Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore yaakmiisukhphaaphdii_elm_4_waythamngaan_final

yaakmiisukhphaaphdii_elm_4_waythamngaan_final

Description: yaakmiisukhphaaphdii_elm_4_waythamngaan_final

Search

Read the Text Version

งานสอนของครู ตรงึ ติดอย่ใู นจติ วิญญาณของลกู ศิษย์ อย่างไม่อยภู่ ายใต้ ขอบเขตของกาลเวลา ให้งานกระเพ่อื มพาจติ วญิ ญาณของเราไปปรากฏอย่บู นแผ่นดิน ด้วยการ นกึ เสมอว่าผลของงาน คือจารึกด้วยหัวใจท่ีเราได้เขียนบันทึกไว้ในโลก ข้าม พ้นชว่ งเวลาท่ีคบั แคบเสมอ กระดาษทีเ่ ราใชเ้ ขยี น มใิ ชเ่ ป็นผลงาน ถา่ ยทอดมาของเรา ขา้ มศตวรรษหรอกหรอื ? เสื้อผ้าที่เราใส่ มใิ ชเ่ ป็นผลงานตอ่ เนอื่ ง มาจากบรรพบรุ ษุ ทนี่ ิรนามของเราหรอกหรือ? ดว้ ยงานเทา่ นัน้ ที่ความตอ่ เนือ่ งจาก จิตใจของเราจะตอ้ งคงอยู่ไปนานแสนนาน เม่ือมองงานด้วยสายตาเช่นนี้ พงึ เชญิ ชวนกันและกนั จารึกงานด้วยหัวใจ ของคุณไวเ้ ป็นทีร่ ะลึกในโลกงดงามใบน้รี ว่ มกนั บทความเล็กๆ นี้จึงชวนให้ทุกท่านได้เปิดใจรับรู้อย่างชัดเจน และกลับ มาใส่ใจงานท่ีอยู่เบ้ืองหน้าอย่างเต็มที่ เพื่อให้เราทุกคนพบว่า เม่ือเราให้ความ สนใจ ต้ังใจกับงานท่ีเราทาอยู่อย่างใส่ใจ เราจะขวนขวาย ค้นคว้า และหาทาง ปรับปรุงแกไ้ ขให้ดีขึน้ อย่างแน่นอน และเม่ือน้ันเราจะพบความมหัศจรรย์ท่ีอยู่ ในงานของเราและตัวเราทุกๆ คน รู้ทนั การเปล่ยี นแปลง การเดินทางเราต้องอาศยั แผนท่ี ในการดาเนินชวี ติ เราก็ต้องเข้าใจแผน ทีใ่ นการดาเนินชีวิต เม่ือมีแผนที่เราก็จะไม่หว่ันไหวไปกับอุปสรรค แผนที่ที่ จะช่วยให้เราเผชิญกับทุกๆ เหตุการณ์และทุกๆ อุปสรรค เพราะเรารู้ว่ามัน เป็นส่วนหน่งึ ของการเดนิ ทางเสมอ โสรีช์ โพธแิ ก้ว กลา่ วว่า “อย่าจัดความจริงให้เปน็ ไปตามใจ... แต่จงจดั ใจให้เข้ากบั ความเป็นจรงิ ” 45 สาหรับวยั ทางาน

ทุกปัญหาในชีวิตและการงานล้วนมที ีม่ าจากรากเดยี วกัน นั่นคือ เมื่อเรา พยายามจัดความจริงให้เป็นไปตามใจของเรา เช่น อยากให้เพื่อนร่วมงาน พูดจาใหด้ ีกวา่ น้ี อยากให้พ่อมีเวลามาให้ครอบครัวมากกว่านี้ อยากให้แม่ดูแล สขุ ภาพตัวเองใหด้ ีกวา่ น้ี อยากใหล้ ูกเข้านอนเร็วกว่าน้ี อยากให้ลูกอ่านหนังสือ ให้มากกว่านี้ อยากให้ตนเองเก่งกว่านี้ อยากให้หัวหน้าเห็นความสาคัญเรา มากกว่าน้ี อยากใหค้ ู่ชีวติ ให้ความใสใ่ จมากกวา่ น้ี ฯลฯ ทุกความคาดหวัง...ย่อมพาให้เราพบกับความผิดหวัง ดังน้ัน หน้าที่ของ เราพึงเปลี่ยนจากการจัดความจริงให้เข้ากับใจ มาเป็นการขยายใจหรือจัดใจ ให้อยกู่ บั ความจริงใหไ้ ด้ และจดั การอยา่ งเหมาะสม เราจะจดั ใจตนเองให้เข้ากบั ความเป็นจริงได้ ใจเราต้องกว้าง เราจะต้อง ยอมรับเพ่ือจะได้อยู่กับสิ่งต่างๆ อย่างกลมกลืนและสอดคล้อง และเม่ือเรา ไม่คาดหวังมากกวา่ ความจรงิ ทีใ่ หก้ บั เรา เราจะไม่เรียกรอ้ ง ด้นิ รน อึดอัด แต่ เราจะคอ่ ยๆ เรยี นรู้ท่ีจะอยู่กับสิ่งนั้น และแก้ไขจัดการให้ทุกอย่างดาเนินไป อยา่ งเหมาะสมและเกิดประโยชน์สงู สุด และเม่ือเรากลับมาจัดการท่ีตัวเรา สิ่งแรกที่จะเกิดข้ึน คือ ความสงบ กลมกลนื ราบรน่ื จะเกดิ ขึน้ ในสมั พันธภาพของเรากบั ผูค้ น และเมื่อเราพจิ ารณาจติ ใจของเราอยา่ งเทา่ ทันทุกๆ วัน เราจะค่อยๆ จัด ตนเองให้สอดคลอ้ ง และอยู่กบั ธรรมชาตขิ องผู้คนและสรรพส่ิงได้อย่างเหมาะ สมขนึ้ จนความอยาก ความปรารถนา ไม่เขา้ มารบกวนจติ ใจของเรา เราจะใชช้ ีวติ กับผู้คนรอบข้างได้อย่างพอเหมาะพอสมยิ่งขึน้ วัยทางานควรเปน็ วัยแห่งความสขุ สร้างสรรค์ สรา้ ง ประโยชนแ์ ละการเตรียมตวั ให้เตบิ ใหญต่ ่อไปในอนาคต การอาศัยวยั ทางานใหเ้ ปน็ วยั แหง่ การรู้ตัวและพฒั นาจติ ใจ ของตน ให้กวา้ ง ให้สงบ ให้ม่ันคงและใหม้ ีชีวิตชวี า จึงเปน็ เรอื่ งสาคญั เพ่ือวา่ เราจะไดเ้ ปน็ ตน้ ไม้ใหญท่ ่แี ข็งแรง สามารถ ใหค้ วามรม่ เยน็ ไดอ้ ยา่ งม่นั คงกับผคู้ นรอบข้างและสังคมตอ่ ไป อยากสุขภาพดี ต้องมี 3 อ. 46

เมือ่ อยากใหเ้ พอื่ นรว่ มงานพดู จาให้ ดกี วา่ น้ี สิง่ ทเ่ี ราพงึ ทาคือ ระวงั การใช้วาจาของ เราเอง อยากใหพ้ ่อมีเวลามาให้ครอบครัวมากกว่านี้ ส่ิงที่ เราพงึ ทาคอื ให้เวลากบั พอ่ มากข้นึ อยากให้แม่ดแู ลสขุ ภาพตวั เองใหด้ ีกวา่ นี้ ส่ิงที่เราพึง ทาคือ ชว่ ยดแู ลสขุ ภาพแมท่ ีเ่ ราทาได้ อยากให้ลูกเข้านอนเร็วกว่านี้ สิ่งที่เราพึงทาคือ ให้ โอกาสลกู รบั ผิดชอบตนเอง อยากให้ลูกอ่านหนังสือให้มากกว่านี้ สิ่งที่เราพึงทา คือ ช่ืนชมในส่ิงต่างๆ ท่ลี ูกไดท้ า อยากใหต้ นเองเกง่ กว่านีท้ ี่เราพงึ ทา คือ ชื่นชม ยินดีกบั ตนเอง ไม่เปรียบกบั คนอนื่ อยากให้หัวหนา้ เหน็ ความสาคัญเรามากกว่าน้ี ส่งิ ท่ีเราพึงทาคือ ให้ความสาคัญกับการทางาน อยากใหค้ นรกั ให้ความใส่ใจมากกวา่ นี้ สง่ิ ทเ่ี รา พึงทาคือ ใหค้ วามใสใ่ จดูแลกับคนรัก ฯลฯ 47 สาหรับวยั ทางาน

บรรณานุกรม กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. 190 เมนูชูสุขภาพ. โรงพิมพ์องค์การสงเคราะหท์ หารผ่านศกึ . 2547. คณะกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เพื่อสร้างความเช่ือมโยงด้านอาหาร และโภชนาการสู่คุณภาพชีวิตท่ีดีภายใต้การดาเนินงานของคณะ กรรมการอาหารแหง่ ชาติ. การเพมิ่ การบรโิ ภคพืช ผกั ผลไม.้ โรงพมิ พ์ องคก์ ารสงเคราะหท์ หารผา่ นศกึ . 78 หน้า. ทิศทางการทางานของแรงงานไทย. สานักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวง- เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร. http://service.nso.go.th/nso/ nsopublish/citizen/ news/news_lfsdirect.jsp/. เข้าถึงวันท่ี 8 พฤษ- ภาคม 2556. ยุวศรี ต่ายคา. สาระน่ารู้เก่ียวกับการนอนหลับ.สาขาชีววิทยา สถาบัน สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สสวทท.) http://biology. ipst.ac.th/index.php/aticle-2 5 5 3 / 2 8 3 -knowledge-about-sleep. html. เข้าถึงวนั ที่ 8 กรกฎาคม 2556. รญิ เจรญิ ศริ ิ, รัชนี คงคาฉยุ ฉาย. โภชนาการกับผลไม้. กรุงเทพฯ: สารคดี. 2551. วสิ ฐิ จะวะสิต, รตั นา วฒั นาไพศาลตระกูล, นฐั พล ต้งั สุภูมิ. ส่วนประกอบใน ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อประโยชน์เชิงพันธภาพ. โภชนาการ 2552; 44 (2):42-55. สารประชากร มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล ปีท่ี 22 มกราคม 2556. สานักงานสารวจสุขภาพประชาชนไทย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. รายงานการสารวจสขุ ภาพประชาชนไทย โดยการตรวจร่างกาย ครั้งท่ี 4 พ.ศ. 2551-2552. Ashwell M. Charts based on body mass index and waist-to- height ratio to assess the health risks of obesity: A review. Open Obes J 2011;3: 78-84. อยากสุขภาพดี ตอ้ งมี 3 อ. 48

Thaikruea L, Seetamanotch W, Seetamanotch S. Appropriate cut-off level of BMI for screening in Thai adults. J Med Assoc Thai 2006;89(12): 2123-2128. Tudor-Locke C, Bassett DR Jr, Rutherford WJ, Ainsworth BE, Chan CB, Croteau KA, Giles-Corti B, Masurier GL, Moreau K, Mrozek J, Oppert J-M, Raustorp A, Strath SJ, Thompson DL, Whitt-Glover MC, Wilde B, Wojcik JR. BMI-referenced cut points for pedometer-determined steps per day in adults. J Phy Act Health 2008;5 (Supplement 1):S126–S139. WHO expert consultation.Appropriate body-mass index for Asian populations and its implications for policy and in- tervention strategies. Lancet 2004;363:157-163. World Cancer Research Fund/American Institute for Cancer Re- search. Food, Nutrition, Physical Activity, and the Prevention of Cancer: a Global Perspective. Washington, DC: AICR, 2007. 49 สาหรบั วยั ทางาน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook