Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 8.สุขภาพจิตและโรคทางจิตเวชวัยรุ่น

8.สุขภาพจิตและโรคทางจิตเวชวัยรุ่น

Description: 8.สุขภาพจิตและโรคทางจิตเวชวัยรุ่น

Search

Read the Text Version

สขุ ภาพจติ และโรคทางจติ เวชวยั รนุ่ ศศกร วิชัย นักจติ วิทยาคลินิกชานาญการพิเศษ รองผู้อานวยการดา้ นการพฒั นาระบบบริการสขุ ภาพจติ และจติ เวชในเครือขา่ ยบริการสาธารณสขุ สถาบนั สุขภาพจติ เด็กและวัยร่นุ ราชนครินทร์

ภาวะซึมเศร้า (Depression)

อาการ และการแสดงออกของโรคซึมเศรา้ ในเด็ก และวยั รนุ่ • 1. มีอารมณซ์ ึมเศร้า ท้อแท้ เบอ่ื หนา่ ย เกบ็ ตัว โดยอารมณเ์ ศรา้ อาจจะ เกดิ ขน้ึ เองโดยไมม่ สี าเหตุ 2. มีพฤติกรรมเปลีย่ นไป ท่พี บบอ่ ย คือ อารมณ์หงุดหงิด ฉุนเฉยี ว ง่าย ขาดสมาธิ ผลการเรยี นตก เกเร บางรายอาจจะ ใชส้ ารเสพติด หรือ หนีจากบา้ น 3. มีอาการทางกาย โดยตรวจไม่พบพยาธสิ ภาพทางรา่ งกาย เชน่ ปวด หัว นอนไมห่ ลับ ปวดทอ้ ง อาหารไมย่ ่อย ทอ้ งอืด ไม่อยากกนิ อาหาร บางรายอาจจะมีอาการงว่ งนอนตลอดเวลา • ผู้เป็นโรคซึมเศรา้ ทง้ั เดก็ และวัยรนุ่ อาจจะมี โรคทางจติ เวชอ่ืนๆ รว่ ม ด้วย เช่นโรคเครียด โรควติ กกังวล

เคร่อื งมือการประเมินโรคซมึ เศรา้ ดว้ ย 9Q

การแปลผลการใชแ้ บบประเมินโรคซึมเศร้า 9Q คะแนน การแปลผล <7 ปกติ 7-12 ระดบั Mild 13-18 ระดับ Moderate ≥19 ระดบั Severe คา่ จุดตัด (cut off score) = 7 คะแนน เป็นจดุ ตดั ท่ีแบ่งระดับการ วนิ ิจฉยั หรือจาแนกคนทปี่ ว่ ยออกจากคนไมป่ ว่ ย (cut off level) โดย เลอื กจากค่าความไว (Sensitivity) 75.68% และความจาเพาะ สูง (Specificity) 92.85% เปน็ ระดบั ที่สงู และสอดคล้องกับบริบท ของโรคซมึ เศร้าในคนไทย





การรกั ษา 1. ประเมนิ ความเสยี่ งในการฆา่ ตัวตาย โดยเฉพาะครอบครัวทมี่ ปี ระวัติ ฆา่ ตวั ตายมาก่อน ถ้ามีความเสี่ยงสูง ตอ้ งรับไวร้ ักษาในโรงพยาบาล ทกุ ราย 2. จติ บาบดั / ใหค้ วามรู้ แกผ่ ูป้ ว่ ย และครอบครวั 3. ปรับปัจจัยในการดารงชวี ติ ใหส้ มดลุ เช่น ควรออกกาลังกาย สม่าเสมอต่อเน่อื ง วนั ละ 30 นาที 3 ครั้ง / อาทิตย์ เปน็ อยา่ งนอ้ ย ทางานอดิเรกที่ชอบ วาดภาพ เล่นดนตรี ท่องเทย่ี ว ปรับทัศนคติใน การมองปญั หา การดารงชวี ิตให้เป็นบวก และมคี วามสุข 4. ใชย้ าต้านเศรา้ (Antidepressant)

เดก็ ติดเกม (Game addiction)

วยั ไหนใช้ Internet เยอะสดุ

วัยรนุ่ ใช้ Internet ทาอะไรกนั ? • ปี 50 ใช้ รอ้ ยละ 39.7 • ปี 54 ใช้ รอ้ ยละ 51.9 • ใชเ้ ลน่ เกม ร้อยละ 65.4



ข้อมลู เดก็ ตดิ เกม • Childwatch พบ เด็กเล่นเกมเพิ่มขึ้นจาก รอ้ ยละ 20.12 ในปี 50 เป็นรอ้ ยละ 26.79 ในปี 52 • จานวนนต้ี ิดเกม 1 ใน 8

เกม • สรา้ งความสนกุ สนาน เพลิดเพลิน • เสรมิ ทักษะ ความรู้

แบบประเมนิ การติดเกม GAST • 16 ข้อ • วัด 3 ดา้ น คอื การหมกม่นุ กบั เกม, การเสยี ความสามารถในการ ควบคุมการเล่นเกม และ การเสยี หน้าท่คี วามรบั ผิดชอบ • ไมใ่ ช่เลย ให้ 0 คะแนน • ไมน่ ่าใช่ ให้ 1 คะแนน • น่าจะใช่ ให้ 2 คะแนน • ใช่เลย ให้ 3 คะแนน

ตงั้ แต่ฉันชอบเล่นเกม… GAST 1. .....ฉันสนใจหรอื ทากิจกรรมอย่างอ่ืนน้อยลงมาก 2. .....ฉันมกั เล่นเกมจนลืมเวลา 3. .....ความสมั พนั ธร์ ะหว่างฉันกบั คนในครอบครวั แย่ลง 4. ....ฉันเคยเล่นเกมดึกมาก จนทาให้ตื่นไปเรียนไม่ไหว 5. .....ฉันมกั เล่นเกมเกินเวลาท่ีฉันได้รบั อนุญาตให้เล่น 6. .....ฉันมกั อารมณ์เสียเวลามีใครมาบอกให้เลิกเล่นเกม 7. .....ฉันเคยโดดเรียนเพื่อไปเล่นเกม 8. .....เร่ืองท่ีฉันคยุ กบั เพ่ือนๆ มกั เป็นเรอื่ งเกี่ยวกบั เกม 9. .....ฉันใช้เวลาว่างส่วนใหญ่ไปกบั การเล่นเกม 10. .....การเรียนของฉันแย่ลงกว่าเดิมมาก 11. .....กล่มุ เพ่ือนท่ีฉันคบด้วย ชอบเล่นเกมเหมือนกบั ฉัน 12. .....เวลาที่ฉันพยายามหกั ห้ามใจตวั เองไมใ่ ห้เล่นเกมมาก ฉันมกั ทาไมส่ าเรจ็ 13. .....เงินของฉันส่วนใหญ่หมดไปกบั เกม (เช่น ซื้อบตั รชวั่ โมง, ซื้อหนังสือเกม, ซื้อไอเทม็ ในเกม ฯลฯ) 14. .....หลายคนบอกว่า อารมณ์ของฉันเปลี่ยนไป (เบอื่ ง่าย, หงุดหงิดง่าย, ขี้ราคาญ ฯลฯ) 15. .....หลายคนบอกว่า พฤติกรรมของฉันเปล่ียนไป (เถียงเก่ง, ไม่เชื่อฟัง, ไมร่ บั ผิดชอบ ฯลฯ) 16. .....หลายคนบอกว่าฉันติดเกม

การแปลผล คะแนนรวมของแบบทดสอบ กลมุ่ ระดับความรนุ แรงของ ผหู้ ญิง GAST ปกติ ปัญหา ยงั ไมม่ ีปญั หาในการเล่น คะแนนตา่ กวา่ 16 คลังใคล้ เกม น่าจะติด เรมิ มีปัญหาในการเลน่ เกม คะแนนระหว่าง 16-22 มปี ัญหาในการเลน่ เกมมาก คะแนนมากกวา่ หรือเท่ากบั 23 เกม คะแนนรวมของแบบทดสอบ กลุ่ม ระดับความรุนแรงของ ผชู้ าย GAST ปกติ ปัญหา ยังไมม่ ีปัญหาในการเลน่ คะแนนต่ากว่า 24 คลงั ใคล้ เกม น่าจะตดิ เรมิ มีปัญหาในการเลน่ เกม คะแนนระหวา่ ง 24-32 มปี ญั หาในการเล่นเกมมาก คะแนนมากกวา่ หรือเท่ากบั 33 เกม

ระยะของการตดิ เกม 1. ระยะเริ่มติดเกม คือ เล่นเกมมากกว่าทาอย่างอื่น 2. ระยะปัญหาปานกลาง คือ เร่ิมมีปัญหากบั ครอบครวั ใช้เงิน เวลาไปกบั การเล่นเกม 3. ระยะปัญหารนุ แรง คือ หมกม่นุ คล้ายติดยา นอนดึก ไมเ่ รียน ขาดความรบั ผิดชอบ เกบ็ ตวั

อาการ เดก็ ตดิ เกม 1. เพลดิ เพลนิ ใจเวลาทีไ่ ดเ้ ล่นเกม มากกว่า 2 ชว่ั โมงต่อวนั 2. พอใจเม่ือชนะจากการเลน่ และตอ้ งเพม่ิ ความถ่กี ารชนะมากขึ้น 3. เลน่ เกมนานกวา่ ท่ีตงั้ ใจไว้ เมอ่ื จบเกมก็จะขอเล่นเพ่มิ ไปอกี 4. หงดุ หงิดงา่ ย หรอื เครียด เม่ือถูกขัดขวางไม่ให้เล่นเกม 5. พยายาม ดิน้ รน ใหไ้ ดเ้ ล่นเกม 6. เวลาเครียด มคี วามต้องการเล่นเกมมากข้นึ เพือ่ หลบปญั หา 7. หมกมนุ่ ความคิดแตเ่ รื่องเกม 8. เล่นเกมจนกระทบตอ่ ชีวติ ประจาวัน เช่น เรยี นตก สังคมไม่คบ 9. พยายามลด เลิก ก็ไม่สามารถทาได้ ท้งั ๆท่รี ู้วา่ มีผลกระทบต่อตนเอง



ทาไมเดก็ ถึงติดเกม  การออกแบบเกม ใช้เทคนิคสงู  โลกแฟนตาซี  เดก็ มีความเครียดสงู จากการเรียน  โลกในไซเบอรม์ ีความน่าอยู่  มีผคู้ นมากมายและเป็นพวกเดียวกนั  มีความท้าทาย อยากเอาชนะ ส้อู ีกนิดจะชนะ  เล่นง่าย เอาชนะยาก บางเกมไม่มีจดุ จบ  ความภาคภมู ิใจที่ได้

Why brains love games : Needs and motivations Maslow's pyramid of needs

ปญั หาหรอื โรคทางจิตเวชท่มี ักพบร่วมด้วย • โรคสมาธิสนั้ มีโอกาสติดเกมคอมพิวเตอรส์ งู กว่าเดก็ และวยั รนุ่ ทวั่ ไป • พฤติกรรมดือ้ ต่อต้าน ก้าวร้าว หนีเรียน หนีออกจากบา้ น • อารมณ์ซึมเศร้า • บคุ ลิกภาพแบบหลบเล่ียง

ปญั หาของการติดเกม 1. สขุ ภาพกาย • ปัญหาการกิน/นอน, ผอม โทรม / อ้วน ไม่แขง็ แรง • สายตา, ข้อมือ, หลงั , หวั ใจและหลอดเลือด 2. ปัญหาการเรยี น • ไมอ่ า่ นหนงั สอื / ต่นื สาย / ไมไ่ ปโรงเรยี น / สอบตก 3. สมั พันธภาพ • ขาดทักษะการเขา้ สังคม • ขาดเพ่ือน 4. ปญั หาทางอารมณ์: เดย๋ี ว, เถยี ง, หงุดหงิด, กา้ วรา้ ว 5. บุคลกิ ภาพ • เอาชนะ โกงได้, แพ้ไม่เปน็ แพ้ไมย่ อมเลกิ , ไมม่ เี สมอ ไมป่ ระนปี ระนอม • ขาดความรบั ผดิ ชอบ • ก้าวร้าว / หมกมนุ่ เร่อื งเพศ

ผลกระทบของเดก็ ติดเกม











ผลกระทบดา้ นความกา้ วร้าวรุนแรง • การเล่นเกมคอมพิวเตอรก์ ระต้นุ ให้เกิดความก้าวรา้ วรนุ แรงมากกว่า เนื่องจาก ผเู้ ล่นเกมมีบทบาทเป็นผกู้ ระทาความรนุ แรงด้วยตนเองและได้รบั รางวลั เป็น แรงเสริมจากการกระทานัน้ ด้วย • เกมรนุ่ ใหม่ยงั มีการพฒั นาให้ภาพการเคลื่อนไหวเหมอื นจริงมาก • ผเู้ ล่นสามารถกาหนดให้ตวั ละครในเกมมีบคุ ลิกเหมือนตนเองหรือตามความ ต้องการได้ด้วย • รอ้ ยละ 75-90 ของเกมท่ีเดก็ และวยั ร่นุ นิยมเป็นเกมที่มีความรนุ แรง แต่พอ่ แม่ไม่ รู้ • การเล่นเกมท่ีมีความรนุ แรงทาให้เดก็ และวยั ร่นุ มีความเหน็ อกเหน็ ใจผอู้ ื่นและมี พฤติกรรมช่วยเหลือผอู้ ่ืนลดลง

ผลกระทบดา้ นทกั ษะสงั คม • เพื่อนโลกไซเบอร์ แต่โลกความเป็นจริง โดดเดี่ยวและซึมเศร้า • ลดสมั พนั ธภาพท่ีแน่นแฟ้ น • เดก็ ควบคมุ คอมพิวเตอรเ์ อง ทาลายการมีอานาจของพ่อแม่ ในชีวิตจริง • แยกตวั ตนจริงในเกม ออกจาก ตวั ตนชีวิตจริงไม่ได้ • เกมสร้างสมั พนั ธภาพที่เปราะบางกบั คนแปลกหน้า ซึ่งคนที่เข้ามามี วตั ถปุ ระสงค์ ส่วนวยั รนุ่ นัน้ อาจใช้เพราะความอยากลอง หรือบางคนมี ความวิตกกงั วลในการเข้าสงั คม

การปอ้ งกันและชว่ ยเหลอื เด็กตดิ เกม

ปัจจัยในการชว่ ยแกป้ ญั หา ตดิ เกม • ครอบครวั • การเลยี้ งดู • สัมพนั ธภาพทีด่ ีในครอบครัว • สังคมรอบขา้ ง

10 ข้อปฏิบตั ิในการป้ องกนั และแก้ไขปัญหา เดก็ ติดเกมและอินเตอรเ์ น็ต หมวดพ้นื ฐานสาคญั หมวดหวั ใจของการเปลยี่ นแปลง 1. สร้างวินัยและความรับผิดชอบ ตั้งแต่ยังเล็ก 7. มีทางออกทส่ี รา้ งสรรค์ใหเ้ ดก็ 8. สรา้ งรอยย้ิมเล็กๆในครอบครัว หมวดการจดั การสงิ่ แวดลอ้ มอยา่ งงา่ ยแตไ่ ดผ้ ล 9. การควบคุมอารมณแ์ ละการสร้างความสุข 2. ลดโอกาสการเข้าถงึ คอมพิวเตอร์และอนิ เตอร์เน็ต 3. ใช้มาตรการทางการเงิน เลก็ ๆในใจของพอ่ แม่เอง 10. เรมิ่ ต้นการเปล่ยี นแปลงท่ตี วั เรา...ทนั ที หมวดปฏสิ มั พนั ธแ์ ละการสอื่ สารคุณภาพ 4. ฟงั และพูดดว้ ยดตี อ่ กนั 5. จบั ถูก ช่นื ชม ใหก้ าลังใจ 6. รว่ มกาหนดกตกิ าอยา่ งเปน็ รปู ธรรม และรักษากติกาแบบหนกั แนน่ แต่ สภุ าพ

หมวดพืน้ ฐานสาคญั • 1.สรา้ งวินัยและความรบั ผิดชอบตงั้ แต่เลก็ – ‘ไม้อ่อนดดั ง่าย ไม้แก่ดดั ยาก’ – กาหนดวินัยและมอบหมายความรบั ผิดชอบ = กติกา อะไรทาได้(ต้องทา/ควรทา) อะไรทาไมไ่ ด้(ต้องไม่ทา/ไมค่ วรทา) – การกาหนดรางวลั และการลงโทษ ให้รางวลั หรอื ลดโทษกรณีท่ีทาได้ตามกติกา และ ลงโทษหรอื ตดั รางวลั กรณีที่ไมส่ ามารถทาตามกติกาได้ – รกั ษากติกาและการมอบหมายความรบั ผิดชอบให้ สมา่ เสมอ

หมวดการจดั การส่ิงแวดล้อมอย่างงา่ ยแต่ได้ผล 2. ลดโอกาสการเข้าถงึ คอมพิวเตอรแ์ ละอินเตอรเ์ น็ต เพื่อการเล่นเกม – จากดั จานวนคอมพิวเตอรใ์ นบ้านให้มีน้อยกว่าจานวนคน – กาหนดสถานท่ีตงั้ ของคอมพิวเตอรใ์ นห้องโถงหรอื พืน้ ท่ีท่ีใช้ร่วมกนั ใน บา้ น – การมีชวั่ โมงหรือความเรว็ ของเข้าถึงอินเตอรเ์ น็ตท่ีจากดั – การจดั การทางกายภาพอ่ืนๆ เช่น การเดินทางของเดก็ ไม่ผา่ นร้านเกม

หมวดการจดั การสิ่งแวดล้อมอย่างงา่ ยแต่ได้ผล 3.ใช้มาตรการทางการเงิน – จากดั จานวนเงินและความถ่ีของการให้เงิน – ให้ลกู รบั ร้คู ่าใช้จ่ายในบา้ นเกี่ยวกบั การเล่นเกม – การให้เงินเพิ่มอย่างรอบครอบ – การให้ลกู ทางานแลกกบั เงิน / ให้ลกู พ่ึงตนเองในการเล่น เกม

หมวดการสรา้ งสมั พนั ธภาพและการส่ือสารคณุ ภาพ 4.ฟังและพดู ดีต่อกนั – การฟังแบบดีต่อกนั – การพดู แบบดีต่อกนั – การพดู จากใจ ‚ฉัน‛ (I-message)

หมวดการสร้างสมั พนั ธภาพและการส่ือสารคณุ ภาพ 5.จบั ถกู ชื่นชม ให้กาลงั ใจ – ตระหนักรถู้ ึงความสาคญั ของกาลงั ใจและการสรา้ งกาลงั ใจในตวั ลกู – การจบั ถกู – การช่ืนชมให้กาลงั ใจ

หมวดการสรา้ งสมั พนั ธภาพและการสื่อสารคณุ ภาพ 6.รว่ มกาหนดกติกาอย่างเป็นรปู ธรรม –รปู ธรรมกติกา –รว่ มกาหนดกติกา – การเจรจาต่อรอง –การบงั คบั ใช้อย่างเข้มแขง็ แต่อ่อนโยน (หนักแน่น)

หมวดหวั ใจของการเปล่ียนแปลง 7.มีทางออกท่ีสรา้ งสรรค์ –เหน็ ความสาคญั ของการมีทางออกที่สรา้ งสรรค์ นาไปส่กู ารสรา้ งความภาคภมู ิใจ –เปิ ดโอกาส, ลูกสนใจ, หลากหลาย – พ่อแม่ต้องยอมลงทุน(เวลาพ่อแม่)

หมวดหวั ใจของการเปล่ียนแปลง 8.สร้างรอยยิ้มเลก็ ๆในครอบครวั – เหน็ ความสาคญั ... – หยอดความสดชื่นเลก็ ๆน้อยๆแบบไม่หวงั ผล – ทาให้ดีขึน้ ควบค่กู บั ไม่ทาให้แย่ลง

หมวดหวั ใจของการเปลี่ยนแปลง 9.ควบคมุ อารมณ์และสรา้ งความสขุ เลก็ ๆในใจของพ่อแมเ่ อง – การแก้ไขปัญหาไม่สามารถเนรมิตได้ – สรา้ งพลงั ใจในพ่อแม่ก่อน – เข้าใจและรวู้ ิธีคลายเครียด – นวดคลายเครียด – วิธีควบคมุ อารมณ์ (ข่ม / ระบาย / เบ่ียงเบน / โยนทิ้ง) และ การฝึ กบริหารลมหายใจคลายเครียด/สรา้ งสขุ

หมวดหวั ใจของการเปล่ียนแปลง 10.เร่ิมต้นการเปลี่ยนแปลงที่ตวั เรา...ทนั ที – เปลี่ยนแปลงปัจจยั ลบในบ้าน – เพ่ิมปัจจยั บวกในบ้าน – เปล่ียนวิธีการเปล่ียนแปลงลกู – เปลี่ยนแปลงตวั เองให้ลกู เหน็ เป็นตวั อย่าง – ข้าพเจ้าจะเปลี่ยนแปลงตนเอง คือ.........................................

สงิ ทนี ่าเปน็ ห่วง...นอกจากเกม

ความเจริญ ทมี กั มาคู่กบั ความเสอื มถอย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook