อสัตว์และผลติ ภัณฑ์ กรัม ชอ้ นกินข้าว - สัตว์บก กรัม ชอ้ นกนิ ขา้ ว - สตั ว์น้ำ กรัม ช้อนกนิ ข้าว - อื่นๆ (แมลง สตั ว์ครึง่ บกครง่ึ นำ้ ) กรัม ชอ้ นกนิ ขา้ ว ไข ่ กรมั ฟอง ถวั่ และผลติ ภัณฑ ์ กรมั ชอ้ นกนิ ข้าว นมและผลติ ภัณฑ์ กรมั แก้ว (200 ซีซี) ผัก กรมั ทพั พี ผลไม ้ กรัม ส่วน น้ำมัน กะทิ ไขมนั และครมี ชนิดต่างๆ กรมั NP เคร่อื งปรงุ รส กรมั /มลิ ลิลิตร NP - น้ำตาลชนิดตา่ งๆ และน้ำผึง้ กรมั /มลิ ลิลติ ร NP - เคร่อื งปรงุ รสที่มโี ซเดียมสงู กรมั /มิลลลิ ติ ร NP - เคร่อื งปรงุ รสอ่นื ๆ กรัม/มลิ ลิลิตร NP NP= Not present in Thai household unit/ไมไ่ ด้นำเสนอในสว่ นบริโภคในครัวเรอื นไทย 2.2.7 การวเิ คราะห์ทางสถิตขิ อ้ มูลอาหารบริโภคยอ้ นหลงั 24 ชัว่ โมง การวเิ คราะห์ข้อมูลทางสถติ ิ ใชโ้ ปรแกรม Stata/SE 10.1 for Windows (StataCorp, College Station, TX, USA) การวัดการกระจายของข้อมูลใช้ Skewness and Kurtosis test for normality ซง่ึ พบวา่ ขอ้ มลู ท่มี ีการกระจายแบบโคง้ ปกติ ไดแ้ ก่ ขอ้ มูลการกระจายของพลังงานจากคารโ์ บไฮเดรต โปรตีน และไขมัน ขณะทีข่ อ้ มลู การบรโิ ภคพลงั งานและสารอาหาร และขอ้ มูลการบรโิ ภคอาหารในกลมุ่ อาหารตา่ งๆ มี การกระจายแบบไม่ปกติ จากนั้นใชส้ ถติ เิ ชิงพรรณา ได้แก่ จำนวน ร้อยละ มัธยฐาน คา่ เฉลี่ย และส่วนเบีย่ งเบน มาตรฐานสำหรับอธิบายข้อมลู ทางสังคมประชากร และขอ้ มูลอาหารบรโิ ภค 18 รายงานการสำรวจการบรโิ ภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสขุ ภาพประชาชนไทยโดยการตรวจรา่ งกายครง้ั ท่ี 4 พ.ศ. 2551-2552

บทที่ 3 ผ ลการสำรวจความถี่ในการบริโภคอาหาร รองศาสตราจารย์ นพ.วิชัย เอกพลากร 3.1 ลกั ษณะขอ้ มูลประชากร ประชากรเด็กอายุ 2- 14 ป ี กลุม่ ตัวอยา่ งเด็กอายุ 1-14 ปี ที่สำรวจมที ัง้ ส้ิน 9,035 คน คดิ เปน็ ยอดตอบกลบั ร้อยละ 92.8 ใน จำนวนนเี้ ป็นเดก็ อายุ 2-14 ปี จำนวน 8,478 คน เดก็ อายุ 2-5 ปี จำนวน 2,474 คน ประกอบดว้ ย ชาย 1,234 คน และหญิง 1,240 คน เดก็ อายุ 6-9 ปี 2,507 คน เปน็ ชาย 1,241 คน หญงิ 1,266 คน และอายุ 10-14 ปี 3,497 คนเปน็ ชาย 1,734 คน หญิง 1,763 คน เด็กกลุม่ ตัวอย่างอยูใ่ นเขตเทศบาล 4,615 คน นอกเขตเทศบาล 3,863 คน กระจายตามภาคตา่ งๆ และกรงุ เทพมหานคร ดงั แสดงในตารางที่ 3.1 ตารางที่ 3.1 ร้อยละของตวั อยา่ งอายุ 2-14 ปี จำแนกตามอายุ เพศ เขตการปกครองและภาค (Unweighted) ชาย (n=4,209) หญิง (n=4,269) รวม (n=8,478) จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ อายุ 2-5 ปี 1,234 29.3 1,240 29.1 2,474 29.2 6-9 ปี 1,241 29.5 1,266 29.7 2,507 29.6 10-14 ปี 1,734 41.2 1,763 41.3 3,497 41.3 เขตการปกครอง (เทศบาล) ในเขตเทศบาล 2,279 54.2 2,336 54.7 4,615 54.4 นอกเขตเทศบาล 1,930 45.9 1,933 45.3 3,863 45.6 ภาค เหนอื 956 22.7 979 22.9 1,935 22.8 กลาง 970 23.1 964 22.6 1,934 22.8 ตะวันออกเฉียงเหนอื 965 22.9 978 22.9 1,943 22.9 ใต้ 891 21.2 894 20.9 1,785 21.1 กรงุ เทพมหานคร 427 10.1 454 10.6 881 10.4 รวมท้งั ประเทศ 4,209 49.7 4,269 50.3 8,478 100.0 *หมายเหตุ : เด็กอายุ 1 ปี ไมไ่ ดส้ มั ภาษณค์ วามถ่ใี นการบริโภคอาหาร รายงานการสำรวจการบรโิ ภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสขุ ภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายคร้งั ที่ 4 พ.ศ. 2551-2552 19

ประชากรอายุ 15 ปขี ้ึนไป ตารางที่ 3.2 แสดงจำนวนตวั อย่างจำแนกตามเพศ กลุ่มอายุ เขตการปกครอง และภาคที่อยู่อาศยั การสำรวจครง้ั นมี้ ีจำนวนตวั อย่างทัง้ สิน้ 20,450 คน คดิ เปน็ ยอดตอบกลบั รอ้ ยละ 93.1 เปน็ ชาย 9,740 คน และหญงิ 10,710 คน อยูใ่ นเขตเทศบาลรอ้ ยละ 54.2 และนอกเขตเทศบาลรอ้ ยละ 45.8 จำนวนตัวอย่าง กระจายตามภาคตา่ งๆ ใกล้เคยี งกันรอ้ ยละ 21- 23 โดยในกรงุ เทพมหานคร มรี อ้ ยละ 10 ของตวั อยา่ ง ตารางท่ี 3.2 ร้อยละของตัวอย่างอายุ 15 ปีข้ึนไป จำแนกตามอายุ เพศ เขตการปกครอง และภาค (Unweighted) ชาย (n=9,740) หญงิ (n=10,710) รวม (n=20,450) จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ อายุ 15-29 1,351 13.9 1,307 12.2 2,658 13.0 30-44 1,880 19.3 2,240 20.9 4,120 20.2 45-59 2,003 20.6 2,459 23.0 4,462 21.8 60-69 2,498 25.6 2,559 23.9 5,057 24.7 70-79 1,566 16.1 1,652 15.4 3,218 15.7 80+ 442 4.5 493 4.6 935 4.6 เขตการปกครอง (เทศบาล) ในเขต 5,126 52.6 5,954 55.6 11,080 54.2 นอกเขต 4,614 47.4 4,756 44.4 9,370 45.8 ภาค เหนอื 2,258 23.2 2,367 22.1 4,625 22.6 กลาง 2,359 24.2 2,496 23.3 4,855 23.7 ตะวันออกเฉียงเหนอื 2,209 22.7 2,330 21.8 4,539 22.2 ใต้ 2,072 21.3 2,237 20.9 4,309 21.1 กรุงเทพมหานคร 842 8.6 1,280 12.0 2,122 10.4 รวมทัง้ ประเทศ 9,740 47.6 10,710 52.4 20,450 100.0 หมายเหตุ : ร้อยละทแี่ สดงเป็นสัดส่วนที่ยังไม่ไดถ้ ่วงนำ้ หนกั ตามความน่าจะเปน็ ของการสมุ่ ตวั อยา่ ง 3.2 ความถีใ่ นการบรโิ ภคอาหารประเภทตา่ งๆ การสำรวจความถ่ีในการบริโภคอาหารประเภทต่างๆ ของการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยครั้งท่ี 4 พ.ศ.2551-2 สัมภาษณ์กลุ่มตวั อยา่ งเดก็ อายุ 2-14 ปี ไดจ้ ำนวน 8,462 คน (อายุ 2-5 ปี 2,467 คน และ 6-14 ปี 5,995 คน) และผู้ใหญอ่ ายุ 15 ปีขึ้นไปจำนวน 20,407 คน (อายุ 15-59 ปี 11,215 คน และ ≥60 ปี 9,192 คน) ในแบบสัมภาษณ์ความถี่ในการบริโภคอาหารของวัยเด็กประกอบด้วยอาหาร 39 ประเภท ส่วนแบบ สมั ภาษณ์ของผใู้ หญม่ อี าหาร 44 ประเภท รายละเอยี ดของข้อมูลความถ่ีในการบรโิ ภคอาหารประเภทต่างๆ ใน เด็กแสดงในตารางท่ี ง 1 และ ง 2 และข้อมลู ในผูใ้ หญ่แสดงในตารางที่ ง 3 และ ง 4 ซ่งึ พอสรปุ ได้ดงั น้ี 20 รายงานการสำรวจการบรโิ ภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสขุ ภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครง้ั ที่ 4 พ.ศ. 2551-2552

3.2.1 ความถ่ีในการบริโภคอาหารประเภทต่างๆ ของประชากรเดก็ อายุ 2-14 ปี เน้ือสตั ว์ ประชากรเด็กอายุ 2-14 ปี กินอาหารประเภท เนอ้ื สัตวท์ อด เชน่ หมทู อด ไก่ทอด เกอื บทกุ วนั (4-6 ครั้ง/สปั ดาห)์ รอ้ ยละ 18.3 และกนิ ทุกวนั รอ้ ยละ 15.3 การกนิ เนื้อสตั ว์ ต้มต๋นุ ปง้ิ ยา่ ง กนิ เกือบทกุ วันร้อยละ 15.5 และกนิ ทุกวนั ร้อยละ 10.1 ปลา ประชากรเดก็ อายุ 2-14 ปี กินปลาตม้ นึง่ ปิง้ เกอื บทกุ วันรอ้ ยละ 19.2 และกนิ ทกุ วนั ร้อยละ 10.3 ซง่ึ มีความถใ่ี นการบริโภคใกลเ้ คยี งกับการกนิ ปลาทอด ซึ่งกินเกือบทกุ วันรอ้ ยละ 19.6 และทกุ วนั รอ้ ยละ 10.8 ไข่ ประชากรเด็กอายุ 2-14 ปี กนิ ไข่เจยี ว ไข่ดาว เกือบทกุ วนั รอ้ ยละ 34.6 และกนิ ทุกวันรอ้ ยละ 26 กิน ไข่ตม้ ไข่ต๋นุ เกือบทุกวนั ร้อยละ 15.8 และกินทุกวนั รอ้ ยละ 11.5 ลูกชน้ิ ทอด ไส้กรอกทอด ประชากรเด็กอายุ 2-14 ปี กินลูกชิ้นทอด, ไส้กรอกทอดเกือบทุกวันร้อยละ 15.4 และกินทุกวัน รอ้ ยละ 10.7 นมจืด ประชากรเดก็ อายุ 2-14 ปี ดื่มนมจดื เกือบทกุ วนั ร้อยละ 16.4 และดื่มทุกวันร้อยละ 42.9 (เดก็ อาย ุ 2-5 ปี ดม่ื ทกุ วนั ร้อยละ 56 สว่ นเดก็ อายุ 6-14 ปี ดม่ื ทกุ วันร้อยละ 37.5) นมหวาน ประชากรเดก็ อายุ 2-14 ปี ดม่ื นมหวานเกอื บทกุ วนั รอ้ ยละ 14.4 และดม่ื ทกุ วนั รอ้ ยละ 20 (อายุ 2-5 ปี ดม่ื ทุกวนั ร้อยละ 26.2 และอายุ 6-14 ปดี ่มื ทกุ วนั รอ้ ยละ 17.6) และดม่ื นมเปรี้ยวเกอื บทกุ วนั ร้อยละ 14.5 และด่ืมทกุ วันร้อยละ 16.4 นมผง ประชากรเดก็ อายุ 2-14 ปี กนิ นมผงเกือบทกุ วนั ร้อยละ 1.2 และกินทกุ วนั รอ้ ยละ 7.1 บะหม่ีสำเร็จรูป ประชากรเดก็ อายุ 2-14 ปี กนิ บะหม่ีสำเร็จรูปเกือบทุกวันรอ้ ยละ 10.9 และกินทุกวนั รอ้ ยละ 7.5 มนั ฝรั่งทอด ประชากรเด็กอายุ 2-14 ปี กนิ มันฝร่ังทอดเกือบทุกวนั รอ้ ยละ 5.4 และกนิ ทุกวันร้อยละ 3.9 โดยกลุ่ม เดก็ อายุ 6-14 ปีกินเกอื บทกุ วันร้อยละ 12.4 และกนิ ทุกวันรอ้ ยละ 8.9 นำ้ อัดลม ประชากรเด็กอายุ 2-14 ปี กินนำ้ อัดลมเกอื บทุกวันร้อยละ 15.5 และกินทกุ วนั ร้อยละ 15.3 โดยเด็ก อายุ 2-5 ปี กนิ เกือบทกุ วนั ร้อยละ 13.1 และกนิ ทกุ วนั รอ้ ยละ 10.6 สว่ นเด็กอายุ 6-14 ปกี นิ เกอื บทุกวันรอ้ ยละ 16.5 และดม่ื ทุกวันร้อยละ 17.2 ไอศกรมี ประชากรเดก็ อายุ 2-14 ปี กินไอศกรมี เกอื บทกุ วนั รอ้ ยละ 18.2 และกินทกุ วันรอ้ ยละ 14.4 ปลาหมึกปลาเส้น ประชากรเด็กอายุ 2-14 ปี กนิ ปลาหมึก ปลาเส้นเกอื บทกุ วนั ร้อยละ 7.6 และกินทกุ วันร้อยละ 4.4 ขนมกรุบกรอบ ประชากรเด็กอายุ 2-14 ปี กินขนมกรุบกรอบเกือบทุกวันร้อยละ 19.1 และกินทุกวันร้อยละ 28.2 (เดก็ อายุ 2-5 ปี กินเกือบทกุ วนั รอ้ ยละ 19.0 และกินทุกวันร้อยละ 30.2 สว่ นเด็กอายุ 6-14 ปี กนิ เกอื บทุกวนั รอ้ ยละ 19.1 และกนิ ทกุ วนั ร้อยละ 27.4) รายงานการสำรวจการบริโภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายคร้งั ท่ี 4 พ.ศ. 2551-2552 21

ลูกอม ชอ็ กโกแลต ประชากรเด็กอายุ 2-14 ปี กินลูกอม ชอ็ กโกแลตเกอื บทกุ วนั ร้อยละ 15.8 และกินทกุ วนั ร้อยละ 19.2 (โดยความถใี่ นการกนิ ในกลมุ่ เด็ก 2-5 ปี และ 6-14 ปี ใกลเ้ คียงกัน) การจำแนกตามเขตการปกครอง ท้งั ในเขตและนอกเขตเทศบาล อาหารทเ่ี ดก็ อาศยั ในเขตเทศบาล กินบ่อยกวา่ นอกเขตเทศบาล ไดแ้ ก่ อาหารประเภทเนอื้ สัตว์ หมู เป็ด ไก่ ลกู ชิ้นทอด ไส้กรอกทอด กุง้ /หอย/ปู/ปลาหมึก นมหวาน นม ช็อกโกแลต นมเปรี้ยว นมถั่วเหลือง นมผง ขา้ วสวย ขนมปัง มันฝร่ังทอด โจก๊ ข้าวต้มเคร่อื ง ก๋วยเตย๋ี ว ข้าว มนั ไก่ ข้าวหมูแดง อาหารประเภทพิซซ่า น้ำอดั ลม ขนม ค๊กุ กี้ ไอศครีม ปลาหมึก/ปลาเส้น ขนมหวานใสแ่ ละ ไม่ใสก่ ะท ิ อาหารทีเ่ ด็กอาศยั ในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาล กนิ บ่อยพอๆ กนั ไดแ้ ก่ ปลาตม้ นึง่ ปลาทอด ไขเ่ จียว ไข่ดาว ไขต่ ้ม ไข่ตุ๋น นมจดื บะหมสี่ ำเร็จรปู ถวั่ หน่อไม้ เป็นต้น อาหารท่เี ด็กอาศัยนอกเขตเทศบาลกนิ บ่อยกวา่ ในเขตเทศบาล ไดแ้ ก่ การกินขนมกรบุ กรอบพบในสว่ นภมู ภิ าคทุกภาค (ไม่รวมกรงุ เทพมหานคร) การกินลูกอม ชอ็ กโกแลต ในเกือบทกุ ภูมภิ าค (ยกเว้นภาคกลาง และกรงุ เทพมหานคร) การจำแนกตามภูมิภาค เด็กในกรุงเทพมหานคร กินอาหารเกือบทกุ ประเภทบอ่ ยกว่าเด็กในภมู ิภาค รองลงมาคอื ภาคกลาง ซง่ึ รวมทงั้ การกนิ นำ้ อดั ลมและนำ้ หวานบอ่ ยกว่าภาคอืน่ ๆ เด็กในภาคเหนือ กินอาหารเนื้อ ปลา ไข่ กุ้ง หอย ปู ปลาหมึก ในความถ่ีค่อนข้างต่ำท่ีสุด เมื่อเทยี บกบั ภมู ิภาคอ่นื ๆ แต่กินนมจืดบ่อยกว่าภาคอื่นๆ เลก็ น้อย อาหารประเภทที่มีการกินบ่อยพอๆ กันทกุ ภาค ได้แก่ บะหมสี่ ำเร็จรูป ขนมกรบุ กรอบ เปน็ ต้น รายละเอียดดูตารางท่ี ง 1-ง 2 3.2.2 ความถีใ่ นการบริโภคอาหารประเภทต่างๆ ของประชากรกลุ่มอายุ 15 ปขี ้นึ ไป ความถ่ีการบรโิ ภคอาหารของประชากรไทยอายุ 15 ปขี ึน้ ไป แบง่ ตามกลุม่ อายุเป็น 2 กล่มุ คอื กลุ่ม วัยแรงงานอายุ 15-59 ปี และผู้สูงอายุ 60 ปีข้ึนไป พบว่าความถี่ในการกินอาหารประเภทต่างๆ มีความ แตกต่างระหว่างกลุ่มอายุ และระหว่างผู้ท่ีอาศัยในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาลเล็กน้อย ส่วนใหญ่มีความ คล้ายคลึงกันระหว่างเพศ และภาคท่อี ยูอ่ าศยั มีเพยี งอาหารบางกล่มุ ทมี่ คี วามแตกต่าง ซงึ่ พอสรปุ ไดด้ ังนี้ เนือ้ ไมต่ ดิ มัน ไก/่ เป็ดไมต่ ดิ หนัง ประชากรไทยอายุ 15 ปีข้ึนไป กินเนอื้ ไม่ติดมนั ไมต่ ดิ หนัง เกือบทกุ วนั รอ้ ยละ 19.1 และกินทุกวนั รอ้ ยละ 14.8 เนอื้ ตดิ มนั ไก่/เปด็ ติดหนงั ประชากรไทยอายุ 15 ปขี ึ้นไปกนิ เน้อื ตดิ มนั เกือบทุกวนั ร้อยละ 12.3 และกนิ ทกุ วนั รอ้ ยละ 8.1 เนอ้ื สตั ว์ทผ่ี า่ นกระบวนการผลติ ท่ีมไี ขมนั สูง เช่น ไสก้ รอก เบคอน แฮม ประชากรไทยอายุ 15 ปีข้ึนไป กินเนื้อสัตว์ท่ีผ่านกระบวนการผลิตที่มีไขมันสูง เกือบทุกวันร้อยละ 4.1 และกนิ ทกุ วนั รอ้ ยละ 2.5 22 รายงานการสำรวจการบรโิ ภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสขุ ภาพประชาชนไทยโดยการตรวจรา่ งกายครงั้ ท่ี 4 พ.ศ. 2551-2552

เนอื้ สัตวท์ ่ผี า่ นกระบวนการผลิตทีม่ ีเกลือสูง เช่น หมหู ยอง ปลาเคม็ ปลาแดดเดยี ว เมอื่ เปรียบเทยี บกบั เนือ้ สัตวท์ ผี่ า่ นกระบวนการผลติ ทีม่ ีไขมนั สูง ประชากรไทยอายุ 15 ปีขึน้ ไป กนิ เนือ้ สัตว์ทีผ่ า่ นกระบวนการผลิตทมี่ ีเกลอื สูงบอ่ ยกว่า คือกนิ เกอื บทกุ วันรอ้ ยละ 8.0 และกินทกุ วนั รอ้ ยละ 4.4 ปลาชนดิ ต่างๆ และกงุ้ /หอย/ปู/ปลาหมึก ประชากรไทยอายุ 15 ปขี ึน้ ไป กนิ เกือบทกุ วนั ร้อยละ 28.6 และกนิ ทุกวนั ร้อยละ 19 สว่ นอาหาร กลมุ่ ก้งุ หอย ปู ปลาหมึก มกี ารกนิ เกอื บทุกวันร้อยละ 8.5 และกินทกุ วนั ร้อยละ 4.0 ไข ่ ประชากรไทยอายุ 15 ปขี ึ้นไปกนิ ไขเ่ กือบทุกวนั รอ้ ยละ 26.7 และกนิ ทุกวันร้อยละ 18.3 ถ่ัวและผลติ ภณั ฑจ์ ากถว่ั ประชากรไทยอายุ 15 ปขี น้ึ ไปกนิ ถวั่ และผลติ ภณั ฑถ์ วั่ เกอื บทกุ วนั รอ้ ยละ 8.3 และกนิ ทกุ วนั รอ้ ยละ 5.2 ธัญพืช และแป้ง ประชากรไทยอายุ 15 ปีข้นึ ไป กินขา้ วขาว/ขัดสี เกือบทุกวนั รอ้ ยละ 5.6 และกินทุกวนั รอ้ ยละ 73.9 สว่ นขา้ วกล้อง มรี อ้ ยละ 7.2 ท่กี นิ ทกุ วัน สำหรับขา้ วเหนยี ว กินเกือบทุกวันร้อยละ 5.9 และกนิ ทกุ วัน รอ้ ยละ 35.1 นอกจากน้รี ้อยละ 6.2 กนิ ก๋วยเตีย๋ วทุกวนั และกนิ เกือบทกุ วันร้อยละ 12.4 อาหารทอด เชน่ หม/ู ไก่ ทอด ทอดมนั ประชากรไทยอายุ 15 ปขี นึ้ ไป กินอาหารทอด เกอื บทุกวนั รอ้ ยละ 14.5 และกินทุกวนั ร้อยละ 7.7 อาหารคาวประเภทแกง มีกระทิ/นำ้ มนั ประชากรไทยอายุ 15 ปขี น้ึ ไปกนิ อาหารประเภทแกง มกี ระท/ิ น้ำมันเกอื บทกุ วันร้อยละ 12.3 และกนิ ทุกวันรอ้ ยละ 7.0 ปลาร้า ปลาเจ่า และนำ้ พรกิ พบว่าประชากรไทยอายุ 15 ปขี น้ึ ไป รอ้ ยละ 12.0 บอกวา่ กินปลารา้ ปลาเจ่า เกือบทกุ วนั และรอ้ ยละ 22.4 บอกวา่ กินทุกวนั ส่วนอาหารประเภทน้ำพริก รอ้ ยละ 22.9 บอกว่ากนิ เกอื บทุกวัน และร้อยละ 23.7 บอกวา่ กนิ ทุกวนั นมพร่องมันเนย ประชากรไทยอายุ 15 ปีขนึ้ ไปกินนมพรอ่ งมันเนย เกอื บทุกวันร้อยละ 4.1 และกินทกุ วันรอ้ ยละ 4.5 น้ำเตา้ หู/้ นมถ่วั เหลือง ประชากรไทยอายุ 15 ปขี ึน้ ไป กินนำ้ เต้าหู้ เกอื บทุกวันร้อยละ 9.9 และกนิ ทกุ วนั รอ้ ยละ 9.4 เครื่องด่มื ต่างๆ ประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป ดื่มน้ำอัดลมและน้ำหวาน เกือบทุกวันร้อยละ 8.3 และด่ืมทุกวัน ร้อยละ 7.9 และเครื่องชูกำลัง พบวา่ ร้อยละ 4.8 ดม่ื เกือบทุกวนั และรอ้ ยละ 5.7 บอกว่าด่ืมทกุ วัน ส่วน เครอื่ งดืม่ สำหรบั นกั กฬี า พบว่าดม่ื ทกุ วันร้อยละ 2.7 สำหรับการด่มื ชาและกาแฟ มรี ้อยละ 6.5 ด่มื เกือบทกุ วนั และร้อยละ 30.8 ทด่ี ่ืมทุกวัน ผู้ชาย/ผหู้ ญิง อาหารท่ผี ้ชู ายมกี ารบริโภคบอ่ ยกว่าผหู้ ญงิ คอื กลุ่มเครื่องดืม่ ชูกำลงั เครื่องด่ืมสำหรบั นกั กีฬา และ ชา/กาแฟ เป็นตน้ อาหารทผี่ ้หู ญงิ มีการบริโภคบ่อยกว่าผูช้ ายคือ ผลิตภนั ฑ์นมตา่ งๆ น้ำเตา้ หู/้ นมถ่ัวเหลือง และน้ำผัก/ นำ้ ผลไม้ เป็นต้น รายงานการสำรวจการบรโิ ภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสขุ ภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 4 พ.ศ. 2551-2552 23

กลุ่มอายุ โดยพบว่ากลุม่ อายุ 15-59 ปีมกี ารกินอาหารเกือบทุกประเภทบ่อยกว่าผสู้ ูงอายอุ ายุ 60 ปีขึน้ ไป ไดแ้ ก่ เนือ้ สตั วก์ ว๋ ยเตี๋ยว บะหม่ีสำเร็จรปู อาหารทอด อาหารจานด่วน ผลไมร้ สไม่หวาน น้ำอดั ลม/นำ้ หวาน เครอ่ื งดื่มชูกำลงั และชา/กาแฟ เปน็ ตน้ อาหารท่ีกลุ่มวัยแรงงานและผู้สงู อายกุ ินบอ่ ยใกล้เคียงกนั คือ ข้าวขาว/ขา้ วขัดสี ขา้ วเหนียว ขา้ ว กลอ้ ง/ข้าวซอ้ มมอื ขนมปัง และผลไม้รสหวาน เป็นต้น สำหรับอาหารทผ่ี สู้ ูงอายกุ ินบอ่ ยกว่ากลุม่ วัยแรงงานคอื อาหารประเภทปลาชนิดตา่ งๆ ปลาร้า ปลา เจา่ นำ้ บูดู และนำ้ พริก เปน็ ต้น ในเขต/นอกเขตเทศบาล อาหารท่ผี ้ทู ี่อาศัยในเขตเทศบาลกนิ บ่อยมากกวา่ ผ้ทู ี่อาศัยนอกเขตเทศบาล ได้แก่ อาหารจำพวกเน้อื ทุกประเภท อาหารทะเล ตับ เลือด ถัว่ และผลติ ภณั ฑ์ ขา้ วขาว ข้าวซอ้ มมอื ขนมปัง อาหารจานด่วน นมสด โยเกิร์ต นมพรอ่ งมนั เนย น้ำเตา้ หู้ นำ้ อัดลม และชา/กาแฟ เป็นต้น อาหารที่ผู้ที่อาศัยในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาล กินบ่อยใกล้เคียงกัน ได้แก่ ปลาชนิดต่างๆ เน้ือสตั วท์ ีผ่ ่านกระบวนการผลติ ทีม่ เี กลอื สงู เช่น หมูหยอง ปลาเคม็ เนื้อแดดเดียว ไข่ หมทู อด ไก่ทอด แกง กระทิ แกงเผ็ด ขนมจีน ผลไม้ทกุ ประเภท นมหวาน เครอ่ื งด่ืมชูกำลงั ขนมกรบุ กรอบ และขนมหวาน เปน็ ต้น อาหารทผี่ ทู้ อ่ี าศยั นอกเขตเทศบาลกนิ บอ่ ยกวา่ ผทู้ อ่ี ยใู่ นเขตเทศบาล ไดแ้ ก่ ขา้ วเหนยี ว บะหมส่ี ำเรจ็ รปู ปลารา้ ปลาเจ่า นำ้ บูดู ถัว่ เนา่ น้ำพรกิ และหน่อไม ้ ภมู ิภาคและกรงุ เทพมหานคร ผทู้ ี่อาศยั ในกรุงเทพมหานคร และภาคกลาง กนิ อาหารประเภทเนือ้ สตั ว์บ่อยมากกว่าภาคอน่ื ๆ รวมทั้งอาหาร ทะเล ขนมปงั อาหารทอด และนำ้ อดั ลม นอกจากนพ้ี บว่าผูท้ ่ีอาศัยในภาคกลาง ดมื่ เครื่องดืม่ ชูกำลงั บ่อยมากกวา่ ภาคอื่นๆ ผ้ทู ีอ่ าศยั ในภาคเหนอื มคี วามถใี่ นการกนิ อาหารประเภทปลานำ้ จืดและน้ำทะเลไม่บ่อยเทา่ ภาคอืน่ ๆ แต่กนิ ขา้ วเหนยี วบอ่ ย รองจากภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ผทู้ อ่ี าศัยในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื มอี าหารทกี่ นิ บ่อยกวา่ ภาคอื่นๆ ได้แก่ ขา้ วเหนยี ว ปลารา้ ปลาเจา่ น้ำ บูดู ถัว่ เนา่ อาหารกลุ่มน้ำพริกต่างๆ และหน่อไม ้ ผู้ทอ่ี าศยั ในภาคใต้ กินอาหารพวก กุ้ง หอย ปู ปลาหมกึ บ่อยใกล้เคยี งกบั ผูท้ อี่ าศัย กทม. และบอ่ ยกว่าผทู้ ่ี อาศยั ภาคอน่ื ๆ ดูรายละเอียดในตารางท่ี ง 3-ง 4 24 รายงานการสำรวจการบริโภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายคร้ังที่ 4 พ.ศ. 2551-2552

3.4 บทสรุปและขอ้ เสนอแนะจากการสมั ภาษณค์ วามถใ่ี นการบรโิ ภคอาหาร 3.4.1 บทสรปุ จากการสัมภาษณค์ วามถ่ใี นการบริโภคอาหาร เม่ือเปรียบเทียบผลการสำรวจด้านความถี่ในการบริโภคอาหารในการสำรวจครั้งน้ี กับผลการสำรวจ ภาวะอาหารและโภชนาการของประเทศไทย โดยกองโภชนาการกรมอนามยั ในปี พ.ศ. 25469 ในการสำรวจปี พ.ศ. 2551-2552 น้ี พบว่า เมื่อพิจารณาความถี่การกนิ เกอื บทกุ วันและกินทุกวัน สำหรับอาหารบางประเภท ทง้ั ทม่ี ผี ลทางบวกและทม่ี ผี ลทางลบตอ่ สขุ ภาพมกี ารเปลยี่ นแปลงไปในทางทมี่ ากขน้ึ เชน่ การกนิ บะหมส่ี ำเรจ็ รปู น้ำอดั ลม/น้ำหวาน พบวา่ เพิ่มทั้งในเดก็ กอ่ นวัยเรียน (2-5 ปี) และเดก็ วัยเรียน (อายุ 6-14 ปี) (ดงั แสดงในตาราง ที่ 3.3) สำหรบั การกนิ ขนมกรบุ กรอบ พบวา่ ลดลงในกลุม่ เดก็ 2-5 ปี แตค่ วามถ่ีเพ่ิมขึ้นในกลุม่ เด็ก 6-14 ปี โดยพบว่าเด็กอายุ 6-14 ปี เกือบหน่ึงในสิบคนกินบะหม่ีสำเร็จรูปทุกวัน และเกือบหน่ึงในห้ากินน้ำอัดลม/ น้ำหวานทกุ วัน และมีมากกว่าหนึง่ ในสค่ี นกนิ ขนมกรุบกรอบทุกวัน ทงั้ นส้ี ่วนหน่ึงอาจเนื่องจากการส่งเสริม ทางการค้าทเี่ ขม้ แขง็ ของผคู้ ้า และผผู้ ลติ อาหารและเครอ่ื งดมื่ เหลา่ น้ี สามารถเข้าถึงประชาชนไดท้ ุกภูมภิ าค จงึ ทำใหม้ กี ารบรโิ ภคกนั อยา่ งแพรห่ ลาย ในขณะทมี่ าตรการการควบคมุ คณุ ภาพและมาตรการใหล้ ดการบรโิ ภคสนิ คา้ กล่มุ น้ียงั ไม่ชัดเจน อย่างไรก็ตามมีอาหารบางประเภททไ่ี ม่ไดม้ กี ารบริโภคเพิ่มขนึ้ ชัดเจน เชน่ ไอศกรมี พบว่า สัดส่วนของเดก็ ทก่ี ินทุกวันยังใกล้เคยี งเดมิ (ร้อยละ 14.6 ในปี 2551-2552) และอาหารบางประเภทท่ีมผี ลบวก ตอ่ สขุ ภาพ มกี ารกินเพิม่ ขน้ึ เชน่ การกินนมจดื ทกุ วนั มีสดั สว่ นทีเ่ พ่ิมขน้ึ เปน็ รอ้ ยละ 37.9 ในปี 2551-2552 สัดส่วนท่ีสูงนี้พบทั้งในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาล และทุกภาคของประเทศ ท้ังน้ีอาจเน่ืองจากการท่ี ประชาชนมคี วามรู้ และสามารถเข้าถึงการดมื่ น้ำนมได้มากขึน้ ความถี่ในการบริโภคอาหารของกลุ่มผู้ใหญ่ เม่ือเปรียบเทียบการสำรวจภาวะอาหารและโภชนาการ ของประเทศไทย ปี พ.ศ. 25469 พบการเปลีย่ นแปลงเชน่ กนั ทงั้ เพิ่มข้นึ และลดลง ในด้านบวกพบว่า สดั สว่ น การกนิ อาหารประเภทเนอ้ื ตดิ มนั ทกุ วนั ไมไ่ ดเ้ พมิ่ ขนึ้ จากการสำรวจครง้ั กอ่ น และลดลงอยา่ งชดั เจนในกลมุ่ ผสู้ งู อาย ุ จากรอ้ ยละ 10 ทง้ั ในกลุ่มวัยแรงงานและผู้สงู อายุในปี พ.ศ. 2546 ลดลงเปน็ ร้อยละ 8.5 และ 5.5 ตามลำดับ ในปี 2551-2552 และยังพบว่าสัดส่วนของคนท่ีกินข้าวกล้องทุกวันเพิ่มข้ึน จากร้อยละ 2 เป็นร้อยละ 7 อยา่ งไรก็ตามพบวา่ มีการกินอาหารบางประเภทมคี วามถี่ใกลเ้ คียงเดมิ เชน่ การกินปลาทกุ วนั ในกลุ่มวัยแรงงาน เพ่ิมขน้ึ เพียงเลก็ น้อย และในกลุ่มผู้สงู อายุกลับมคี วามถีล่ ดลงครงึ่ หน่ึง ในส่วนของอาหารทีไ่ ม่เปน็ คุณต่อสุขภาพ ที่พบว่ามีการกินทุกวันเพิ่มขึ้น ได้แก่ น้ำอัดลม เคร่ืองดื่มชูกำลัง และขนมกรุบกรอบ เป็นต้น ดังแสดงใน ตารางที่ 3.4 การท่ีมีสดั สว่ นของเดก็ และผ้ใู หญ่ ทีก่ นิ อาหารให้พลังงานทกุ วันในความถท่ี ่เี พิม่ ขึน้ นี้ ยอ่ มคาดการณ์ ไดว้ า่ นา่ จะสอดคลอ้ งกบั การเพ่มิ ข้นึ ของความชุกของภาวะนำ้ หนกั เกินและอว้ นในประชาชนไทย (รายงานการ สำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครัง้ ที่ 4 ปี พ.ศ. 2551-2552)8 รายงานการสำรวจการบรโิ ภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสขุ ภาพประชาชนไทยโดยการตรวจรา่ งกายครัง้ ที่ 4 พ.ศ. 2551-2552 25

ตารางที่ 3.3 การเปรียบเทียบความถ่ีการกินอาหารบางประเภทของการสำรวจปี 2546 และปี 2551-2 ในกลมุ่ เด็ก ความถี่การกนิ อาหาร เดก็ อายุ 2-5 ปี เด็ก อายุ 6-14 ป ี 2546 2551-2 2546 2551-2 บะหมสี่ ำเร็จรูป เกอื บทกุ วนั NA 7.4 NA 12.4 ทุกวัน 1.5 4.1 9.1 8.9 น้ำอดั ลม เกือบทุกวนั NA 13.1 12.0 16.5 ทกุ วัน 8.3 10.6 8.7 17.2 น้ำหวาน เกอื บทกุ วนั NA NA 8.0 NA ทุกวัน 8.3 NA 11.0 NA ขนมขบเคี้ยว เกือบทุกวนั NA 19 8.3 19.1 ทกุ วัน 56.7 30.2 12.1 27.4 นมจดื เกอื บทกุ วนั NA 12.5 41.6 18.0 ทุกวนั NA 56.2 28.5 37.5 ไอสกรีม เกือบทกุ วนั NA 18.9 19.0 18.0 ทกุ วัน NA 13.7 17.2 14.6 หมายเหตุ : เกือบทกุ วันของการสำรวจภาวะอาหาร และโภชนาการของประเทศไทย, ปี 2546 หมายถงึ 5-6 ครงั้ /สัปดาห์, ส่วนของการสำรวจสขุ ภาพประชาชนไทย โดยการตรวจร่างกาย ครั้งท่ี 4 ปี 2551- 2 นั้น หมายถงึ 4-6 ครง้ั /สัปดาห์; น้ำอดั ลม และนำ้ หวานในปี 2546 แยกข้อกัน สำหรบั เด็ก 6-12 ป;ี ส่วนเด็ก 2-5 ปี ของการสำรวจปี 2546 และของเด็ก 2-14 ปี ของการสำรวจปี 2551-2 รวมน้ำอดั ลมและนำ้ หวานอย่ขู ้อเดยี วกนั 26 รายงานการสำรวจการบริโภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสขุ ภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายคร้งั ที่ 4 พ.ศ. 2551-2552

ตารางท่ี 3.4 การเปรียบเทียบความถ่ีการกินอาหารบางประเภทของการสำรวจปี 2546 และปี 2551-2 ในกล่มุ ผ้ใู หญ ่ ความถี่การกินอาหาร 15-59 ปี ≥60 ปี 2546 2551-2 2546 2551-2 เนอ้ื ตดิ มนั เกือบทุกวัน 7.2 12.9 NA 8.7 ทุกวนั 10.6 8.5 10.5 5.5 เนื้อไมต่ ดิ มัน เกอื บทุกวนั 9.1 19.7 NA 15.6 ทุกวนั 11.4 15.5 17.8 10.7 ปลา เกือบทุกวนั 15.4 28.4 NA 29.7 ทกุ วนั 17.0 18.1 50.4 24.7 กุ้งหอยปปู ลาหมึก เกือบทุกวัน 4.6 4.0 ทกุ วัน 5.4 8.5 ไข ่ เกือบทุกวัน 17.0 26.7 NA 20 ทกุ วัน 16.8 18.3 15.7 12.7 ขา้ วกล้อง เกือบทุกวนั 0.2 2.1 NA 1.5 ทกุ วนั 2.0 7.2 1.3 8.0 บะหมี่สำเร็จรปู เกือบทกุ วัน 1.1 6.5 1.5 ทกุ วนั 0.7 3.1 0.7 ผลไม้รสหวาน เกอื บทุกวนั 9.2 19.8 NA 17.2 ทุกวนั 12.5 17.2 16.5 17.7 ผลไมร้ สไมห่ วาน เกอื บทุกวัน 5.1 16.1 NA 12.1 ทกุ วนั 6.1 12.3 5.2 8.1 น้ำอัดลม เกือบทกุ วัน 2.8 8.3 NA 2.6 ทกุ วัน 5.1 7.9 NA 2.7 เครื่องด่มื ชูกำลัง เกอื บทกุ วนั 1.4 4.8 1.5 ทกุ วนั 4.7 5.7 2.2 ขนมขบเคี้ยว เกอื บทกุ วนั 3.4 7.9 1.8 ทุกวนั 6.5 7.7 1.5 หมายเหตุ : เกอื บทุกวนั ของการสำรวจปี 2546 หมายถงึ 5-6 คร้งั /สัปดาห์, สว่ นของการสำรวจปี 2551-2 หมายถงึ 4-6 ครง้ั /สัปดาห ์ รายงานการสำรวจการบริโภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครงั้ ท่ี 4 พ.ศ. 2551-2552 27

พฤติกรรมการกินอาหารบางประเภทท่ีเพิ่มข้ึนนี้มีความสอดคล้องกับผลการสำรวจพฤติกรรมการ เลอื กแหลง่ บรโิ ภคอาหารในรายงานผลการสำรวจสขุ ภาพประชาชนไทยโดยการตรวจรา่ งกายปี พ.ศ. 2551-25528 โดยพบว่าปัจจุบันประชาชนไทยมีการกินอาหารนอกบ้านมากข้ึน ซ่ึงคุณภาพของอาหารเหล่าน้ีถูกกำหนดโดย ผผู้ ลติ ซ่งึ มักจะเน้นในเร่อื งของรสชาดจึงมแี นวโนม้ ที่อาหารเหล่านี้ อาจมีเกลือโซเดียมมากเกิน นำ้ ตาลมากเกนิ หรือหวานเกนิ และ/หรอื มีไขมันมากเกินไปได ้ ในภาพรวมพฤติกรรมการบริโภคอาหารมีแนวโน้มของการบริโภคอาหารให้พลังงานเพ่ิมข้ึนเหล่าน้ีจะ มีผลกระทบทางลบต่อภาวะสุขภาพทั้งในขณะน้ีและต่อไปในอนาคต เม่ือพิจารณาผลการสำรวจความถ่ีในการ บริโภคบ่งช้ีว่า ประชากรไทยในปัจจุบันมีการบริโภคอาหารบางประเภท เช่น เนื้อสัตว์บ่อยมากข้ึน มีการกิน อาหารทป่ี ระกอบดว้ ยการทอดบอ่ ยกวา่ อาหารทปี่ ระกอบดว้ ยการนง่ึ และตม้ นอกจากนย้ี งั กนิ อาหารทมี่ ปี ระโยชน์ ต่อสุขภาพโดยเฉพาะผักและผลไม้น้อยเกินไป ซ่ึงพฤติกรรมเหล่าน้ีส่งผลทำให้ประชาชนไทยทั้งเด็กและผู้ใหญ่ ในขณะนมี้ แี นวโนม้ มนี ำ้ หนกั ตวั เกนิ มาตรฐานและอว้ นมากขน้ึ ในเดก็ มปี ญั หาทพุ โภชนการจากความอว้ นมากกวา่ ภาวะผอมและเตี้ยในอดีต โดยมีความสอดคล้องกับผลการสำรวจสุขภาพเด็ก พบว่าเด็กอายุ 1-9 ปีร้อยละ 11-12 และเดก็ อายุ 10-14 ปี ร้อยละ 14.9 ในมนี ำ้ หนกั ตัวอยู่ในเกณฑท์ ว้ มจนถงึ อ้วน19 ส่วนในประชากรอายุ 15 ปีข้นึ ไป พบวา่ มภี าวะอ้วน (ค่าดัชนีมวลกาย (Bฺ ody Mass Index, BMI) ≥25 kg/m2) รอ้ ยละ 28.4 ในชาย และรอ้ ยละ 40.7 ในหญิง สถานการณ์ปญั หาโรคอว้ นแมว้ ่าผูท้ ่อี าศัยในกรงุ เทพมหานครและภาคกลางมคี วาม ชุกสูงกว่าภาคอ่ืนแต่ในขณะนี้พบในทุกภูมิภาคของประเทศ ซึ่งมีผลกระทบต่อภาวะสุขภาพในระยะยาว โดย ภาวะอ้วนนี้เป็นปัจจัยของโรคเร้ือรังต่างๆ อีกหลายโรค เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคทาง ระบบหวั ใจและหลอดเลือด เปน็ ตน้ ซง่ึ มีแนวโน้มเพิม่ ขึ้น ดงั นนั้ การมขี อ้ มลู พฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารเหลา่ นี้ จะเปน็ ประโยชน์ต่อการติดตามสถานการณก์ ารบรโิ ภคอาหาร นอกจากช่วยใหท้ ราบประเดน็ ปญั หาแล้ว ยงั เปน็ การประเมนิ ผลมาตรการทดี่ ำเนนิ การไป และนำมาปรบั ปรงุ มาตรการดำเนนิ งานใหป้ ระชาชนสามารถเลอื กบรโิ ภค อาหารที่มีผลดีต่อสุขภาพและลดการบริโภคอาหารท่ีทำลายสุขภาพ ดังน้ันการให้ความรู้และความตระหนักแก่ ประชาชนท่ัวไปในการเลือกซื้ออาหารท่ีมีคุณค่าทางโภชนการ ควบคู่กับการให้ข้อมูลและสร้างความตระหนัก แกผ่ ปู้ ระกอบอาหารและจำหนา่ ยอาหารสำเรจ็ รปู เหลา่ นจี้ งึ เปน็ สงิ่ ทจี่ ำเปน็ นอกจากนค้ี วรมกี ารเฝา้ ระวงั เกย่ี วกบั คณุ ภาพของอาหารและการเฝ้าระวังอาหารสำเร็จทีม่ ีการจำหน่ายเป็นระยะๆ การสำรวจคร้ังน้ีมจี ดุ แข็ง คอื เปน็ การสำรวจขอ้ มลู ระดบั ประเทศมขี นาดตัวอย่างจำนวนมากสำหรับ การสำรวจโดยสอบถามความถใ่ี นการบรโิ ภค (Frequency of food consumption) มขี อ้ ดที ส่ี ามารถสอบถาม อาหารประเภทต่างๆ ตามท่ีระบุได้จากตัวอย่างประชากรจำนวนมาก โดยไม่ใช้เวลาในการเก็บข้อมูลมากนัก รวมถึงทราบแบบแผนในการบริโภคอาหารประเภทตา่ งๆ ของประชากรไทยอายุ 2 ปขี ึ้นไป และหากมกี ารเกบ็ ขอ้ มลู เปน็ ระยะ จะทำใหท้ ราบแนวโนม้ ของการเปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรมการบรโิ ภคของประชากรไดอ้ ยา่ ง อยา่ งไร ก็ตาม ในสำรวจความถี่การบริโภคอาหารได้ใช้แบบสอบถามความถ่ีในการบริโภคอาหารแบบง่าย (Simple Food Frequency Questionnaires) ในการเกบ็ ขอ้ มลู ซงึ่ มีข้อจำกัดบางประการ ได้แก่ ไม่สามารถบอก ปรมิ าณการบรโิ ภคได้ชดั เจนเปน็ เพยี งข้อมูลความถีก่ ารบริโภคเทา่ นน้ั เนอ่ื งจากไม่ได้สอบถามเก่ยี วกับปริมาณ ที่บริโภค จึงทำให้ไม่ทราบปริมาณพลังงานจากสารอาหารที่บริโภคของกลุ่มตัวอย่างท่ีทำการเก็บข้อมูล จาก ข้อจำกัดของวิธีการเกบ็ ขอ้ มลู ดงั กล่าว คณะผูท้ ำการสำรวจอาหารบรโิ ภคได้เลอื กวธิ กี ารประเมินการบริโภควธิ ี อืน่ คอื การสมั ภาษณอ์ าหารบริโภคโดยทบทวนความจำย้อนหลัง 24 ชั่วโมงมาใช้ในการเก็บขอ้ มลู อาหาร ควบค่ดู ว้ ย ซึ่งดำเนนิ ในกลมุ่ ตวั อย่างยอ่ ย (Subsample) เพือ่ ประเมนิ ปรมิ าณพลังงานและสารอาหารท่ีกลมุ่ ตัวอยา่ งประชากรไทยกลุ่มยอ่ ยไดร้ ับ โดยจะไดก้ ล่าวถึงในบทที่ 4 ขอ้ จำกดั ประการต่อมาคือ ประเภทอาหารที่ สอบถามอาจไม่ครอบคลมุ อาหารทกุ ประเภทที่กลุ่มประชากรมกี ารบรโิ ภคจริง และไม่สามารถระบอุ าหารแต่ละ ชนดิ ไดท้ ำใหท้ ราบความถข่ี องการบรโิ ภคอาหารบางประเภทเทา่ นน้ั และประการตอ่ มาการศกึ ษานเ้ี ปน็ แบบภาค ตัดขวาง ดังน้ันจึงมีข้อจำกัดในการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลกระทบทางสุขภาพเก่ียวข้องกับพฤติกรรมการกิน อาหาร อยา่ งไรกต็ าม การสำรวจนที้ ำใหท้ ราบสถานการณก์ ารบริโภคอาหารซงึ่ เปน็ ประโยชน์ตอ่ การแก้ไขต่อไป 28 รายงานการสำรวจการบริโภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจรา่ งกายครั้งที่ 4 พ.ศ. 2551-2552

3.4.2 ขอ้ เสนอแนะจากการสมั ภาษณ์ความถีใ่ นการบริโภคอาหาร ขอ้ เสนอแนะควรมกี ารดำเนินการตอ่ ไปน ้ี 1. มาตรการดำเนินงานดา้ นการบริโภคอาหาร 1.1 การวางนโยบายและปรับแผนแผนกลยุทธด้านการสร้างเสริมการบริโภคอาหารสุขภาพของ ประชาชนไทยโดยการมีกำหนดเปา้ หมายทางด้านการบริโภคอาหารสขุ ภาพอยา่ งชัดเจน 1.2 การรณรงค์ให้ความรู้แก่ประชาชนและทุกภาคส่วนให้ตะหนักถึงการบริโภคอาหารท่ีดีต่อ สขุ ภาพ การศึกษาและเฝา้ ระวัง 2. มาตรการทางภาษีและกฎหมาย เพอื่ ลดการเข้าถงึ อาหารทมี่ ีประโยชนต์ ่อสุขภาพน้อย เชน่ ขนม กรบุ กรอบ น้ำอดั ลม เคร่ืองดมื่ ชูกำลงั บะหม่สี ำเรจ็ รปู แตเ่ พ่ิมการบรโิ ภคอาหารประเภทนมพรอ่ งมันเนย และ เพิ่มการบริโภคผักผลไม้ เปน็ ตน้ ขอ้ เสนอดา้ นการสำรวจการพฤติกรรมการกินอาหาร สรปุ ดังน ้ี 1. การเฝ้าระวังพฤติกรรมการกินอาหารของประชากรไทยโดยการสำรวจพฤติกรรมการกินอาหาร ของประชาชนไทยเป็นระยะๆ 2. การศึกษาติดตามเก่ียวกับผลกระทบของพฤติกรรมการกินอาหารและประเภทอาหารต่อสถานะ สขุ ภาพในระยะยาว 3. การปรับปรุงพัฒนาเคร่ืองมือการสำรวจการบริโภคอาหารและการทดสอบความเท่ียงและความ ถูกต้องของเครอื่ งมือใหส้ อดคล้องกบั พฤตกิ รรมการกนิ อาหารของประชาชน 4. การเฝ้าระวังคุณภาพอาหารสำเร็จรูปที่มีการจำหน่ายเพ่ือเป็นข้อมูลในการให้ความรู้แก่ประชาชน และผ้ปู ระกอบการ 5. การสำรวจตัวอย่างอาหารครัวเรือน เพื่อวิเคราะห์ปริมาณสารอาหารเพ่ือประเมินปริมาณอาหาร และพลังงานท่ีได้รับ 6. ในการสำรวจการบริโภคอาหารของประชาชน ควรเพ่ิมการเก็บตัวอย่างทางชีวภาพเพ่ือประเมิน การบริโภคสารอาหารบางประเภท เช่น การเก็บตัวอย่างปัสสาวะเพื่อตรวจวิเคราะห์ปริมาณโซเดียมท่ีบริโภค เป็นตน้ รายงานการสำรวจการบริโภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสขุ ภาพประชาชนไทยโดยการตรวจรา่ งกายครัง้ ที่ 4 พ.ศ. 2551-2552 29

30 รายงานการสำรวจการบรโิ ภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครง้ั ที่ 4 พ.ศ. 2551-2552

บทที่ 4โผ ดลยกกาารรสสัมำภราวษจณอ์อาาหหาารรบบรริโภิโภคคท บทวนความจำย้อนหลงั 24 ช่วั โมง ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. วราภรณ์ เสถียรนพเก้า แพทย์หญงิ รชั ดา เกษมทรพั ย ์ 4.1 ลกั ษณะขอ้ มูลประชากรและอาหารบรโิ ภค 24 ช่ัวโมง กลุ่มตวั อยา่ งท่ศี ึกษาอาหารบรโิ ภคโดยการสมั ภาษณก์ ารบริโภคอาหารทบทวนความจำยอ้ นหลัง 24 ช่ัวโมง จำนวน 2,969 คน คิดเปน็ ร้อยละ 93.7 ของจำนวนบุคคลตัวอยา่ ง และรอ้ ยละ 98.5 ของขนาดกลุ่มตวั อยา่ งที่ คำนวณได้ ประกอบด้วย เพศชายร้อยละ 49.4 และเพศหญิงร้อยละ 50.6 การกระจายของกลุ่มตวั อย่างใน 4 ภาคและกรงุ เทพมหานครใกลเ้ คยี งกนั คอื รอ้ ยละ 18.4-21.8 โดยมลี กั ษณะทางประชากร ดงั นี้ (ตารางที่ 4.1) อายุ กลุ่มอายทุ ่ีมจี ำนวนตวั อย่างมากท่ีสุด คอื กล่มุ อายุ 60 ปีข้นึ ไป รองลงมา คือ กลุม่ อายุ 19-59 ปี กลุ่มอายุ 9-18 ปี และกลมุ่ อายุ 1-8 ปี ตามลำดับ เมอื่ จำแนกตามภาค การกระจายของกลุ่มอายมุ ีลกั ษณะเช่น เดยี วกบั ภาพรวมของประเทศ ยกเวน้ กรงุ เทพมหานครทีม่ จี ำนวนตัวอย่างวัยทำงานอายุ 19-59 ปี มากทีส่ ดุ รองลงมา คอื กลุ่มอายุ 60 ปีขน้ึ ไป ศาสนา กล่มุ ตวั อย่างสว่ นใหญ่ (รอ้ ยละ 94.5) นับถอื ศาสนาพทุ ธ สถานภาพสมรส ในภาพรวมของกลุ่มตัวอยา่ งอายุ 15 ปขี ึน้ ไป พบวา่ เพศชายมสี ถานภาพสมรสคู่ รอ้ ยละ 75.6 รองลงมา คอื โสด รอ้ ยละ 14.3 สำหรบั เพศหญงิ มีสถานภาพสมรสค่รู ้อยละ 59.3 รองลงมา คือ หม้าย หย่า แยก รอ้ ยละ 28.3 การศกึ ษา พบว่า ประมาณ 3 ใน 5 ของกลุ่มตวั อยา่ งอายุ 15 ปขี ึ้นไปส่วนใหญจ่ บการศกึ ษาระดับ ประถมศกึ ษาหรือน้อยกว่า รองลงมา คือ ระดบั มธั ยมศกึ ษา ภาวะการมงี านทำในปัจจุบัน ในภาพรวมของกล่มุ ตวั อยา่ งอายุ 15-59 ปี พบว่า กลุ่มดังกลา่ วส่วน ใหญ่ (4 ใน 5 ของเพศชาย และ 2 ใน 3 ของเพศหญงิ ) มีงานทำ และมเี พียง 1 ใน 20 ของเพศชาย และ 1 ใน 10 ของเพศหญงิ ท่ีวา่ งงาน ส่วนท่ีเหลอื อยู่ระหว่างรอฤดกู ารทำงาน ทำงานบ้าน เรยี นหนงั สือ หรืออนื่ ๆ รายได้ เม่ือพิจารณารายไดต้ ่อคนต่อเดอื น ในภาพรวมทง้ั ประเทศ พบวา่ 1 ใน 4 ของกลมุ่ ตัวอย่าง เพศชาย และ 1 ใน 3 ของกลมุ่ ตวั อยา่ งเพศหญงิ มรี ายไดอ้ ย่ใู นชว่ ง 1,000 – 4,999 บาทต่อเดอื น รองลงมามี รายไดอ้ ยูใ่ นชว่ ง 5,000–9,999 บาทต่อเดอื น (1 ใน 4 ของเพศชาย และ 1 ใน 5 ของเพศหญิง) รายงานการสำรวจการบริโภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจรา่ งกายคร้ังที่ 4 พ.ศ. 2551-2552 31

32 รายงานการสำรวจการบรโิ ภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครง้ั ที่ 4 พ.ศ. 2551-2552 ตารางท่ี 4.1 รอ้ ยละของกลุม่ ตัวอยา่ งจำนวน 2,969 คน จำแนกตามภาคและลักษณะประชากร ภาคเหนอื ภาคกลาง ภาคตะวันออก/เหนือ ภาคใต้ กทม. รวม ชาย หญงิ ชาย หญิง ชาย หญงิ ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง กลุ่มอาย(ุ ป)ี (n=290) (n=286) (n=308) (n=310) (n=318) (n=329) (n=287) (n=296) (n=264) (n=281) (n=1,467) (n=1,502) 1-8 20.3 18.5 16.9 14.5 17.6 13.1 17.8 16.2 8.0 7.1 16.3 13.9 9-18 15.9 16.8 20.1 21.9 17.9 21.9 21.3 20.6 23.5 23.1 19.6 20.9 19-59 30.7 30.4 29.6 31.0 32.1 31.9 26.8 29.1 35.2 38.8 30.8 32.2 60 ปีข้นึ ไป 33.1 34.3 33.4 32.6 32.4 33.1 34.1 34.1 33.3 31.0 33.3 33.0 ศาสนา (n=290) (n=286) (n=308) (n=310) (n=317) (n=329) (n=287) (n=295) (n=262) (n=281) (n=1,464) (n=1,501) พทุ ธ 99.0 99.3 99.7 99.0 98.7 98.5 88.5 87.8 84.0 87.5 94.3 94.6 คริสต์ 1.0 0.7 0.3 0.7 1.0 1.5 0.0 0.3 1.5 1.1 0.8 0.9 อิสลาม 0.0 0.0 0.0 0.3 0.3 0.0 11.5 11.9 14.5 11.4 4.9 4.5 สถานภาพสมรส (≥15 ปี) (n=194) (n=191) (n=199) (n=201) (n=216) (n=223) (n=186) (n=195) (n=185) (n=199) (n=980) (n=1,009) โสด 10.8 11.0 15.6 13.9 15.3 9.9 15.1 13.9 14.6 13.6 14.3 12.4 สมรส 78.4 60.7 77.4 56.2 73.1 62.8 75.8 57.4 73.5 58.8 75.6 59.3 หมา้ ย/หยา่ /เลกิ 0.8 28.3 7.0 29.9 11.6 27.3 9.1 28.7 11.9 27.6 10.1 28.3 การศกึ ษาสามัญ (≥15 ปี) (n=194) (n=191) (n=201) (n=203) (n=217) (n=223) (n=189) (n=196) (n=189) (n=202) (n=990) (n=1,015) ไมเ่ คยเรยี น 3.6 7.3 3.5 7.4 0.5 6.3 3.2 11.2 2.1 7.9 2.5 8.0 ประถมศึกษาหรือนอ้ ยกว่า 69.1 72.3 59.2 69.0 65.4 67.7 60.9 58.7 47.1 53.5 60.5 64.2 มัธยมศึกษา 21.1 13.6 30.8 16.7 22.1 18.8 21.7 14.8 39.2 26.7 26.9 18.2 ปวส./อนุปรญิ ญา 1.6 1.0 3.0 2.0 1.9 4.0 4.2 3.6 2.6 4.5 2.6 3.1 ปริญญาตรแี ละสูงกวา่ 4.6 5.8 3.5 4.4 5.5 2.7 5.8 9.2 8.5 6.9 5.6 5.7 อ่นื ๆ 0.0 0.0 0.0 0.5 4.6 0.5 4.2 2.5 0.5 0.5 1.9 0.8

ตารางที่ 4.1 ร้อยละของกลุ่มตัวอยา่ งจำนวน 2,969 คน จำแนกตามภาคและลักษณะประชากร (ต่อ) ภาคเหนอื ภาคกลาง ภาคตะวันออก/เหนือ ภาคใต้ กทม. รวม ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญงิ ชาย หญิง รายงานการสำรวจการบริโภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสขุ ภาพประชาชนไทยโดยการตรวจรา่ งกายคร้งั ท่ี 4 พ.ศ. 2551-2552 33 ภาวะการมีงานทำในปัจจบุ นั (n=98) (n=93) (n=98) (n=101) (n=114) (n=114) (n=90) (n=95) (n=100) (n=115) (n=500) (n=518) (15-59 ปี) มีงานทำ 74.5 78.5 82.7 69.3 83.3 63.2 84.5 74.7 84.0 53.0 81.8 67.0 ว่างงาน 7.1 4.3 8.2 8.9 1.8 19.3 2.2 5.3 5.0 11.3 4.8 10.2 รอฤดูการทำงาน 9.2 1.1 2.0 0.0 2.6 8.8 0.0 0.0 1.0 0.0 3.0 2.1 ทำงานบ้าน 0.0 6.4 2.0 14.9 0.0 3.5 1.1 11.6 1.0 24.4 0.8 12.4 เรยี นหนังสือ 9.2 5.4 4.1 5.9 11.4 5.2 10.0 7.4 7.0 6.1 8.4 6.0 อ่นื ๆ 0.0 4.3 1.0 1.0 0.9 0.0 2.2 1.0 2.0 5.2 1.2 2.3 รายได้ (บาท/เดือน) (n=290) (n=286) (n=308) (n=310) (n=318) (n=329) (n=287) (n=296) (n=264) (n=281) (n=1,467) (n=1,502) ไม่เกนิ 999 7.2 7.3 1.9 3.9 6.6 7.6 4.5 6.8 2.6 1.8 4.6 5.5 1,000-4,999 40.0 45.5 18.8 27.4 40.2 41.0 23.0 34.1 14.4 29.2 27.7 35.5 5,000-9,999 22.8 17.5 34.7 26.1 25.5 19.5 28.6 25.7 23.9 22.1 27.2 22.2 10,000-24,999 16.2 12.6 23.4 19.0 13.8 17.0 30.3 18.2 30.3 19.2 22.5 17.2 25,000-49,999 4.5 4.9 4.6 4.2 4.7 2.8 3.8 4.4 9.5 6.7 5.3 4.5 ตัง้ แต่ 50,000 ขนึ้ ไป 2.8 1.0 3.6 1.0 1.3 1.5 1.8 2.7 3.4 3.2 2.5 1.9 ไม่ตอบ 6.5 11.2 13.0 18.4 7.9 10.6 8.0 8.1 15.9 17.8 10.2 13.2

34 รายงานการสำรวจการบรโิ ภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครง้ั ที่ 4 พ.ศ. 2551-2552 ในการสัมภาษณอ์ าหารบรโิ ภคยอ้ นหลงั 24 ช่วั โมง (ตารางท่ี 4.2) พบว่า สว่ นใหญ่ (4 ใน 5) ของกลุม่ ตวั อยา่ งใหข้ อ้ มลู ดว้ ยตนเอง และข้อมูลอาหารท่ีให้เปน็ อาหารทบ่ี รโิ ภคใน วนั ธรรมดา (รอ้ ยละ 69.6 ของเพศชาย และร้อยละ 71.0 ของเพศหญิง) มากกว่าวนั หยดุ หรือวันนักขตั ฤกษ์ โดยสว่ นใหญเ่ ปน็ อาหารท่ีบรโิ ภคตามปกติ (ร้อยละ 85.1 ของเพศชาย และ รอ้ ยละ 85.2 ของเพศหญงิ ) มเี พียงสว่ นน้อยที่เปน็ การบริโภคอาหารเนอื่ งในโอกาสพเิ ศษ เมื่อเปรียบเทียบขอ้ มูลของทง้ั ประเทศกับข้อมลู จำแนกตามภาคพบวา่ มีความสอดคล้องกัน ตารางท่ี 4.2 รอ้ ยละของกลุม่ ตวั อยา่ งจำนวน 2,969 คน จำแนกตามภาคและขอ้ มูลอาหารบรโิ ภค ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก/เหนอื ภาคใต ้ กทม. รวม ข้อมูลอาหารบรโิ ภค ชาย หญิง ชาย หญงิ ชาย หญงิ ชาย หญงิ ชาย หญิง ชาย หญิง ผ้ใู ห้ขอ้ มลู อาหารบรโิ ภค (n=290) (n=286) (n=308) (n=310) (n=318) (n=329) (n=287) (n=296) (n=264) (n=281) (n=1,467) (n=1,502) ตนเอง 71.0 74.1 74.0 81.0 80.5 83.0 77.3 79.4 90.5 89.0 78.5 81.3 มารดา 7.9 7.0 4.6 4.2 6.6 5.2 4.9 3.4 4.6 2.1 5.7 4.4 ผ้เู ล้ยี งด ู 30.7 30.4 29.6 31.0 32.1 31.9 26.8 29.1 35.2 38.8 30.8 32.2 missing 13.2 9.1 8.4 8.7 0.9 1.5 2.8 1.7 2.6 4.3 5.6 5.0 วนั ให้ขอ้ มลู อาหารบริโภค (n=290) (n=286) (n=308) (n=310) (n=318) (n=329) (n=287) (n=296) (n=264) (n=281) (n=1,467) (n=1,502) วันธรรมดา 67.6 71.0 72.4 71.9 74.2 74.2 76.0 80.4 56.1 56.2 69.6 71.0 วนั หยดุ /วันนกั ขตั ฤกษ์ 19.0 18.9 18.2 19.4 24.8 24.0 21.2 17.6 40.9 38.8 24.5 23.6 missing 13.4 10.1 9.4 8.7 1.0 1.8 2.8 2.0 3.0 5.0 5.9 5.4 ขอ้ มลู อาหารทใี่ ห้สมั ภาษณ์ (n=290) (n=286) (n=308) (n=310) (n=318) (n=329) (n=287) (n=296) (n=264) (n=281) (n=1,467) (n=1,502) กนิ ปกต ิ 78.3 78.7 72.7 74.5 91.8 92.1 89.2 87.5 94.3 93.3 85.1 85.2 กนิ ในโอกาสพิเศษ 5.2 5.9 16.2 15.2 6.3 5.2 5.2 7.8 2.7 2.1 7.3 7.3 missing 16.5 15.4 11.1 10.3 1.9 2.7 5.6 4.7 3.0 4.6 7.6 7.5

4.2 การได้รบั พลังงานและสารอาหารและการบริโภคอาหารกลุ่มต่างๆ ขอ้ มูลอาหารบริโภคท่ไี ด้จากการสัมภาษณอ์ าหารบริโภคทบทวนความจำยอ้ นหลงั 24 ชวั่ โมงถูกวิเคราะห์ เพ่ือประเมินปริมาณของการได้รับพลังงาน และสารอาหารของประชากรไทย เม่ือเปรียบเทียบกับปริมาณสาร อาหารอา้ งองิ ทคี่ วรไดร้ บั ประจำวนั สำหรบั คนไทย พ.ศ. 254611 รวมถงึ แบบแผนการบรโิ ภคอาหารกลมุ่ ตา่ งๆ โดย นำเสนอข้อมูลดงั กลา่ วจำแนกตามกลุ่มอายดุ งั ต่อไปน้ี 1. เดก็ อายุ 1-8 ป ี 2. วัยรนุ่ อายุ 9-18 ป ี 3. ผใู้ หญ่อายุ 19-59 ป ี 4. ผู้สูงอายุอายุ 60 ปีขึ้นไป 4.2.1 เด็กอายุ 1-8 ปี กล่มุ ตัวอยา่ งเด็กอายุ 1-8 ปที ศ่ี ึกษามีจำนวนท้งั หมด 448 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 15.0 ของกลุ่มตัวอย่าง ทง้ั หมด ประกอบดว้ ยเพศชายรอ้ ยละ 53.3 และเพศหญงิ รอ้ ยละ 46.7 เพอ่ื เปรยี บเทยี บผลการสำรวจกบั ปรมิ าณ สารอาหารอ้างอิงทีค่ วรได้รับประจำวันสำหรบั คนไทย พ.ศ. 254611 จงึ ไดจ้ ำแนกกลุม่ ตัวอยา่ งเด็กอายุ 1-8 ปี เปน็ 3 ชว่ งอายยุ อ่ ยดงั นี้ กลมุ่ อายยุ อ่ ย 1-3 ปี (รอ้ ยละ 27.7), 4-5 ปี (รอ้ ยละ 29.5), และ 6-8 ปี (รอ้ ยละ 42.8) พลังงานและสารอาหารที่ให้พลังงาน จากตารางที่ 4.3 พบว่า ค่ามัธยฐานพลังงานที่เด็กได้รับใน แต่ละวัยเพิ่มข้ึนตามกลุ่มอายุ และเม่ือเปรียบเทียบกับค่าอ้างอิง พบว่า มีค่ามัธยฐานร้อยละของปริมาณ พลังงานที่ควรได้รับประจำวันมากกว่าร้อยละ 80.0 สำหรับโปรตีน พบว่า บริโภคเกินกว่าค่าที่แนะนำไว้ โดยเฉพาะในกลมุ่ เด็กเลก็ อายุ 1-3 ปี (คา่ มัธยฐานเท่ากับร้อยละ 140.7-215.5 ของปรมิ าณโปรตนี ทค่ี วรได้รบั ประจำวัน และเด็กชายอายุ 4-5 ปี (ค่ามัธยฐานเทา่ กบั ร้อยละ 192.2 ของปรมิ าณโปรตนี ที่ควรได้รบั ประจำวัน) แหลง่ ของโปรตีนมาจากเนื้อสตั วเ์ ป็นส่วนใหญ่ และเพศชายบรโิ ภคคารโ์ บไฮเดรตและไขมันสงู กวา่ เพศหญิง การ กระจายของพลงั งานจากคารโ์ บไฮเดรต โปรตนี และไขมนั โดยจำแนกตามกลมุ่ อายุ พบวา่ สดั สว่ นของพลังงาน ทไ่ี ดจ้ ากไขมันอย่ใู นช่วงรอ้ ยละ 32-35 ซง่ึ อยใู่ นเกณฑ์ปกติ (รูปท่ี 4.1 และตารางท่ี ก 1 ในภาคผนวก ก) 100% คารโบไฮเดรต โปรตนี ไขมัน 90% 32.0 34.9 33.8 34.0 34.0 80% 34.7 16.2 15.4 15.4 14.2 14.9 51.9 49.7 50.7 51.8 51.0 70% ญ=55 คน ช=69 คน ญ=63 คน ช=101 คน ญ=91 คน 60% 15.7 50% 40% 30% 49.6 20% 10% 0% ช=69 คน 1-3 ป 4-5 ป 6-8 ป รปู ที่ 4.1 คา่ เฉลย่ี *รอ้ ยละของการกระจายพลังงานจากคาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน ที่ได้รบั จากการ บรโิ ภคอาหารใน 1 วัน ของกลุม่ ตัวอย่างเดก็ อายุ 1-8 ปี จำนวน 448 คน จำแนกตามกลุ่มอาย ุ *ข้อมูลรอ้ ยละของการกระจายพลังงานจากคาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมันมกี ารกระจายเปน็ โค้งปกติ (Normaldistribution) รายงานการสำรวจการบรโิ ภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสขุ ภาพประชาชนไทยโดยการตรวจรา่ งกายครง้ั ที่ 4 พ.ศ. 2551-2552 35

เกลอื แร่ พบวา่ กลมุ่ ตวั อยา่ งเดก็ อายุ 4-8 ปไี ดร้ บั แคลเซยี มในปรมิ าณทตี่ ำ่ คา่ มธั ยฐานของกลมุ่ ตวั อยา่ ง เทา่ กบั รอ้ ยละ 32.5-52.3 ของปรมิ าณแคลเซยี มทคี่ วรไดร้ บั ประจำวนั สำหรบั ธาตเุ หลก็ ไดร้ บั มากกวา่ รอ้ ยละ 80.0 ของปริมาณท่ีควรได้รับประจำวัน ยกเว้นในกลุ่มเด็กชายอายุ 6-8 ปี (ค่ามัธยฐานเท่ากับร้อยละ 77.8 ของ ปริมาณธาตุเหล็กที่ควรได้รับประจำวัน) การได้รับโซเดียมจากอาหารมีปริมาณสูงกว่าท่ีควรจะเป็น กล่าวคือ กล่มุ อายุ 1-3 ปี ไมค่ วรบรโิ ภคโซเดียมเกินกวา่ 1,500 มิลลกิ รมั ต่อวนั (IOM 2004 Dietary Reference Intakes)10 แต่จากผลสำรวจ พบวา่ คา่ มธั ยฐานโซเดียมทบี่ ริโภคเทา่ กับ 1,804.6 มิลลกิ รัมตอ่ วนั ในเดก็ ชาย ส่วนเด็กหญงิ อยใู่ นเกณฑ์ปกติ กลุ่มอายุ 4-8 ปี ไมค่ วรบริโภคโซเดยี มเกินกว่า 1,900 มลิ ลกิ รัมตอ่ วนั 10 แตจ่ าก ผลสำรวจ พบวา่ คา่ มัธยฐานโซเดียมทบี่ ริโภคเกินกวา่ คา่ ทก่ี ำหนดไวท้ งั้ เพศชายและหญงิ ยกเว้นกล่มุ เดก็ หญงิ อายุ 4-5 ปี ส่วนโปตสั เซียม พบวา่ บรโิ ภคนอ้ ยกว่าทคี่ วร เด็กอายุ 1-3, 4-5, และ 6-8 ปี ควรบริโภคโปตัสเซยี ม อยา่ งน้อย 1,175, 1,525, และ 1,625 มลิ ลกิ รัมต่อวันตามลำดับ11 แตค่ ่ามัธยฐานของโปตสั เซียมท่ีบริโภคอยู่ใน ช่วง 670.1-965.9 มลิ ลิกรมั ตอ่ วนั และมีค่าแปรผกผันกบั อายุดงั แสดงในตารางที่ 4.3 วติ ามนิ พบว่า มีเพยี งกลุม่ อายุ 1-3 ปี ไดร้ บั วติ ามินเอมากกว่ารอ้ ยละ 80.0 ของปรมิ าณที่แนะนำให้ บริโภคประจำวนั ขณะทีก่ ลมุ่ ตวั อยา่ งเด็กไทยอายุ 1-8 ปี ได้รับวิตามนิ บี 1 วติ ามนิ บี 2 และไนอาซิน มากกวา่ ร้อยละ 80.0 ของปริมาณที่แนะนำให้บริโภคประจำวัน ยกเว้นกลุ่มเด็กหญิงอายุ 4-5 ปี ซ่ึงได้รับไนอาซิน เท่ากับ ร้อยละ 72.8 ของปริมาณที่แนะนำให้บริโภคประจำวัน นอกจากน้ีพบว่า กลุ่มตัวอย่างเด็ก 1-8 ปี ยกเวน้ เดก็ หญิงอายุ 1-3 ปี บรโิ ภควิตามนิ ซีนอ้ ยเกินไป (คา่ มธั ยฐานเทา่ กบั รอ้ ยละ 27.3-65.8 ของปริมาณ วิตามินซีท่ีแนะนำใหบ้ รโิ ภค) ดงั แสดงในตารางที่ 4.3 คอเลสเตอรอลและใยอาหาร ปรมิ าณของคอเลสเตอรอลจากอาหารท่เี ดก็ บรโิ ภคใน 1 วนั พบวา่ อย่ใู นเกณฑป์ กติ คอื ไม่เกนิ 300 มิลลิกรัมตอ่ วนั สว่ นใยอาหารพบวา่ บริโภคนอ้ ยเกนิ ไปในทุกกลมุ่ อายุ นัน่ คือ คา่ มธั ยฐานของใยอาหารอยใู่ นช่วง 1.8–3.5 กรมั ต่อวันเทา่ นัน้ ในขณะท่ีเกณฑป์ กติเทา่ กับ 6-13 กรัมต่อวนั (คำนวณจาก จำนวนอายุ (ป)ี + 5)11 ดังแสดงในตารางท่ี 4.3 อาหารบรโิ ภคกลมุ่ ตา่ งๆ การสำรวจการบรโิ ภคอาหาร พบวา่ ในวนั ทส่ี ำรวจอาหารบรโิ ภครอ้ ยละ 99.6 ของกลุ่มตัวอย่างอายุ 1-8 ปบี รโิ ภคขา้ วแปง้ และผลติ ภณั ฑ์ (ตารางท่ี ข 1 ภาคผนวก ข) ปรมิ าณการบริโภคขา้ ว แปง้ และผลิตภณั ฑม์ ีคา่ มัธยฐานระหว่าง 129.0-231.5 กรมั ต่อวนั หรือ 2.2-3.9 ทัพพีตอ่ วนั โดยส่วนใหญเ่ ลือก บริโภคขา้ วแปง้ และผลิตภณั ฑ์ขัดสี สำหรับเนือ้ สตั วแ์ ละผลติ ภณั ฑ์ รอ้ ยละ 95.3 ของกลุ่มตัวอย่างเด็กอายุ 1-8 ปี บรโิ ภคเนือ้ สัตว์และผลิตภณั ฑ์ ด้วยคา่ มธั ยฐานในการบริโภคระหว่าง 40.0-90.0 กรมั ต่อวนั หรอื 2.7 ถึง 6.0 ช้อนกินขา้ วตอ่ วัน โดยบรโิ ภคสตั ว์บกมากกวา่ สตั วน์ ำ้ และรอ้ ยละ 62.5 ของกลุ่มตวั อยา่ งบริโภคไข่ โดยคา่ มธั ยฐานการบริโภคไขข่ องกลุ่มตวั อยา่ งเดก็ 1-8 ปอี ย่ใู นชว่ ง 25.0–50.0 กรมั ตอ่ วนั ซ่ึงเทียบเท่ากบั ไข่วันละ ½-1 ฟอง นอกจากน้ี พบว่า รอ้ ยละ 72.1 ของกลุ่มตัวอยา่ งบรโิ ภคนมและผลิตภณั ฑ์ คา่ มธั ยฐานการบริโภค ของกลุม่ ตวั อยา่ งเดก็ 1-8 ปรี ะหวา่ ง 16.7-251.1 กรัมต่อวันหรือ 0.1-1.3 แก้วต่อวัน ในส่วนของการบรโิ ภคผัก และผลไม้ พบวา่ รอ้ ยละ 83.7 และ 39.1 ของเด็กกลุม่ นบ้ี ริโภคผกั และผลไมใ้ นวันทีส่ ำรวจ และพบว่า ปรมิ าณ การบริโภคผักและผลไมข้ องกล่มุ ตัวอยา่ งเด็ก 1-8 ปี ตำ่ กวา่ ขอ้ แนะนำใหบ้ รโิ ภค สำหรบั น้ำมัน กะทิ ไขมนั และครีมชนิดตา่ งๆ และเครอ่ื งปรุงรส พบวา่ รอ้ ยละ 87.9 และ 96.2 ของกลุม่ ตวั อย่างอายุ 1-8 ปมี กี าร บรโิ ภคหมวดอาหารดงั กล่าวในวนั ทีส่ ำรวจตามลำดับ โดยคา่ มธั ยฐานการบรโิ ภคน้ำมนั กะทิ ไขมัน และครีม ชนดิ ต่างๆ ของกลุ่มตัวอยา่ งเด็กอายุ 1-8 ปอี ยู่ระหวา่ ง 8.2-21.5 กรมั ต่อวัน และเครือ่ งปรุงรสระหวา่ ง 15.0- 37.3 กรมั ต่อวนั ดังแสดงในตารางท่ี 4.4 และ 4.5 36 รายงานการสำรวจการบริโภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครงั้ ที่ 4 พ.ศ. 2551-2552


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook