Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1409000004_9786167105840

1409000004_9786167105840

Description: 1409000004_9786167105840

Search

Read the Text Version

จนีอเยราอื่ กงร� นกึ ถงึ ©ºÑºÂÍ´Â·Ø ¸ เย่ียมยุทธ ยอดขุนพล รลู ึกรจู รงิ เบ้อื งหลงั สามกก ·Í§á¶Á ¹Ò¶¨Òí ¹§

จีนอเยราอื่ กงร� นึกถึง ทองแถม นาถจา� นง

ทองแถม นาถจ�านง พมิ พค์ รง้ั ท่ี 2 ปรบั ปรุงใหม่ : ตุลาคม 2557 จดั พมิ พ์โดย : ส�านักพมิ พส์ ุขภาพใจ บริษทั ตถาตา พบั ลิเคชั่น จ�ากดั ประธานกรรมการบริหาร : บญั ชา เฉลิมชยั กจิ กรรมการผจู้ ดั การ : โชนรังสี เฉลมิ ชัยกจิ คณะทีป่ รกึ ษา : ถาวร สิกขโกศล, ประชา หตุ านุวัตร, ผอ่ งศรี ลอื พร้อมชยั , สงวนศรี ตรเี ทพประติมา ผู้จดั การสา� นักพิมพ์ : อลนี เฉลมิ ชัยกิจ บรรณาธิการบริหาร : วรุตม์ ทองเชือ้ บรรณาธกิ าร : ขวัญชยั สนั ติสขุ คงชยั เลขานุการคณะบรรณาธกิ าร : กนกพร ถ�้าโคนทอง ออกแบบปก : ณฐั พงษ์ ภาคแี พทย์ ศลิ ปกรรม : ประธี สนุ ทรธนศาสตร์ ฝา่ ยการตลาด : อัคคณฐั ชุมนุม, อรปราง อธหิ ิรญั วงศ์ ฝ่ายขาย : มนญั ชยา ศริ ิวงษ,์ อุดร ปัญญาชัย, นิธวิ ิทย์ วรสมภพพล ฝ่ายโรงพิมพ์ : ไพบลู ย์ ชาคริยานนท์ ข้อมูลทางบรรณานุกรมของส�านักหอสมุดแหง่ ชาติ ทองแถม นาถจ�านง. สามกก๊ ฉบับยอดยุทธ์.-- กรงุ เทพฯ : ตถาตา, 2557. 232 หน้า. 1. สามก๊ก--ตวั ละคร. 2. ตวั ละครและลักษณะนสิ ัยในวรรณคด.ี 3. วรรณคดจี ีน. 4. สามกก๊ --ประวัตแิ ละวิจารณ.์ I. ชอ่ื เรอ่ื ง. 895.13 ISBN 978-616-7105-84-0 พมิ พ์ที่ : ฝา่ ยโรงพมิ พ์ บริษัท ตถาตา พับลเิ คชนั่ จา� กดั โทรศพั ท์ 0-2415-6797 จดั จ�าหน่าย : สายส่งสขุ ภาพใจ บริษัท บคุ๊ ไทม์ จ�ากัด 214 ซ. พระรามท่ี 2 ซอย 38 ถ. พระราม 2 แขวงบางมด เขตจอมทอง กรุงเทพฯ 10150 โทรศพั ท์ 0-2415-2621, 0-2415-6507 โทรสาร 0-2416-7744 แนะน�าเพ่ิมเตมิ ตดิ ต่อ : [email protected] www.booktime.co.th, SukkhapabjaiPUB

ยอดยุทธ์เบือ้ งลึก ในการบัญชาการรบ ผู้ที่น�าพาให้กองทัพมุ่งไปสู่เป้าประสงค์ได้นั้น แน่นอนว่าไม่ พ้นผู้ท่ีเป็นขุนพล และขึ้นชื่อว่าขุนพล ก็ต้องเย่ียมเปี่ยมด้วยความยอดยุทธ์และกลอุบาย ซ่ึงความเยี่ยมยุทธ์และเปี่ยมด้วยกลอุบายน้ี เป็นสิ่งบ่งบอกได้ว่า กองทัพเหล่าน้ันจะเดิน ไปสู่ชัยชนะหรือพ่ายแพ้ โดยความยอดยุทย์เปรียบได้กับวิธีการ การด�าเนินการที่ช�่าชอง ช�านาญ และกลอุบายเปรียบได้กับการปรับประยุกต์ พลิกแพลงอันมีเทคนิค เคล็ดลับ แพรวพราว เฉกเช่นเดียวกัน ไม่ว่าการท�าสิ่งใด เราควรให้ตนเองเป็นเช่นขุนพล คือมีทั้ง ความเยี่ยมยุทธ์และเปี่ยมกลอุบาย ดังนี้เราก็จะมุ่งสู่เป้าประสงค์ของการท�าส่ิงน้ัน ๆ ได้ ส�าเร็จ สามก๊ก ฉบับยอดยุทธ์ เป็นด่ังพิชัยสงครามขนาดย่อม ท่ีท�าให้ผู้ที่สนใจใคร่อ่าน ใคร่รู้ในวรรณคดีเร่ืองเยี่ยมระดับโลกนี้ กลายเป็นขุนพลผู้ยอดยุทธ์ รอบรู้ในเบ้ืองลึก เบ้ืองหลังของขุนพลคนส�าคัญต่าง ๆ และเรื่องราวที่มิได้ปรากฏในฉบับนิยายท่ัวไป อาท ิ กว่าจะมาเปน็ วรรณคดีเรื่องสามก๊ก ให้รถู้ งึ เหตทุ ่ีเปน็ มาอย่างละเอียด หรือเร่ืองนา่ รอู้ ยา่ ง กวนอู-ผู้กลายเป็นเทวดา หรือ กวนอูไม่กินเต้าหู้ และแม้แต่ อุยเอ๋ียนนั้นเป็นกบฏจริง หรือ ใน พลิกคดีให้อุยเอี๋ยน ด้วยนักเขียนผู้สัมผัส คลุกคลีกับ สามก๊ก มานานนับ 10 ปี อย่างคุณ ทองแถม นาถจ�านง ท่ีพินิจ วิเคราะห์ ค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ หลาย ต�ารับต�ารา ครั้งนี้ เป็นช่วงเวลาอันดี ที่ ส�ำนักพิมพ์สุขภำพใจ น�าหนังสือ ขุนพลสามก๊ก ซ่ึง ขาดหายไปนานมาปรับปรุงใหม่ ทั้งเนื้อหาท่ีเพ่ิมมากข้ึน และภาพประกอบตัวละครลาย วาดอันเป็นเอกลักษณ์ของจิตรกรชาวจีน นาม เย่ียสยง (葉雄) จนมาเป็น สามก๊ก ฉบับยอดยุทธ์ ที่ท่านจะได้อ่านต่อไปนี้ ผู้ท่ีต้องการเป็นขุนพลผู้ยอดยุทธ์ในเรื่องราว และเปี่ยมกลอุบายในเบื้องลึก อัน มิได้ปรากฏเป็นเร่ืองท่ีรู้กันอยู่ทั่วไปในนิยาย เปิดมุมมองและโลกทัศน์ใหม่ของการอ่าน การรับรู้แล้วละก็ สามก๊ก ฉบับยอดยุทธ์ น้ี จึงไม่ควรมองข้ามอย่างย่ิง กระจ่ำงบัญชำศึก สุขภำพใจ

ค�ำ นำ�ผเู้ ขยี น หนังสือ สามก๊ก ฉบับยอดยุทธ์ เล่มน้ี ผมปรับปรุงขึ้นจากหนังสือเรื่อง ขุนพล สามก๊ก ซ่ึงส�านักพิมพ์สุขภาพใจ จัดพิมพ์ไว้นานมาแล้ว การจัดพิมพ์ครั้งใหม่นี้ ผม เพ่ิมเติมเน้ือหาขึ้นอีกมาก และเพื่อความเหมาะสมของ “ช่ือหนังสือ” กับ “เนื้อหา” ผมจึงเปล่ียนช่ือเป็น สามก๊ก ฉบับยอดยุทธ์ เรอ่ื งสามกก๊ นน้ั มเี สนห่ เ์ ปน็ อมตะ เพราะมเี รอ่ื งราวชวนคดิ หลายดา้ นหรอื หลาย มิติ ใครจะชื่นชอบ หรือเน้นน�าเสนอด้านใดด้านหน่ึงก็ได้ หรือจะเสนอหลาย ๆ ด้าน พร้อมกันก็ได้ นวัตกรรมท่ีต่อยอดจากเรื่องสามก๊กจึงมีไม่หมดสิ้น “ความเขา้ ใจ” หรือ “ภาพลักษณ”์ ของหนงั สือสามกก๊ ภาษาไทยในทัศนะของ คนไทยทั่ว ๆ ไป มองกันสามด้านหรือสามมิติ มิติที่หนึ่ง คือคว�มงดง�มของภ�ษ� ในภาษาจีน นิยายสามก๊ก–ซานกว๋อเหยี่ยนอี้ 《三國演義》 มีความ งดงามทางภาษามาก เปน็ วรรณคดีประเภทนยิ ายระดับแถวหน้า ถงึ แมค้ วามอลังการ ทางภาษาจะไมเ่ ปน็ ทห่ี นง่ึ แตก่ จ็ ดั อยใู่ นหา้ อนั ดบั แรกของยอดวรรณคดปี ระเภทนยิ าย ของจีน จุดนี้ยืนยันถึงพลังวรรณกรรม ! เป็นสุดยอดแห่งร้อยแก้วภาษาไทย ช่วงประวัติศาสตร์สามก๊กเป็น ฉบบั อนื่ ๆ ทแ่ี ตกลกู แตกหลานมา เพียงช่วงส้ัน ๆ การสงครามน้ัน ใน นับตั้งแต่ ฉบับวณิพก ของยาขอบ ฉบับ ประวัติศาสตร์ยุคอ่ืน ๆ ก็มีเรื่องราวท่ี นายทุน ของ “คึกฤทธ์ิ ปราโมช” และ ยิ่งใหญ่อีกมากมาย แต่เหตุใด คนทั่วโลก อ่ืน ๆ อีกนับร้อยส�านวน ล้วนได้รับการ รู้จักสงครามสามก๊กกันมากที่สุด ต้อนรับจากนักอ่านชาวไทย ตอบว่า เป็นเพราะพลังแห่ง เร่ืองจีนต่าง ๆ นานา ไม่มีเร่ืองใด วรรณกรรม จากหนังสือจากตัวอักษร ได้รับการต้อนรับเท่าแนวสามก๊ก น่ีเป็น นี่เอง เรื่องน่าอัศจรรย์อย่างหน่ึง ! ในภาษาไทย ฉบับแปลโดยการ อ�านวยการของเจ้าพระยาพระคลัง (หน)

มิติท่ีสอง คือส�มก๊กเป็น เป็นนิยายอิงประวัติศาสตร์ เน้น...เป็น ตำ�ร�พิชัยสงคร�ม นิยาย เป็นเรื่องแต่ง เรื่องน้ีนับเป็นภาพลักษณ์ของ ไม่ใช่จดหมายเหตุประวัติศาสตร์ หนังสือสามก๊ก เม่ือครั้งแรกแปลเป็น จริง ภาษาไทยในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จ คนแต้จิ๋วน้ัน ให้ความส�าคัญกับ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก การร่�าเรียนหนังสือของผู้ชาย ผู้ชายชาว แม้บานแผนกของหนังสือแปล แต้จิ๋วจะต้องต้ังใจอ่านต�าราเรียนระดับ เล่มน้ีจะสูญหายไป แต่ก็เข้าใจกันว่า คัมภีร์ต่าง ๆ เพื่อสอบซ่ิวไฉ ไต่ระดับข้ึน แปลหนังสือสามก๊ก หนังสือราชาธิราช ไปถึงระดับสอบจอหงวน ใครมามัวเสีย ให้ทหารไทยได้ศึกษา “พิชัยสงคราม” เวลาอ่านนิยาย ก็เหมือนไม่ต้ังใจเรียน เพราะวรรณคดีสองเล่มนี้มีเร่ืองกลอุบาย ย่ิงถ้าหลงใหลมาก ขนาดหมกมุ่น การศึกอยู่มาก อ่านแล้วอ่านอีก ก็คงจะเอาดีทางการ ภาพลักษณ์น้สี บื เนือ่ งมาจนถึงทุก สอบเข้ารับราชการไม่ได้ ท่านจงึ ว่า “อา่ น วันนี้ ผมเข้าใจว่า ยังมีคนไทยจ�านวนมาก สามก๊กสามจบ คบไม่ได้” มองหนังสือสามก๊กว่าเป็นเร่ืองท่ีเต็มไป มิใช่หมายถึงว่าอ่านแล้วจะเจ้า ด้วยเล่ห์กะเท่ห์ กลอุบายในทางการเมือง เล่ห์แสนกลหรอก และการสงคราม ใครอ่านสามก๊กมาก อย่างไรก็ตาม เพราะนิยายเร่ืองน้ี ก็จะฉลาดเจ้าเล่ห์แสนกล อ่านสนุก อ่านง่าย (เมื่อเทียบกับ ภาพลักษณ์น้ีถูกตอกย�้าด้วย จดหมายเหตุประวัติศาสตร์ฉบับจริง) ภาษิตที่ว่า “ใครอ่านสามก๊กสามจบ คบ และก็มีคติเตือนใจมากมาย มีบทบาท ไม่ได้” ของตัวละครมากมายท่ีให้บทเรียนใน วา่ กนั วา่ ภาษติ นเี้ ปน็ ภาษติ จากจนี ทางการบริหารได้ ในยุคการต่อสู้ทาง แต่ผมค้นหาต้นตอภาษาจีนไม่พบ ธุรกิจทุนนิยม ผู้คนก็ยังใช้ประโยชน์จาก ได้ปรึกษาขอความรู้จากอาจารย์ เร่ืองสามก๊กมาเป็นข้อสอนใจทางการ ถาวร สิกขโกศล ท่านว่าเป็นสุภาษิตของ บริหารได้มาก ความนิยมนี้เร่ิมต้นในกลุ่ม ชาวแต้จิ๋ว นักธุรกิจชาวญ่ีปุ่นก่อน ต่อมาขยายไป ท�าไมจึงดูหม่ินคนที่อ่านสามก๊ก ท่ัวเอเชีย มาก ๆ หลาย ๆ จบ ส�าหรับในเมืองไทย ผมต้องสร้าง ท่านผู้อ่านต้องทราบก่อนนะครับ วาทกรรมข้ึนมาสู้กับภาษิต “อ่านสามก๊ก ว่า สามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลังนั้น สามจบ คบไม่ได้” ก็เลยเกิดภาษิตจีน

แปลง (คือไทยท�าปลอม) ขึ้นว่า “ยังมิได้ สามก๊ก” อ่านสามก๊ก อย่าพึงคิดการใหญ่” หลัง แต่ผมก็ท�าใจได้ เพราะวรรณคดี จากนนั้ แนว “หนงั สอื สามกก๊ เกยี่ วกบั การ เร่ือง สามก๊ก นั้นลึกซ้ึงจริง ส่วนความคิด บริหาร” ก็ได้รับความนิยมสืบเนื่องมา เห็นส่วนตัวของผมนั้น แค่ธรรมดา ๆ ไม่ จนถึงทุกวันนี้ ได้ลึกซึ้งอะไร เป็นความคิดเห็นของคน ธรรมดาคนหนึ่งเท่าน้ัน มิติท่ีส�ม คือธรรมะจ�ก ข้อมูลอะไรต่าง ๆ นานาเก่ียวกับ ส�มก๊ก เรอ่ื งสามกก๊ สว่ นใหญผ่ มอา่ นจากหนังสอื ประเด็นน้ีก็คงต้อง “โม้” กันอีก ภาษาจีน ทัศนะ ข้อคิดเห็น ข้อวิจารณ์ กล่าวคือหลังจากผมจมอยู่กับสามก๊กใน สว่ นใหญก่ จ็ า� มาจากนกั คดิ นกั เขยี นจนี รนุ่ สองมติ ขิ า้ งตน้ หลายป ี ผมเรมิ่ เบอื่ มนั แลว้ ก่อน ๆ มองมันในอีกจุดยืน คราวนี้ผมกลับเห็น ก็อย่างท่ีภาษิตจีนเขาสอนไว้ว่า ว่า หนังสือสามก๊กคือหนังสือสอนธรรมะ “บทความ (文章) น่ะเหรอ (มัน) ก็ลอก สอนอนิจลักษณ์อย่างดีทีเดียว (เลียน) กันมาพันปีแล้ว”... การต่อสู้ช่วงชิงอ�านาจ เป็นด้าน ในเร่ือง ปรัชญาความคิด บท ตรงข้ามของความสงบสุข ความเพียงพอ ประพันธ์แสดงแนวคิดต่าง ๆ มันไม่มี ต�าแหน่งยศศักดิ์ล้วนไม่เที่ยงแท้ อะไรท่ีใหม่สดสมบูรณ์ เป็นความคิด ลาภและสรรเสริญแลกมาด้วย สร้างสรรค์ริเร่ิมของคนใดคนหน่ึง ทุกข์ของผู้อ่ืนและทุกข์ของตนเอง แล้ว คนเดียว เหมือนว่า ‘ข้าคิดได้เป็นคนแรก สุดท้ายตนเองก็จะถูกท�าลายด้วยลาภ ในโลก ไม่เคยมีใครคิดหรือเขียนอย่างนี้ และสรรเสริญนั้นเอง มาก่อน’ นี่คือสามก๊กสามมิติของผม มันไม่มีเรื่องอย่างนั้นหรอก วรรณคดเี รอ่ื งสามกก๊ เปน็ วรรณคดี คร้ังหน่ึงนานมาแล้ว (พ.ศ. 2547) ชิ้นเย่ียมช้ินหน่ึงของจีนเขา นักวิชาการ ผมได้รับเชิญไปแลกเปลี่ยนข้อมูลและ นักเขียนชาวจีนศึกษาวิจัย เขียนวิจารณ์ ความคิดเห็นเก่ียวกับวรรณคดีเรื่อง เขียนรายงาน ผลการศึกษาไว้มากมาย สามก๊กกับอาจารย์ภาษาไทยท่ีคณะ มหาศาล ศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ์ แบบว่ามีเขียนไว้แล้วแทบจะทุก ชื่อหัวข้อน้ันออกจะน่ากลัว (ส�าหรับผม) มุมมอง คอื “บรู ณาการความคดิ เหน็ อนั ลกึ ซง้ึ จาก

แตอ่ ยา่ งไรกต็ าม ขอ้ เขยี นเกย่ี วกบั มั่นถือม่ันท�าให้เกิดความต้องการทะยาน เร่ืองสามก๊กของชาวจีนแผ่นดินใหญ่ ที่ใช้ อยาก มุมมองทางด้านปรัชญาศาสนาเป็นพื้น สามก๊ก เต็มไปด้วยเรื่องของ ฐานในการวิจารณ์นั้น ไม่ค่อยมีปรากฏ สงคราม การแย่งชิงอ�านาจการเมือง ท้ังนี้เพราะว่ามีอยู่ช่วงหนึ่งท่ีพรรค ดู เ ห มื อ น จ ะ ส อ น ค น ใ ห ้ ใช ้ คอมมิวนิสต์จีนเขาไม่สนับสนุนกิจกรรม เล่ห์เหล่ียมท�าลายล้างกัน ด้านศาสนา แตอ่ า่ นใหจ้ บเถดิ จะเหน็ วา่ ไอก้ าร การวิจารณ์กันถึง “แก่นแนวคิด ต่อสู้กันเพื่ออ�านาจการเมือง ฆ่าฟันกันไป หลัก” ของนิยายสามก๊ก มีผู้เสนอไว้ มโหฬาร แต่สุดท้ายก็ไม่มีใครหรือตระกูล ม า ก ม า ย ผ ม ร ว บ ร ว ม หั ว ข ้ อ จ า ก ใดได้ครองอ�านาจแท้จริง สารานกุ รมนยิ ายสามกก๊ ไดป้ ระมาณ 13 อันที่จริง บทกวี “น�าเรื่อง” และ หัวข้อ แต่ผมก็ยังไม่พอใจเพียงแค่นั้น “สรุปท้ายเรื่อง” ของวรรณคดีสามก๊ก เพราะผมย่ิงอ่านหลายเท่ียวมาก ฉบับภาษาจีน ได้ชี้นัยให้ผู้อ่านคิดตามใน ข้ึน ผมยิ่ง “ปลง” ย่ิงซาบซ้ึงกับสัจธรรม แนวน้ันอยู่แล้ว ที่พระพุทธเจ้าทรงชี้ว่า ทุกสรรพส่ิงเป็น เพียงแต่ในฉบับภาษาไทยของ อนิจลักษณ์ ทุกอย่างไม่จีรังย่ังยืน การยึด เจ้าพระยาพระคลัง (หน) ไม่ได้แปล ไว้ บทกวีน�าเรื่องมีดังนี้ ๐ น้ำ�แยงซีรี่ไหลสู่บูรพ� คลื่นพัดกว�ดพ�วีรชนพ้นลับห�ย ถูกผิดแพ้ชนะวัฏจักรเวียนว่�งด�ย สิขรยังคงตะวันยังฉ�ยน�นเท่�น�น เก�ะกล�งชลคนตัดฟืนผมข�วเฒ่�ห�ปล� ส�รทวสันต์เห็นม�เหลือหล�ยที่กร�ยผ่�น สังสรรค์สุร�ป้�นใหญ่ให้ตำ�น�น เก่�เก่�ใหม่ใหม่สรวลสร�ญเล่�กันม� ๐

ส่วนบทกวีสรุปท้ายเร่ืองเฉพาะวรรคท้าย ๆ (เพราะบทกวีทั้งบทยาวมาก) มีดังนี้ ๐ เล่�เสี้ยน โจฮวน ซุนโฮ ส้ินดินแดน เป็นเจ้�ไร้แผ่นดินสิ้นศักด� อ�นลกก๋ง ตันลิวอ๋อง อุยเบ้งเฮ� วงศ์ว�นเช้ือเจ้�ม�ส้ินท่� โลกน้ีมีเร่ืองร�วม�กน�น� ชะต�ฟ้�กำ�หนดไว้ไม่เหหัน ข�กระถ�งแบ่งส�มสิ้นกันที ท้ังหล�ยน้ีมอดมล�ยกล�ยเป็นฝัน ชนรุ่นหลังพิเคร�ะห์เห็นเป็นสำ�คัญ ทุกสิ่งสรรพ “สูญเปล่�” จงเข้�ใจ ๐ สูญเปล่าทุกอย่าง... ต้นฉบับภาษาจีนน้ันแปลตรงตัวว่า ท่านจะว่าเป็นปรัชญาพุทธหรือเต๋า “สรรพส่ิงรวมสมานมานานก็แตกแยก ก็ได้ ขอแต่ให้นึกถึงว่า ทุกสรรพส่ิงล้วน แตกแยกกันนานแล้วก็รวมสมาน” วา่ งเปลา่ ยดึ ครองถอื มนั่ ไวไ้ มไ่ ด ้ ไมไ่ ดจ้ รงิ ๆ ความเป็นอนิจจังนี้ จะเกิดต่อไปใน แม้แต่กายของท่าน ! ทุกสังคม จีน-ไทย หรือที่อื่น ๆ ยังมีปรัชญาท่ีบอกชัดถึงความ ประเทศไทยนั้น รวมสมานกันมา อนิจจังอีกชิ้นหนึ่ง คือหลังจากบทกวีน�า นานแล้วก็แตกแยก แตกแยกกันแล้วก็รวม เรื่องแล้ว เน้ือความร้อยแก้วก็ข้ึนต้น สมาน... ประโยคแรกว่า ถ้าเข้าถึงปรัชญาข้อนี้แล้ว เราจะ “เดิมแผ่นดินเมืองจีนท้ังปวงน้ัน ทุกข์น้อยลงครับ เปน็ สขุ มาชา้ นานแลว้ กเ็ ปน็ ศกึ ครน้ั ศกึ สงบ แล้วก็เป็นสุข...” คำรวะธรรม ทองแถม นำถจ�ำนง สิงหาคม 2557

คำ�น�ำ ขุนพลส�มก๊ก เรือ่ งสามก๊กยังมีเสน่ห์เสมอ “สามก๊กวิจักขณ์” คงมีออกติดตามมาเป็น ผมเขียน แปล และเป็นบรรณาธิการ ชุด ถ้าท่านผู้อ่านเมตตาให้ความสนับสนุน จัดท�าหนังสือเกี่ยวกับเร่ืองสามก๊กไว้หลาย ข้อมูลหลัก ๆ ท่ีใช้น�ามาเขียน ขุนพล แนว เช่น แนวพิชัยสงคราม แนวการบริหาร สามก๊ก มาจากหนังสือ ซานกว๋อจวื้อ นิทานพื้นบ้าน ชีวประวัติของบุคคลสามก๊ก (จดหมายเหตปุ ระวตั ศิ าสตรส์ ามกก๊ ) ซานกวอ๋ บทภาพยนตร์โทรทัศน ์ การต์ ูนสามก๊ก ตรวจ เหยี่ยนอ้ีฉือเตี่ยน (สารานุกรมนิยายอิง แก้ต้นฉบับการแปลสามก๊กฉบับคลาสสิก ประวัติศาสตร์สามก๊ก 三國演義辭 และฉบับวิจารณ์ เป็นต้น 典) ส�านักพิมพ์ ปาสู่ซูเซ่อ (巴蜀書社) แต่เรื่องเกี่ยวกับสามก๊กก็ยังมีอีก และหนังสือ เจวินเจ่ียซานกว๋อจ้งเหิงถาน หลายแนวที่ควรจัดท�าเป็นเล่มออกมาเช่น (คุยเฟื่องเร่ืองสามก๊กจริงเท็จ 真假三 ส า ร า นุ ก ร ม ส า ม ก ๊ ก จ ด ห ม า ย เ ห ตุ 國縱橫談) เขียนโดยคุณหลิวอี้เซิง ประวัติศาสตร์สามก๊ก (สามก๊กจ่ี) ซึ่งผม (劉逸生) สา� นกั พมิ พ ์ จงฮวา๋ ซจู ว ี๋ (中華 ก�าลังแปลอยู่ 書局) จัดพิมพ์ เร่ือง ขุนพลสามก๊ก เล่มนี้ ผมเขียน อน่ึง เหตุที่ ขุนพลสามก๊ก เล่มนี้มี ลงเป็นตอน ๆ ใน สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ มี เร่ืองของกวนอูมากกว่าตัวละครตัวอ่ืน จุดมุ่งหมายหลักเพ่ือท่ีจะแก้ความเข้าใจผิด เนื่องจาก “กวนอู” เป็นตัวละครท่ี “โด่งดัง” ต่าง ๆ ในเรื่องสามก๊ก เผยแพร่ข้อเท็จจริงให้ และมีภาพลักษณ์ดี นับว่าเป็นตัวละครที่ เหน็ กนั วา่ วรรณคดเี รอ่ื งสามกก๊ พฒั นาขน้ึ มา ประสบความส�าเร็จในสังคมมากที่สุด จน อยา่ งไร และเนอ้ื หาในฉบับนยิ ายนัน้ ปนั้ แต่ง กระทง่ั กลายเปน็ “เทพเจา้ ” มผี คู้ นกราบไหว้ ให้แตกต่างไปจากประวัติศาสตร์จริงอย่างไร มากมาย ตัวละครในนิยายสามก๊กมีประมาณ ขุนพลสามก๊ก เล่มน้ีน�าเสนอข้อมูล เกือบหน่ึงพันสองร้อยคน เรื่องท่ีหยิบยกมา ใหม่ อันเปิดโลกทรรศน์วิพากษ์วิจารณ์ที่ เล่าในหนังสือเล่มน้ี ยังเป็นเพียงส่วนน้อย กว้างขวางข้ึน แฟนสามก๊กทุกท่านจึงไม่ควร เป็นเพียงหยดหนึ่งของน้�าทะเล เป็นเพียง พลาด ใบไม้หน่ึงใบในป่าใหญ่ ยังมีเร่ืองที่ต้องแก้ ความเข้าใจผิดกันมาก ดังน้ันหนังสือชุด ดว้ ยจติ คำรวะ ทองแถม นำถจ�ำนง

ส�รบญั เหตุแห่งสามก๊ก ............................................................................................ 12 กว่าจะมาเป็นวรรณคดีเรื่องสามก๊ก ............................................................... 22 สามก๊ก-มุมมองใหม่ ...................................................................................... 29 ค�าน�า (ปลอม) ของกิมเสียถ่าง ...................................................................... 39 สอบแปลสามก๊ก ........................................................................................... 44 สามก๊กเป็นอมตะเพราะนวัตกรรม ................................................................ 58 กระแสนิยมเรื่อง สามก๊ก ที่เป็นมา ................................................................ 63 เล่าปี่ในนิยาย ............................................................................................... 66 ห้าทหารเสือ ................................................................................................. 73 กวนอู-ผู้กลายเป็นเทวดา .............................................................................. 76 ต�านานความเป็นมาของกวนอู............................................................ 79 ผู้หญิงของกวนอู ................................................................................ 83 ฉายาของกวนอู .................................................................................. 87 เรื่องปั้นแต่ง ....................................................................................... 90 ความผิดพลาดของกวนอู .................................................................... 93 กวนอูได้เป็น \"ไฉเสิน-ทรัพยเทพ\" .................................................................. 98 กวนอูไม่กินเต้าหู้ ........................................................................................ 104 ยอดชายชื่อเตียวหุย .................................................................................... 107 จูล่ง...ขุนพลคู่บารมีอาเต๊า .......................................................................... 111 ฮองตง-ขุนพลชรา ....................................................................................... 118 ม้าเฉียว-ขุนพลอาภัพ .................................................................................. 123 กวนหิน เตียวเปา เรื่องโม้ของหลัวก้วนจง ................................................... 131

พลิกคดีให้อุยเอี๋ยน ..................................................................................... 135 อองเป๋ง-ขุนพลผู้ไม่รู้หนังสือ ....................................................................... 141 จูกัดเหลียง-ขงเบ้ง มหาเสนาบดีแคว้นจ๊ก ................................................... 148 คนแซ่ \"จูกัด\" ในสามก๊ก .............................................................................. 152 โจโฉปฏิวัติ .................................................................................................. 159 เตียวเลี้ยว : ทหารเสือของโจโฉ .................................................................. 163 ซุนฮก ......................................................................................................... 166 ซุนฮิว ......................................................................................................... 172 ซุนเซ็ก ผู้แข็งขืนฝืนใจสู้จิตนิยม .................................................................. 178 ซุนกวน-ใช้จุดเด่น ไม่เน้นจุดด้อย ................................................................ 181 โลซก .......................................................................................................... 184 ลกซุน ......................................................................................................... 195 สงครามข่าวสาร ......................................................................................... 200 ปราชญ์กับรูปลักษณ์ .................................................................................. 202 ทายปัญหาสามก๊ก ...................................................................................... 205 นักกวีกับสามก๊ก ......................................................................................... 210 ค�ากวีสรุปท้ายเรื่องสามก๊ก.......................................................................... 215 ภาคผนวก .................................................................................................. 221 เหตุการณ์ส�าคัญในสามก๊ก ............................................................... 221 แผนผังการตั้งตัวเป็นใหญ่ และรวมตัวกันของขุนศึกเมืองต่าง ๆ ................................................ 224

เหตแุ หง่ ส�มก๊ก พระเจ้าเหี้ยนเต้ 1. กษัตริย์อ่อนแอ ขุนน�งเสื่อมทร�ม “แลเม่ือพระเจ้าเลนเต้เสวยราชย์นั้น มิได้ต้ัง อยู่ในโบราณราชประเพณี แลมิได้คบหาคนสัตย์ ธรรม เช่ือถือแต่คนอันเป็นอาสัตย์ ประพฤติแต่ตาม อ�าเภอใจแห่งพระองค์ เสียราชประเพณีไป” 12

หลังจากเล่าปัง (劉邦 หลิวปัง) ปราบดาภิเษกเป็นฮั่นโกโจฮ่องเต้ (漢高 เห ุตแห่งส�มก๊ก 祖) สืบราชสมบัติราชวงศ์ฮ่ันมาได้สามร้อยปีกว่า การเมืองการปกครองภายใต้ฝีมือ คัดท้ายของราชวงศ์ฮั่นเริ่มส่ายเอนเอียงเสื่อมทรามลงเป็นล�าดับ ยุคท่ีเป็นจุดอับปาง ของรัฐนาวาฮั่นก็คือรัชกาลพระเจ้าเลนเต้ (漢靈帝 ฮั่นหลิงตี้) พ.ศ. 711-732 ในรัชกาลน้ีประดาขุนนางนานาต่าง “ถือราษฎรด่ังหน่ึงอริราชศัตรู ขูดรีดภาษี อากรโหดร้ายยิ่งกว่าเสือ” ขุนนางฮ่ันขูดรีดราษฎรด่ังหนึ่ง อย่างโจ๋งครึ่ม โดยตั้งเป็นข้อก�าหนดไว้ว่า ราษฎรเป็นศัตรูคู่อาฆาต สาเหตุมัน ขุนนางระดับใดต้องส่งเงินถวายฮ่องเต้ปี ย่อมมี เรื่องฉ้อราษฎร์บังหลวงโกงชาติ ละเท่าไหร่ ๆ ใครมีเงินก็ได้เป็นขุนนาง โกงประชาชนนั้นท่ีไหน ๆ ยุคใด ๆ ก็มี หากไม่มีเงินสดจะใช้วิธีผ่อนส่งพร้อม แต่จะหนักหนาสาหัสปานใด น่ันข้ึนอยู่ ดอกเบี้ย ฮ่องเต้ก็ยินดี... เป็นขุนนางเสีย กับปัจจัยเอื้ออ�านวยอื่น ๆ ก่อนแล้วก็ผ่อนสบาย ๆ ใครอยากเป็น ปจั จยั ตวั เรง่ ปฏกิ ริ ยิ าวบิ ตั ฉิ บิ หาย ขุนนางส่วนกลางระดับ “กง” ต้องจ่าย ของราชวงศ์ฮั่นท่ีส�าคัญคือเร่ืองของ ฮ่องเต้ห้าแสนต�าลึง ระดับ “หล่ิว” ต้อง “ฝ่ายใน” จ่ายหน่ึงล้านต�าลึง แต่ถ้าต้องการ ในช่วงปลายราชวงศ์ตงฮั่น (ฮั่น ต�าแหน่งผู้ส�าเร็จราชการประจ�าหัวเมือง ตะวนั ออก) ฮอ่ งเตส้ ว่ นใหญข่ นึ้ นง่ั บลั ลงั ก์ ต่าง ๆ ต้องจ่ายถึงสองล้านต�าลึง ตั้งแต่ยังเยาว์ อ�านาจที่แท้จริงจึงตกอยู่ ไฉนตา� แหนง่ ขนุ นางหวั เมอื งราคา ในมือของคนสองกลุ่ม กลุ่มหนึ่งคือญาติ แพงกว่าขุนนางส่วนกลางเล่า พี่น้องของไทเฮาและฮองเฮา อีกกลุ่มคือ นี่ที่แท้บ่งบอกว่าขุนนางหัวเมือง พวกขันที คนสองกลุ่มน้ีแหละคือตัว นั้นสูบเลือดเชือดเน้ือราษฎรบ้านนอกได้ ท�าลายระบอบขุนนางของราชวงศ์ฮั่น เต็มคราบสะดวกสบายปลอดภัยไร้กังวล ขนุ นางตงฉนิ ถกู กา� จดั ออกไปจนรอ่ ยหรอ กว่าอยู่ในเมืองหลวง เกือบสูญพันธุ์ ที่เดินกร่างเชิดคอ ยโสว่า จดหมายเหตุจีนถึงได้บันทึกไว้ว่า ข้ามั่งมีศรีสุข ส่วนใหญ่คือพวกกังฉิน “ขุนนางถือราษฎรดั่งหนึ่งอริราชศัตรู กเฬวราก ขูดรีดภาษีอากรโหดร้ายยิ่งกว่าเสือ” ในรชั กาลพระเจา้ เลนเต ้ การเมอื ง ขุนนางหัวเมืองสกปรกปานน ี้ การปกครองเสื่อมทรามลงถึงขั้นพระเจ้า แล้วคนท่ีเฝ้าแหนใกล้ชิดพระเจ้าเลนเต้ เลนเต้ให้เปิดซื้อ-ขายต�าแหน่งขุนนางกัน เลวทรามต�่าช้าปานใดยิ่งไม่ต้องพูดถึง 13

ส�มก๊กฉ ับบยอดยุทธ์ อย่างโฮจ๋ิน (何進 เหอจิ้น) พ่ีชายนาง ตอนท่ีเตาบู (竇武 โต้วอู่) ตันผวน (陳 โฮเฮา (何皇后 เหอหวางโฮ่ว) มเหสี 蕃 เฉินฝาน) ถูกขันทีทั้งสิบฆ่า (บทท่ี 1) พระเจ้าเลนเต้ ไม่มีส่ิงเลวร้ายใดบ้างที่ เพราะความเน่าเฟะภายในราช ไม่ท�า ทั้งแย่งยึดที่ดินบ้านช่องของ ส�านักและวงขุนนางเลวร้ายสุดเยียวยา ชาวบ้าน ตั้งกองโจรคอยดักปล้นคน เช่นนี้เอง ราษฎรจึงกลายเป็นกบฏ เหล่า เดนิ ทาง ตงั้ กองโจรขดุ ขโมยสสุ านโบราณ ชาวนาสานุศิษย์ของเตียวก๊ก (張角 กวาดทรัพย์สินมีค่าในสุสานไปเป็นของ จางเจ่ียว)...ผีบุญจับอาวุธลุกข้ึนสู้ใน ตน สว่ นพวกขนั ทที งั้ สบิ นนั้ เลา่ คนเหลา่ น้ี พ.ศ. 727 แสวงสินบนลาภสักการะก้าวก่ายการ ชาวนากบฏผูกผ้าสีเหลืองเป็น บรหิ ารของข้าราชการประจ�า สรา้ งความ เครอ่ื งหมายจงึ ถกู ขนานนามวา่ “โจรโพก ไม่พอใจแก่ขุนนางใหญ่น้อยเป็นที่ยิ่ง ผ้าเหลือง” ความไม่พอใจของขุนนางฝ่าย กบฏชาวนาคร้ังนี้ก่อให้แผ่นดิน ตงฉินรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ มีเสียงวิพากษ์ เป็นจลาจลไปท่ัว นับเป็นจุดต้ังต้นชักน�า วิจารณ์การเมืองเรียกร้องให้ปรับปรุง ประเทศให้แบ่งแยกเป็นสามก๊ก ระบบบริหารเสียใหม่ ซุบซิบแพร่หลาย มากข้ึน ผู้น�าในการเรียกร้องคร้ังน้ีคือ 2. ก�รก่อตัวของสภ�วะ บรรดาอาจารย์และนักศึกษาในส�านัก แบ่งส�มก๊ก ราชบัณฑิตน่ันเอง 2.1 สงคร�มขุนศึก แตก่ ล่มุ ขันทีท้ังสบิ วอ่ งไวร้ายกาจ ภายหลังจากถูกโจมตีรุนแรงด้วย พวกมันอาศัยความใกล้ชิดแวดล้อม การลุกสู้ของชาวนากลุ่ม “ผ้าเหลือง” ฮ่องเต้ ชิงลงมืองกวาดล้างกลุ่มต่อต้าน ศูนย์กลางอ�านาจของราชส�านักตงฮ่ัน จับเข้าคุกเสียก่อน ขุนนางบางรายถูก อ่อนแอลงมาก ในช่วงการปราบปราม ตัดสินประหาร บางรายถูกถอดยศห้าม “การลุกข้ึนสู้กลุ่มผ้าเหลือง” ข้าหลวง กลับเข้ารับราชการอีกตลอดชีวิต เมืองระดับต่าง ๆ รวมท้ังกลุ่มอิทธิพลใน เหตุการณ์คร้ังนี้เป็นกรณีอ้ือฉาวใน ท้องถิ่นได้ขยายอ�านาจอิทธิพลขึ้นมาก ประวัติศาสตร์จีนอีกกรณีหนึ่ง บันทึก พวกเขาต่างมีกองก�าลังอาวุธ จึงเกิด จดหมายเหตุประวัติศาสตร์เรียกว่า กรณ ี สภาวการณ์กึ่งแตกแยกข้ึนแล้ว “ต่ังกู้” (黨錮) แต่เรื่องน้ีนิยายสามก๊ก ค.ศ. 188 ราชส�านักตงฮ่ัน ปรับ ของหลวั กว้ นจงกลา่ วไวเ้ พยี งนดิ เดยี ว คอื ต�าแหน่งและอ�านาจของขุนนางระดับ 14

จังหวัด ในจังหวัดท่ีส�าคัญ ๆ เปล่ียนจาก ทว่าขุนศกึ ตัง๋ โตะ๊ ผู้ทะเยอทะยาน เห ุตแห่งส�มก๊ก ยศ “ช่ือส่ือ” (刺史) เป็นยศ “โจวมู่” และมีกองทัพใหญ่ในมือเข้าสู่ราชธานี (州牧) ใหก้ มุ อา� นาจทง้ั สองดา้ นพรอ้ มกนั ลกเอี๋ยง (洛陽 ล่ัวหยาง) พอดี ตัง๋ โต๊ะ คือด้านการปกครอง (มหาดไทย) และ เขา้ กมุ อา� นาจ ปลดฮอ่ งเต-้ เลา่ เปยี น (劉辯 ด้านทหาร (กลาโหม) แล้วคัดเลือก หลวิ เปย้ี น) ตง้ั เลา่ เหยี บ (劉協 หลวิ เสยี ) ขุนนางที่มีชื่อเสียงเด่น ๆ ไปรับต�าแหน่ง เปน็ “ฮน่ั เหย้ี นเต”้ (漢獻帝 ฮน่ั เซยี่ นต)ี้ เร่ืองนี้ท�าให้อิทธิพลของขุนนางท้องถ่ิน ตงั้ ตวั เองเปน็ อคั รมหาเสนาบด ี กมุ อา� นาจ ยิ่งเพ่ิมมากขึ้นอีก ภายใต้สภาพเช่นน้ี ศนู ยก์ ลางไดห้ มด ราชสา� นกั ตงฮนั่ คงเหลอื สถานการณ์ท่ีโน้มเอียงไปในทางท่ีขุนศึก แต่ชื่อ แต่ฐานะจริงหมดสิ้นแล้ว ท้องถ่ินต่าง ๆ จะรบพุ่งชิงอ�านาจกันจึง ค.ศ. 190 ข้าหลวงจังหวัดต่าง ๆ หลีกเลี่ยงได้ยาก หมายมุ่งขยายอ�านาจแย่งชิงพื้นที่กัน จึง หลังจาก “การลุกข้ึนสู้กลุ่ม ต่างขยายกองทัพ ผ้าเหลือง” ถูกปราบลงไม่นาน อันตราย โดยอ้างว่าจะปราบปรามต๋ังโต๊ะ จากการกดดันจากภายนอกลดทอนลง เนื่องจากจังหวัดที่ขุนศึกตั้งทัพท�าศึก ความขดั แย้งภายในชนช้ันปกครองตงฮั่น เป็นจังหวัดท่ีอยู่ทางทิศตะวันออกของ เพ่ิมระดับรุนแรงขึ้น ค.ศ. 189 แม่ทัพ ด่านตงก๋วน (潼關 ถงกวน) จึงเรียกกัน ใหญ่ (ต้าเจียงจวิน)–โฮจ๋ิน ฆ่าขันทีใหญ ่ ว่า “กองทัพภาคบูรพา” (關東軍) มี แล้วต้องการจะท�าลายอิทธิพลของกลุ่ม ขุนศึกหลายคนเข้าร่วม นับเป็นการเปิด ขันทีให้ราบเรียบ เขาจึงมีค�าสั่งเรียกให้ ฉากสงครามจลาจลระหว่างขุนศึก ต๋ังโต๊ะ (董卓 ต่งจว๋อ) ข้าหลวงเมือง กองทัพบูรพา ยกข้าหลวงจังหวัด เป๊งจิ๋ว (并州 ปิ้งโจว) น�ากองทัพมา ปุดไฮ (渤海 ป๋อไห่)–อ้วนเสี้ยว เป็น ราชธาน ี ประธานพันธมิตร ยกทัพสามทางจาก ขันทีเตียวเหยียง (張讓 จางรั่ง) ตะวันออก ตะวันตก และเหนือ เข้าล้อม กับพวกวางแผนฆ่าโฮจิ๋นตาย อ้วนเส้ียว ราชธานีลกเอ๋ียง แต่เน่ืองจากขุนศึก (袁紹 เหวียนเซ่า) อ้วนสุด (袁朮 แต่ละคนต่างก็มีความปรารถนาส่วนตัว เหวียนซู่) และนายทหารใต้บังคับบัญชา จึงไม่มีใครยอมเข้าท�าศึกแบบเด็ดขาด ของโฮจิ๋น จึงบุกเข้าวัง ฆ่าขันทีไปสองพัน กับต๋ังโต๊ะ ต๋ังโต๊ะถูกคุกคามจากกองทัพ กวา่ คน นบั เปน็ การกวาดลา้ งอทิ ธพิ ลของ บูรพา จึงบีบบังคับน�าฮ่องเต้อพยพจาก ขันทีได้หมด ลกเอย๋ี งไปอยเู่ มอื งเตยี งฮนั (長安 ฉางอนั ) 15

ส�มก๊กฉ ับบยอดยุทธ์ ค.ศ. 192 ต๋ังโต๊ะถูกนายทหารช่ือลิโป้ (呂布 หลี่ว์ปู้) ซึ่งร่วมมือกับเสนาบดี ระดับซือถูชื่ออองอุ้น (王允 หวังอวิ่น) วางอุบายฆ่าตาย ลิฉุย (李傕 หลี่เจวี๋ย) และกยุ ก ี (郭汜 กวอซอื่ ) นายทหารใตบ้ งั คบั บญั ชาตง๋ั โตะ๊ ฆา่ อองอนุ้ ตาย สถานการณ์ เป็นจลาจลขึ้นอีก ต๋ังโต๊ะตายแล้ว บรรดาขุนศึกในกองทัพบูรพากลับไม่ยอมเลิกทัพ หันมาสู้รบกันเอง สงครามระหว่างขุนศึกสร้างภัยพิบัติหนักหนาสาหัสต่อราษฎร ตอนที่ต๋ังโต๊ะ อพยพหนีจากลกเอี๋ยง ได้วางเพลิงเผาผลาญเมืองจนสิ้น ราชธานีลกเอี๋ยงและบริเวณ รายรอบสองร้อยล้ีถูกเผาไหม้ราบเรียบหมด สงครามระหว่างลิฉุยกับกุยกี ท�าให้ราคา ธัญญาหารในเมืองฉางอันแพงขึ้นอย่างมาก ข้าวหนึ่ง “สัด” ราคาสูงถึง 55 เฉียน ถั่ว และข้าวสาลี หนึ่งสัดราคาสูงถึง 2 แสน (เบ้ีย) ราษฎรหลายแสนคนต้องเสียชีวิตถูก เข่นฆ่า และอพยพหลบหนีภัยไปท่ีอ่ืน ตามหลักฐานท่ีมีบันทึกกล่าวถึง เช่น คราวที่โจโฉ (曹操 เฉาเชา) ตีเมือง เผิงเฉิง (彭城 ปัจจุบันคือเมืองสวีโจว 徐州 ในมณฑลเจียงซู 江蘇省) เขา สั่งให้ฆ่าราษฎรชายหญิงหลายหมื่นคน โยนลงแม่น�้าซื่อสุ่ย (泗水) จนท�าให้ แม่น�้าถูกปิดก้ันไหลไม่ได้ เมืองตุ้นชิว (頓丘) ก่อนสงครามมีราษฎรหนึ่งแสน ครัวเรือน เกิดภัยสงครามแล้วเหลืออยู่ เพียงสามพันครัวเรือน จ้งฉางถ่ง (仲長統) คนใน สมยั นัน้ บันทึกไว้ว่า “เมืองว่างเปล่าไม่มี คนอาศัย ในระยะทางร้อยลี้ไม่มีผู้คนเลย สภาพอย่างน้ีมากมาย” ในตอนนน้ั ลมุ่ แมน่ า�้ เหลอื ง (ฮวงโห) โฮจ๋ิน (何進 เหอจ้ิน) อันกว้างขวางอุดมสมบูรณ์ กลับกลาย เป็นท่ีรกร้างด้วยกอหนาม สงครามจลาจลด�าเนินต่อมา จนถึง ค.ศ. 199 ขุนศึกท่ีเรืองอ�านาจก็คง 16

เหลืออยู่ไม่ก่ีราย ขุนศึกที่มีอ�านาจสูงมากที่สุดคือ กลุ่มอ้วนเสี้ยวและกลุ่มโจโฉ ที่ยึด เห ุตแห่งส�มก๊ก ครองแดนตงง้วน (ภาคกลางประเทศ คือลุ่มน้�าฮวงโหตอนกลาง) อยู่ ส่วนกลุ่มอื่น ๆ ได้แก่ ซุนเซ็ก (孫策 ซุนเช่อ) ครองกังต๋ัง (江東 เจียงตง) เล่าเปียว (劉表 หลิว เปี่ยว) ครองเกงจ๋ิว (荊州 จิงโจว) เล่าเจี้ยง (劉璋 หลิวจาง) ครองเอ๊กจิ๋ว (益州 อ้ีโจว) ม้าเท้ง (馬騰 หม่าเถิง) หันซุย (韓遂 หานซุ่ย) ครองเหลียงจิ๋ว (涼州 เหลียงโจว) กองซุนตู้ (公孫度 กงซุนตู้) ครองเลียวต๋ัง (遼東 เหลียวตง) 2.2 โจโฉครองภ�คเหนือ อ้วนเสี้ยวจึงเป็นขุนศึกเรืองอ�านาจท่ีสุด ในช่วงต้นของสงครามจลาจล ในภาคเหนือ ยึดครองส่ีมณฑลทั้งหมด ขนุ ศกึ ทขี่ ยายกา� ลงั ไดใ้ หญโ่ ตรวดเรว็ ทสี่ ดุ ได้แก่ อิวจิ๋ว กิจิ๋ว เป๊งจิ๋ว และเฉงจิ๋ว คืออ้วนเส้ียว อ้วนเสี้ยวเกิดในตระกูล ขุนนางที่ยิ่งใหญ่ระดับ “4 ชั่วคนมีมหา โจโฉ ชาวอ�าเภอเฉียว (譙縣 เสนาบดี 5 คน” (ซื่อซื่ออู่กง 四世五 ปัจจุบันคืออ�าเภอป๋อโจว 亳州 มณฑล 公) และ “มีพรรคพวกท่ัวแผ่นดิน” อันฮุย 安徽省) เมืองไพก๊ก (沛國 อ้วนเสี้ยวมีบทบาทในการปราบ เพ่ยกว๋อ) เป็นบุตรชายของโจโก๋ (曹嵩 ปรามก�าจัดอิทธิพลของกลุ่มขันที เขาจึง เฉาซง) โจโก๋เป็นบตุ รบุญธรรมของขันท–ี ได้รับเลือกให้เป็นประธานพันธมิตร โจเท้ง (曹騰 เฉาเถิง) เขาซ้ือต�าแหน่ง กองทัพหัวเมืองปราบต๋ังโต๊ะ (กองทัพ ขนุ นางนายทหารระดบั “ไทอวย” (太尉 หัวเมืองบูรพา) หลังจากต๋ังโต๊ะเอาตัว ไท่เว่ย) ฮ่องเต้–พระเจ้าเหี้ยนเต้ หลบภัยไปอยู่ คราวเกิดการลุกขึ้นสู้กลุ่มผ้า เตยี งฮนั (長安 ฉางอนั ปจั จบุ นั คอื เมอื ง เหลือง โจโฉอยู่ในกองทัพของฮองฮูสง ซีอาน) แล้ว อ้วนเส้ียวฉวยโอกาสขยาย (皇甫嵩 หวางฝู่ซง) ไปปราบปราม อ�านาจ เริ่มจากเข้าแย่งยึดกิจิ๋ว (冀州 กบฏผา้ เหลอื งทเี่ องฉวน (穎川 อง่ิ ชวน) จ้ีโจว) จากฮันฮก (韓馥 หานฟู่) แล้ว ครั้นตั๋งโต๊ะยึดอ�านาจ โจโฉต้ังกองทัพ รุกคืบต่อไป อิวจิ๋ว (幽州 โยวโจว) อาสาเข้าร่วมกับกองทัพหัวเมืองบูรพา เป๊งจ๋ิว และเซียงจ๋ิว (青州 ชิงโจว) ค.ศ. 192 กบฏผ้าเหลืองชาวเฉง อว้ นเสย้ี วรบชนะกองซนุ จา้ น (公孫瓚 จว๋ิ ฆ่าเล่าตา้ ย (劉岱 หลวิ ไต)้ –เจา้ เมอื ง กงซุนจ้าน) แย่งยึดครองอิวจิ๋วและเฉงจ๋ิว มณฑลกุนจิ๋ว (兗州 เหย่ียนโจว) เหล่า สองมณฑลได้จากกองซุนจ้าน จากนั้น ขุนนางในกุนจ๋ิวร่วมกันเชิญให้โจโฉรับ ต�าแหน่งข้าหลวงมณฑลกุนจิ๋ว [กุนจิ๋วมู ่ 17

ส�มก๊กฉ ับบยอดยุทธ์ ต�าแหน่งชื่อสื่อเป็นเจ้าเมือง แต่ไม่ได้คุม ในปีนั้น โจโฉเริ่มฟื้นฟูกระตุ้นการ กองทัพ ต�าแหน่งมู่ (牧) เป็นท้ังเจ้าเมือง กสิกรรม ใช้ระบบ “ถุนเถียน” (屯田 และคุมกองทัพด้วย] ในปีนั้น โจโฉโจมตี รวบรวมราษฎรท่ีแตกฉานซ่านเซ็นกลับ กบฏผ้าเหลืองชาวเฉงจ๋ิวแตกพ่ายที่เมือง มาอยู่รวมกัน จัดสรรแบ่งที่นาให้ราษฎร เจปัก (濟北 จ๋ีเป่ย ปัจจุบันคือเมืองฉาง ยกเว้นส่วยภาษี) ในแถบฮูแห้ (許下 ชิง 長清 มณฑลซานตง 山東省) สวี่เซ่ีย) ได้ข้าวถึงล้านถัง สามารถแก้ไข “ได้เชลยสวามิภักด์ิสามแสนกว่า ชาย ปัญหาพื้นฐานด้านเสบียงอาหาร สร้าง หญงิ ลา้ นกวา่ คน จงึ คดั เลอื กคนทแ่ี ขง็ แรง พื้นฐานทางเศรษฐกิจข้ึนมา โจโฉใช้ แคล่วคล่องไว้ เรียกว่ากองทหารเฉงจิ๋ว” ยุทธศาสตร์ยุทธวิธีท่ีถูกต้อง จึงเข้มแข็ง โจโฉจึงเรืองอ�านาจขึ้นมาก ขยายอ�านาจขึ้นมาก ค.ศ. 196 (เจ้ียนอันศก ปีที่หน่ึง) ในช่วงน้ัน ยังมีขุนศึกเรืองอ�านาจ โจโฉยกทัพไปปราบปรามกบฏผ้าเหลือง อย่สู ิบกว่ากลุ่ม เชน่ ขุนศึกที่อยู่ทางเหนอื ที่เมืองหลิหล�า (汝南 หรู่หนาน) และ ของโจโฉคอื อว้ นเสย้ี ว ทางดา้ นใตม้ ขี นุ ศกึ เมืองเองฉวน เตียวสิ้ว (張繡 จางซ่ิว) อยู่เมืองล�าหยง ตอนทโี่ จโฉไดม้ ณฑลกนุ จวิ๋ มอกาย (南陽 หนานหยาง) เลา่ เปยี ว อยมู่ ณฑล (毛玠 เหมาเจยี้ ) เสนอใหโ้ จโฉ “ใชร้ าช เกงจวิ๋ ทางดา้ นตะวนั ออกเฉยี งใตม้ ขี นุ ศกึ โองการโอรสสวรรคส์ ง่ั ผทู้ ไ่ี มย่ อมศโิ รราบ อ้วนสุด อยู่มณฑลเอียงจ๋ิว (揚州 หยาง ฟน้ื ฟกู ารกสกิ รรมและปศสุ ตั วเ์ พอ่ื กองทพั โจว) ทางด้านตะวันออกคือมณฑลชีจ๋ิว ถ้าท�าดังน้ีการจะเป็นอธิราชก็ส�าเร็จ” (徐州 สวีโจว) ตอนแรกมีขุนศึกลิโป้ (ในฉบับนิยายว่า กลยุทธ์ท่ีใช้โองการ ครองอ�านาจ ต่อมาเล่าปี่ (劉備 หลิว ฮ่องเต้บังคับบัญชาขุนศึกอ่ืน เป็นของ เปย้ ) ไดค้ รองอา� นาจแทน สว่ นแดนตะวนั ซุนฮก) โจโฉรับมาด�าเนินการ ตกเสเหลียง (西涼 ซีเหลียง) มีขุนศึก ค.ศ. 196 พระเจ้าเหี้ยนเต้หนี หันซุย กับ ม้าเท้ง ออกจากเตียงฮันกลบั ไปลกเอยี๋ ง โจโฉรีบ ค.ศ. 197 อ้วนสุดพ่ายแพ้โจโฉ ไปเชิญเสด็จมาอยู่เมืองฮูโต๋ (許都 อย่างยับเยิน สว่ีชาง) ใช้ยุทธวิธี “อ้างโอรสสวรรค์ ค.ศ. 198 โจโฉบุกโจมตีมณฑล บังคับบัญชาบรรดาขุนศึก” จึงสร้าง ชีจ๋ิว ฆ่าลิโป้ ในปีนั้น โจโฉยังรบชนะ ความได้เปรียบทางการเมืองมากข้ึน กองทพั พนั ธมติ รของเตยี วสวิ้ กบั เลา่ เปยี ว 18

ค.ศ. 200 โจโฉโจมตที า� ลายกา� ลงั ของเลา่ ป ่ี ทเี่ มอื งเสยี วพา่ ย (小沛 เสย่ี วเพย่ ) เห ุตแห่งส�มก๊ก มณฑลชีจ๋ิว ส่วนขุนศึกในแถบกวนจง (เช่น เตียวสิ้ว) โจโฉก็ส่งคนไปเกลี้ยกล่อม อ้าง ราชโองการพระเจ้าเห้ียนเต้ ท�าให้สถานการณ์แถบกวนจงสงบลง ถึงตอนน้ีโจโฉยืนมั่นคงในแดนตงง้วน มีอ�านาจพอแข่งขันต่อสู้กับอ้วนเสี้ยวได้ แล้ว และในปนี ี้ กองทพั อว้ นเสย้ี วทา� สงครามชข้ี าดชยั ชนะกบั กองทพั โจโฉทย่ี ทุ ธภมู ิ “กัวต๋อ” (官渡 กวนตู้) ฝ่ายอ้วนเส้ียวมีกองทัพมหึมา ไพร่พลหนึ่งแสน ม้าศึกหมื่นตัว ส่วนกองทัพ ของโจโฉทตี่ า้ นทานอ้วนเส้ียวมีก�าลังพลเพยี งหมื่นสองหมนื่ คนเท่านั้น อว้ นเสยี้ วครอง ดินแดนส่ีมณฑล คือ กิจิ๋ว เป๊งจ๋ิว เฉงจิ๋ว และอิวจ๋ิว ส่วนโจโฉครองดินแดนเพียงสอง มณฑล ดูจากจ�านวนทหาร เสบียงอาหาร อาวุธยุทธภัณฑ์ และแนวหลังท่ีคอย สนับสนุนแล้ว อ้วนเส้ียวมีความได้เปรียบเหนือกว่ามาก แต่ทว่าในทางการเมืองนั้น การปกครองกิจิ๋วของอ้วนเส้ียว “ท�าให้พวกผู้มี อิทธิพลมั่งค่ังร่�ารวย ให้อ�านาจวาสนากับเครือญาติ ปล่อยให้ราษฎรช้ันล่างยากแค้น ต้องจ่ายส่วยภาษีหนัก” ท�าให้ราษฎรยากจนล้มละลาย อ้วนถ�า (袁譚 เหวียนถาน) บุตรชายอ้วนเส้ียว ปกครองเฉงจิ๋ว ก็กดข่ีราษฎรอย่างทารุณโหดร้าย “ส่งทหารออก จับผู้คน ราวกับล่านกล่าสัตว์” ส่วนโจโฉน้ัน ใส่ใจในการพัฒนาการผลิต ลดทอนการ ขูดรีดราษฎร อีกท้ังยังปราบปรามพวกผู้มีอิทธิพล ราษฎรนิยมโจโฉมากกว่าอ้วนเสี้ยว ในทางการทหาร คา� สง่ั ของอว้ นเสยี้ ว ยุทธก�รกัวต๋อ ไม่เข้มงวด คนภายในแตกแยกกันเอง ในยุทธการกัวต๋อ โจโฉแสดงออก ก�าลังขวัญไพร่พลทหารไม่ดี อ้วนเส้ียว ถงึ ความปรชี าสามารถทางดา้ นการทหาร เลือกแต่งตั้งแต่คนท่ีสนิท ส่วนโจโฉเลือก อย่างเต็มท่ี ในช่วงต้นอ้วนเสี้ยวเคล่ือน ใช้คนตามความสามารถ ทพั หลวงไปตง้ั ท ี่ “เอยี๋ งบ”ู๊ (陽武 หยางอู่ ต่อเรื่องเหล่านี้ โจโฉได้เปรียบ มี ปัจจุบันอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ความเหนือกว่าอ้วนเส้ียว นี่เป็นสาเหตุ ของอ�าเภอเหวียนหยาง 原陽縣 ท�าให้โจโฉได้ชัยชนะต่ออ้วนเสี้ยว มณฑลเหอหนาน 河南省) ส่งกอง ทพั หน้าไปล้อมแปะแบ๊ (白馬 ไป๋หม่า 19

ส�มก๊กฉ ับบยอดยุทธ์ ปัจจุบันอยู่ทางตะวันออกของอ�าเภอ โจโฉท�าลายกองก�าลังหลักของ หวาเซ่ียน 滑縣 มณฑลเหอหนาน) อ้วนเส้ียวลงได้ในยุทธการกัวต๋อ วาง โจโฉใชก้ ลยทุ ธ ์ “ทา� ทเี ขา้ ตที างตะวนั ออก รากฐานสา� หรบั การรวมภาคเหนอื ใหเ้ ปน็ แตก่ ลบั เขา้ ตที างตะวนั ตก” ทลายวงลอ้ ม เอกภาพในข้ันต่อไป ของอ้วนเสี้ยวได้ส�าเร็จ อีกทั้งยังฆ่าทหาร หลงั จากศกึ กวั ตอ๋ สองป ี อว้ นเสยี้ ว เอกของอ้วนเสี้ยวสองนาย คือ งันเหลียง กป็ ว่ ยตาย บตุ รชายสองคนของอว้ นเสย้ี ว (顏良 เหยียนเหลียง) และ บุนทิว คอื อว้ นถา� กบั อว้ นซง (袁尚 เหวยี นซา่ ง) (文醜 เหวนิ โฉ่ว) แลว้ โจโฉถอยทัพกลบั ต่อสู้แย่งอ�านาจกันเอง มารักษากัวต๋อ ต้านทานกองทัพพลหน่ึง โจโฉยกทัพตีได้กิจิ๋ว ฆ่าอ้วนถ�า แสนของอ้วนเส้ียวอยู่อีกครึ่งป ี และโกกัน (高幹 เกาก้าน) ข้าหลวง ต่อมาเขาฮิว (許攸 สวี่โยว) มณฑลเป๊งจิ๋ว ส่วนอ้วนซงหลบหนีไปพ่ึง ที่ปรึกษาของอ้วนเส้ียวหนีไปสวามิภักดิ์ เป๊กตุ้น (蹋頓 ท่าตุ้น)-ราชาเผ่าอูหวน ต่อโจโฉ แจ้งความลับเร่ืองจุดท่ีตั้งค่าย หวังสะสมก�าลังกลับมาต่อสู้ฟื้นอ�านาจ เก็บเสบียงอาหารของกองทัพอ้วนเสี้ยว ใหม่ โจโฉจึงลอบใช้กองทหารช้ันเยี่ยมจ�านวน ค.ศ. 207 โจโฉตัวสินใจยกทัพ ห้าพันนายลอบไปเผาท�าลายค่ายเสบียง ตามกา� จดั ถอนรากถอนโคนอว้ นซง จงึ ยก อาหารของอ้วนเส้ียวที่อัวเจ๋า (烏巢 ทพั ไปทาง หลหู ลงไซ ่ (盧龍塞 ปจั จบุ นั อเู ฉา ปจั จบุ นั อยทู่ างตะวนั ออกเฉยี งใตข้ อง คือสี่เฟิงโข่ว 喜峰口 มณฑลเหอเป่ย เหยียนจิน 延津縣 มณฑลเหอหนาน) 河北省) เดินทัพตามเส้นทางในภูเขา ฆ่านายพลอิเขง (淳于瓊 ฉุนอวี๋ฉยง) ห้าร้อยกว่าล้ี ไปโจมตีเมืองหลิวเซีย เผาเสบียงอาหารของกองทัพอ้วยเสี้ยว (柳城 หลว่ิ เฉงิ ปจั จบุ นั คอื เมอื งเฉาหยาง จ�านวนหมื่นกว่าเกวียนมอดไหม้หมด 朝陽縣 มณฑลเหลยี วหนงิ 遼寧省) กองทพั อว้ ยเสยี ขวญั ผวา แนวรบแตกสลาย กองทพั โจโฉปะทะกบั กองทพั ของเปก๊ ตนุ้ เตยี วคบั (張郃 จางเหอ) ทหารเอกของ และอ้วนซง ท่ีเชิงเขาเป๊กลงสาน (白狼 อ้วนเสี้ยวก็ยอมจ�านนต่อโจโฉ อ้วนเสี้ยว 山 ไป๋หลางซาน ปัจจุบันอยู่ในเขต เหลือเพียงทหารใกล้ชิดแปดสิบกว่าคน อ�าเภอผิงเฉวียน 平泉縣 มณฑล หนีรอดชีวิตกลับไป ส่วนกองทหารเจ็ด เหลียวหนิง) ฆ่าเป๊กตุ้น และได้ชาวจีน หม่ืนกว่าคนถูกกองทัพโจโฉฆ่าตาย ชาวเผา่ อหู วน สวามภิ กั ดสิ์ องแสนกวา่ คน 20

อ้วนซงหลบหนีไปพึ่ง กองซุนของ (公孫康 กงซุนคัง)–ข้าหลวงแคว้นเลียว เห ุตแห่งส�มก๊ก ตง๋ั กองซนุ ของตดั หวั อว้ นซงสง่ มาสวามภิ กั ดติ์ อ่ โจโฉ เสรจ็ ศกึ ครงั้ นน้ี บั วา่ โจโฉมอี า� นาจ ปกครองภาคเหนือได้เป็นเอกภาพทั้งหมด หลังจากได้ชัยชนะรวมภาคเหนือเป็นเอกภาพแล้ว โจโฉหวังจะฉวยจังหวะท�า ศกึ รวมทว่ั แผน่ ดนิ ใหเ้ ปน็ เอกภาพ ค.ศ. 208 โจโฉมุง่ ปราบปรามเล่าเปียวขนุ ศึกผูค้ รอง เกงจิ๋ว และเล่าปี่ท่ีพ่ึงพาอาศัยเล่าเปียวอยู่ โจโฉยกทัพตีภาคใต้ แต่เสียท่าพ่ายศึกคร้ัง ร้ายแรงท่ีเซ็กเพ็ก (赤壁 ช่ือปี้) ยุทธการเซ็กเพ็กเป็นหมุดหมายของการก่อตั้ง “สามก๊ก” กล่าวคือ โจโฉครอบ ครองภาคเหนือ ซุนกวน (孫權 ซุนเฉวียน) ครอบครองภาคตะวันออกเฉียงใต ้ (กังตั๋ง) ส่วนเล่าปี่ครอบครองเกงจิ๋วและเสฉวน (四川 ซื่อชวน) 21

เกรวอื่ ่�งจสะ�มม�กเปก๊ ็นวรรณคดี ปกหนังสือ ซานกว๋อจวื้อผิงฮว่า นิยายอิงประวัติศาสตร์เรื่อง สามก๊ก ที่ชาวไทยและชาวอะไร อ่ืน ๆ ทั่วโลกรู้จักกันแพร่หลายน้ัน เป็นผลงานท่ีศิลปินมากมายหลายท่าน สร้างสรรค์จากข้อมูลประวัติศาสตร์สืบเนื่องกันต่อ ๆ มา ข้อมูล ประวัติศาสตร์สามก๊กที่ส�าคัญได้มาจากจดหมายเหตุประวัติศาสตร์หลาย เล่ม เช่น ซานกว๋อจว้ือ 《三國誌》 โฮ่วฮ่ันซู 《後漢書》 ฮ่ันจ้ินซุนชิว 《漢晉春秋》 จือจว้ือทงเจ้ียน 《資治通鑒》 ซ่ือซวอซินอวี่ 《世說新語》 เป็นต้น 22

จากข้อมูลประวัติศาสตร์ผนวกเข้ากับต�านานชาวบ้าน เกิดเป็นวรรณกรรม กว่�จะม�เป็นวรรณค ีดเ ่ืรองส�มก๊ก วรรณกรรมสามก๊กเร่ิมแรกแพร่หลายในรูปแบบการ “เล่านิทาน” ศิลปินนัก เล่านิทานเล่าเร่ืองเพ่ือเล้ียงชีพดังน้ันจึงต้องมีศิลปะ สร้างเร่ืองให้สนุกสนานชวน ติดตาม ต่อมาก็มีการน�ามาเขียนเป็นอุปรากร “งิ้ว” เร่ืองสามก๊กตอนท่ีสนุกสนานถูก น�ามาท�าเป็นบทง้ิวแพร่หลายมากมายหลายตอน วรรณกรรมสามก๊กท่ีเป็นฉบับ เหมาหลุน (毛綸) กับ เหมาจงก่าง สมบรู ณเ์ ลม่ แรกคอื ซานกวอ๋ จวอ้ื ผงิ ฮวา่ (毛宗崗) สองพ่อลูก 《 三 國 誌 平 話 》 เขียนในยุค ราชวงศ์หยวน ต่อมา หลัวก้วนจง (หลัว ซานกว๋อจวื้อผิงฮว่า ก้วนตง 羅貫中) คนยุคราชวงศ์หยวน เรอื่ งราว สามกก๊ ทเี่ ปน็ นทิ านชาว ต่อเนื่องกับราชวงศ์หมิงจึงปรับปรุง ปรุง บ้าน รวบรวมเป็นเล่มคร้ังแรกใช้ช่ือว่า แต่ง คัดเลือก ต่อเติม สร้างสรรค์เป็น ซานกว๋อจวื้อผิงฮว่า ฉบับที่ตีพิมพ์ (ด้วย นิยายเรื่องยาว ด�าเนินเร่ืองสามก๊กตั้งแต่ แม่พิมพ์แกะไม้) ในยุคราชวงศ์หยวนช่วง ต้นจนจบให้ชื่อว่า ซานกว๋อจวื้อทงสู “จวอื้ จวอ้ื ศก” (至治 ค.ศ. 1321-1323) เหยยี่ นอี้ 《三國誌通俗演義》 พบในหอสมุดหลวงของญ่ีปุ่น แบ่งเป็น 240 ตอน เร่ืองราวใน ซานกว๋อจวื้อผิงฮว่า ซานกว๋อจว้ือทงสูเหย่ียนอ้ี ของ เริม่ ดว้ ยบทเกริ่นน�า เปน็ เรื่องของ สมุ าตง๋ หลวั กว้ นจง นบั วา่ เปน็ วรรณกรรมทเี่ ยยี่ ม (司馬仲 ซือหม่าจ้ง) ลงไปตัดสินคดีท่ี ยอดอยู่แล้ว ค่ังค้างมาต้ังแต่ยุคเล่าปัง-ฌ้อปาอ๋องใน แต่ต่อมายังมีบัณฑิตคิดปรับปรุง นรก (เร่ืองตอนนี้มีแปลเป็นไทยแล้ว ใช้ ช�าระขัดเกลาเสียใหม่อีก ชื่อว่า สามก๊กอ่ิน) ซือหม่าจ้งสามารถ ซ่ึงฉบับท่ีปรับปรุงใหม่น่ีเอง เป็น ตัดสินคดีความจัดการให้คู่อาฆาตแค้น ฉบับที่แพร่หลายกันอยู่ทุกวันนี้ ในช่ือ และผู้ที่มีหน้ีกรรมต่อกัน ไปเกิดใหม่ ซานกว๋อเหยี่ยนอ้ี 《三國演義》 ชดใช้กรรมท่ีท�าไว้ โดยบุคคลเหล่านั้น บัณฑิตสองคนที่ปรับปรุงเรื่อง ตา่ งกไ็ ปเกดิ เปน็ บคุ คลตา่ ง ๆ ในยคุ สามกก๊ ซานกวอ๋ จวอ้ื ทงสเู หยย่ี นอ ้ี ของหลวั กว้ น ดงั นน้ั บทบาทตา่ ง ๆ ของตวั ละคร จง ให้กลายเป็น ซานกว๋อเหยี่ยนอ้ี คือ สามก๊ก จึงมีท่ีมาจาก “กรรมเก่า” 23

ส�มก๊กฉ ับบยอดยุทธ์ เป็นการใช้หนี้กรรมท่ีตนสร้างไว้เม่ือชาติ ภพที่แล้ว (ในยุคไซ่ฮั่น) จากน้ัน ซานกว๋อจว้ือผิงฮว่า ก็ เร่ิมเร่ืองด้วยเหตุการณ์ท่ี ซุนเสวียจิว (孫學究) ได้ “เทียนซู-คัมภีร์สวรรค์” เกิดกบฏโพกผ้าเหลือง และจบถึงตอน จูกัดเหลียงตายท่ีทุ่งอู่จ้างเหวียน ซานกว๋อจว้ือผิงฮว่า จึงนับว่าได้ เริ่มวางเค้าโครงวรรณกรรมเร่ืองสามก๊ก ให้สมบูรณ์เป็นเล่มแรก แม้ว่าเน่ือเร่ืองจะมีฉากที่ผิดจาก ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์มากและ รูปปั้นหลัวก้วนจง ส�านวนก็เป็นแบบ “นักเล่านิทาน” แต่ ที่อ�าเภอชิงสวี มณฑลซานซี เรื่อง ซานกว๋อจวื้อผิงฮว่า ก็มีความ ส�าคัญ เพราะเป็นต้นเค้าของเร่ือง ซานกว๋อจว้ือทงสูเหยี่ยนอ้ี ที่หลัวก้วน หลู่ซว่ิน (魯迅) นักเขียนผู้ จงเขียนในสมัยต่อมา ยิ่งใหญ่ยุคปฏิวัติประชาธิปไตย ค้นคว้า ข้อมูลได้ว่า หลัวก้วนจงมีชีวิตอยู่ในช่วง หลัวก้วนจง ระหว่าง ค.ศ. 1330-1400 นักวิชาการ แมว้ า่ หลวั กว้ นจงจะไดส้ รา้ งสรรค์ รุ่นต่อมาระบุได้แคบลงอีกว่า เกิดในช่วง งานวรรณกรรมท่ีย่ิงใหญ่ไว้ก็ตาม แต่ ประมาณ ค.ศ. 1315-1318 ตายในช่วง ประวตั ชิ ีวิตของเขาก็ไมช่ ัดเจน (สว่ นใหญ่ ประมาณ ค.ศ. 1385-1388 จะกลายเปน็ ตา� นานไป) เชน่ เรอื่ งบา้ นเกดิ ผลงานนิยายอิงประวัติศาสตร์ ของเขาก็มีข้อมูลไม่ตรงกัน บ้างว่าเกิดที่ เรื่องสามก๊กของหลัวก้วนจง นับเป็นรูป เมืองตงผิง (東平) มณฑลซานตง บ้าง แบบใหม่ ก้าวพ้นรูปแบบการเล่านิทาน ว่าเมืองไท่เหวียน (太原) มณฑลซานซ ี ประวัติศาสตร์แบบด้ังเดิม สร้างภาพตัว (山西省) บ้างว่าเมืองหังโจว (杭州) ละครแบบวรรณกรรมไดเ้ ป็นทป่ี ระทับใจ มณฑลเจ้อเจียง (浙江省) ผู้อ่าน 24

แต่ก็อย่างที่เขียนเล่าไว้ข้างต้น เร่ือง ซานกว๋อจ้ือจ้วน มีฉบับ กว่�จะม�เป็นวรรณค ีดเ ่ืรองส�มก๊ก แล้วว่า นิยายอิงประวัติศาสตร์ สามก๊ก พิมพ์ท่ีเก่าแก่ที่สุดคือ ฉบับท่ี หลิวหลง ที่แพร่หลายอยู่ในปัจจุบันได้ผ่านการ เถียนเฉียวซานถาง (劉龍田喬山 ปรับปรุง ช�าระแก้ไข ปรุงแต่ง ของ 堂) พิมพ์เม่ือ ค.ศ. 1592 เร่ือง ซานกว๋อ ปราชญ์คนอื่นอีก จว้ือจ้วน มีเน้ือหาหลายตอนไม่ตรงกับ แล้วต้นฉบับที่หลัวก้วนจงเขียน ซานกว๋อจวื้อทงสูเหย่ียนอี้ ส�านวนภาษา ข้ึนครั้งแรกน้ันเป็นอย่างไรกันแน่เล่า ก็ยังไม่เป็นแบบ “ภาษาเขียน”* เท่ากับ ซานกว๋อจวื้อจ้วน และ ฉบับเจียจ้ิง ฉบับจว้ือจ้วนน้ีไม่เป็นท่ีแพร่ ซานกว๋อจว้ือทงสูเหย่ียนอ้ี หลาย และแต่ก่อนนักวิชาการไม่ค่อย เห็นความส�าคัญ ต่อมาจึงได้พิจารณา นิยายอิงประวัติศาสตร์เรื่องสาม ใหม่ว่า ฉบับจวื้อจ้วนน่าจะเก่าแก่และ ก๊กท่ีเชื่อกันว่าเป็นส�านวนของหลัวก้วน เป็นต้นแบบของ “ฉบับเจียจิ้ง” อีกที จง มตี น้ ฉบบั ตวั พมิ พไ์ มแ้ กะทเี่ กา่ ทส่ี ดุ คอื ดังน้ันฉบับจวื้อจ้วนจึงน่าจะใกล้เคียงกับ ฉบับที่ใช้ช่ือว่า ซานกว๋อจว้ือทงสู สิ่งท่ีหลัวก้วนจงเขียนขึ้นมากที่สุด เหย่ียนอี้ หรือเรียกกันทั่วไปว่า “ฉบับ เจียจ้ิง” พิมพ์เมื่อ ค.ศ. 1522 แบ่งเป็น ฉบับ หลี่ผิงเปิ่น 240 ตอน นกั วชิ าการสว่ นหนง่ึ เชอื่ วา่ ซานกวอ๋ หลังจากมีฉบับเจียจิ้งแล้ว ต่อมา จว้ือทงสูเหยี่ยนอ้ี ฉบับนี้แหละ น่าจะ ก็มีผู้ปรับปรุงฉบับเจียจ้ิงอีกคร้ัง ผู้ ใกล้เคียงกับเรื่องที่หลัวก้วนจงเขียนไว้ ปรับปรุงและเขียนค�าอรรถาธิบายคือ เย่ มากท่ีสุด โจ้ว (葉晝) ชาวเมืองอู๋ซี (無錫) แต่ แต่นั่นก็ยังไม่แน่ เพราะยังมี เย่โจ้วอ้างชื่อผู้เขียนค�าอรรถาธิบายว่า วรรณกรรมสามก๊กอีกเรื่องหนึ่ง ท่ีแม้ว่า หล่ีจัวอู๋ (李卓吾) เป็นผู้เขียน ฉบับนี้ เราจะพบฉบับพิมพ์ท่ีไม่เก่าเท่า “ฉบับ ใชช้ อ่ื วา่ หลจ่ี วั อเู๋ซยี นเซงิ พผี งิ ซานกวอ๋ จวอ้ื เจยี จงิ้ ” แตส่ า� นวนภาษาดเู กา่ กวา่ นนั่ คอื 《李卓吾先生批評三國誌》 ฉบบั ทใี่ ชช้ อ่ื วา่ ซานกวอ๋ จวอ้ื จว้ น《三國 เรยี กยอ่ ๆ วา่ ฉบบั หลผ่ี งิ เปน่ิ (李評本) 誌傳》 * ในสมัยโบราณ ภาษาของคนจีน แบ่งเป็น “ภาษาพูด” กับ “ภาษาเขียน” แยกกันชัดเจน จนกระท่ังถึงสมัยการ ปฏวิ ตั ปิ ระชาธปิ ไตยเมอื่ รอ้ ยกวา่ ปกี อ่ น มวลชนปฏวิ ตั จิ งึ เคลอื่ นไหวใหล้ ม้ เลกิ “ภาษาเขยี น” เปลยี่ นมาใช ้ “ภาษาพดู ” หรือไป๋ฮว่า (白話) เขียนหนังสือแทน 25

ส�มก๊กฉ ับบยอดยุทธ์ เย่โจ้วรวมเน้ือเรื่องเดิมสองตอนเป็นหนึ่งบท สามก๊กฉบับหล่ีผิงเปิ่นจึง กลายเป็น 120 บท (เท่ากับปัจจุบัน) ค�าวิจารณ์และอรรถาธิบาย ส่วนใหญ่เน้นวิจารณ์ทางด้านการเมือง จริยธรรม และแนวคิดของตัวละคร ไม่มีการวิจารณ์ถึงเร่ืองวรรณศิลป์ และท่ีส�าคัญฉบับ หล่ีผิงเปิ่นน้ี วิพากษ์ขงเบ้งไว้อย่างแรงเสียด้วย ซานกว๋อเหยี่ยนอี้ ซานกว๋อเหย่ียนอี้ ท่ีเหมาจงก่าง ต่อมาเหมาหลุน เหมาจงก่าง ปรับปรุง มีคุณภาพด้านวรรณศิลป์ สองพ่อลูก ได้ช�าระ ดัดแปลง เขียนค�า สูงขึ้น จึงได้รับความนิยมสูงสุด และ อรรถาธิบายใหม่อีกครั้งโดยยึดฉบับ เป็นฉบับท่ีแพร่หลายซึ่งคนทั่ว ๆ ไปอ่าน หล่ีผิงเปิ่น เป็นตัวตั้ง กันอยู่ แต่อย่างไรก็ตามในช่วงหลัง ๆ เหมาจงก่างยังคงแบ่งเน้ือเร่ือง มาน้ี นักวิชาการได้กลับไปตรวจสอบ เป็น 120 บท ตามแบบของเย่โจ้ว เพ่ิม เปรยี บเทยี บ ซานกว๋อจวื้อทงสูเหย่ียนอ้ี เติมค�าวิจารณ์ด้านวรรณศิลป์ และที่ ฉบับดั้งเดิมของหลัวก้วนจงกับ ซานกว๋อ ส�าคัญคือเปลี่ยนแปลงส�านวนภาษา เหยี่ยนอี้ ที่เหมาหลุน เหมาจงก่าง ดัดแปลงบทกวีประกอบเรื่อง และ ปรับปรุง ตรวจไปตรวจมา ก็ปรากฏว่า บทบาทของตัวละคร เกิดความเห็นแตกต่างกัน บ้างก็ว่าฉบับ เหมาจงก่างชูประเด็น “เจวิ้งถ่ง” เดิมของหลัวก้วนจงมีคุณภาพดีกว่าที่ (正統) การสืบทอดสันตติวงศ์ที่ถูกต้อง เหมาจงกา่ งแกเ้ สยี อกี บา้ งกว็ า่ เหมาจงกา่ ง เป็นแนวคิดหลักของเรื่อง ดังนั้นจึงต้อง แก้ไขให้ดีขึ้นจริง ๆ แก้ไขบทบาทของตัวละครให้สอดคล้อง ต่างฝ่ายต่างมีเหตุผล แต่ก็พอ กับหลักจริยธรรมนั้น สรุปได้ว่า สิ่งท่ีเหมาจงก่างแก้ไขนั้นมีทั้ง นอกจากนั้น ยังใช้ชื่อ กิมเสียถ่าง ท่ีท�าให้ดีขึ้นคือเกิดผลด้านบวก และมีท้ัง (金聖嘆 จินเซ่ิงทั่น) เขียนบทน�าอีก ที่เลวลงคือเกิดผลด้านลบ ด้วย (ดู ต�านานหนังสือสามก๊ก ฉบับ เราจึงน่าจะรับทราบข้อมูลเรื่องน้ี เจ้าพระยาพระคลัง) ท่ีนักวิชาการชาวจีนเขาค้นคว้ากันไว้สัก ปัจจุบันนักวิชาการจีนประกาศ เล็กน้อย แน่ชัดแล้วว่าบทน�าช้ินนั้นไม่ใช่ข้อเขียน เหมาหลนุ เหมาจงกา่ งสองพอ่ ลกู ของจินเซิ่งทั่น จินเซิ่งท่ันไม่เกี่ยวข้อง นเ้ี ปน็ คนในยคุ ราชวงศช์ งิ เหมาหลนุ ผพู้ อ่ อะไรกับ ซานกว๋อเหย่ียนอ้ี น่าจะเกิดเม่ือ พ.ศ. 2158 เหมาจงก่าง 26

น่าจะเกิดเมื่อ พ.ศ. 2182 ทั้งคู่เป็นบัณฑิตหรู (ปัญญาชนขงจ๊ือ) มีความรู้ดี แต่ก็มิได้ กว่�จะม�เป็นวรรณค ีดเ ่ืรองส�มก๊ก รับราชการ และมีชีวิตท่ียากจน ชว่ งเวลาทส่ี องพอ่ ลกู ดา� เนนิ การแกไ้ ขปรบั ปรงุ เรอื่ ง ซานกวอ๋ จวอื้ ทงสเู หยยี่ นอ้ี ของหลัวก้วนจงคาดว่าน่าจะอยู่ในระหว่าง พ.ศ. 2207-2209 (รัชกาลคังซีฮ่องเต้) สงิ่ ทีเ่ หมาจงก่างปรับปรงุ ไป สรปุ อย่างกวา้ ง ๆ คือ ปรับปรุงการวางฉากด�าเนนิ เรื่อง จัดเนื้อหาแบ่งเป็น 120 บท (เดิมมี 240 ตอน) ขัดเกลาภาษาปรับปรุงท่าทีและ ค�าพูดของตัวละคร (กระทั่งเปลี่ยนแก้บทบาทบางตอนเลยก็มี) จุดท่ีเหมาจงก่างได้รับการยกย่องชมเชยคือ การจัดวางโครงสร้าง วางล�าดับ ฉาก การตัดฉาก การวางจังหวะของเร่ือง จุดนี้ท�าให้ ซานกว๋อเหย่ียนอี้ กลายเป็น นิยายส�าหรับอ่านที่เป็นอมตะ ถึงทุกวันนี้ก็ยังอ่านสนุกไม่เยิ่นเย้อยึดยาดแบบนิยาย โบราณ เร่ืองส�มก๊กน้ี บิดเบือน ประวัติศ�สตร์เข้�ข้�งเล่�ปี่ เขียนให้ฝ่�ยเล่�ปี่เป็นฝ่�ยธรรมะ ฝ่�ยโจโฉเป็นฝ่�ยม�รน้ัน จุดสำ�คัญก็ม�จ�กส่ิงท่ีเหม�จงก่�ง ไปเปล่ียนแก้น่ันเอง แต่ทว่าเหมาจงก่างก็ถูกต�าหนิ ต้องเอียงข้างเล่าปี่อย่างเต็มที่ ที่มีการ หลายจุดเหมือนกัน วิจารณ์กันว่า ซานกว๋อเหย่ียนอี้ น ี้ ท่ีเด่นชัดที่สุดคือการที่เหมาจง บิดเบือนประวัติศาสตร์เข้าข้างเล่าปี่ ก่างไปเปลี่ยนแก้บทบาทและค�าพูดบาง เขียนให้ฝ่ายเล่าปี่เป็นฝ่ายธรรมะฝ่าย ตอนของตัวละคร โจโฉเป็นฝ่ายมารนั้น จุดส�าคัญก็มาจาก เหมาหลุน เหมาจงก่างยึดม่ันใน ส่ิงท่ีเหมาจงก่างไปเปลี่ยนแก้ไขนั่นเอง แนวคิด “เจวิ้งถ่ง” คือการสืบสายสันตติ นักวิชาการจีนบอกว่า เรื่อง วงศ์ท่ีถูกต้อง เหมาหลุน เหมาจงก่างจึง ซานกว๋อจวื้อทงสูเหยี่ยนอี้ ฉบับดั้งเดิม 27

ส�มก๊กฉ ับบยอดยุทธ์ ของหลัวก้วนจง มิได้เอียงข้างหรือ กลายเปน็ วรรณกรรมอมตะ เพราะภาษา ล�าเอียงเขียนช่วยฝ่ายเล่าปี่มากขนาดนี ้ วิจิตรไพเราะมาก แต่พวกที่ไม่ชอบก็ว่า เหมาจงก่างน่ีแหละ มาแก้ไข เขียนช่วย เป็นการท�าลายเอกลักษณ์ทางส�านวน ฝ่ายเล่าปี่เสียจนน่าเกลียด นี่คือด้านลบ ภาษาของตัวละครและท�าลาย “ยุค ที่เกิดจากฝีมือเหมาจงก่าง สมัย” ของผู้เขียนเร่ือง (คือกลายเป็น คุณหนิงซีเหวียน (寧希元) สา� นวนภาษายคุ ราชวงศช์ งิ แทนทจี่ ะเปน็ วิพากษ์ข้อพลาดของเหมาจงก่างไว้สาม ส�านวนภาษายุคราชวงศ์หยวน) จุดคือ 3. รายละเอยี ดหลายสง่ิ ทเี่ หมาจง 1. เหมาจงก่างดัดแปลงภาพ ก่างเปล่ียนแก้อย่างผิดพลาดได้แก่ ชื่อ ลกั ษณข์ องตวั ละครใหเ้ ปลยี่ นไปจากฉบบั ต�าแหน่งขุนนาง ช่ือสถานท่ี เดิมของหล้วก้วนจงอย่างจงใจ เพราะ ฉบับด้ังเดิมของหลัวก้วนจงใช้ชื่อ ความยึดม่ันในแนวคิด “เจวิ้งถ่ง” ตา� แหนง่ ขุนนางและสถานท่คี ่อนขา้ งตรง เป็นการน�าเอาแนวความคิดของตนเอง กบั ขอ้ เทจ็ จรงิ ในประวตั ศิ าสตรย์ คุ สามกก๊ ยัดเยียดสู่ตัวละคร ขณะที่บทบาทของ แต่เหมาจงก่างกลับแก้ไขตามสมัยนิยม ตัวละครในฉบับดั้งเดิมของหลัวก้วนจง (ราชวงศ์ชิง) ท�าให้สับสนวุ่นวาย น้ัน ค่อนข้างท่ีจะเที่ยงตรงตามข้อมูล และคุณหนิงซีเหวียนยังย้�าอีกว่า ประวัติศาสตร์ ซานกว๋อเหยี่ยนอ้ี ฉบับเหมาจงก่างน้ัน 2. เหมาจงก่างแก้ไขถ้อยค�า ได้เปลี่ยน “โฉมหน้า” และแนวคิด ส�านวนภาษามากไป “สมจริง” ในเรื่องเดิมของหลัวก้วนจงไป ส�านวนภาษาท่ีหลัวก้วนจงใช้นั้น อย่างส้ินเชิง เป็นส�านวนภาษาพูดมากกว่าภาษาเขียน ใครอยากรู้ว่า “สามก๊ก” ตาม และส�านวนพูดของตัวละครแต่ละตัว แนวคดิ ของหลวั กว้ นจงเปน็ อยา่ งไรกต็ อ้ ง คอ่ นขา้ งจะมลี กั ษณะเดน่ จา� เพาะ หันกลับไปหาฉบับโบราณมาอ่านกัน ของตน นอกจากนั้นแล้วก็ยังเป็นส�านวน เพราะฉบับที่แพร่หลายกันอยู่ทุก ภาษาท่ีใช้กันอยู่ในยุคราชวงศ์หยวน วันน้ีนั้น เป็นสามก๊กของนายเหมาหลุน จริง ๆ อีกด้วย กับเหมาจงก่าง เหมาจงก่างมาแก้ไขให้มีลักษณะ ใกล้เป็นภาษาเขียนมากขึ้น บางคนก็ ยกย่องว่าด้วยเหตุนี้แหละสามก๊กจึง 28



©ºÑºÂÍ´ÂØ·¸ ·Í§á¶Á ¹Ò¶¨Òí ¹§ ©ººÑ ÂÍ´ÂØ·¸ ไขความกระจา งในแงมมุ ทอี่ าจไมเคยรู หรือรอู ยา งเขา ใจผดิ จากความจริงหลากคัมภรี  ทีส่ ั่งสมมานานนับพันป ทําไมกวนอถู ึงหนาแดง เหตุใดกวนอูไมก ินเตาหู มาเฉยี ว-ขุนพลอาภัพ อยุ เอีย๋ นเปน กบฏจริงหรอื และอีกมากทีจ่ ะทําใหเปน ผูยอดยุทธ เรอื่ งสามกก FA 0094 สามกก ฉบบั ยอดยุทธ 180.- SukkhapabjaiPUB I S B N 978-616-7105-84-0 w9 w7w8.6b1o6o7kt1im0 5e8.c4o0.th


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook