Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore asean-media-center-20130815-110510-212399

asean-media-center-20130815-110510-212399

Description: asean-media-center-20130815-110510-212399

Search

Read the Text Version

â´Â¡ÒÃʹºÑ ʹ¹Ø ¨Ò¡ ¡ÃÁÍÒà«ÂÕ ¹ ¡ÃзÃǧ¡Òõҋ §»ÃÐà·È



จุดเรม่ิ ต้นของอาเซยี น3 อาเซยี น หรอื สมาคมประชาชาตแิ หง่ เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ (Association of Southeast Asian Nations : ASEAN) รเิ รม่ิ โดยประเทศไทย กอ่ ตง้ั ขน้ึ ทก่ี รงุ เทพมหานคร เมื่อวันท ี่ 8 สิงหาคม 2510 มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความร่วมมือ ระหว่างประเทศสมาชิกในด้านการเมือง เศรษฐกิจ สงั คมและวฒั นธรรม วทิ ยาศาสตร์ การเกษตร อตุ สาหกรรม การคมนาคม รวมทัง้ ยกระดับรายไดแ้ ละความเปน็ อย่ขู องประชาชน ปจั จบุ ันอาเซยี นมีสมาชกิ ทง้ั หมด 10 ประเทศ ได้แก่ ไทย อินโดนีเซยี มาเลเซยี ฟลิ ปิ ปินส์ สิงคโปร์ บรูไนดารุสซาลาม เวียดนาม ลาว เมียนมาร์ และกัมพูชา มีประชากรในภูมิภาครวมกัน ประมาณ 600 ลา้ นคน อาเซยี นสู่การเป็นประชาคมอาเซียนปี 2558 ปจั จบุ นั โลกของเราเปลย่ี นแปลงไปจากเมอ่ื 40 กวา่ ปกี อ่ นทเ่ี รม่ิ กอ่ ตง้ั อาเซยี นอยา่ งมาก อีกทั้งความเปลี่ยนแปลงต่างๆ ก็เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำให้อาเซียนต้องเผชิญสิ่งท้าทายใหม่ๆ อาทิ การก่อการร้าย ยาเสพติด การค้ามนุษย์ สิ่งแวดล้อม ภัยพิบัติ รวมทั้งการแข่งขัน ทางเศรษฐกิจที่เพิ่มขึ้น ดังนั้น อาเซียนจึงจำเป็นต้องรวมตัวกันเพื่อเพิ่มอำนาจต่อรอง และ เพม่ิ ขดี ความสามารถทางการแขง่ ขนั กบั ประเทศในภมู ภิ าคใกลเ้ คยี งและในเวทรี ะหวา่ งประเทศ รวมทง้ั เพื่อให้สามารถแก้ไขปัญหาด้านความมั่นคงและสังคม และตอบสนองความต้องการของประชาชน อย่างแท้จริง ผ้นู ำอาเซยี นท้งั 10 ประเทศจงึ เห็นพ้องกนั วา่ อาเซียนควรจะรว่ มมอื กนั ใหเ้ หนยี วแน่น เข้มแข็ง และมั่นคงยิ่งขึ้น จึงได้มีวิสัยทัศน์และประกาศให้มีการสร้างประชาคมอาเซียนขึ้นมา โดยประชาคมอาเซยี นท่จี ะสร้างข้ึนประกอบดว้ ย 3 เสาหลัก ได้แก่ ประชาคมการเมอื งและความมน่ั คงอาเซยี น (ASEAN Political-Security Community) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น (ASEAN Economic Community) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community) เพื่อให้อาเซียนมีความเข้มแข็งในทุกด้าน ดังนั้น ประชาคมอาเซียนจึงมิใช่เพียงเรื่อง เศรษฐกิจอย่างเดียวเท่านั้น แต่เป็นการดำเนินการในทุกเรื่องที่เกี่ยวกับความปลอดภัย ชีวิต ความเปน็ อยู่ และการกินดอี ย่ดู ขี องประชาชน อาเซียนได้กำหนดวนั ที่จะเปน็ ประชาคมอาเซยี นอย่างเป็นทางการ ในวนั ที่ 31 ธันวาคม 2558

ทำความรูจ้ กั ประชาคมอาเซียน 4 ประชาคมอาเซยี น (ASEAN Community) คอื การรวมตวั ของ ประเทศสมาชิกอาเซียนให้ใกลช้ ดิ และเปน็ หนึง่ เดียวกนั มากขึน้ เพ่อื ใหม้ ี ความแขง็ แกรง่ สามารถสรา้ งโอกาสและรบั มอื สง่ิ ทา้ ทายไดท้ กุ ดา้ นในโลก ปัจจุบัน ตลอดจนเพื่อเพิ่มอำนาจต่อรองและขีดความสามารถ ในการแข่งขนั ของอาเซียนทุกดา้ นในเวทีระหวา่ งประเทศ การเป็นประชาคมอาเซียนจะช่วยทำให้สมาชิกอาเซียนเป็น เหมอื นคนในครอบครวั เดียวกันท่ีมีความแข็งแกรง่ ปลอดภยั มีสภาพ ความเปน็ อยทู่ ด่ี แี ละมคี วามรสู้ กึ เปน็ อนั หนง่ึ อนั เดยี วกนั รวมทง้ั สามารถ ประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกจิ ไดอ้ ยา่ งสะดวกยง่ิ ขึ้น • ป(AรSะEชANาคPมoกliาtiรcเaมlอื-SงeแcลuะriคtวyาCมoมmัน่ mคuงnอitาyเซ:ยี AนPSC) มุ่งส่งเสริมความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคง เพื่อเสริมสร้างและธำรงไว้ซึ่ง สันติภาพและความมั่นคงของประเทศในภูมิภาค ตลอดจนทำให้ประเทศในภูมิภาคอยู่ร่วมกัน อย่างสนั ติสขุ สามารถแกไ้ ขปญั หาตา่ งๆ ได้โดยสันติวิธี ประชาคมการเมืองและความมนั่ คงอาเซยี น มีลักษณะ 3 อยา่ ง คอื • ประชาชนในอาเซียนอยู่ในภูมิภาคที่มีกฎกติกาชัดเจน ยึดมั่นแนวคิดและค่านิยม เดียวกัน เช่น หลักนิติธรรม ประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชนและธรรมาภิบาล เพื่อช่วยส่งเสริม เสถยี รภาพ และความสงบสขุ ในภมู ภิ าคอาเซยี น • ประชาชนในอาเซียนสามารถอยู่ในภูมิภาคที่มีความมั่นคงและปลอดภัย ปราศจาก สงครามและการสรู้ บ รวมท้งั สามารถแก้ไขปัญหาดา้ นความม่ันคงอื่นๆ รว่ มกนั เช่น การกอ่ การร้าย อาชญากรรมขา้ มชาติ ยาเสพติด การค้ามนษุ ย์ และโจรสลัด • ประเทศในอาเซียนมคี วามสัมพนั ธท์ ี่ดีกับประเทศอืน่ ไม่วา่ จะเป็น จีน ญ่ปี ุ่น เกาหลใี ต้ อนิ เดยี สหรัฐอเมรกิ า ออสเตรเลยี นวิ ซีแลนด์ ฯลฯ เพ่ือใหป้ ระเทศเหลา่ น้ี เป็นมิตรทดี่ ีของอาเซยี น และเขา้ มาสนบั สนนุ อาเซียนในเร่อื งตา่ งๆ ท่เี ปน็ ประโยชน์

5 • ป(AรSะEชAาNคมEเcศoรnษoฐmกicิจอCาoเซmยีmนunity : AEC) คอื การรวมตัวทางเศรษฐกจิ ของอาเซยี นใหใ้ กล้ชิดยงิ่ ขนึ้ เพอ่ื รว่ มกันสรา้ งความแข็งแกร่ง ทางเศรษฐกิจของประเทศในอาเซียน และการอำนวยความสะดวกในการติดต่อค้าขายระหว่างกัน ซง่ึ จะชว่ ยใหภ้ มู ภิ าคอาเซยี นสามารถแขง่ ขนั กบั ภมู ภิ าคอน่ื ได้ และประชาชนในประเทศสมาชกิ อาเซยี น มีความเปน็ อยทู่ ่ดี ียิ่งขึ้นต่อไป ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ไม่ใช่เพียงแค่ เขตการค้าเสรี หรือการเปิดเสรีในด้านตา่ งๆ เท่านั้น แต่ยังหมายรวมถึงความร่วมมือทางเศรษฐกิจในหลายด้าน เพื่อให้ประเทศสมาชิกอาเซียน รวมตวั กนั ได้ใกลช้ ิดมากขึ้น รวมท้ังมีการพฒั นาและการเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกิจทยี่ ่งั ยนื ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น มีลกั ษณะ 4 อย่าง คือ • ประเทศในอาเซียนสามารถค้าขายระหว่างกันได้โดยไม่เสียภาษีนำเข้า นอกจากสินค้า ไมก่ ร่ี ายการทม่ี ขี อ้ ยกเวน้ สามารถทำธรุ กจิ ดา้ นบรกิ ารบางสาขาในประเทศอาเซยี นอน่ื ได้ และสามารถ เข้าไปลงทุนในประเทศสมาชิกอาเซียนอื่น ในสาขาการเกษตร ประมง ป่าไม้ เหมืองแร่และ อุตสาหกรรมการผลิต โดยได้รับการปฏิบัติเหมือนคนในประเทศนั้น นอกจากนี้จะมีการอำนวย ความสะดวกการเคล่ือนย้ายบุคคลในวชิ าชพี 8 สาขา ไดแ้ ก่ แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล วศิ วกร สถาปนิก บัญชี นักสำรวจ และการบริการท่องเที่ยว ระหว่างประเทศอาเซียน โดยทั้งหมดนี ้ เพื่อเปา้ หมายในการเป็นตลาดและฐานการผลติ เดียวของอาเซียน • ประเทศในอาเซียนสามารถแข่งขันกับประเทศอื่นนอกภูมิภาค โดยได้ดำเนินการเรื่อง เครอื ขา่ ยคมนาคมขนสง่ และอำนวยความสะดวกการขนสง่ สนิ คา้ ขา้ มแดน รวมทง้ั โครงสรา้ งพน้ื ฐาน อน่ื ๆ เชน่ พลงั งาน และเทคโนโลยสี ารสนเทศ การคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค การสง่ เสรมิ นโยบายทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา การแขง่ ขนั ทเ่ี ปน็ ธรรม และการพฒั นาการคา้ สนิ คา้ ทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ • ประเทศในอาเซียนมีระดับการพัฒนาที่เท่าเทียมกัน และกลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดยอ่ ม (SMEs) ในแตล่ ะประเทศอาเซยี นมขี ดี ความสามารถในการแขง่ ขนั และสามารถปรบั ตวั ตอ่ เศรษฐกจิ ในปจั จบุ นั • นกั ธรุ กจิ ในอาเซยี นแขง่ ขนั ไดใ้ นระดบั สากล โดยมกี ารจดั ทำเขตการคา้ เสรี (FTA) ระหวา่ ง อาเซยี นกบั ประเทศคคู่ า้ ทส่ี ำคญั ซง่ึ ขณะนอ้ี าเซยี นไดจ้ ดั ทำ FTA แลว้ กบั 6 ประเทศ ไดแ้ ก่ จนี ญป่ี นุ่ เกาหลใี ต้ อนิ เดยี ออสเตรเลยี และนวิ ซแี ลนด์ นอกจากนี้ อาเซียนยังอยู่ระหว่างเจรจาความตกลงพันธมิตรทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (RCEP) ซึ่งจะเป็น FTA ระดับภมู ิภาคซงึ่ รวม FTA ทอี่ าเซียนมีกบั 6 ประเทศข้างต้นไว้ในฉบบั เดยี ว โดย RCEP นี้จะเพิ่มโอกาสและช่วยขยายตลาดการคา้ การลงทุนของไทยให้มากขน้ึ

• (ปAรSะEชAาNคมSสoงัcคioม-แCลuะltวuฒั raนlธรCรoมmอmาเuซnยีitนy : ASCC) 6 สะท้อนถึงมิติประชาชนในการสร้างประชาคมอาเซียนเพื่อให้เป็นสังคมที่เอื้ออาทรและ แบ่งปนั ประเทศตา่ งๆ สามารถแก้ไขปญั หาทางสังคมร่วมกัน และปรับปรุงสภาพความเป็นอยแู่ ละ คณุ ภาพชวี ติ ของประชาชนในทกุ ประเทศใหด้ ขี น้ึ ปราศจากโรคภยั ไขเ้ จบ็ มสี ง่ิ แวดลอ้ มทด่ี ี นอกจากน้ี ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนยังให้ความสำคัญกับการสร้างความรู้สึกร่วมกันของ ความเป็นพลเมืองอาเซียน เพื่อส่งเสริมความสามัคคีและความเป็นหนึ่งเดียวของประชาชน ในอาเซยี น ท้งั นี้ เพื่อให้ประชาคมอาเซยี นทจ่ี ะเกิดขน้ึ มปี ระชาชนเป็นศูนยก์ ลางอย่างแท้จริง ประชาคมสงั คมและวฒั นธรรมอาเซยี นมีลกั ษณะ 6 อยา่ ง คือ • ประชาชนสามารถเขา้ ถงึ การศกึ ษาอยา่ งเทา่ เทยี ม และมที กั ษะในการประกอบอาชพี รวมทง้ั มกี ารสง่ เสรมิ ความรทู้ างวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นอกจากน้ี ยงั มกี ารดำเนนิ การเกย่ี วกบั การเพม่ิ ขดี ความสามารถของขา้ ราชการ ซง่ึ ทงั้ หมดน้มี ีเปา้ หมายเพ่อื พฒั นาทรัพยากรมนุษย์แบบองค์รวม • ประชาชนอาเซยี นมชี วี ติ ความเปน็ อยแู่ ละคณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ี กนิ ดอี ยดู่ ี ปราศจากความยากจน อยูใ่ นสงั คมท่ปี ลอดภยั ปลอดยาเสพตดิ สามารถเขา้ ถงึ บริการดา้ นสาธารณสขุ รวมทั้งมีการเตรยี ม ความพรอ้ มเรือ่ งภยั พิบตั ิ • ประชาชนทกุ กลมุ่ ทกุ วยั ในอาเซยี นมสี ทิ ธแิ ละโอกาสอยา่ งเทา่ เทยี ม รวมทง้ั กลมุ่ ผดู้ อ้ ยโอกาส มีสวัสดิการสังคมที่ดี แรงงานโยกย้ายถิ่นฐานได้รับการคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐานตามกฎหมาย นอกจากนี้ ยงั มีการสง่ เสรมิ ใหภ้ าคธุรกจิ มกี ิจกรรมเพือ่ ชว่ ยเหลือสงั คม • ประเทศในอาเซียนจะร่วมกันสร้างสภาพแวดล้อมที่ดีและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ รวมทั้งร่วมกันแก้ไขปญั หามลพิษและหมอกควัน เพื่อส่งเสริมความยั่งยนื ดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม • ประชาชนอาเซยี นมคี วามร้สู ึกเปน็ หน่งึ เดยี วกัน และมีความเป็นพลเมืองอาเซียนรว่ มกนั แมจ้ ะมคี วามแตกตา่ งด้านวฒั นธรรม ประวัติศาสตร์ และศาสนา โดยดำเนนิ การผ่านการแลกเปล่ยี น ทางวฒั นธรรมและกฬี า และการจัดกจิ กรรมเสริมสร้างความตระหนกั รู้เกย่ี วกบั อาเซยี น • ประเทศในอาเซยี นรว่ มกนั ลดชอ่ งวา่ งดา้ นการพฒั นาระหวา่ งกนั โดยการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ทั้งดา้ นการเกษตร การประมง อตุ สาหกรรม และการพฒั นาชนบท ความร่วมมือภายใต้เสาสังคมและวัฒนธรรมเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับชีวิต ความเป็นอยู่ของประชาชน โดยที่ผ่านมามีตัวอย่างการดำเนินการที่ชัดเจน ได้แก่ การควบคุม การระบาดของโรค SARS เมื่อปี 2546 รวมทั้งการร่วมกันให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ประสบภัย สึนามใิ นภูมิภาคเม่อื ปี 2547 และไซโคลนนารก์ ิสในเมียนมารเ์ ม่ือปี 2551 พมิ พค์ รง้ั ท่ี 1 : มนี าคม 2556

ประโยชน์ที่ไทยจะได้รับจากประชาคมอาเซียน 7 1. ป้องกันความขัดแย้งและสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่าง ประเทศสมาชิก เพอื่ ชว่ ยสง่ เสริมสันตภิ าพในภูมภิ าค 2. ชว่ ยใหม้ กี ารสง่ เสรมิ และคมุ้ ครองสทิ ธมิ นษุ ยชนและเสรภี าพ ขั้นพื้นฐาน รวมทั้งมีกลไกในการควบคุมการทำงานของ ภาครัฐให้มีความโปร่งใสย่งิ ข้ึน 3. ช่วยให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและ รว่ มแก้ไขปัญหาต่างๆ มากขึน้ 4. ชว่ ยให้ไทยสามารถแก้ไขปญั หาและความท้าทายได้อย่างมี ประสิทธิภาพยิง่ ขึ้น เชน่ ภัยพบิ ตั ิ ยาเสพตดิ การค้ามนษุ ย์ 5. ชว่ ยสรา้ งอำนาจตอ่ รองแกป่ ระเทศสมาชกิ อาเซยี นในเวทโี ลก ทั้งดา้ นเศรษฐกิจและการเมอื ง 6. ทำให้ตัวเลขการค้าขายสินค้าเพิ่มสูงขึ้น และผู้บริโภคจะได้รับ ประโยชน์ในการซื้อสินค้านำเข้าจากประเทศสมาชิกอาเซียน ในราคาถูกลง 7. ตลาดขนาดใหญ่ของอาเซยี นกว่า 600 ลา้ นคน จะเปน็ โอกาส ในการขยายการส่งออกสนิ คา้ ไทยมากขึ้น 8. ร่วมมือกันปรับระเบียบและกฎเกณฑ์ของอาเซียนที่จะเป็น ไปในทิศทางเดียวกันและขจัดมาตรการกีดกันต่างๆ เพ่อื อำนวยความสะดวกทางการค้าและการลงทุนระหว่างกนั 9. การรวมเป็นตลาดเดียวกันจะช่วยดึงดูดการลงทุนจาก ตา่ งประเทศใหเ้ ขา้ มาลงทนุ ในภมู ภิ าค รวมถงึ ประเทศไทยมากขน้ึ ซง่ึ จะชว่ ยสรา้ งงานและรายไดแ้ กป่ ระชาชน 10. ชว่ ยกระตนุ้ ใหภ้ าคสว่ นตา่ งๆ ของไทย อาทิ ภาคธรุ กจิ เกษตร ท่องเที่ยว เริ่มปรับตัวเพื่อรับมือกับเศรษฐกิจโลกที่กำลัง เปลย่ี นแปลงไปอยา่ งรวดเรว็ 11. ชว่ ยสรา้ งความเช่อื ม่นั และภาพลกั ษณ์ที่ดีของประเทศในอาเซียนรวมท้งั ประเทศไทย 12. การลดช่องว่างด้านการพัฒนาระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนจะช่วยลดปัญหาการโยกย้าย ถนิ่ ฐานของประเทศท่พี ัฒนาน้อยกว่า 13. ชว่ ยใหป้ ระชาชนมคี วามเปน็ อยแู่ ละคณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ขี น้ึ ความยากจนจะลดลง สามารถเขา้ ถงึ การศึกษาไดอ้ ยา่ งทว่ั ถึง มสี วสั ดกิ ารทางสังคมท่มี น่ั คงและมีสภาพแวดล้อมทดี่ ีข้นึ

การเตรียมความพร้อมการเข้าสู่ประชาคมอาเซยี น 8 1. รับรู้ สร้างความเข้าใจข้อมูลประชาคมอาเซียน และข้อมูลประเทศ สมาชิกอาเซียน 2. วิเคราะหผ์ ลกระทบ ทงั้ บวกและลบ 3. พรอ้ มปรบั ตวั และแข่งขนั ในเวทภี มู ภิ าคและระดบั โลก 4. กำหนดมาตรการรองรบั การเปลยี่ นแปลง 5. รักษาและปรบั ปรงุ คณุ ภาพและมาตรฐานสินคา้ 6. ขยายผลสำหรับกลุ่มที่มีโอกาส ใช้จุดแข็งที่มี และสร้างภูมิคุ้มกัน จุดดอ้ ย 7. สรา้ งเครือข่ายการผลิตและพันธมิตรทางการคา้ กบั ประเทศสมาชกิ อาเซยี น 8. ส่งเสรมิ การศึกษาและพัฒนาบุคลากรในชุมชน เพอื่ รองรบั การเปลย่ี นแปลง 9. เรียนรู้และพัฒนาทกั ษะภาษาองั กฤษ และภาษาทอ้ งถ่นิ ของประเทศสมาชิกอาเซียน 10. ประชาชนรว่ มสร้างเครือขา่ ยกบั ภาครฐั เอกชน เพอื่ รว่ มขับเคล่ือน 11. เพิ่มประสทิ ธิภาพของระบบราชการ รองรบั ความตอ้ งการของภาคธรุ กิจและประชาชน คำถามน่าสนใจก่อนการเขา้ สู่ประชาคมอาเซยี นในปี 2558 1. อาเซียนกับสหภาพยุโรป ตา่ งกันอยา่ งไร แม้สหภาพยุโรปจะเป็นแรงบันดาลใจ แต่อาเซียนไม่เหมือน สหภาพยุโรป เนื่องจากสหภาพยุโรปเปน็ ตลาดเดยี วท่มี ีการเคล่ือนยา้ ย บุคคล สินค้า การบริการ และทุนอย่างเสรีและไร้พรมแดน รวมทั้ง มีนโยบายร่วมกันในบางเรื่อง อาทิ การค้าระหว่างประเทศ ศุลกากร การใช้เงินสกุลร่วม (เงินยูโร ซึ่งปัจจุบันใช้ใน 17 ประเทศ จาก 27 ประเทศ) และใชห้ ลกั การตดั สินใจแบบเสียงข้างมาก ในขณะที่ประชาคมอาเซียนเป็นความร่วมมือระหว่างประเทศ สมาชกิ เพอ่ื ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายร่วมกันในเรื่องตา่ งๆ โดยใช้หลักฉันทามติ และจะไม่ก้าวก่ายกิจการภายในซึ่งกันและกัน รวมทั้งยังไม่มีนโยบาย การใช้เงินสกลุ เดียวกนั

9 2. เม่ือเปน็ ประชาคมอาเซยี นแลว้ ประชาชนในอาเซยี นจะเดนิ ทาง ไปมาหาสู่กันได้โดย ไม่ต้องใช้ หนงั สอื เดนิ ทางหรอื วซี า่ จรงิ หรือ แม้จะเป็นประชาคมอาเซียน ก็ยังต้องใช้หนังสือเดินทาง ในการเดินทางไปประเทศสมาชิกอาเซียนอื่น ปัจจุบัน ผู้ถือหนังสือเดินทางไทยสามารถเดินทางไปท่องเที่ยว ในทุกประเทศสมาชิกอาเซียนได้โดยไม่ต้องขอวีซ่า ยกเว้น เมียนมาร์ โดยอยู่ในประเทศน้ันๆ ได้ ไมเ่ กินระยะเวลาที่กำหนด คือ 14 วนั สำหรบั บรไู นดารสุ ซาลาม และกัมพชู า 21 วัน สำหรบั ฟลิ ปิ ปินส์ 30 วนั สำหรบั อินโดนีเซยี ลาว มาเลเซีย สงิ คโปร์ และเวยี ดนาม สำหรับเมียนมาร์ ต้องติดต่อสถานเอกอัครราชทูตเมียนมาร์ประจำประเทศไทย เพ่อื ย่ืนคำรอ้ งขอวีซา่ ตามระเบียบทส่ี ถานทตู ฯ กำหนด 3. เมอ่ื รวมตวั เปน็ ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี นแลว้ จะสามารถเคลอ่ื นยา้ ย แรงงานได้อยา่ งอสิ ระเสรจี ริงหรือ ไม่จริง การเป็นประชาคมอาเซียนไม่ได้เป็นการเปิดให ้ แรงงานตา่ งดา้ วเขา้ มาทำงานอยา่ งเสรี โดยยงั ตอ้ งทำตามขน้ั ตอน และกระบวนการต่างๆ ตามที่ทางการไทยกำหนด รวมถึง การขน้ึ ทะเบยี น ในกรอบอาเซยี นมเี พยี งการเคลอ่ื นยา้ ยบคุ คลวชิ าชพี 8 สาขา (แพทย์ ทนั ตแพทย์ พยาบาล วศิ วกร สถาปนกิ บญั ชี นกั สำรวจ และการบริการท่องเที่ยว) เท่านั้น แต่บุคคลในวิชาชีพเหล่านี ้ ก็ยังต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบต่างๆ ของไทย อาทิ การสอบ ใบประกอบวิชาชพี ภาษาไทย

10 4. เมอ่ื เปน็ ประชาคมอาเซยี นแลว้ คนชาตอิ ื่นๆ จะไดร้ บั สทิ ธิ รักษาพยาบาลฟรี เรยี นฟรี เบย้ี ยังชีพผูส้ ูงอายุ กองทุนพฒั นาบทบาทสตรี ฯลฯ เชน่ เดียวกับคนไทยหรือไม่ สวสั ดกิ ารเหลา่ น้ี รฐั บาลไทย ให้เฉพาะประชาชนไทยที่มีสิทธิ์ เท่านั้น ซึ่งเป็นไปตามนโยบาย ของรัฐบาลไทยในการสร้างเสริม สวัสดิการให้แก่ประชาชนชาวไทย และไม่ได้เป็นข้อตกลงของอาเซียน ทต่ี อ้ งทำ หรอื ใชด้ ว้ ยกนั ทกุ ประเทศ สิ่งที่รัฐบาลไทยกำลังจะดำเนินการร่วมกับเพื่อนสมาชิกอาเซียนประเทศอื่นๆ คือ การหาข้อมูลเปรียบเทียบว่าแต่ละประเทศใหค้ วามช่วยเหลือหรอื มีระบบสวสั ดิการสงั คม ให้ประชาชนอย่างไรบ้าง เพื่อใช้เป็นแนวทางให้แต่ละประเทศพัฒนาระบบสวัสดิการสังคม ทเี่ หมาะสม มีระดับมาตรฐานเดยี วกนั หรอื ใกล้เคียงกันท่ีสุด 5. เมอ่ื เปน็ ประชาคมอาเซยี นแลว้ สินค้าเกษตรไทยจะถูกแย่งตลาด จากประเทศเพ่ือนบา้ นหรือไม่ การเป็นประชาคมอาเซียนไม่เกี่ยวกับตลาดส่งออก นอกอาเซียน การขจัดหรือลดภาษีสินค้าต่างๆ ในกรอบ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ใช้กับการส่งออกไปในประเทศ อาเซยี นด้วยกนั เทา่ น้ัน สำหรบั ตลาดนอกภมู ิภาค เช่น ญี่ปนุ่ ยุโรป อเมริกา ยังคงเป็นไปตามกฎระเบียบของประเทศนั้นๆ หรือข้อตกลงทไ่ี ทยมีกับประเทศนน้ั ๆ อยา่ งไรกด็ ี เกษตรกรไทยกค็ วรรกั ษาคณุ ภาพและมาตรฐาน สินค้าเกษตรของไทย รวมทั้งปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้นเพื่อรักษา ตลาดและฐานลูกค้าในประเทศเหล่าน้ี






Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook