Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่มโครงงานวิเคราะห์

เล่มโครงงานวิเคราะห์

Description: เล่มโครงงานวิเคราะห์

Search

Read the Text Version

การวิเคราะหร์ ะบบการขายสินคา้ (กรณศี กึ ษา รา้ นขายผักตลาดโบว์ลง่ิ ) จดั ทำโดย นายณฐพร กาญจนะ นายพีรวิชญ์ ภานุพันธ์ นางสาวรตั ติกาล วถิ ีธรรม เสนอ ครจู ิรวรรณ มะลาไสย รายงานเลม่ นี้เปน็ ส่วนหน่งึ ของวชิ าการวเิ คราะห์และออกแบบเชงิ วัตถุ รหัสวิชา 30204 – 2003 สาขาวชิ าเทคโนโลยีธุรกิจดจิ ทิ ัล หลักสตู รประกาศนยี บัตรวิชาชีพขั้นสูง (ปวส.) วิทยาลยั เทคนคิ จันทบุรี ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564

คำนำ รายงานฉบันนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาการวิเคราะห์และออกแบบเชิงวัตถุ รหัสวิชา 30204-2003 เพื่อให้ได้ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับเรื่อง หลักการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การจัดทำ เว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การวางแผนขายสินค้าบนอินเทอร์เน็ต การประชาสัมพันธ์สินค้า ระบบการสั่งซื้อ ระบบคลังสินค้า ระบบการชำระเงิน การส่งสินค้า กฎหมายและจรรยาบรรณการ ประกอบกจิ การพาณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ และไดศ้ ึกษาอยา่ งเขา้ ใจเพ่ือประโยชนก์ ับการเรยี น ผู้จัดทำหวังว่า รายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์กับผูอ้ ่านหรือนกั เรียนนกั ศึกษาที่กำลังศกึ ษา หาข้อมูลเรื่องนี้อยู่หากมีข้อแนะนำหรือข้อผิดพลาดประการใดผู้จัดทำข อน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วยในรายงานเล่มนี้คณะผู้จัดทำได้กล่าวถึงการทำงานของระบบเบิกจ่ายพัสดุซึ่งเป็น การวิเคราะห์ปัญหาของระบบระบบการการจ่ายพัสดุหรือการจัดเก็บข้อมูลผู้เบิกพัสดุหรือพัสดุ พร้อมทั้งมีการเสนอแนวทางแก้ไขปัญหารวมทั้งมีการอ อกแบบระบบใหม่โดยการน ำเทคโนโล ยี สารสนเทศเขา้ มาใชผ้ ู้สนใจสามารถนำไปวเิ คราะหแ์ ละพฒั นาระบบต่อไปได้ในภายหน้า คณะผ้จู ดั ทำ

สารบัญ หนา้ สารบญั ก สารบัญ(ตอ่ ) ข สารบัญตาราง ค สารบญั ภาพ ง บทท่ี 1 บทนำ 1 1 1.1 ความเป็นมาและความสำคญั 2 1.2 วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจัย 2 1.3 ขอบเขตการวจิ ยั 2 1.4 คำจำกดั ความท่ีใช้ในงานวิจัย 2 1.5 ประโยชนท์ คี่ าดวา่ จะไดร้ ับ 2 1.6 ระยะเวลาทใี่ ชใ้ นการจดั ทำโครงงาน 4 บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้อง 4 2.1 การวเิ คราะห์และออกแบบระบบ 5 2.2 หลักการเขียนผงั งานระบบ 9 2.3 ความหมายของ DFD และ ERD 11 2.4 วธิ ีสรา้ ง DFD (Data Flow Diagram) 11 2.5 ความรเู้ บื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล 18 2.6 โปรแกรม Notepad++ 19 2.7 ภาษา PHP 20 2.8 ภาษา SQL 21 2.9 กรอบแนวคิดในการวจิ ัย 22 2.10 งานวจิ ยั ท่ีเกย่ี วข้อง 23 บทท่ี 3 วิธดี ำเนนิ การวจิ ยั 23 3.1 การออกแบบระบบฐานข้อมูล ก

สารบญั (ต่อ) หนา้ บทที่ 4 ผลการวิจยั 28 4.1 การออกแบบหน้าจอ 28 4.2 การจัดเกบ็ Data Base 30 34 บทที่ 5 สรุปผลการวิจยั อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ 34 5.1 สรุปผลการวจิ ยั 34 5.2 ขอ้ เสนอแนะ 35 บรรณานกุ รม 37 ภาคผนวก ก 39 Context Diagram หรือ DFD ระดับ 0 ของระบบขายผักตลาดโบว์ลิ่ง ภาคผนวก ข 41 Context Diagram หรือ DFD ระดับ 1 ของระบบขายผักตลาดโบวล์ ่ิง 43 ภาคผนวก ค 45 ER-Model แบบ Chain model and Clow Foot Model 46 ภาคผนวก ง Entity Relationship Diagram ของระบบขายผักตลาดโบวล์ ง่ิ ภาคผนวก จ คำถาม 10 ข้อ สรุปบทสัมภาษณ์ ข

สารบญั ตาราง หนา้ ตารางที่ 3 7 1.1 ระยะเวลาการจัดทำโครงงาน 10 2.1 ตารางสญั ลกั ษณม์ าตรฐานที่ใช้เขียนผังงานระบบ 30 2.2 ตารางสญั ลักษณท์ ีใ่ ช้ใน Data Flow Diagram (DFD) 30 4.2.1 แสดงขอ้ มูลลกู คา้ 31 4.2.2 แสดงข้อมูลสินคา้ 31 4.2.3 แสดงขอ้ มูลรายการขายสนิ คา้ 31 4.2.4 แสดงขอ้ มูลการขายสนิ ค้า 31 4.2.5 แสดงขอ้ มูลประเภทสินค้า 32 4.2.6 แสดงขอ้ มูลใบเสร็จ 32 4.2.7 แสดงขอ้ มูลพนักงาน 33 4.2.8 แสดงข้อมูลลูกค้า 33 4.2.9 แสดงขอ้ มูลรายการขายสนิ ค้า 33 4.2.10 แสดงขอ้ มูลการขายสินคา้ 33 4.2.11 แสดงขอ้ มูลประเภท 33 4.2.12 แสดงข้อมูลพนักงาน 4.2.13 แสดงข้อมูลใบเสรจ็ ค

สารบญั ภาพ ภาพท่ี หนา้ 2.1 สญั ลกั ษณ์ที่ใชใ้ นการเขยี น ER Diagram 10 2.2 ภาพแสดงกรอบแนวความคิดวิจัย 21 3.1 แผนภาพกระแสข้อมูล 23 Data Flow Diagram Level Context Diagram ของ level 0 24 3.2 แผนภาพกระแสข้อมูล Data Flow Diagram Level 1 25 3.3 Entity Relationship Diagram ของระบบการขายสนิ ค้าตลาดโบว์ลิง่ 26 3.4 การออกแบบตารางข้อมลู ร้านขายผักตลาดโบวล์ ิง่ 26 3.5 การออกแบบตารางขอ้ มูล Product 26 3.6 การออกแบบตารางขอ้ มลู Order_detail 27 3.7 การออกแบบตารางข้อมูล Order 27 3.8 การออกแบบตารางข้อมลู Employee 27 3.9 การออกแบบตารางข้อมลู Category 28 4.1 หนา้ จอระบบลูกคา้ 28 4.2 หน้าจอใบส่งั ซ้ือสินค้า 29 4.3 ออกแบบหน้าจอรายการสินค้า 29 4.4 ออกแบบหนา้ จอระบบรายการผัก 30 4.5 ออกแบบหนา้ จอรายชื่อพนักงาน ง

1 บทที่ 1 บทนำ 1.1 ความเป็นมาและความสำคญั กกกกกกกกงานขายสินค้า เป็นงานที่สำคัญงานหนึ่งของร้านขายผักตลาดโบว์ลิ่งต้องทำควบคู่กับงาน การเงิน พนักงานขายสินค้าได้บริหารอย่างเป็นระบบระเบียบ โดยการจดบันทึกลงสมุด และนำ เทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ เนื่องจากการใช้งานที่ง่ายและสามารถเข้าถึงได้ทุกเพศทุกวัย อย่างเช่น เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ ซ่ึงนอกจากจะมีความสามารถในการพมิ พ์เอกสาร ออกแบบและพฒั นางานต่าง ๆ ได้แล้ว ทั้งความจุ ความเร็ว ความสวยของภาพ และความทันสมัย ทำให้สามารถนำระบบปฏิบัติการ ลงไปใส่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพมากข้ึน กกกกกกกกเนื่องจากระบบการขายสินคา้ แบบเดิมยงั มีการจดบันทึกใสส่ มุด แลว้ แตล่ ะสัปดาห์ก็จะนำ ข้อมูลการเบิกพัสดุนั้นมาพิมพ์ลงใน Microsoft Excel ซึ่งการทำพัสดุแบบเดิมนั้นยังไม่ตอบสนองต่อ ความต้องการของผู้ใช้งานได้ตรงต่อความต้องการ เพราะยังไม่มีโปรแกรมสำเร็จรูปในการบันทึกการ การขายสินคา้ ซ่งึ ในการเบกิ แตล่ ะครั้งต้องเขียนใสส่ มุด หากลืมเขยี นก็จะไม่ได้บนั ทึกลงใน Microsoft Excel จำทำให้การเช็คพัสดุตอนสิ้นเดือนมีปัญหา คือสินค้าที่เหลือตามจริงกับสินค้าในระบบ ไมต่ รงกนั กกกกกกกกจากปัญหาขา้ งต้น คณะผจู้ ดั ทำจึงได้มีแนวคดิ ท่จี ะนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ ในการดำเนินงานดังกล่าว จึงได้มีการจัดทำระบบการเบิกจ่ายพัสดุ เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้ เบกิ จา่ ยพสั ดใุ หส้ ามารถดำเนินงานตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งสะดวกและรวดเรว็ 1.2 วตั ถปุ ระสงคข์ องการวิจยั 1.2.1 เพ่ือสรา้ งระบบการขายสนิ ค้า (กรณีศกึ ษารา้ นขายผกั ตลาดโบวล์ ิ่ง) 1.2.2 เพือ่ หาความพึงพอใจของผใู้ ชท้ มี่ ีต่อระบบการเบิกจ่ายพสั ดุ 1.3 ขอบเขตการวิจัย 1.3.1 ประชากรและกลุม่ ตวั อย่าง 1.3.1.1 ประชากร คือ นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ระดับชั้นปีท่ี 1 สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 จำนวน 45 คน 1.3.1.2 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ระดับชัน้ ปีท่ี 1 หอ้ ง 2 วทิ ยาลยั เทคนิคจนั ทบุรี ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564 จำนวน 13 คน

2 1.3.2 ตวั แปรท่ีศกึ ษา 1.3.2.1 ตวั แปรต้น คอื ระบบการขายสินค้า 1.3.2.2 ตัวแปรตาม คอื ความพงึ พอใจของผู้ใช้ระบบการเบิกจา่ ยพสั ดุ 1.3.3 เคร่อื งมอื ทใ่ี ชใ้ นโครงงาน 1.3.3.1 โปรแกรม Notepad++ 1.3.3.2 โปรแกรม PHP My Admin 1.3.3.3 คอมพวิ เตอรใ์ ชส้ ำหรับแสดงผลระบบ 1.3.4 วิธกี ารเก็บรวบรวมขอ้ มลู 1.3.4.1 ศึกษาและรวบรวมขอ้ มูล 1.3.4.2 จดั ทำโปรแกรม เร่อื ง ระบบสารสนเทศเกย่ี วกับการขายสนิ ค้า (กรณีศึกษารา้ นขายผักตลาดโบว์ล่งิ ) 1.3.4.3 ใหพ้ นักงานขายสนิ คา้ ทดลองใช้ 1.3.4.4 นำแบบสอบถามความพงึ พอใจให้พนักงานไดล้ งความคิดเหน็ 1.3.4.5 เก็บรวบรวมแบบสอบถามท้งั หมดและนำมาประมวลผลใหส้ มบูรณ์ตอ่ ไป 1.3.5 สถติ ิทใี่ ชใ้ นการวิเคราะหข์ อ้ มูล ใชส้ ถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) ในการวัดคา่ กลางของข้อมลู โดยใชค้ า่ เฉลี่ยเลข คณิต (Arithmetic Mean) หรือค่าเฉลี่ย (Mean) x̅ และวัดค่าการกระจายของข้อมูลโดยใช้ค่าส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) S.D. 1.4 คำจำกดั ความทใี่ ช้ในงานวิจัย 1.4.1 การขาย หมายถึง การแก้ปัญหาในการที่พนักงานขายได้มีการเข้าพบลูกค้าและ มีการนำเสนอสินค้าให้ลูกค้านั้น บางครั้งลูกค้าอาจจะมีข้อสงสัย หรือปัญหาในเรื่อง ต่าง ๆ เช่น นโยบายคุณภาพราคาเงื่อนไข การส่งมอบ ฯลฯ ดังนั้น พนักงานจะต้องเป็นผู้เข้าไปช่วยเหลือ ขจัดปญั หาตา่ ง ๆ จนทำให้ลกู คา้ มีความเชอื่ ม่ัน และยอมรับสินคา้ น้ัน ๆ 1.5 ประโยชนท์ ค่ี าดว่าจะได้รับ 1.5.1 ได้ระบบสารสนเทศเก่ียวกับการขายสนิ ค้า (กรณีศกึ ษาร้านขายผกั ตลาดโบว์ลงิ่ ) 1.5.2 พนักงานขายสินค้ามีความพึงพอใจในการใช้ระบบสารสนเทศเกี่ยวกับการขายสินค้า อยู่ในเกณฑ์ดีมาก 1.5.3 สามารถนำความรู้ทไี่ ด้รับไปปรบั ใช้ในชวี ติ ประจำวนั

3 1.6 ระยะเวลาที่ใชใ้ นการจัดทำโครงงาน กกกกกกกกตารางการดำเนนิ โครงงานคร้งั น้ีใช้ระยะเวลา ตัง้ แตเ่ ดอื นพฤศจกิ ายน พ.ศ.2564 ถึง เดือน มีนาคม พ.ศ. 2565 ดงั ตารางที่ 1.1 ขัน้ ตอน สปั ดาหท์ ี่ การดำเนินงาน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 1. กำหนดโครงงาน 2. เสนอโครงงาน 3. ศกึ ษารายละเอียดข้อมูล 4. ออกแบบระบบ 5. ดำเนินการทำระบบ 6. นำเสนอระบบ 7. ประเมนิ ผลและสรปุ ผล 8. จดั ทำเอกสารโครงงาน ตารางท่ี 1.1 ระยะเวลาการจัดทำโครงงาน

4 บทที่ 2 แนวคดิ ทฤษฎี เอกสารและงานวจิ ัยท่เี กย่ี วข้อง กกกกกกกกในการดำเนินโครงงานระบบการขายสินค้าของร้านขายผักตลาดโบว์ลิ่งจะต้องศึกษา หลกั การและทฤษฎขี องการเขียนโปรแกรมท่นี ำมาชว่ ยในการสร้างโปรแกรม ระบบการการขายสินค้า โดยใช้โปรแกรม PHP มาสร้าง เพื่อให้สามารถจัดทำโปรแกรมจัดเก็บข้อมูล สินค้าต่าง ๆ อย่างมี ประสทิ ธิภาพเพมิ่ ยง่ิ มากขึ้น โดยศึกษาหลกั การและทฤษฎี ดังหวั ข้อตอ่ ไปนี้ 2.1 การวิเคราะห์และออกแบบระบบ 2.2 หลกั การเขยี นผังงานระบบ 2.3 ความหมายของ DFD และ ER Diagram 2.4 วิธีสรา้ ง DFD 2.5 ความร้เู บอ้ื งตน้ เกี่ยวกบั ระบบฐานขอ้ มลู 2.6 โปรแกรม Notepad++ 2.7 ภาษา PHP 2.8 ภาษา SQL 2.1 การวิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบ กกกกกกกกการวิเคราะห์ระบบและการออกแบบ (System Analysis and Design) การวิเคราะห์ และออกแบบระบบคือ วิธีการที่ใช้ในการสร้างระบบสารสนเทศขึ้นมาใหม่ นอกจากการสร้างระบบ สารสนเทศใหม่แล้ว การวิเคราะห์ระบบช่วยในการแก้ไขระบบสารสนเทศเดิมที่มีอยู่แล้วให้ดีขึ้นด้วย การวิเคราะห์ระบบก็คือ การหาความต้องการ (Requirements) ของระบบสารสนเทศว่าคืออะไร หรือต้องการเพิ่มเติมอะไรเข้ามาในระบบ และการออกแบบก็คือการนำเอาความต้องการของระบบมา เป็นแบบแผน หรือเรียกว่าพิมพเ์ ขียวในการสร้างระบบสารสนเทศนั้นให้ใช้งานได้จริง ตัวอย่าง ระบบ สารสนเทศ เช่น ระบบการขาย ความต้องการของระบบก็คือ สามารถติดตามยอดขายได้ เป็นระยะๆ เพื่อฝ่ายบริหารสามารถปรับปรุงการขายได้ทันท่วงที ตัวอย่างรายงานการขายที่กล่าว มาแล้วจะ ชี้ให้เห็นว่าเราสามารถติดตามการขายได้อย่างไรนักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst หรือ SA) คือ บุคคลที่มีหน้าที่วิเคราะห์และออกแบบระบบ การที่มีนักวิเคราะห์ระบบในองค์กรนั้น เป็นการ ได้เปรียบเพราะจะทำให้รู้โดยละเอียดว่า การทำงานในระบบนั้นๆ เป็นอย่างไร และอะไรคือความ ต้องการของระบบ ในกรณีที่นักวิเคราะห์ระบบไม่ได้อยู่ในองค์กรนั้น ก็สามารถวิเคราะห์ระบบได้ เช่นกนั โดยการศึกษาสอบถามผูใ้ ช้ และวิธกี ารอื่นๆ ซง่ึ จะกล่าวในภายหลัง ผูใ้ ช้ในทีน่ ้กี ค็ ือเจา้ ของ และ ผู้ที่เกี่ยวข้อง ในระบบสารสนเทศนั้นเอง ผู้ใช้อาจจะเป็น คนเดียว หรือหลายคนก็ได้ เพื่อให้

5 นักวิเคราะห์ระบบทำงานได้อย่างคล่องตัวมีลำดับขั้นและเป้าหมายที่แน่นอน นักวิเคราะห์ระบบควร ทราบถงึ วา่ ระบบสารสนเทศนนั้ พัฒนาขึ้นมาอย่างไร มีข้นั ตอนอย่างไรบ้าง 2.2 หลกั การเขยี นผงั งานระบบ 2.2.1 ผังงานระบบ คือ รูปภาพหรือสัญลักษณ์ที่ใช้แทนลำดับ หรือขั้นตอนในโปรแกรมรูปภาพ หรอื สัญลักษณท์ ีใ่ ช้เป็นเอกลักษณ์ และแทนความหมายอยา่ งใดอย่างหน่งึ ประเภทของผังงาน โดยท่ัวไปผงั งานคอมพวิ เตอรแ์ บง่ เป็น 2 ประเภทใหญ่ 2.2.1.1 ผังงานระบบ (System Flowchat) เป็นผังงานที่แสดงถึงขั้นตอนการทำงาน ภายในระบบหนึ่ง โดยจะแสดงถึงความเกี่ยวข้องของส่วนที่สำคัญต่าง ๆ ในระบบนั้น เช่น เอกสาร เบ้ืองต้น หรือส่ือบนั ทกึ ขอ้ มลู ทใี่ ช้อยู่เปน็ อะไร และผา่ นไปยงั หน่วยงานใด มกี จิ กรรมอะไรในหนว่ ยงาน น้นั แล้วจะสง่ ต่อไปหน่วยงานโต เปน็ ตน้ ดังน้ันผงั งานระบบอาจเก่ียวข้องกับคน วสั ดุ และเครื่องจักร ซึ่งแต่ละจุดจะประกอบไปด้วย การนำข้อมูลเข้าวิธีการประมวลผลและการแสดงผลลัพธ์ (Input Process Output) วา่ มาจากทใี่ ดอยา่ งกว้าง ๆ จงึ สามารถเขียนโปรแกรมจากผงั งานระบบได้ 2.2.1.2 ผังงานโปรแกรม (Program Flowchat) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า \"ผังงาน\" ผังงาน ประเภทนแี้ สดงถงึ ขั้นตอนของคำสั่งท่ีใชใ้ นโปรแกรม ผังงานน้อี าจสรา้ งจากผังงานระบบโดยผู้เขียนผัง งานจะดึงเอาแต่ละจุดท่ีเก่ียวข้องการทำงานของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ที่ปรากฏในผังงานระบบมา เขียน เพื่อให้ทราบว่าถ้าจะใช้คอมพิวเตอร์ทำงานในจุดนั้นเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ตามต้องการ ควรที่จะมี ขัน้ ตอนคำส่ังอย่างไร และจะไดน้ ำมาเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทำงานตอ่ ไป 2.2.2 การใช้งานผังงานระบบ เพื่อให้ทราบถึงความเกี่ยวพันของระบบตังแต่เริ่มต้น ว่ามีการ ปฏบิ ตั ิแต่ละขน้ั ตอนอย่างไร ใช้วิธีการอะไรบ้าง เหมาะสำหรับผบู้ รหิ าร ผู้วิเคราะห์ระบบ และ ผู้เขียน โปรแกรม จะได้ทราบถงึ ความสัมพนั ธข์ องแผนกต่าง ๆ 2.2.3 ประโยชน์และข้อจำกดั ของผงั งานระบบ ผงั งานระบบเปน็ เอกสารประกอบโปรแกรมซ่ึงจะ ช่วยให้การศึกษาลำดับขั้นตอนของโปรแกรมง่ายขั้น จึงนิยมเขียนผังงานระบบประกอบ การเขียน โปรแกรม ด้วยเหตผุ ลดงั น้ี 2.2.3.1 คนส่วนใหญ่สามารถเรียนรู้และเข้าใจผังงานระบบได้ง่าย เพราะผังงานระบบไม่ ข้นึ อย่กู ับภาษาคอมพิวเตอรภ์ าษาใดภาษาหนึ่งโดยเฉพาะ 2.2.3.2 ผังงานระบบเป็นการสื่อความหมายด้วยภาพ ทำให้ง่ายและสะดวกต่อ การ พิจารณาถึงลำดับขั้นตอนในการทำงาน ซึ่งน่าจะดีกว่าบรรยายเป็นตัวอักษร การใช้ข้อความ หรือ คำพูดอาจจะสือ่ ความหมายผิดไปได้ 2.2.3.3 ในงานโปรแกรมทไี่ มส่ ลับซบั ซอ้ น สามารถใช้ผงั งานระบบตรวจสอบ ความถกู ตอ้ ง ของลำดับขัน้ ตอนไดง้ ่าย โปรแกรมจะแกไ้ ขได้ สะดวกและรวดเร็วขึน้

6 2.2.3.4 การเขียนโปรแกรมโดยพิจารณาจากผังงานระบบ สามารถทำให้รวดเร็ว และงา่ ย ขึ้น 2.2.3.5 การบำรุงรักษาโปรแกรมหรือการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโปรแกรมให้มีประสิทธิภาพ ถา้ ดูจากผงั งานระบบจะชว่ ยใหส้ ามารถ ทบทวนงานในโปรแกรมก่อนปรับปรงุ ได้งา่ ยข้ึน 2.2.4 ข้อจำกัดของผังงานระบบผู้เขียนโปรแกรมบางคนไม่นยิ มการเขียนผังงานระบบก่อนที่จะ เขียนโปรแกรมเพราะเสียเวลาในการเขียนเป็นรูปภาพหรือสัญลักษณ์ต่าง ๆ นอกจากนี้ยังมีเหตุผล อื่นๆ ไดแ้ ก่ 2.2.4.1 ผังงานระบบเป็นการสื่อความหมาระหว่างบุคคลต่อบุคคลมากกว่าที่จะส่ือ ความหมายระหว่างบุคคลกบั เครอื่ ง เพราะผังงานระบบไม่ขนึ้ อยูก่ ับภาษาคอมพวิ เตอร์ ภาษาได้ ภาษา หนง่ึ ทำใหเ้ ครอื่ งไม่สามารถรบั และเขา้ ใจวา่ ในมั่งงานระบบนน้ั ต้องการให้ทำอะไร 2.2.4.2 เมื่อได้พิจารณาจากผังงานระบบจะไม่สามารถทราบไต้ว่า ชั้นตอน การทำงานใด สำคญั กว่ากนั เพราะทุก ๆ ชัน้ ตอนใช้รูปภาพหรอื สญั ลกั ษณ์ในลกั ษณะเดียวกนั 2.2.4.3 การเขียนผังงานระบบเป็นการสิ้นเปลือง เพราะจะต้องใช้กระดาษและอุปกรณ์ อ่นื ๆ ประกอบการเขียนภาพ บางคร้ังการเขยี นผงั งานระบบอาจจะต้องใช้กระดาษมากกว่า 1 แผ่นท้งั ๆ ท่ีการอธบิ ายงานเดียวกนั จะใชเ้ นอ้ื ท่ีเพยี ง 3.4 บรรทัดเท่าน้นั 2.2.4.4 ผังงานระบบจะมีขนาดใหญ่ ถ้าโปรแกรมที่พัฒนาเป็นงานใหญ่ ทำให้ผังงาน ระบบแลดเู ทอะทะไมค่ ล่องตัว และถา้ มีการปรบั เปลย่ี นผังงานระบบจะทำไดย้ าก นางครั้งอาจจะต้อง เขยี นผังงานขัน้ ใหม่ 2.2.4.5 ในผังงานระบบจะบอกชั้นตอนการปฏิบัติงานว่าเป็นลำดับอย่างไร ปฏิบัติงาน อะไรแต่จะไม่ระบใุ ห้ทราบว่าทำไมจงึ ต้องเป็นลำดบั และต้องปฏิบตั งิ านอย่างน้นั 2.2.4.6 ในภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันในปัจจุบัน เช่น ภาษาซี ผังงานระบบ ไม่สามารถ แทนลกั ษณะคำสัง่ ในภาษาได้ชัดเจน ตรงไปตรงมา 2.2.5 สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงานระบบต้องใช้สัญลักษณ์ต่าง ๆ นำมาเรียงกันเพื่อแสดง สำดับการทำงาน โดยมิลูกศรเชอื่ มระหวา่ งภาพตา่ งๆ สญั ลกั ษณท์ ่ใี ช้ในการเขียนผงั งานระบบท่ีนิยมใช้ กันนั้นเป็นสัญลักษณ์ของหน่วยงานสถาบันมาตรฐานแห่งชาติสหรัฐอเมริกา (American National Standard Instituite : ANSI) แ ล ะ อ ง ค ์ ก า ร ม า ต ร ฐ า น น า น า ช า ต ิ ( Interiaticnal Standard Organization: ISO) หน่วยงานดังกล่าว ทำหน้าที่รวบรวมและกำหนดสัญลักษณ์มาตรฐานที่จะใช้ เขยี นผงั งานระบบดงั น้ี

7 ตารางท่ี 2.1 ตารางสัญลักษณ์มาตรฐานท่ใี ช้เขยี นผังงานระบบ สญั ลกั ษณ์ ความหมาย ตัวอยา่ งการใช้ คำอธิบาย 1.เริ่มผงั งานระบบ แสดงการเริ่มตน้ หรือการ START 2.จบผังงานระบบ ส้ินสดุ ของการเขยี นผงั งาน STOP ระบบ (Terminal Interrupt) การรับข้อมลู หรือแสดง 1. รบั (อา่ น) ค่า A โดยไม่ ข้อมลู (Input Output ระบสุ ื่อที่บันทกึ ค่า A Media) 2. แสดงค่า B โดยไม่ ระบุสอื่ การรบั ข้อมูลหรอื แสดง ขอ้ มูลโดยใช้บตั รเจาะรู รบั คา่ (อา่ น) คา่ A ที่ เป็นสื่อ (Punch Tape) บันทึกบนบตั ร 1 ใบ การรับข้อมลู หรอื แสดง ขอ้ มลู โดยใช้เทปกระดาษ อ่านค่า ID ทบ่ี ันทกึ บน เทปกระดาษ (Punch Tape) ให้พิมพ์ค่า A ทาง การแสดงข้อมูลหรือ กระดาษตอ่ เนื่อง ผลลัพธ์พมิ พ์ทาง เคร่ืองพมิ พล์ งบนกระดาษ แสดงค่า A ทางจอภาพ ต่อเน่ือง (Continuous Paper) การแสดงผลลพั ธท์ าง จอภาพ (Display)

8 ตารางท่ี 2.1 ตารางสญั ลักษณม์ าตรฐานทใ่ี ช้เขียนผงั งานระบบ (ต่อ) หลงั จากกำหนดค่า A=3 แล้วใหไ้ ปทำตามจุด แสดงจุดตอ่ เน่ืองท่ีอยู่คน ละหน้า ต่อเนอื่ งช่อื B ซึง่ ไม่ไดอ้ ยู่ หน้าเดียวกัน (Off-Page Connector) 2.2.6 หลักเกณฑ์ในการวิเคราะห์งาน การวิเคราะห์งานหรือการวิเคราะห์ปัญหา นับว่าเป็น หัวใจสำคัญของการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง ต่าง ๆ เพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน การวิเคราะห์ งานเป็นการศึกษาถึงรายละเอียดของปัญหาเกี่ยวกับงานที่ต้องการเขียนโปรแกรมเข้าเครื่อง คอมพวิ เตอรน์ ำมาศึกษา วเิ คราะห์และตีความเพื่อชว่ ยให้เข้าใจงา่ ยเชน่ ต้องการใหเ้ คร่อื งทำงาน อะไร ลักษณะผลลัพธ์ที่ต้องการแสดงวิธี การประมวลผลที่ต้องใช้และข้อมูลที่จะต้องป้อนเข้าไปกล่าว โดย สรุป การวิเคราะห์งานจะเป็นการศึกษาผลลัพธ์ (Output) ข้อมูลที่นำเข้า (Input) และวิธีการ ประมวลผล (Process) รวมทั้ง การกำหนดชื่อตัวแปร (Variable) ที่จะใช้ในโปรแกรมนั่นเองวิธีการ วิเคราะห์งานใหไ้ ด้ผลดีน้นั มี หลายแบบแต่หลักเกณฑ์ใหญ่ ๆ ทน่ี ิยมใช้กันอยา่ งทั่วไปสามารถแยก เปน็ ขอ้ ๆ ตามลำดับดงั ต่อไปนี้ 2.2.6.1 สิ่งที่โจทย์ต้องการ หมายถึง สิ่งที่ต้องการให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำให้ เช่น ต้องการให้คำนวณคะแนนเฉลี่ยของนักศึกษา ต้องการให้คำนวณเงินเดือนและค่าแรง เป็นต้นงานแต่ ละชิ้นอายต้องกานใช้เครื่องทำงานให้มากว่าหนึ่งอย่าง ซึ่งควรจะเขียนไว้เป็นข้อ ๆ ให้ชัดเจน การ พจิ ารณาถงึ สิ่งท่ีโจทย์ต้องการเป็นสว่ นทส่ี ำคัญมาก เพราะถ้าไม่ทราบก็ไมส่ ามารถจะทำขั้นตอนต่อไป ได้เลยหรอื ถ้าเขา้ ใจสว่ นน้ี ผิดกจ็ ะทำให้งานผดิ ทง้ั หมด 2.2.6.2 ผลลัพธ์ที่ต้องแสดง (Output) หมายถึง การวิเคราะห์ลักษณะของงาน หรือ รูปแบบผลลัพธ์ที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์แสดงออกมาว่าควรจะมีลักษณะอย่างไร มีรายละเอียดท่ี ต้องการให้แสดงในรายงานมากน้อยเพียงใดหรือรายละเอียดชนิดใดที่ไม่ต้องการให้แสดงออกมาใน รายงาน ในกรณีนี้เป็นหน้าที่ของผู้เขียนโปรแกรมเองว่าจะต้องการรูปแบบรายงานออกมาโดยมี รายละเอียดที่จำเป็นและสวยงามเพียงใด เนื่องจากรายงานหรือผลลัพธ์นี้มีความสำคัญต่อผู้บริหาร เนื่องจากผู้บริหารจะใช้รายงานหรือผลลัพธ์ไปช่วยในการตัดสินใจหรือการวิเคราะห์และแก้ไข ปัญหา ต่าง ๆ ได้ 2.2.6.3 ข้อมูลที่ต้องนำเข้า (Input) หมายถึง ข้อมูลที่ต้องป้อนเข้ามาเพื่อใช้ใน การ ประมวลผล ซึ่งเป็นขั้นตอนที่ต่อเนื่องจากการวิเคราะห์ลักษณะของผลลัพธ์คือ เมื่อพิจารณาถึง ลกั ษณะของ Output ทีแ่ นน่ อนแล้วขอ้ มูลทีต่ ้องนำเขา้ ไปก็ควรจะพิจารณาใหเ้ หมาะสมกบั ผลลัพธ์ท่ี

9 ต้องการแสดงด้วย ทัง้ น้อี าจจะตอ้ งพจิ ารณาถึงขั้นตอนในการประมวลผลควบค่ไู ปดว้ ย 2.2.6.4 ตัวแปรที่ใช้ (Variable) หมายถึง การกำหนดชื่อแทนความหมายของข้อมูล ต่าง ๆ เพื่อความสะดวกในการอ้างถึงข้อมูลนั้นและการเขียนโปรแกรมด้วยการตั้งชื่อตัวแปรที่ใช้ควร คำนึงถึงความหมายที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลการตั้งชื่อตัวแปรนี้ จะขึ้นอยู่กับกฎเกณฑ์ของ ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมเพราะภาษาคอมพิวเตอร์แต่ละภาษามีกฎเกณฑ์และ ความสามารถในการตง้ั ตัวแปรแตกตา่ งกันไปแต่โดยทัว่ ๆ ไปการตง้ั ชอ่ื ตัวแปรจะพิจารณาความหมาย ของข้อมูลว่าตรงกับคำใดในภาษาอังกฤษ แล้วนำมาตัดแปลงหรือย่อให้เข้ากับหลักเกณฑ์ของ ภาษาคอมพวิ เตอร์ท่ีใช้ 2.2.6.5 วิธีการประมวลผล (Processing) หมายถึงวิธีการประมวลผลโดยแสดงขั้นตอน ตา่ ง ๆ ที่ต้องทำตามาลำดบั เร่ิมจาการรับข้อมูลนำไปประมวลผลจนไดผ้ ลลัพธ์ ขัน้ ตอนน้ีจะต้องแสดง การทำงานที่ต่อเนื่องตามลำดับ จึงต้องจัดลำดับก่อนหลังให้ถูกต้อง ในขั้นตอนของวิธีการนี้ถ้ายิ่งกระ ทำใหล้ ะเอยี ดกจ็ ะชว่ ยในการเขยี นโปรแกรมย่ิงงา่ ยขน้ึ 2.3 ความหมายของ Data Flow Diagram และ Entity Relationship Diagram 2.3.1 Data Flow Diagram หรอื (DFD) คือ แผนภาพการวิเคราะห์ระบบของนกั วิเคราะห์ระบบ ที่ช่วยให้สามารถเข้าใจในกระบวนการทำงานของแต่ละหน่วยงาน ซึ่งทราบถึงการรับ/ส่งข้อมูล การ ประสานงานระหว่างกิจกรรมต่าง ๆ ในการดำเนินงาน ซงึ่ เปน็ แบบจำลองของระบบ แสดงถึงการไหล ของข้อมูลท้งั INPUT และ OUTPUT ระหว่างระบบกับแหลง่ กำเนิดรวมท้ังปลายทางของการส่งข้อมูล ซึ่งอาจเป็นแผนก บุคคล หรือระบบอื่น โดยขึ้นอยู่กับระบบงานและการทำงานประสานงานภายใน ระบบนัน้ นอกจากนย้ี ังช่วยให้รู้ถงึ ความต้องการของข้อมูลและข้อบกพร่อง (ปญั หา) ในระบบงานเดิม เพอ่ื ใชใ้ นการออกแบบการปฏบิ ัติงานในระบบใหม่ 2.3.2 Entity Relationship Diagram หรือ (ER Diagram) คือ แผนผังแสดงความสัมพันธ์ ระหว่าง Entity หรือกลุ่มข้อมูล ซึ่งจะแสดงชนิดของความสัมพันธ์ว่าเป็นชนิดหนึ่งต่อหนึ่ง (One to One) หนงึ่ ตอ่ หลายสิ่ง (One to Many) หรือ หลายสิง่ ตอ่ หลายส่งิ (Many to Many)

10 ตารางที่ 2.2 ตารางสญั ลักษณ์ท่ใี ช้ใน Data Flow Diagram (DFD) DeMarco & Gane & Sarson ความหมาย Yourdon Process - ขัน้ ตอนการทำงานภายใน ระบบ Data Store - แหลง่ ข้อมลู สามารถเป็นได้ ทงั้ ไฟล์ข้อมลู และฐานข้อมูล External Entity – ปจั จัยหรอื สง่ิ แวดล้อมทม่ี ผี ลกระทบต่อระบบ Data Flows – เสน้ ทางการไหลของ ขอ้ มูล แสดงทิศทางของข้อมลู จาก ขั้นตอนการทำงานหน่ึงไปยงั อีกขน้ั ตอน หน่งึ ภาพท่ี 2.1 สัญลกั ษณ์ทใ่ี ช้ในการเขียน ER Diagram

11 2.4 วธิ สี รา้ ง DFD (Data Flow Diagram) 2.4.1 กำหนดสิ่งที่อยู่นอกเหนือระบบทั้งหมด และหาว่าข้อมูลอะไรบ้างที่เข้าสู่ระบบหรือออก จากระบบที่เราสนใจเข้าสู่ระบบที่อยู่ภายนอก ขั้นตอนนี้สำคัญมาก เพราะจะทำให้ทราบว่าขอบเขต ของระบบนัน้ มอี ะไรบ้าง 2.4.2 ใช้ข้อมูลทไี่ ดจ้ ากขัน้ ตอนท่ี 1 นำมาสรา้ ง DFD ต่างระดบั 2.4.3 ข้นั ตอนตอ่ มามอี ีก 4 ขน้ั ตอน โดยใหท้ ำทงั้ 4 ข้ันตอนนซ้ี ้ำหลาย ๆ ครั้ง จนกระทง่ั ได้ DFD ระดบั ต่ำสุด 2.4.3.1 เขยี น DFD ฉบบั แรก กำหนดโพรเซสและขอ้ มูลทไ่ี หลเข้าออกจากโพรเซส 2.4.3.2 เขียน DFD อื่น ๆ ที่เป็นไปได้จนกระทั่ง DFD ที่ถูกที่สุด ถ้ามีส่วนหนึ่งส่วนใดท่ี รู้สึกไม่ง่ายนักก็พยายามเขียนใหม่อีกครั้งหนึ่ง แต่ไม่ควรเสียเวลาเขียนจนกระทั่งได้ DFD ที่สมบูรณ์ แบบ เลือก DFD ทเี่ ห็นว่าดที ่สี ดุ ในสายตาของเรา 2.4.3.3 พยายามหาว่ามีข้อผิดพลาดอะไรบ้าง หรือไม่ซึ่งมีรายละเอียดในหัวข้อผิดพลาด ใน DFD 2.4.3.4 เขียนแผนภาพแต่ละภาพอย่างดีซึ่ง DFD ฉบับนี้จะใช้ต่อไปในการออกแบบและ ใช้ด้วยกันกับบุคคลอน่ื ๆ ที่เกยี่ วขอ้ งในโครงการด้วย 2.4.4 นำแผนภาพท้ังหมดท่เี ขยี นมาแลว้ เรียงลำดับและ ทำสำเนาแล้วพรอ้ มทีจ่ ะนำไปตรวจสอบ ข้อผิดพลาดกับผู้ร่วมทีมงาน ถ้ามีแผนภาพใดที่มีจุดอ่อนให้กลับไปเริ่มต้นใหม่ที่ขั้นตอนที่ 3 อีกครั้ง หนงึ่ 2.4.5 นำ DFD ท่ีได้ไปตรวจสอบข้อผิดพลาดกับผู้ใช้ระบบเพื่อหาว่ามีแผนภาพใดไม่ถูกต้อง หรอื ไม่ 2.4.6 ผลติ แผนภาพฉบบั สุดทา้ ยทัง้ หมด 2.5 ความร้เู บื้องต้นเก่ยี วกบั ระบบฐานขอ้ มูล 2.5.1 ฐานข้อมูล (database) หมายถึง การจัดรวบรวมข้อนิเทศหรือขอ้ มูลของเร่ืองต่าง ๆ ไว้ใน รูปแบบที่จะเรียกมาใช้ได้ทันเมื่อต้องการ ในการเรียกนั้น อาจเรียกเพียงส่วนใดส่วนหนึ่งมาใช้ ประโยชน์เป็นครั้งเป็นคราวก็ได้ ฐานข้อมูลที่ดีควรจะได้รับการปรับให้ทันสมัยอยู่เสมอ กลุ่มของ แฟม้ ข้อมลู ท่มี ีความสัมพนั ธ์กันและถูกนำมารวมกนั เช่น ฐานข้อมูลในบริษทั แหง่ หน่งึ อาจประกอบไป ด้วยแฟ้มข้อมูลหลายแฟ้มข้อมูล ซึ่งแต่ละแฟ้มต่างก็มีความสัมพันธ์กัน ได้แก่ แฟ้มข้อมูลพนักงาน แฟ้มข้อมูลแผนกในบริษัท แฟ้มข้อมูลขายสินค้า และแฟ้มข้อมูลสินค้า เป็นต้น สรุปได้ว่า ฐานข้อมูล คือ การรวบรวมข้อมูลที่เราต้องการจะจัดเก็บ ซึ่งต้องมีความสัมพันธ์กันหรือเป็นเรื่องเดียวกันไว้ ดว้ ยกนั เพอื่ สะดวกในการใชง้ าน

12 2.5.2 ระบบการจัดการฐานข้อมูล (Data Base Management System : DBMS) หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่สร้างขึ้นเพื่อรวบรวมข้อมูลให้เป็นระบบ เพื่อจะได้นำไปเก็บรักษา เรียกใช้หรือนำมา ปรับปรุงให้ทันสมัยได้ง่าย ทั้งนี้จำเป็นต้องคำนึงถึงการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลเป็นเร่ืองสำคัญ ด้วย โปรแกรมทใี่ ช้เป็นเคร่ืองมือในการจัดการฐานข้อมูล ซง่ึ ประกอบด้วยหน้าที่ ตา่ ง ๆ ในการจัดการ กับขอ้ มูล รวมทง้ั ภาษาทใี่ ชท้ ำงานกบั ข้อมลู โดยมกั จะใช้ ภาษา SQL ในการโตต้ อบระหวา่ งกันกับผู้ใช้ เพื่อให้สามารถกำหนดการสร้างการเรียกดู การบำรุงรักษาฐานข้อมูล รวมทั้งการจัดการควบคุมการ เข้าถึงฐานข้อมูล ซึ่งถือเป็น การป้องกันความปลอดภัยในฐานข้อมูล เพื่อป้องกันมิให้ผู้ทีไ่ ม่มีสิทธิการ ใช้งานเข้ามาละเมิดข้อมูลในฐานข้อมูลที่เป็นศูนย์กลางได้ นอกจากนี้ DBMS ยังมีหน้าที่ในการรักษา ความมั่นคงและปลอดภัยของเป็นศูนย์กลางได้ นอกจากนี้ DBMS ยังมีหน้าที่ในการรักษาความม่นั คง และความปลอดภัยของข้อมูล การสำรองข้อมูล และการเรียกคืนข้อมูลในกรณีที่ข้อมูลเกิดความ เสียหาย สรุปได้ว่า \"การพัฒนาระบบการจัดการฐานข้อมูล” คือ โปรแกรมทำหน้าที่ในการกำหนด ลักษณะข้อมูลที่จะเก็บไว้ในฐานข้อมูล อำนวยความสะดวกในการบันทึกข้อมูลลงในฐานข้อมูล กำหนด ผ้ทู ไ่ี ดร้ ับอนุญาตให้ใช้ฐานข้อมลู ได้พร้อมกบั กำหนดดว้ ยว่า ให้ใชไ้ ด้แบบใด เชน่ ให้อ่านข้อมูล ได้ อย่าง เดียวหรือให้แก้ไขข้อมูลได้ด้วย นอกจากนั้น ยังอำนวยความสะดวกในการค้นหาข้อมูลและ การแก้ไข ปรบั ปรุงขอ้ มลู ทำให้ผู้ใชส้ ามารถเข้าถงึ ขอ้ มูลได้งา่ ย สะดวกและมปี ระสทิ ธิภาพ เสมือนเป็น ตวั กลาง ระหว่างผู้ใชก้ ับฐานข้อมูลให้สามารถตดิ ต่อกันได้ 2.5.3 ประวัติความเป็นมาของระบบจัดการฐานข้อมูล การจัดการฐานข้อมูลเริ่มต้นจากการท่ี องค์การบริหารการบิน และ อวกาศสหรัฐอเมริกา หรือ นาซ่าได้ว่าจา้ งบริษทั ไอบีเอ็ม (IBM) ประเทศ สหรฐั อเมรกิ าให้ออกแบบระบบเกบ็ รวบรวมข้อมูลท่ีไดจ้ ากการสำรวจดวงจันทร์ในโครงการอะพอลโล โครงการอะพอลโลเป็นโครงการสำรวจอวกาศอย่างจริงจัง และมีการส่งมนุษย์ขึ้นบนดวงจันทร์ได้ สำเร็จด้วยยานอะพอลโล 11 ได้พัฒนาระบบการดูแลข้อมูลเรียกว่า ระบบ GUAM (Generalized Upgrade Access Method) ซึ่งถือเป็นต้นกำเนิดของระบบการจัดการฐานข้อมูล ต่อมาบริษัท ไอบเี อ็ม ไดพ้ ฒั นาระบบการจดั การฐานขอ้ มูลขน้ึ มาใหม่เพื่อใหใ้ ช้งานกับธุรกิจทั่ว ๆ ไปไดเ้ รียกวา่ DLA (Data Language/) จนในที่สุดก็ได้กลายมาเป็นระบบ IMS (Information Management System) ในชว่ งปี พ.ศ.2525 มกี ารนำระบบฐานข้อมูลเข้ามาใช้กบั คอมพวิ เตอร์อย่างเต็มที่ไดม้ ีการ คิดค้น และ ผลิตซอฟต์แวร์เกี่ยวกับฐานข้อมูลออกมามากมาย การเจริญเติบโตของการจัดการ ฐานข้อมูลชุดหนา้ ไปอย่างรวดเร็ว พร้อมกับระบบคอมพิวเตอร์และมีการพัฒนามาจนถึงทุกวันนี้ ปัจจุบันได้มีการนำ คอมพิวเตอร์มาใช้ในการเก็บข้อมูล โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทั่วไปโดยที่ผู้ใช้ไม่ต้อง เขียนโปรแกรม เองเพยี งแต่เรียนรู้คำสัง่ การเรียกใช้ข้อมูลหรือการจัดการข้อมูล เชน่ การป้อนข้อมูล การบันทึกข้อมูล การแก้ไขและเปลี่ยนแปลงข้อมูล เป็นต้น ในอดีตยุคที่มีไมโครคอมพิวเตอร์เกิดขึ้น แรก ๆ โปรแกรม สำเร็จรูปทางด้านการจัดการฐานข้อมูลที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย คือ Personal Filing System

13 ต่อมาได้มีโปรแกรมฐานข้อมูลเพิ่มขึ้นหลายโปรแกรม เช่น Data star DB Master และ dBase II ได้รับความนิยมมาก จนกระทั่ง ในปี พ.ศ.2528 ผู้ผลิตได้สร้าง dBase Ill Plus ออกมา ซึ่งสามารถ จัดการฐานข้อมูลแบบสัมพันธ์ (relational) เชื่อมโยงแฟ้มข้อมูลต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ค้นหา และนำมา สร้างเปน็ รายงานตามความต้องการได้สะดวก รวดเร็ว ต่อมาได้มีการสร้างโปรแกรมสำเร็จรูปเก่ียวกับ ฐานข้อมูลออกมา เช่น FoxBASE, FoxPro, Microsoft Access และ Oracle 2.5.4 องค์ประกอบของระบบการจัดการฐานข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูลประกอบด้วย ส่วนสำคัญหลัก ๆ 5 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ข้อมูล กระบวนการทำงาน และ บุคลากร ดัง รายละเอยี ดต่อไปน้ี 2.5.4.1 ฮาร์ดแวร์ (hardware) หมายถึง คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ เพื่อเก็บข้อมูล และประมวลผลข้อมลู ซึง่ อาจประกอบด้วยเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ตั้งแต่หนง่ึ เครื่องขึ้นไปหน่วยเก็บข้อมูล สำรอง หน่วยนำเข้าข้อมูล และ หน่วยแสดงผลข้อมูล นอกจากนี้ยังต้องมีอุปกรณ์ การสื่อสารเพื่อ เชื่อมโยงอุปกรณ์ทางคอมพิวเตอร์หลาย ๆ เครื่องให้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ เป็นต้น โดย เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ท่จี ะใช้เป็นอปุ กรณส์ ำหรบั ประมวลผลข้อมลู ในฐานข้อมูลน้ัน สามารถเป็นได้ตั้งแต่ เครื่องเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ มินิคอมพิวเตอร์ หรือไมโครคอมพิวเตอร์ซึ่งถ้าเป็นเครื่อง เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ หรอื มนิ คิ อมพวิ เตอร์จะสามารถใช้ต่อกับเทอรม์ ินลั หลายเคร่ือง เพ่ือให้ผใู้ ช้งาน ฐานขอ้ มลู หลายคน สามารถดึงขอ้ มูลหรอื ปรับปรุงข้อมลู ภายในฐานข้อมลู เดียวกนั พร้อมกันได้ ซง่ึ เป็น ลักษณะของการทำงานแบบมัลติยูสเซอร์ (multi user) การประมวลผลฐานข้อมูลในเครื่องระดับ ไมโครคอมพิวเตอร์ สามารถทำการประมวลผลได้ 2 แบบ แบบแรกเป็นการประมวลผลฐานข้อมูลใน เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์เครื่องเดียว โดยมีผู้ใช้งานได้เพียงคนเดียวเท่านั้น (single user) ที่สามารถ ดึงข้อมูลหรือปรับปรุงข้อมูลภายในฐานข้อมูลได้ สำหรับแบบที่สองจะเป็นการนำไมโครคอมพิวเตอร์ หลายตัวมาเชื่อมต่อกัน ในลักษณะของเครือข่ายระยะใกล้ (Local Area Network : LAN) ซึ่งเป็น รูปแบบของระบบเครือข่ายแบบลูกข่าย / แม่ข่าย (client /server network) โดยจะมีการเก็บ ฐานข้อมูลอยู่ท่ีเคร่ืองแมข่ ่าย (server) การประมวลผลต่าง ๆ จะกระทำที่เครื่องแมข่ ่ายสำหรับเครื่อง ลกู ขา่ ย (client) จะมหี น้าท่ดี ึงข้อมูลหรอื ส่งขอ้ มูลเข้ามาปรบั ปรงุ ในเครื่องแม่ข่าย หรือ คอยรบั ผลลพั ธ์ จากการประมวลผลของแมข่ ่าย ดงั นั้นการประมวลผลแบบนจี้ ึงเป็นการเปิดโอกาสใหผ้ ู้ใช้งานหลายคน สามารถใช้งานหลายคนสามารถใช้งานฐานข้อมูลร่วมกันได้ระบบฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพดีต้อง อาศัยเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่มีประสิทธิภาพสูง คือสามารถเก็บข้อมูลได้จำนวนมากและประมวลผลได้ อย่างรวดเร็วเพื่อรองรับการทำงานจากผู้ใช้หลายคนที่อาจมีการอ่านข้อมูลหรือปรับปรุงข้อมูลพร้อม กันในเวลาเดียวกัน

14 2.5.4.2 ซอฟต์แวร์ (software) หมายถึง โปรแกรมที่ใชใ้ นระบบการจดั การฐานข้อมลู ซ่ึง มีการพฒั นาเพอ่ื ใช้งานได้กับเคร่ืองไมโครคอมพิวเตอร์จนถึงเคร่ืองเมนเฟรม ซึ่งโปรแกรมแตล่ ะตัวจะมี คุณสมบัติการทำงานที่แตกต่างกัน ดังนั้นในการพิจารณาเลือกใช้โปรแกรมจะต้องพิจารณาจาก คุณสมบัติของโปรแกรมแต่ละตัวว่ามีความสามารถทำงานในสิ่งที่เราต้องการได้หรือไม่ อีกทั้งเรื่อง ราคากเ็ ป็นเร่อื งสำคัญ เนื่องจากราคาของโปรแกรมแตล่ ะตัวจะไมเ่ ท่ากนั โปรแกรมทมี่ ีความสามารถสูง ก็จะมีราคาแพงมากขึ้น นอกจากนี้ยังต้องพิจารณาว่าสามารถใช้ร่วมกับฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ระบบปฏิบัติการที่เรามีอยู่ได้หรือไม่ ซึ่งโปรแกรมที่ใช้ในการจัดการฐานข้อมูล ได้แก่ Microsoft Access, Oracle, Informix, dBase, FoxPro, และ Paradox เปน็ ตน้ โดยโปรแกรมทเี่ หมาะสำหรบั ผู้ เริ่มต้นฝึกหัดสร้างฐานข้อมูล คือ Microsoft Access เนื่องจากเป็นโปรแกรมใน Microsoft Office ตัวหนึ่ง ซึ่งจะมีอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่แล้ว และการใช้งานก็ไม่ยากจนเกินไปแต่ผู้ใช้งานต้องมี พ้นื ฐานในการออกแบบฐานข้อมูลมาก่อน 2.5.5 ข้อมูล (data) ระบบการจัดการฐานข้อมูลที่ดีและมีประสิทธิภาพ ควรประกอบด้วยข้อมลู ที่ มคี ณุ สมบัติขนั้ พ้ืนฐานดังนี้ 2.5.5.1 มีความถูกต้อง หากมีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วข้อมูลเหล่านั้นเชื่อถือไม่ได้ จะ ทำให้เกิดผลเสียอย่างมาก ผู้ใช้จะไม่กล้าอ้างอิงหรือนำไปใช้ประโยชน์ ซึ่งเป็นสาเหตุให้ การตัดสินใจ ของผู้บริหารขาดความแม่นยำ และอาจมีโอกาสผิดพลาดได้ โครงสร้างฐานข้อมูลที่ออกแบบต้อง คำนึงถึงกรรมวิธีการดำเนินงานเพื่อให้ได้ความถูกต้องแม่นยำมากท่ีสุด โดยปกติความผิดพลาดของ สารสนเทศส่วนใหญ่มาจากข้อมูลที่ไม่มีความถูกต้องซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากคน หรือ เครื่องจักรการ ออกแบบระบบการจัดการฐานขอ้ มูลจงึ ต้องคำนึงถงึ ในเรอ่ื งนดี้ ้วย 2.5.5.2 มีความรวดเร็วและเป็นปัจจุบัน การได้มาของข้อมูลจำเป็นต้องให้ทันต่อความ ต้องอากรของผู้ใช้มีการตอบสนองตอ่ ผูใ้ ช้ได้อยา่ งรวดเร็ว ตีความหมายสารสนเทศได้ทันต่อเหตุการณ์ หรือความต้องการ มีการออกแบบระบบการเรียกค้น และแสดงผล ได้ตรงตามความต้องการของผ้ใู ช้ 2.5.5.3 มคี วามสมบูรณ์ของข้อมูล ซงึ่ ขนึ้ อย่กู ับการรวบรวมและวธิ ีการปฏิบัติด้วย ในการ ดำเนินการจัดทำข้อมูลต้องสำรวจและสอบถามความต้องการข้อมูล เพื่อให้ได้ข้อมูลทีม่ ีความสมบรู ณ์ และเหมาะสม 2.5.5.4 มีความชัดเจนและกะทัดรัด การจัดเก็บข้อมูลจำนวนมากจะต้องใช้พื้นที่ในการ จัดเก็บข้อมูลมาก จึงจำเป็นต้องออกแบบโครงสร้างข้อมูลให้กะทัดรัดสื่อความหมายได้มี การใช้รหัส หรอื ยอ่ ข้อมลู ให้เหมาะสมเพ่ือทจ่ี ะจัดเก็บไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ 2.5.5.5 มีความสอดคล้องกับความต้องการ ซึ่งเป็นเรื่องที่สำคัญ ตังนั้นจึงต้องมีการ สำรวจเพื่อหาความต้องการของหน่วยงานและองค์กร ดูแลสุขภาพการใช้ข้อมูล ความลึก หรือ ความ กว้างของขอบเขตของข้อมูลที่สอดคล้องกับความต้องการ 2.5.6 กระบวนการทำงาน (procedures)

15 หมายถึง ขั้นตอนการทำงานเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ ต้องการ เช่น คู่มือการใช้งานระบบจัดการ ฐานขอ้ มลู ตั้งแต่การเปิดโปรแกรมข้นึ มาใช้งาน การนำเข้า ขอ้ มลู การแก้ไขปรบั ปรงุ ข้อมูล การค้นหา ข้อมลู และการแสดงผลการค้นหา เปน็ ตน้ 2.5.6.1 บุคลากร (people) จำเป็นต้องเกี่ยวข้องกับระบบอยู่ตลอดเวลา ซึ่งบุคลากร ที่ ทำ หนา้ ทใ่ี นการจดั การฐานขอ้ มูล มดี ังต่อไปนี้ 2.5.6.1.1 ผู้บริหารข้อมูล (data administrators) ทำหน้าที่ในการกำหนดความ ต้องการในการใช้ข้อมูลข่าวสารขององค์กร การประมาณขนาดและอัตราการขยายตัวของข้อมูลใน ตลอดจนทำการจัดการดแู ลพจนานกุ รมข้อมูล เป็นต้น องค์กร 2.5.6.1.2 ผู้บริหารฐานข้อมูล (database administrators) ทำหน้าที่ในการ บริหารจัดการ ควบคุม กำหนดนโยบายมาตรการ และ มาตรฐานของระบบฐานข้อมูลทั้งหมดภายใน องค์กร ตัวอยา่ งเช่น กำหนดรายละเอียดและวิธีการจัดเก็บข้อมลู กำหนดควบคุมการใช้งานฐานข้อมูล กำหนดระบบรักษาความปลอดภัยของข้อมูล กำหนดระบบสำรองข้อมูล และกำหนดระบบการกู้คืน ข้อมูล เป็นต้น ตลอดจนทำหน้าที่ประสานงานกับผู้ใช้ นักวิเคราะห์ระบบ และนักเขียนโปรแกรม เพ่อื ให้การบริหารระบบฐานขอ้ มลู สามารถดำเนินไปได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 2.5.6.1.3 นักวิเคราะห์ระบบ (system analysts) มีหน้าที่ศึกษาและทำความ เข้าใจในระบบงานขององค์กร ศึกษาปัญหาที่เกิดขึ้นจากระบบงานเดิม และความต้องการของระบบ ใหม่ที่จะทำการพัฒนาขึ้นมา รวมทั้งต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการทำงานโดยรวม ของทง้ั ฮาร์ดแวรแ์ ละซอฟตแ์ วรอ์ ีกดว้ ย 2.5.6.1.4 นักออกแบบฐานข้อมูล (database designers) ทำหน้าที่นำผลการ วเิ คราะห์ ซ่งึ ได้แก่ปัญหาที่เกดิ ขน้ึ จากการทำงานในปัจจบุ ัน และความตอ้ งการที่อยากจะให้มีในระบบ ใหม่ มาออกแบบฐานข้อมูลเพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขน้ึ และให้ตรงกบั ความตอ้ งการของผใู้ ช้งาน 2.5.6.1.5 นักเขียนโปรแกรม (programmers) มีหน้าที่รับผิดชอบในการเขียน โปรแกรมประยุกต์เพื่อการใช้งานในลักษณะต่าง ๆ ตามความต้องการของผู้ใช้ ตัวอย่างเช่น การเก็บ บันทึกขอ้ มูล และการเรียกใชข้ ้อมูลจากฐานขอ้ มูล เป็นต้น 2.5.6.1.6 ผู้ใช้ (end-users) เป็นบุคคลที่ใช้ข้อมูลจากระบบฐานข้อมูล ซึ่ง วตั ถุประสงคห์ ลกั ของระบบฐานขอ้ มลู คือ การตอบสนองความต้องการในการใชง้ านของผใู้ ช้ ดังนัน้ ใน การออกแบบระบบฐานข้อมูลจึงจำเป็นต้องมีผู้ใช้งานเข้าร่วมอยู่ในกลุ่มบุคลากรทีท่ ำหน้าที่ออกแบบ ฐานข้อมูลด้วย . 2.5.7 หน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูลมีหน้าที่สำคัญ ๆ หลาย อย่าง เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความถกู ตอ้ งและสอดคลอ้ งกันของข้อมูลภายในฐานข้อมูล ไดแ้ ก่

16 2.5.7.1 การจัดการพจนานุกรมข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูลจะทำการจัดเกบ็ นยิ าม ของข้อมูล และความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลไว้ในพจนานุกรมข้อมูล เป็นสารนิเทศที่บอกเกี่ยวกับ โครงสรา้ งของฐานข้อมูล โปรแกรมประยุกต์ท้งั หมดท่ีต้องการเขา้ ถึงข้อมูลในฐานข้อมูลจะต้องทำงาน ผ่านระบบการจัดการฐานข้อมูล โดยที่ระบบจัดการฐานข้อมูลจะใช้พจนานุกรมข้อมูลเพื่อค้นหา โครงสร้างตลอดจนส่วนประกอบของข้อมูลและความสัมพันธ์ที่ต้องการ นอกจากนั้นแล้วการ เปลยี่ นแปลงใด ๆ ที่มีต่อโรงสรา้ งฐานข้อมลู จะถูกบันทึกไว้โดยอัตโนมัติในพจนานุกรมข้อมลู ทำให้เรา ไมต่ ้องเปล่ียนแปลงแก้ไขโปรแกรมเม่ือโครงสรา้ งข้อมลู มกี ารเปลย่ี นแปลง 2.5.7.2 การจัดเก็บข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูลจะสร้างโครงสร้างที่จำเป็นต่อการ จัดเก็บข้อมูล ช่วยลดความยุ่งยากในการนิยามและการเขียนโปรแกรมที่เกี่ยวข้องกับคุณสมบัติทาง กายภาพ ระบบการจัดการฐานข้อมูลในปัจจุบันไม่เพียงแต่จะช่วยในการจัดเก็บข้อมูลเท่านั้น แต่ยัง รวมถึงการจดั เก็บกฎเกณฑต์ า่ ง ๆ ท่ใี ชใ้ นการตรวจสอบบูรณภาพของขอ้ มลู อกี ด้วย 2.5.7.3 การแปลงและนำเสนอข้อมลู ระบบการจดั การฐานข้อมูลจะทำหนา้ ทีใ่ นการแปลง ข้อมูลที่ได้รบั เขา้ มา เพื่อให้สอดคล้องกับโครงสร้างในการจัดเก็บข้อมูล ทำให้เราไม่ต้องไปยุ่งเก่ยี วกับ ความแตกต่างระหว่างรูปแบบของขอ้ มูลทางตรรกะและทางกายภาพ กล่าวคือทำให้มคี วามเป็นอสิ ระ ของข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูลจะแปลงความต้องการเชิงตรรกะของผู้ใช้ ให้เป็นคำสั่งที่ สามารถดึงขอ้ มลู ทางกายภาพที่ต้องการ 2.5.7.4 การจัดการระบบความปลอดภัยของข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูลจะสร้าง ระบบรักษาความปลอดภัยของข้อมูล โดยการกำหนดรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้าใช้ระบบ และ ความสามารถ ในการใช้ระบบ เช่น การอ่าน เพ่มิ ลบ หรอื แก้ไขเปล่ียนแปลงข้อมลู การจดั การระบบ ความปลอดภัย ของข้อมลู มีความสำคญั มากในระบบฐานขอ้ มูลแบบท่ีมีผู้ใชห้ ลายคน 2.5.7.5 การควบคุมการเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้หลายคน ระบบการจัดการฐานข้อมูลจะใช้ หลักการออกแบบโปรแกรมท่เี หมาะสม เพ่อื ให้แนใ่ จวา่ ผูใ้ ชห้ ลายคนสามารถเขา้ ใช้ฐานข้อมูลพร้อมกัน ไดแ้ ละข้อมูลมคี วามถกู ต้อง 2.5.7.6 การเก็บสำรองและกู้คืนข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูลจะมีโปรแกรมเพ่ือ สนับสนุนการสำรองและกู้คืนข้อมูล เพื่อให้แน่ใจด้านความปลอดภัยและความมั่นคงของข้อมูล ใน ระบบ ระบบการจัดการฐานข้อมูลจะกู้ข้อมลู ในฐานข้อมลู คืนมาหลงั จากระบบเกิดความล้มเหลว เช่น เม่อื เกดิ กระแสไฟฟ้าขดั ขอ้ ง เปน็ ตน้ 2.5.7.7 การควบคุมความถูกต้องของข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูลจะสนับสนุนและ ควบคุมความถูกต้องของข้อมูล ตั้งแต่ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล ไปจนถึงความไม่สอดคล้องกันของ ข้อมูล ความสัมพันธ์ของขอ้ มูลที่เก็บไว้ในพจนานุกรมข้อมูลจะถกู นำมาใช้ในการควบคุมความถูกตอ้ ง ของขอ้ มลู ดว้ ย

17 2.5.7.8 ภาษาทใ่ี ช้ในการเข้าถึง ฐานขอ้ มลู และ การเชื่อมต่อกับ โปรแกรมประยุกต์ระบบ การจัดการฐานขอ้ มูลสนับสนนุ การเข้าถึงข้อมูลโดยผ่านภาษาคิวรี (query language) ซึ่งเป็นคำสัง่ ที่ ใช้การค้นคืนจากฐานข้อมูล โดยผู้ใช้เพียงบอกว่าต้องการอะไร และ ไม่จำเป็นต้องรู้ว่ามีขั้นตอน อย่างไรในการนำข้อมูลออกมา เพราะระบบการจัดการฐานข้อมูลจะเป็นผู้กำหนดวธิ ีการในการเข้าถึง ข้อมลู อยา่ งมปี ระสิทธิภาพเอง 2.5.7.9 การติดต่อสื่อสารกับฐานข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูลที่ทันสมัยจะต้อง สนับสนนุ การใชง้ านฐานข้อมลู ผ่านทางเครือขา่ ยอินเทอร์เนต็ ได้ 2.5.8 ข้อดีของการใชฐ้ านข้อมลู เม่ือมกี ารนำระบบการจัดการฐานข้อมูลมาใช้ เพอ่ื อำนวยความ สะดวกในการบันทึกข้อมูล แก้ไขปรับปรุงข้อมูล ค้นหาข้อมูล รวมทั้งกำหนดผู้ที่ได้รับอนุญาตให้ใช้ ฐานขอ้ มูล เปน็ ตน้ ทำใหฐ้ านขอ้ มลู มีข้อดมี ากมาย ไดแ้ ก่ 2.5.8.1 ลดความจำเจของงานดแู ลเอกสาร ซง่ึ เปน็ งานประจำท่ที ำให้ผูด้ ูแลรู้สึก เบอื่ หนา่ ย และขาดแรงจูงใจ แต่เราสามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการปฏิบัติงานนี้แทนมนุษย์ได้ โดยผ่านโปรแกรม สำหรับการจัดการฐานขอ้ มลู 2.5.8.2 ข้อมูลที่จัดเก็บมีความทันสมัย เมื่อข้อมูลในระบบฐานข้อมูลได้รับการดูแล ปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ทำให้ข้อมูลที่จัดเก็บเป็นข้อมูลที่มีความทันสมัย ตรงกับเหตุการณ์ในปัจจุบัน และตรงกับความตอ้ งการอยู่เสมอ 2.5.8.3 ลดความซ้ำซ้อนในการจัดเก็บข้อมูล เนื่องจากการจัดทำฐานข้อมูลจะมี การ รวบรวมข้อมูลประเภทต่าง ๆ เข้ามาจัดเก็บไว้ในระบบและเก็บข้อมูลเพียงชุดเดียว ซึ่งทุกฝ่ายท่ี เกี่ยวข้องจะสามารถเรียกใช้ข้อมูลที่ต้องการได้ เป็นการประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บ และทำให้เกิด ความรวดเรว็ ในการคน้ หาและจดั เกบ็ ข้อมลู ด้วย 2.5.8.4 หลีกเล่ียงความขดั แย้งของข้อมูลได้ เม่อื ขอ้ มลู ถูกจัดเกบ็ ระบบฐานข้อมูลจะทำให้ ข้อมูลลดความซ้ำซ้อนลง คือ มีข้อมูลแต่ละประเภทเพียงหนึ่งชุดในระบบ ทำให้ข้อมูลที่เก็บได้ไม่ ขัดแย้งกันเอง ในกรณีที่จำเป็นต้องเก็บข้อมูลที่ซ้ำซ้อนกัน เพื่อสาเหตุบางประการ เช่น เพื่อความ รวดเร็วในการประมวลผลข้อมูล ระบบจัดการฐานข้อมูลจะเป็นผู้ดูแลข้อมูลที่ซ้ำกันให้มคี วามถูกต้อง ตรงกนั 2.5.8.5 ใช้ข้อมูลร่วมกันได้ เนื่องจากระบบการจัดการฐานข้อมูลสามารถจัดให้ผู้ใช้แต่ละ คนเข้าใชข้ ้อมูลในแฟ้มที่มีข้อมูลเดียวกนั ได้ในเวลาเดียวกนั เชน่ ฝ่ายบคุ คลและฝ่ายการเงินสามารถที่ จะใชข้ อ้ มลู จากแฟม้ ประวตั พิ นักงานในระบบฐานข้อมูลได้พร้อมกัน 2.5.8.6 ควบคุมมาตรฐานของข้อมูลได้ เมื่อข้อมูลต่าง ๆ ในหน่วยงานถูกรวบรวมเข้ามา ผู้บริหารระบบฐานข้อมูลสามารถที่จะวางมาตรฐานในการรับข้อมูล แสดงผลข้อมูล ตลอดจนการ จัดเก็บข้อมูลได้ เช่น การกำหนดรูปแบบของตัวเลขให้มีทศนิยม 2 ตำแหน่ง สำหรับค่าที่เป็นตัวเงิน

18 การกำหนดรูปแบบของการรับ และแสดงผลสำหรับข้อมูลที่เป็นวันที่ นอกจากนี้การที่ข้อมูลมี มาตรฐานเดยี วกัน ทำใหส้ ามารถแลกเปลยี่ นขอ้ มลู ระหวา่ งระบบไดอ้ ย่างสะดวก 2.5.8.7 จัดทำระบบการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลได้ ผู้บริหารระบบฐานข้อมูล สามารถกำหนดรหัสผ่านเขา้ ใช้งานข้อมูลของผู้ใช้แต่ละราย โดยระบบการจัดการฐานข้อมูลจะทำการ ตรวจสิทธิ์ในการทำงานกับข้อมูลทุกครั้ง เช่น การตรวจสอบสิทธิ์ในการเรียกดูข้อมูล การลบข้อมูล การปรับปรุงขอ้ มูล และการเพ่ิมขอ้ มลู ในแตล่ ะแฟ้มขอ้ มลู 2.5.8.8 ควบคุมถูกต้องของข้อมูลได้ ปัญหาเรื่องความขัดแย้งกันของข้อมูล ที่มีความ ซับซ้อน เป็นปัญหาในเรื่องความถูกต้องของข้อมูล ซึ่งเมื่อได้มีการจำกัดความซับซ้อนของข้อมูลออก ปัญหาเรื่องความถูกต้องของข้อมลู ท่ีอาจเกิดขึ้นได้ เช่น อายุโดยปกติของคนงาน ควรอยู่ระหว่าง 18- 60 ปี ถ้าหากในระบบฐานข้อมูล ปรากฏมีพนักงานที่มีอายุ 150 ปี ซึ่งเป็นไปไม่ได้ในทางปฏิบัติท่ี หน่วยงานจะมีการว่าจ้างคนงานที่มีอายุเกิน 60 ปี และอายุของคนในปัจจุบันไม่ควรเกิน 100 ปี ผูบ้ รหิ ารระบบฐานข้อมลู สามารถกำหนดกฎเกณฑ์ในการนำเข้าข้อมลู และระบบจดั การฐานข้อมูลจะ คอยควบคุมให้มีการนำเขา้ ขอ้ มลู เป็นไปตามกฎเกณฑ์ให้มคี วามถกู ต้อง 2.5.9 ข้อเสียของการใช้ฐานข้อมูลแม้ว่าการประมวลผลข้อมูลด้วยระบบจัดการฐานข้อมูล จะมี ขอ้ ดหี ลายประการ แตก่ จ็ ะมขี อ้ เสยี อยู่บา้ งดงั ตอ่ ไปนี้ 2.5.9.1 เสียค่าใช้จ่ายสูง เนื่องจากราคาของโปรแกรมที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล จะมีราคาค่อนข้างแพง รวมทั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพสูง คือ ต้องมีความเร็วสูง มีขนาด หน่วยความจำและหน่วยเก็บข้อมูลสำรองที่มีความจุมาก ทำให้ต้องเสียค่า ว่ายสูง ทำระบบ การ จดั การฐานขอ้ มูล 2.5.9.2 เกดิ การสูญเสยี ข้อมูลได้ เนอ่ื งจากข้อมูลต่าง ๆ ภายในฐานข้อมูลจะถูกจัดเก็บอยู่ ในที่เดียวกัน ดังนั้นถ้าที่เก็บข้อมูลเกิดมีปัญหา อาจทำให้ต้องสูญเสียข้อมูลทั้งหมดในฐานข้อมูลได้ ดงั น้นั การจดั ทำฐานขอ้ มูลที่ดจี งึ ต้องมีการสำรองขอ้ มูลไว้เสมอ 2.6 โปรแกรม Notepad++ กกกกกกกกNotepad++ (โปรแกรม Notepad โปรแกรม Text-Editor ขั้นเทพ) : สำหรับโปรแกรม นี้เปน็ โปรแกรม Notepad ทีม่ ชี ่อื ว่า Notepad++ น้ี ซึ่งถูกพฒั นาข้นึ มาครง้ั แรก ตั้งแตป่ ี ค.ศ. 2003 (เกิน 10 ปีแล้ว) โดยกลุ่มพัฒนาโปรแกรมโอเพน่ ซอรส์ ทีแ่ จกฟรี และแถมซอรส์ โคด้ ไปด้วย มนั เกิดมา เพื่อ สำหรับ โปรแกรมเมอร์ (Programmer) เป็น อีกหนึ่ง โปรแกรม Notepad หรือที่เรียกว่า โปรแกรม Text Editor หรือโปรแกรมแก้ไขข้อความ ทคี่ วามสามารถนน้ั เอาชนะ Notepad อยา่ งขาด ลอย และปัจจุบันนมี้ คี นดาวนโ์ หลด โปรแกรม Notepad++ นไ้ี ปใชแ้ ล้วมากกว่า 30 ล้านคร้ัง จากทั่ว โลก ซึ่งถอื เป็นโปรแกรมเขียนโคด้ ทโี่ ปรแกรมเมอร์ทัว่ โลกนยิ มใช้มากที่สดุ ในโลก

19 กกกกกกกกสำหรับ โปรแกรม Notepad++ ตัวนี้ โดยง่ายๆ เลยคือ มีความสามารถในการ รองรับ หลากหลาย ภาษาการเขียนโปรแกรม (Programming Languages) มีปลั๊กอินเฉพาะทางให้เลือก ดาวน์โหลดมากมาย แล้วช่วยให้เหล่าบรรดา โปรแกรมเมอร์ได้พัฒนาโปรแกรมของตนได้อย่างสบาย มีฟังก์ชั่นในการช่วยอำนวยความสะดวก ในการเขียนโปรแกรม (พัฒนาโปรแกรม) กันอย่าครบครัน ไม่วา่ จะ C, C++, HTML, ASP, Java, Pascal, CSS กส็ ามารถใช้ได้ 2.7 ภาษา PHP กกกกกกกกPHP ย่อมาจาก PHP Hypertext Preprocessor แต่เดิมย่อมาจาก Personal Home Page Tools คอื ภาษาคอมพิวเตอร์จำพวก Scripting language ภาษาจำพวกน้ีคำส่ังต่างๆจะเก็บอยู่ ในไฟล์ ที่เรียกว่า Script และเวลาใช้งานต้องอาศัยตัวแปรชุดคำสั่ง ตัวอย่างของภาษาสคริปต์ก็เช่น JavaScript , Perl เป็นต้น ลักษณะของ PHP ที่แตกต่างจากภาษาสคริปต์แบบอื่นๆ คือ PHP ได้รับ การพัฒนาและออกแบบมา เพื่อใช้งานในการสร้างเอกสารแบบ HTML โดยสามารถสอดแทรกหรือ แก้ไขเนื้อหาได้โดยอัตโนมัติ ดังนั้นจึงกล่าวว่า PHP เป็นภาษาที่เรียกว่า server-side หรือ HTML- embedded scripting language นั้นคือในทุกๆ ครั้งก่อนที่เครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งให้บริการ เป็น Web server จะส่งหน้าเวบ็ เพจที่เขียนด้วย PHP ให้เรา มันจะทำการประมวลผลตามคำสั่งที่มีอยู่ ให้ เสร็จเสียก่อน แล้วจึงค่อยส่งผลลัพธ์ที่ได้ให้เรา ผลลัพธ์ที่ได้นั้นก็คือเว็บเพจที่เราเห็นนั่นเอง ถือได้ว่า PHP เป็นเครื่องมือที่สำคัญชนิดหนึ่งที่ช่วยให้เราสามารถสร้าง Dynamic Web pages (เว็บเพจที่ มี การโต้ตอบกบั ผูใ้ ช้) ได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีลูกเล่นมากขึ้น PHP เป็นผลงานทีเ่ ติบโตมาจากกลุม่ ของนักพัฒนาในเชิงเปิดเผยรหัสต้นฉบับ หรือ Open Source ดังนั้น PHP จึงมีการพัฒนาไปอย่าง รวดเร็ว และแพร่หลายโดยเฉพาะอย่างย่ิงเมื่อใช้ร่วมกับ Apache Web server ระบบปฏบิ ตั ิอย่างเชน่ Linuxหรือ FreeBSD เป็นต้น ในปัจจุบัน PHP สามารถ ใช้ร่วมกับ Web Server หลายๆตัวบน ระบบปฏิบตั กิ ารอย่างเช่น Windows 95/98/NT เป็นตน้ 2.7.1 ลักษณะเดน่ ของ PHP 2.7.1.1 ใช้ได้ฟรี 2.7.1.2 PHP เปน็ โปรแกรมว่ิงขา้ ง Sever ดังนนั้ ขีดความสามารถไม่จำกัด 2.7.1.3 Conlatfun น่ันคอื PHP วงิ่ บนเคร่ือง Unix , Linux ,Windows ไดห้ มด 2.7.1.4 เรยี นรงู้ า่ ย เน่ืองจาก PHP ฝัง่ เขา้ ไปใน HTML และใช้โครงสรา้ งและไวยากรณ์ 2.7.1.5 เร็วและมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะเมื่อใช้กับ Apach Xerve เพราะไม่ต้องใช้ ภาษาง่ายๆ โปรแกรมจากภายนอก 2.7.1.6 ใชร้ ว่ มกบั XML ไดท้ นั ที 2.7.1.7 ใช้กบั ระบบแฟ้มข้อมูลได้ 2.7.1.8 ใช้กับข้อมลู ตวั อักษรได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

20 2.7.1.9 ใชก้ บั โครงสร้างขอ้ มลู แบบ Scalar ,Array ,Associative array 2.7.1.10 ใช้กบั การประมวลผลภาพได้ 2.8 ภาษา SQL กกกกกกกกSQL ย่อมาจาก Structured Query Language เป็นภาษาที่ใช้ในการจัดการของ ฐานข้อมูล เชิงสัมพันธ์ ผู้คิดค้น SQL เป็นรายแรกคือ บริษัทไอบีเอ็ม หลังจากนั้นมาผูผ้ ลิตซอฟท์แวร์ ด้านระบบ จัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพนั ธ์ได้พัฒนาระบบที่สนับสนุน SQL มากขึ้น จนเป็นที่นิยมใช้กัน อย่าง แพร่หลายในปัจจุบัน โดยผู้ผลิตแต่ละรายก็พยายามพัฒนาระบบจัดการฐานข้อมูลของตนให้มี ลักษณะ เด่นเฉพาะขึ้นมา ทำให้รูปแบบการใช้คำสั่ง SQL มีรูปแบบแตกต่างกันไปบ้าง ในขณะที่ American National Standards Institute (ANSI) ได้กำหนดรูปแบบมาตรฐานของ SQL ข้ึน ซึ่งเปน็ มาตรฐาน ของคำสั่ง SQL ตาม ANSI-86 กกกกกกกกต่อมาในปี 1992 ANSI ได้ปรับปรุงมาตรฐานของ SQL/2 และเป็นที่ยอมรับของ ISO (International Organization for Standardization) SQL/2 มีรายละเอียดเพิม่ ขนึ้ เช่น เพม่ิ ประเภทของขอ้ มูลท่ีมจี ากเดิม สนับสนุนการใช้กลุ่มตวั อกั ษร มคี วามสามารถในการใหส้ ิทธิ์เพ่ิมข้ึน (Privilege) สนับสนุนการใช้ SQL แบบ Dynamic เพิ่มมาตรฐานในการใช้ Embedded SQLและมี โอเปอเรเตอรเ์ ชงิ สมั พันธเ์ พม่ิ ขน้ึ กกกกกกกกนอกจากนี้ ANSI ได้ทบทวนและปรับปรุง SQL อีกครั้ง SQL/3 จุดประสงค์ของการ กำหนดมาตรฐาน เพื่อประโยชน์ในการใช้คำสั่งนี้ร่วมกันในระบบที่แตกต่างกันได้ (Application Portability) นอกจากนี้ การเรียนรู้การใช้คำสั่ง SQL ตามมาตรฐานที่กำหนดขึ้น เป็นการง่ายที่จะ นำไปประยกุ ต์ใช้หรือเรียนรู้ เพิ่มเติมจากคำสงั่ SQL ของผูผ้ ลติ แต่ละรายได้ 2.8.1 การทำงานของ SQL 2.8.1.1 Select query ใชส้ ำหรบั ดงึ ข้อมลู ที่ต้องการ 2.8.1.2 Update query ใชส้ ำหรับแกไ้ ขข้อมลู 2.8.1.3 Insert query ใชส้ ำหรบั การเพิ่มขอ้ มลู 2.8.1.4 Delete query ใช้สำหรับลบข้อมลู ออกไป 2.8.2 ประโยชน์ของภาษา SQL 2.8.2.1 สรา้ งฐานข้อมูลและ ตาราง 2.8.2.2 สนับสนุนการจัดการฐานข้อมูล ซึ่งประกอบด้วย การเพิ่ม การปรับปรุง และการ ลบขอ้ มูล 2.8.2.3 สนับสนนุ การเรียกใช้หรือ คน้ หาข้อมลู 2.8.3 ประเภทคำสงั่ ของ SQL

21 2.8.3.1 คำสั่งกำหนดประเภทข้อมูล (Data Definition Language Command: DDL) เป็นกลุ่มคำส่ังใช้สำหรับการปรับเปลีย่ นโครงสร้างของฐานข้อมูล ประกอบดว้ ยคำส่งั Create, 2.8.3.2 คำสั่งในการควบคุมโครงสร้างข้อมูล (Data Control Language Commandะ DCL) ประกอบดว้ ยคำสัง่ ทีใ่ ช้ในการควบคมุ การเกิดภาวะพร้อมกัน หรอื การป้องกนั การเกดิ เหตุการณ์ Replace, Alter, Truncate, Rename, Drop ที่ผู้ใช้หลายคนเรียกใช้ข้อมูลพร้อมกัน และคำสั่งท่ี เกี่ยวข้องกับการควบคุมความปลอดภัยของข้อมูล ด้วยการกำหนดสิทธิของผู้ใช้ที่แตกต่างกัน เช่น คำสั่ง Grant และ Revoke 2.8.3.3 คำสั่งในการปรับปรุงข้อมูล (Data Manipulation Language Command: DML) ประกอบดว้ ยคำสั่งท่ีใชใ้ นการเรียกใช้ ขอ้ มลู การเปล่ยี นแปลงข้อมลู การเพิม่ หรือลบข้อมูล ซึ่ง ไดแ้ กค่ ำส่งั Insert, Delete และ Update 2.8.3.4 คำสั่งที่ใช้ในการค้นหาข้อมูล (Data Retrieval Command) มีหน้าที่ในการ ค้นหาข้อมลู เพื่อแสดงรายการขอ้ มูล หรือคำนวณ โดยมีคำสง่ั เพยี งคำสง่ั เดียวนั้น คอื คำสงั่ Select 2.8.3.5 คำสั่งในการควบคุมการทำรายการข้อมูล (Transaction Control Command) เป็นคำสั่งที่ใช้ในการยืนยันรายการต่างๆ ที่ผู้ใช้งานได้กระทำกับฐานข้อมูล โดยคำสั่งในกลุ่มนี้จะ ประกอบดว้ ย \"Commit และ \"Rollback\" 2.8.4 รปู แบบการใช้คำส่ัง SQL 2.8.4.1 คำสั่ง SQL ที่ใช้เรียกดูข้อมูลแบบโต้ตอบ (Interactive SQL) เป็นการใช้คำส่ัง SQL สง่ั งานบนจอภาพ เพอื่ เรียกดขู อ้ มลู จากฐานขอ้ มลู ได้โดยตรงในขณะทท่ี ำงาน 2.8.4.2 คำสั่ง SQL ที่ใช้เขียนร่วมกับโปรแกรมอื่น ๆ (Embedded SQL) เป็นการนำ คำสง่ั SQL ไปใชร้ ่วมกบั ชดุ คำสงั่ งานทเี่ ขยี นโดยภาษาต่าง ๆ เช่น COBOL, Pascal, PL เป็นต้น 2.9 กรอบแนวคดิ ในการวิจัย ตัวแปรตาม ตวั แปรตน้ รหสั สินคา้ ระดับความพงึ พอใจ ด้านการออกแบบ ชือ่ สนิ คา้ ดา้ นการใช้งาน จำนวน ดา้ นประโยชน์ หมายเหตุ ภาพที่ 2.2 ภาพแสดงกรอบแนวคิดในการวจิ ัย

22 2.10 งานวจิ ัยท่เี กยี่ วขอ้ ง กกกกกกกกปรุงศักดิ์ อัตพุฒ (2560) งานพัสดุ โรงเรียนสตรีภูเก็ต มีโปรแกรมพัฒนางานระบบพัสดุ และมีเครอื่ งคอมพวิ เตอร์ที่มปี ระสิทธภิ าพท่ีสามารถรองรบั การทำงานในระบบ e-GP ทำให้ปฏิบัติงาน พัสดุได้ตามพระราชบัญญัติ การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.๒๕๖๐ ระเบียบ กระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดภุ าครัฐ พ.ศ.๒๕๖๐ และกฎกระทรวง ต่าง ๆ และสามารถเบิกจ่ายเงินงบประมาณได้ตามแผนการปฏิบัติงานทวี่ างไว้ได้อย่างถูกต้องและเป็น ระบบได้อย่างคุ้มค่า มีประสิทธิภาพ โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้และทำให้ทกุ หนว่ ยงานในโรงเรยี น สตรีภเู กต็ ได้พัสดุตามกำหนดระยะเวลาในการใช้งาน กกกกกกกกสุกัญญา ศรีทับทิม (2560) งานพัสดุมีความสำคัญต่อการดำเนินงานขององค์กรทุก ๆ องค์กร เนื่องจากพัสดุเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้การ บริหารงานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น สามารถจะ ก่อให้เกิดความสะดวกรวดเร็ว ประหยัดเวลาและงบประมาณ ทันต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น การมีความ พรอ้ มด้านพัสดคุ รภุ ัณฑ์สามารถทำให้องค์กรประสบผลสำเร็จตามเป้าหมายท่วี างไวไ้ ด้เพราะถ้าองค์กร ใดขาดหลักการจัดการงานพัสดุที่ดีแล้วการทำงานย่อมจะเกิดความซ้ำซ้อนและสิ้นเปลืองอันเป็นเหตุ ทำให้องค์กรนั้นด้อยประสิทธิภาพ เนื่องจากงานพัสดุเป็นงานท่ีสนับสนุนแผนงานของโครงการต่างๆ ซึ่งได้วางแผนไว้ให้มีพัสดุพอใช้ตลอดเวลาทำให้งานและโครงการดำเนินไปได้และแม้แต่ส่วนงานด้าน อนื่ ๆ นนั้ จะ ประสบผลสำเรจ็ ไม่ได้หากไมไ่ ดร้ บั ความร่วมมอื จากฝา่ ยพสั ดุ

23 บทท่ี 3 วิธีดำเนินการวจิ ัย กกกกกกกกการวิเคราะห์ระบบงานสิ่งจำเป็น คือ นักวิเคราะห์ต้องทราบรายละเอียดของระบบว่ามี ความสัมพันธ์กับอะไร บุคคลกลุ่มโดยที่จะสามารถเข้าใช้โปรแกรมได้ โปรแกรมที่จะได้จัดทำขึ้นนั้น สามารถเข้าใช้ได้ทุกคน โปรแกรมได้สร้างขึ้นมาเพื่อสร้างความสะดวกให้กับกลุ่มบุคคลที่ต้องการ จดั เกบ็ ขอ้ มลู พสั ดุ มดี ังน้ี 3.1 การออกแบบระบบฐานขอ้ มลู 3.1.1 Data Flow Diagram level 0 3.1.2 Data Flow Diagram level 1 3.1.3 ER-Diagram 3.1 การออกแบบระบบฐานขอ้ มูล ในการจัดทำโครงการระบบเบิกจา่ ยพัสดุ ไดม้ กี ารกำหนดกระแสข้อมลู ไว้ดงั นี้ 3.1.1 แผนภาพกระแสขอ้ มูล (Context Diagram) ภาพท่ี 3.1 Data Flow Diagram Level Context Diagram ของ level 0

24 จากภาพที่ 3.1 Data Flow Diagram Level Context Diagram ของ level 0 มีขั้นตอน การทำงานดังนี้ ลูกค้าสั่งซื้อสินค้าและชำระเงินไปยังระบบขายผักและมีการบันทึกข้อมูลของลูกค้า และรายการขายสินค้าและส่งรายการซ้ือสนิ ค้าไปยงั ตวั แทนจำหนา่ ยและบันทึกในระบบขายผัก มีการ จัดทำรายงาน ไปยงั ตวั แทนจำหน่ายระบบการทำงานดังกลา่ วขา้ งตน้ Process : ระบบขายผัก Input Data Flow : สง่ั ซ้อื สนิ คา้ , ชำระเงนิ , ข้อมลู สินค้า, ใบเสร็จรับเงิน Output Data Flow : ขอ้ มลู สนิ คา้ , ชำระเงนิ , รายการสั่งซ้อื , ใบเสร็จรับเงิน External Entity : ลูกค้า, ตัวแทนจำหนา่ ย 3.1.2 Data Flow Diagram level 1 ภาพท่ี 3.2 แผนภาพกระแสข้อมูล Data Flow Diagram Level 1

25 จากภาพที่ 3.2 Data Flow Diagram Level Context Diagram ของ level 1 มีขั้นตอน การทำงานดังน้ี ลูกค้าสง่ ขอ้ มูลการสั่งซ้ือไปยังตรวจสอบข้อมลู ลูกค้าและบันทึกข้อมูลลูกค้าจากนั้นส่ง ข้อมูลการสั่งซื้อไปบันทึกข้อมูลการขายสินค้าและส่งข้อมูลรายการขายสินค้าไปจัดทำรายงานต่าง ๆ และจากบันทึกข้อมูลรายการขายสินค้าส่งข้อมูลสินค้ายังคลังเก็บสินค้าและส่งสินค้าให้ลูกค้าและส่ง รายงานการขายสินค้าให้เจ้าของร้านและออกคำสั่งซื้อสินค้า ให้แผนกจัดซื้อส่งข้อมูลสินค้าไปยังคลัง เก็บสินค้าและออกใบสั่งซื้อสินค้าไปยังตัวแทนจำหน่ายให้ส่งใบส่งสินค้าในการเงินและรับชำระเงิน และออกใบชำระเงนิ ใหล้ ูกคา้ และบนั ทึกข้อมลู การเงนิ ในการจดั ทำรายงานต่าง ๆ Process : ตรวจสอบขอ้ มูลลูกคา้ , บันทกึ ข้อมูลการขายสนิ ค้า, คลังเก็บสนิ คา้ , การจัดทำรายงานต่าง ๆ, แผนกจัดซื้อ,การเงนิ Input Data Flow : ขอ้ มลู การสง่ั ซือ้ , ข้อมลู การขายสินคา้ , ขอ้ มลู สนิ คา้ , รายการสนิ คา้ คงเหลือ, สั่งซ้ือสินคา้ , สินค้า, ชำระเงนิ , ขอ้ มลู การเงนิ , ข้อมลู ลกู คา้ Output Data Flow : ข้อมลู การสงั่ ซือ้ , รายการขาย, ขอ้ มูลรายการขายสินคา้ , รายงานการขายสนิ คา้ , ส่งสนิ คา้ , รายการขายสินค้า, ข้อมลู สินค้า, ใบส่ังซ้อื สนิ คา้ , ใบเสรจ็ ชำระเงนิ , ข้อมลู การเงิน, ใบเสรจ็ ชำระเงิน External Entity : ลกู ค้า,เจ้าของร้าน 3.1.3 จากการท่ีไดศ้ ึกษาระบบ ผูจ้ ดั ทำได้ทำการออกแบบ Entity Relationship Diagram ของระบบ ฐานข้อมูลการขายสนิ ค้า ดังภาพท่ี 3.3 ภาพท่ี 3.3 Entity Relationship Diagram

26 จากภาพที่ 3.3 Entity Relationship Diagram มีความสัมพันธ์ดังนี้ ใบเสร็จรับเงิน มีความสัมพันธ์กับลูกค้า, พนักงานและการขายสินค้า รายการขายสินค้ามีความสัมพันธ์กับการขาย สินคา้ และสนิ คา้ สนิ คา้ มีความสัมพนั ธก์ ับประเภทสนิ ค้า 3.1.4 การออกแบบตารางข้อมลู ภาพที่ 3.4 การออกแบบตารางข้อมลู ร้านขายผักตลาดโบว์ลงิ่ ตารางข้อมูลที่มีการจัดเก็บข้อมูลรายการสินค้า รายละเอียดสินค้า รายละเอียดการสั่งสินค้า และชนิดสินคา้ ภาพท่ี 3.5 การออกแบบตารางข้อมลู Product ตารางข้อมลู Product การจดั เก็บข้อมลู ของสินคา้ โดยมี Prd_ID เป็นคีย์หลัก (Primary Key) ภาพที่ 3.6 การออกแบบตารางขอ้ มูล Order_detail ตารางขอ้ มลู Order_detail การจัดเกบ็ ขอ้ มลู ของรายละเอียดสนิ คา้ โดยมี Ord_ID และ Prd_ID เปน็ คีย์นอก (Foreign Key)

27 ภาพท่ี 3.7 การออกแบบตารางขอ้ มูล Order ตารางข้อมูล Order การจัดเก็บข้อมูลของผู้สั่งซื้อสินค้า โดยมี Ord_ID เป็นคีย์หลัก (Primary Key) ภาพท่ี 3.8 การออกแบบตารางข้อมลู Employee ตารางข้อมลู Employee แสดงขอ้ มูลพนักงาน โดยมี Emp_ID เป็นคียห์ ลกั (Primary Key) ภาพที่ 3.9 การออกแบบตารางข้อมลู Category ตารางข้อมูล Category แสดงขอ้ มูลประเภทสนิ ค้า โดยมี Cat_ID เป็นคยี ์หลัก (Primary Key)

บทที่ 4 ผลการดำเนนิ งาน 4.1 การออกแบบหนา้ จอ 4.1.1 ออกแบบหนา้ จอลกู ค้า ภาพที่ 4.1 หน้าจอระบบลูกค้า 4.1.2 ออกแบบหนา้ จอใบสง่ั ซ้ือสนิ ค้า ภาพท่ี 4.2 หน้าจอใบสง่ั ซ้ือสินคา้

29 4.1.3 ออกแบบหน้าจอรายการสนิ คา้ ภาพท่ี 4.3 ออกแบบหนา้ จอรายการสินค้า 4.1.4 ออกแบบหน้าจอระบบขายผกั ภาพท่ี 4.4 ออกแบบหนา้ จอระบบขายผัก

30 4.1.5 ออกแบบหนา้ จอรายชอื่ พนักงาน ภาพที่ 4.5 ออกแบบหนา้ จอรายช่ือพนกั งาน 4.2 การจัดเก็บ Data Base ตารางที่ 4.2.1 แสดงข้อมูลลูกคา้ ตารางที่ 4.2.2 แสดงข้อมูลสินคา้

31 ตารางที่ 4.2.3 แสดงข้อมูลรายการขายสนิ ค้า ตารางท่ี 4.2.4 แสดงข้อมูลการขายสนิ ค้า ตารางท่ี 4.2.5 แสดงข้อมูลประเภทสนิ ค้า ตารางท่ี 4.2.6 แสดงข้อมูลใบเสร็จ

32 ตารางที่ 4.2.7 แสดงข้อมูลพนกั งาน ตารางท่ี 4.2.8 แสดงข้อมูลลูกค้า ตารางที่ 4.2.8 แสดงข้อมูลสินค้า

33 ตารางที่ 4.2.9 แสดงข้อมูลรายการขายสนิ คา้ ตารางท่ี 4.2.10 แสดงขอ้ มูลการขายสนิ ค้า ตารางท่ี 4.2.11 แสดงข้อมูลประเภท ตารางที่ 4.2.12 แสดงข้อมูลพนกั งาน ตารางท่ี 4.2.13 แสดงข้อมูลใบเสร็จ

34 บทท่ี 5 สรุปผลการวิจยั อภิรายผลและข้อเสนอแนะ 5.1 สรุปผลการวิจยั ได้ระบบสารสนเทศในการจัดเก็บข้อมูลขายสินค้าร้านขายผักตลาดโบว์ลิ่ง เพื่อการจัดเก็บ ข้อมลู ลูกคา้ ข้อมลู สนิ คา้ ข้อมลู การสั่งซ้ือ ข้อมลู พนกั งาน 5.2 ขอ้ เสนอแนะ 5.2.1 ขอ้ เสนอแนะสำหรบั การนำไปใช้ 5.2.1.1 ควรจดั ทำปุ่มขน้ึ ไปด้านบน 5.2.1.2 ควรปรับเปลย่ี นสฟี อนต์ ให้มองและอ่านง่ายข้ึน 5.2.2 ขอ้ เสนอแนะในการวจิ ัยครงั้ ต่อไป 5.2.2.1 จดั ทำปมุ่ ขึ้นไปด้านบน 5.2.2.2 ปรับเปลย่ี นสีฟอนต์ ใหม้ องและอา่ นง่ายข้นึ

35 บรรณานกุ รรม นภัทร รัตนนาคินทร์, ความหมายของ DFD และ ER Diagram. [ออนไลน์] [ สืบค้นวันที่ 26 มกราคม 2565] จาก http://www.macare.net/analysis/index.php?id=-3 บทเรียนออนไลน์ ความหมายของภาษา PHP. (ออนไลน]์ [สืบคน้ วนั ที่ 2 กุมภาพันธ์ 2565] จาก http://www.mindphp.com/คูม่ อื /73-คอื อะไร/2127-php-คืออะไร.html บทเรียนออนไลนค์ วามหมายของภาษา SQL [ออนไลน]์ [สบื คน้ วนั ที่ 8 กุมภาพันธ์ 2564 จาก http://www.mindphp.com/คมู่ อื /73-คอื อะไร/2088-sql-คืออะไร.html วิกิพีเดีย,ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล. [ออนไลน์] [สืบค้นวันท่ี 12 กุมภาพันธ์ 2564] จาก https://th.wikipedia.org/wiki/ สื่อการเรียนการสอนออนไลน์การวิเคราะห์และออกแบบระบบ. [ออนไลน์] [สืบค้นวันที่ 15 กุมภาพนั ธ์ 2564] จาก http://learningsystem.6te.net/?page=1 case study_web&design [ออนไลน์] [สืบคน้ วนั ที่ 17 มีนาคม 2564] จาก https://pawebdesign.wordpress.com/2010/09/1

36 ภาคผนวก ก Context Diagram หรอื DFD ระดบั 0 ของระบบขายผักตลาดโบวล์ ง่ิ

37 DFD Level 0

38 ภาคผนวก ข Context Diagram หรอื DFD ระดบั 1 ของระบบขายผกั ตลาดโบวล์ ง่ิ

39 DFD Level 1

40 ภาคผนวก ค ER-Model แบบ Chain model and Clow Foot Model

41 ER Diagram Chain

42 ภาคผนวก ง Entity Relationship Diagram ของระบบขายผักตลาดโบว์ลง่ิ

43

44 ภาคผนวก จ เอกสารประกอบการดำเนนิ งาน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook