1
2 คํานาํ ชุดวิชา การใชพลังงานไฟฟาในชีวิตประจําวัน 1 รหัสวิชา พว12010 ตามหลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ใชไดกับผูเรียนระดับ ประถมศึกษา ชุดวิชาน้ีประกอบดวยเนื้อหาความรูเก่ียวกับพลังงานไฟฟา สถานการณพลังงาน ไฟฟา อุปกรณไฟฟาและวงจรไฟฟา ตลอดจนการใชและการประหยัดพลังงานไฟฟา ซ่ึงเนื้อหา ความรดู ังกลา ว มวี ัตถุประสงคเพ่ือใหผูเรียน กศน. มีความรูความเขาใจ ทักษะ และ ตระหนักถึง ความจาํ เปน ของการใชพ ลังงานไฟฟา ในชีวติ ประจําวัน สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอขอบคุณการไฟฟา ฝา ยผลติ แหง ประเทศไทย (กฟผ.) ท่ีใหการสนับสนุนองคความรูประกอบการนําเสนอเน้ือหาและ งบประมาณ รวมทั้งผูมีสวนเกี่ยวของในการจัดทําชุดวิชา หวังเปนอยางย่ิงวาชุดวิชานี้ จะเกิด ประโยชนต อ ผเู รียน กศน. และนาํ ไปสกู ารใชพลงั งานไฟฟาอยางเหน็ คุณคา ตอไป สาํ นักงาน กศน. เมษายน 2559
3 คาํ แนะนําการใชชุดวิชา ชุดวชิ าการใชพลงั งานไฟฟาในชวี ติ ประจาํ วัน 1 รหัสวิชา พว 12010 ใชสําหรับนักศึกษา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับประถมศึกษา แบง ออกเปน 2 สวน คอื สวนท่ี 1 โครงสรางของชุดวิชา แบบทดสอบกอนเรียน โครงสรางของหนวยการเรียนรู เน้อื หาสาระ กิจกรรมทา ยเรื่องเรียงลําดับตามหนวยการเรียนรู และแบบทดสอบหลังเรียน สว นท่ี 2 เฉลยแบบทดสอบและกิจกรรม ประกอบดว ย เฉลยแบบทดสอบกอนเรียนและ หลงั เรียน เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทา ยเรอื่ งเรียงลาํ ดับตามหนวยการเรยี นรู วิธกี ารใชช ดุ วชิ า ใหผูเรยี นดําเนินการตามขั้นตอน ดงั นี้ 1. ศึกษารายละเอียดโครงสรางชุดวิชาโดยละเอียด เพื่อใหทราบวาผูเรียนตองเรียนรู เนือ้ หาในเร่อื งใดบางในรายวชิ านี้ 2. วางแผนเพื่อกําหนดระยะเวลาและจัดเวลาที่ผูเรียนมีความพรอมที่จะศึกษาชุดวิชา เพื่อใหสามารถศึกษารายละเอียดของเน้ือหาไดครบทุกหนวยการเรียนรู พรอมทํากิจกรรมตามท่ี กาํ หนดใหท ันกอ นสอบปลายภาค 3. ทาํ แบบทดสอบกอ นเรียนของชุดวิชาตามที่กําหนด เพ่ือทราบพ้ืนฐานความรูเดิมของ ผูเ รียน โดยใหท าํ ลงในสมดุ บนั ทึกกิจกรรมการเรียนรูและตรวจสอบคําตอบจากเฉลยแบบทดสอบ เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทายเลม 4. ศึกษาเนื้อหาในชุดวิชาในแตละหนวยการเรียนรูอยางละเอียดใหเขาใจ ท้ังในชุดวิชา และส่อื ประกอบ (ถามี) และทํากิจกรรมท่กี าํ หนดไวใ หค รบถว น 5. เม่ือทํากิจกรรมเสร็จแตละกิจกรรมแลว ผูเรียนสามารถตรวจสอบคําตอบไดจาก เฉลย/แนวตอบทา ยเลม หากผเู รยี นยงั ทํากิจกรรมไมถูกตองใหผูเรียนกลับไปทบทวนเนื้อหาสาระ ในเรื่องน้ันซาํ้ จนกวา จะเขาใจ 6. เมื่อศึกษาเน้ือหาสาระครบทุกหนวยการเรียนรูแลว ใหผูเรียนทําแบบทดสอบหลัง เรยี นและตรวจคําตอบจากเฉลยทา ยเลมวาผูเรียนสามารถทําแบบทดสอบไดถูกตองทุกขอหรือไม หากขอใดยงั ไมถูกตอ ง ใหผเู รียนกลับไปทบทวนเน้ือหาสาระในเรือ่ งนัน้ ใหเ ขาใจอกี ครั้งหนึ่ง ผูเรียน ควรทําแบบทดสอบหลังเรียนใหไดคะแนนมากกวาแบบทดสอบกอนเรียน และควรไดคะแนน
4 ไมนอยกวารอยละ 60 ของแบบทดสอบท้ังหมด (หรือ 12 ขอ) เพื่อใหม่ันใจวาจะสามารถสอบ ปลายภาคผา น 7. หากผูเรียนไดทําการศึกษาเน้ือหาและทํากิจกรรมแลวยังไมเขาใจ ผูเรียนสามารถ สอบถามและขอคาํ แนะนาํ ไดจากครหู รือแหลง คน ควาเพิ่มเตมิ อ่นื ๆ หมายเหตุ : การทําแบบทดสอบกอ นเรียน – หลงั เรียน และกิจกรรมทายเร่ือง ใหท าํ และบันทกึ ลงในสมดุ บันทึกกิจกรรมการเรยี นรปู ระกอบชุดวชิ า การศกึ ษาคน ควา เพ่ิมเติม ผูเ รียนอาจศึกษาหาความรูเพิ่มเติมไดจากแหลงเรียนรูอ่ืน ๆ เชน หนังสือเรียนรายวิชา การใชพลังงานไฟฟาในชีวิตประจําวัน รหัสรายวิชา พว02027 การศึกษาจากอินเทอรเน็ต พิพิธภัณฑ นิทรรศการ โรงไฟฟา หนวยงานทเ่ี กย่ี วของกบั ไฟฟา และการศึกษาจากผรู ู เปนตน การวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ผเู รยี นตองวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน ดังนี้ 1. ระหวางภาค วัดผลจากการทํากิจกรรมหรืองานท่ีไดรับมอบหมายระหวางเรียน รายบคุ คล 2. ปลายภาค วดั ผลจากการทําขอสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ปิ ลายภาค
5 โครงสรางชดุ วิชา สาระการเรียนรู สาระความรูพ ้ืนฐาน มาตรฐานการเรยี นรู มาตรฐานที่ 2.2 มคี วามรู ความเขา ใจ และทักษะพืน้ ฐานเกยี่ วกบั คณติ ศาสตร วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี มาตรฐานการเรยี นรู มีความรู ความเขา ใจ ทกั ษะและเห็นคณุ คา เก่ียวกับกระบวนการ ทางวทิ ยาศาสตร เทคโนโลยี สง่ิ มีชวี ติ ระบบนิเวศ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอม ในทองถิน่ สาร แรง พลงั งาน กระบวนการเปลยี่ นแปลงของโลกและดาราศาสตร มจี ติ วิทยาศาสตรแ ละ นําความรูไ ปใชประโยชนในการดาํ เนินชวี ิต ผลการเรยี นรทู ีค่ าดหวัง 1. ใชความรูแ ละกระบวนการทางวิทยาศาสตรใ นการดาํ เนินชวี ิตไดอ ยางเหมาะสม 2. อธิบายเกย่ี วกับปรากฏการณท างธรรมชาติ และการพยากรณท างอากาศ 3. อธบิ ายเก่ยี วกบั พลังงานในชวี ติ ประจาํ วัน 4. อธบิ าย ออกแบบ วางแผน ทดลอง ทดสอบ ปฏิบัตกิ ารเรอ่ื งไฟฟา ไดอ ยา งถูกตอ งและ ปลอดภัย คิด วิเคราะห เปรยี บเทียบขอ ดี ขอเสียของการตอวงจรไฟฟาแบบอนกุ รม แบบขนาน แบบผสม ประยกุ ตและเลือกใชค วามรู และทักษะอาชีพชา งไฟฟา ใหเ หมาะสมกับดา นบริหารจัดการและการบริการเพือ่ นาํ ไปสูการจดั ทาํ โครงงาน วิทยาศาสตร
6 สาระสาํ คญั พลังงานไฟฟาเปนปจจัยสําคัญในการพัฒนาประเทศท้ังทางดานคมนาคม เศรษฐกิจ อุตสาหกรรม เกษตรกรรม บริการ และคุณภาพชีวิต จึงสงผลใหความตองการพลังงานไฟฟา เพ่ิมสูงข้ึนอยางตอเน่ือง ปจจุบันประเทศไทยใชกาซธรรมชาติเปนหลักในการผลิตกระแสไฟฟา ซ่ึงกําลังจะหมดไปในอนาคตอันใกล ดังนั้นเพ่ือเปนการลดปญหาการขาดแคลนพลังงานไฟฟา ในอนาคต จงึ ตอ งชวยกันประหยัดพลังงานไฟฟาและใชพลังงานไฟฟาใหคุมคาทีส่ ดุ ขอบขา ยเน้อื หา หนว ยการเรียนรทู ี่ 1 รจู ักโรงไฟฟา หนวยการเรียนรูท่ี 2 พลังงานไฟฟาของประเทศไทย หนว ยการเรียนรทู ่ี 3 อุปกรณไฟฟาและวงจรไฟฟา หนวยการเรียนรูที่ 4 การประหยัดพลงั งานไฟฟา สอ่ื ประกอบการเรยี นรู 1. หนงั สอื เรยี นรายวิชาเลอื ก การใชพลังงานไฟฟา ในชวี ติ ประจาํ วัน พว02027 2. ชุดวชิ า การใชพลงั งานไฟฟาในชวี ิตประจําวนั 1 รหสั วิชา พว12010 3. วดี ทิ ัศน 4. ส่ือเสรมิ การเรียนรอู ่ืน ๆ 5. ใบแจง คา ไฟฟา จํานวนหนวยกติ 2 หนวยกติ (80 ชัว่ โมง) กิจกรรมการเรียนรู 1. ทําแบบทดสอบกอนเรียน ตรวจสอบคําตอบจากเฉลยทา ยเลม 2. ศกึ ษาเนอื้ หาสาระในหนวยการเรียนรทู กุ หนวย 3. ทํากิจกรรมตามทก่ี าํ หนดและตรวจสอบคําตอบจากเฉลย/แนวตอบทายเลม 4. ทาํ แบบทดสอบหลังเรยี นและตรวจสอบคําตอบจากเฉลย/แนวตอบทายเลม การประเมินผล 1. ทาํ แบบทดสอบกอ นเรียน – หลังเรยี น 2. ทํากิจกรรมในแตล ะหนว ยการเรียนรู 3. เขา รับการทดสอบปลายภาค
7 หนา สารบญั 1 2 คาํ นํา 9 คาํ แนะนําการใชชุดวิชา 10 โครงสรา งชุดวิชา 15 สารบญั 17 หนว ยการเรยี นรทู ี่ 1 รจู ักไฟฟา 24 27 เรอ่ื งที่ 1 ความหมาย และความสาํ คญั ของไฟฟา 28 เรื่องที่ 2 ประวัตคิ วามเปนมาของไฟฟา ในประเทศไทย 34 เรื่องที่ 3 ประเภทของไฟฟา 37 หนวยการเรยี นรูท่ี 2 พลงั งานไฟฟา ของประเทศไทย 40 เรอื่ งท่ี 1 สถานการณพลังงานไฟฟาของประเทศไทย 41 เรื่องท่ี 2 หนว ยงานทเ่ี ก่ียวขอ งดา นพลงั งานไฟฟาในประเทศไทย 43 หนวยการเรยี นรทู ่ี 3 อุปกรณไฟฟาและวงจรไฟฟา 48 เรื่องท่ี 1 อปุ กรณไ ฟฟา 54 เรอ่ื งที่ 2 วงจรไฟฟา 55 เรอื่ งท่ี 3 สายดนิ และหลักดนิ 56 หนวยการเรยี นรทู ี่ 4 การประหยัดพลังงานไฟฟา 72 เรื่องท่ี 1 กลยุทธก ารประหยดั พลังงานไฟฟา เร่ืองที่ 2 แนวปฏบิ ตั กิ ารประหยัดพลงั งานไฟฟาในครัวเรือน บรรณานกุ รม เฉลยแบบทดสอบกอนเรยี น เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา ยเรื่อง คณะผูจัดทาํ
1 หนว ยการเรยี นรทู ี่ 1 รูจ ักไฟฟา สาระสาํ คญั พลังงานไฟฟาเปนพลังงานรูปหน่ึงที่มีความสําคัญและมีการใชงานกันมาอยางยาวนาน มปี ระโยชนแ ละผลกระทบตอ การพัฒนาประเทศในดานตาง ๆ ไดแก ดานคมนาคม ดานเศรษฐกิจ ดา นอตุ สาหกรรม ดา นเกษตรกรรม ดานบริการ และดานคุณภาพชีวิต ประเทศไทยเร่ิมมีไฟฟาใช ครัง้ แรกในสมัยรัชกาลที่ 5 ซง่ึ ไฟฟา มี 2 ประเภท ไดแก ไฟฟา สถิต และไฟฟา กระแส ตัวช้วี ดั 1. บอกความหมายของไฟฟา 2. บอกประโยชนของพลงั งานไฟฟา 3. บอกผลกระทบจากการขาดแคลนพลังงานไฟฟา 4. บอกประวตั ิความเปนมาของไฟฟา ในประเทศไทย 5. บอกประเภทของไฟฟา ขอบขายเนือ้ หา เรื่องที่ 1 ความหมาย และความสาํ คัญของพลงั งานไฟฟา เรอ่ื งท่ี 2 ประวัติความเปนมาของไฟฟาในประเทศไทย เรือ่ งที่ 3 ประเภทของไฟฟา เวลาทใ่ี ชในการศึกษา 10 ชัว่ โมง ส่อื การเรยี นรู 1. หนังสอื เรยี นรายวิชาเลือก การใชพ ลังงานไฟฟาในชวี ติ ประจาํ วัน พว02027 2. ชุดวิชา การใชพ ลงั งานไฟฟาในชวี ติ ประจําวนั 1 รหสั วิชา พว12010 3. เวบ็ ไซต 4. กระดาษ A4 5. ไมบ รรทัดพลาสติก 6. ใบแจง คาไฟฟา
2 เร่ืองที่ 1 ความหมาย และความสาํ คญั ของไฟฟา ไฟฟาเปนส่ิงจําเปนตอการดําเนินชีวิตของมนุษยในปจจุบัน และเปนตัวแปรสําคัญ ในการพัฒนาเศรษฐกิจ การเพ่ิมผลผลิตทั้งเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมที่ทันสมัย การกระจาย รายได และสรางขีดความสามารถในการแขงขันในดานการผลิต และการขายสินคา ซึ่งเปน เปา หมายสําคญั ในการพัฒนาเศรษฐกจิ ในเรอื่ งที่ 1 ประกอบดวย 2 ตอน คือ ตอนที่ 1 ความหมาย และความสําคัญของไฟฟา ตอนท่ี 2 ประโยชนแ ละผลกระทบของพลังงานไฟฟา ตอนท่ี 1 ความหมาย และความสาํ คัญของไฟฟา ราชบัณฑิตยสถานไดใหความหมาย ของคําวา “ไฟฟา” ไววา “พลังงานรูปหนึ่ง ซ่งึ เกย่ี วของกบั การแยกตัวออกมา หรือการเคล่ือนท่ขี องอเิ ล็กตรอน หรือโปรตอน หรืออนุภาคอ่ืน ทีม่ ีสมบตั ิแสดงอํานาจคลายคลึงกบั อเิ ลก็ ตรอนหรือโปรตอน ใชประโยชนกอใหเกิดพลังงานอื่น เชน ความรอ น แสงสวา ง การเคลอื่ นที่ เปนตน ” ภาพการไหลของอิเลก็ ตรอนในวงจรไฟฟา ไฟฟาเปนพลังงานชนิดหนึ่งท่ีมนุษยนํามาใชประโยชนไดหลายอยาง นอกจากจะให แสงสวา งเวลาค่ําคนื แลว ยงั ทําใหเกิดความรอนเพื่อใชในการหุงตม รีดผา ทําใหเกิดการหมุนของ มอเตอร เชน เคร่ืองดูดฝุน เคร่ืองปนน้ําผลไม เคร่ืองทําความเย็น เปนตน ไฟฟาจึงมีความสําคัญ และจําเปน ตอ การดาํ รงชวี ิต
3 ตอนที่ 2 ประโยชนแ ละผลกระทบของพลงั งานไฟฟา พลังงานไฟฟาเปนปจจัยท่ีสําคัญอยางมากตอการพัฒนาประเทศในดานตาง ๆ ไดแก ดานคมนาคม ดานเศรษฐกิจ ดานอุตสาหกรรม ดานเกษตรกรรม ดานบริการ และ ดา นคุณภาพชีวติ การใชพลงั งานไฟฟามีแนวโนมเพ่ิมขึ้นทุกปตามอัตราการเพ่ิมจํานวนประชากร และความเจรญิ เตบิ โตทางดา นเศรษฐกิจ พลังงานไฟฟาถูกนํามาใชประโยชนในดานตาง ๆ ซึ่งจากสถิติการใชพลังงานไฟฟา แยกตามสาขาเศรษฐกิจ ในป พ.ศ. 2554 พบวา สาขาอุตสาหกรรมเปนสาขาที่มีการใชพลังงาน ไฟฟามากท่ีสดุ คิดเปน รอ ยละ 45.2 ของการใชพ ลงั งานไฟฟาทง้ั ประเทศ สว นสาขาอ่นื ๆ ดังแสดง ในภาพ แผนภมู แิ สดงการใชพลังงานไฟฟาแยกตามสาขาเศรษฐกจิ ป พ.ศ. 2558
4 1. ประโยชนและผลกระทบของพลังงานไฟฟาดานคมนาคม ประโยชน ผลกระทบ พลงั งานไฟฟา ใชในการขับเคล่ือนพาหนะ หาก ขา ดพ ลังง าน ไฟ ฟาท่ี ใชใน กา ร ทําใหการเดินทางมีความสะดวก รวดเร็วปลอดภัย ขับเคล่ือนพาหนะ จะทําใหการเดินทางลาชา และบริการผโู ดยสารไดมากข้นึ อกี ทั้ง ไมกอใหเกิด เกิดความวุนวาย อาจกอใหเกิดอุบัติเหตุ มลพษิ ทางอากาศ และความเสียหายในเร่ืองของการขนสงสินคา ไมทันตามกําหนดเวลา ภาพรถไฟฟา (BTS) ทใี่ ชในกรุงเทพมหานคร ภาพผลกระทบตอการคมนาคมเหตุการณ ไฟฟาดบั ที่เมืองนิวยอรก สหรฐั อเมริกา เม่ือป พ.ศ. 2546 ภาพสัญญาณไฟจราจรทางอากาศ ภาพสัญญาณไฟจราจรทางบก และทางน้าํ ภาพผลกระทบตอ การคมนาคมเหตุการณ ไฟฟาดับ ทําใหการจราจรติดขดั และเกดิ ความวนุ วาย
5 2. ประโยชนแ ละผลกระทบของพลงั งานไฟฟา ดานอตุ สาหกรรม ประโยชน ผลกระทบ ในป พ.ศ. 2558 ภาคอุตสาหกรรมมีการ หากเกิดกรณีไฟฟาขัดของหรือไฟดับ ใชพลังงานไฟฟาสูงมาก คิดเปนรอยละ 45.2 อาจทําใหกระบวนการผลิตหยุดชะงัก ขาดความ ของการใชไฟฟาทั้งประเทศ เพราะเครื่องจักรที่ใช ตอ เนอ่ื ง และทําใหส นิ คาเกิดความเสยี หาย สงผล ในการผลิตสินคาในโรงงานอุตสาหกรรมตาง ๆ ใหความเช่อื ม่นั ของนกั ลงทุนตา งประเทศลดลง เชน อุตสาหกรรมส่ิงทอ อุตสาหกรรมโลหะ สวนกรณีราคาคาไฟฟาสูงข้ึนจะสงผลให อุ ต ส า ห ก ร ร ม ย า น ย น ต อุ ต ส า ห ก ร ร ม ตนทุนการผลิตสินคาสูงขึ้น ยอมสงผลใหราคา อิเล็กทรอนกิ ส อุตสาหกรรมอาหาร เปนตน ลวน สินคาสูงข้ึนตามไปดวย ทําใหการสงออกสินคา จําเปนตองใชพลังงานไฟฟาเปนปจจัยหลักใน ไมสามารถแขงขนั กับตา งประเทศได กระบวนการผลติ ทั้งส้ิน ภาพโรงงานอตุ สาหกรรมสง่ิ ทอ ภาพโรงงานอุตสาหกรรมยานยนตและช้ินสว น ขาวของสํานักขาวไทย วันท่ี 22 พ.ค. 56 รองเรียนกรณีในพ้ืนที่เกิดกระแสไฟฟาขัดของ บอยคร้ัง โดยเฉพาะในชวงท่ีเกิดพายุฝนฟา คะนอง ซึ่งสงผลใหกระบวนการผลิตในโรงงาน อุตสาหกรรมตองหยุดชะงัก และยังเส่ียง ทําเคร่ืองจักรชํารุด เน่ืองจากเกิดการกระชาก ของกระแสไฟฟา
6 3. ประโยชนแ ละผลกระทบของพลงั งานไฟฟาดา นเศรษฐกจิ ประโยชน ผลกระทบ พลั งง าน ไฟ ฟ าเ ปน พลั ง งา นใ นก า ร ถากรณีไฟดับในวงกวาง จะทําใหทุก ขับเคลื่อนเคร่ืองจักรกลในการผลิตสินคา สวน ภาคสวนเกิดความเสียหาย สงผลกระทบ ธุรกิจบริการท่ีมีการใชไฟฟาเปนปจจัยหลัก ตอ ดานเศรษฐกิจโดยตรง เชน ภาคอุตสาหกรรม สามารถเปดใหบริการไดตลอดเวลา มีการจางงาน จะขาดความตอเน่ืองในระบบการผลิตสินคา ตอ เน่ือง ทาํ ใหป ระชาชนมีรายได อาจทําใหสินคาเกิดความเสียหาย ทําให อีกทั้งพลังงานไฟฟายังชวยพัฒนาสินคา ขาดแคลนสนิ คา สนิ คา มีราคาสงู ขึน้ มีผลกระทบ ในทองถ่ินใหมีมูลคาและราคาเพ่ิมขึ้น เชน ตอ การจา งงานและรายไดใ นภาคประชาชน การผลิตบรรจุภัณฑ การแปรรูปสินคาทาง การเกษตร เปนตน 4. ประโยชนและผลกระทบของพลงั งานไฟฟา ดานเกษตรกรรม ประโยชน ผลกระทบ พลังงานไฟฟาไดถูกนํามาใชประโยชน ถาขาดพลังงานไฟฟา อาจสงผลใหสินคา ในภาคเกษตรกรรมมีแนวโนมเพ่ิมข้ึน เนื่องจาก ภาคเกษตรกรรมเสียหาย เชน ผลผลิตเนาเสีย มีการเจรญิ เตบิ โตของประเทศสง ผลใหตองมีการ พืชท่ีเพาะเลี้ยงไวอาจตายได หรืออาจทําให พฒั นาสินคาทางการเกษตรจํานวนมาก เชน การ การบรรจุผลติ ภณั ฑลา ชา เปน ตน แปรรูปผลผลิต การบรรจภุ ณั ฑ เปน ตน ภาพการเพาะปลกู ไมด อกโดยใชพลงั งานไฟฟา ภาพไกต ายเน่ืองจากขาดพลังงานไฟฟา ใหแ สงสวา งเพอื่ การเจรญิ เติบโตอยางตอเนื่อง ทจ่ี า ยใหกับโรงเพาะเลย้ี งแบบปด
7 5. ประโยชนแ ละผลกระทบของพลงั งานไฟฟา ดานคุณภาพชีวิต ประโยชน ผลกระทบ ส่ิงอํานวยความสะดวกในการดํารงชีวิต หากเกิดกรณีไฟฟาขัดของหรือไฟดับ ของมนุษย ลวนใชพลังงานไฟฟาท้ังส้ิน เชน อาจสง ผลใหขาดความสะดวกสบายในการดาํ เนิน เครือ่ งใชไ ฟฟา อปุ กรณร ะบบส่ือสาร อุปกรณและ ชีวิต รวมไปถึงความปลอดภัยในชีวิตและ เคร่ืองมือทางการแพทย รวมถึงส่ิงท่ีใหความ ทรัพยสิน เพราะอาจเปนชองทางใหโจร ขโมย บนั เทงิ ในชีวิตประจาํ วนั เปนตน หรอื ผรู า ย สามารถเขามาปลน หรอื ทาํ รายเจาของ ทรัพยสินได 6. ประโยชนแ ละผลกระทบของพลงั งานไฟฟา ดานบรกิ าร ประโยชน ผลกระทบ พลังงานไฟฟามีบทบาทสําคัญมากในดาน ถาไฟฟาดับเพียงช่ัวขณะหรือดับเปนเวลา การใหบริการทุกภาคสวน ท้ังน้ีเพื่อสรางความ นาน ยอมสง ผลตอการให บริการขัดขอ ง สะดวก สบายในทุก ๆ ด าน ท้ั งในเ รื่อ งก า ร และทําใหเกิดความเสียหายในเร่ืองของรายได ประหยดั เวลาและคา ใชจาย เชน ระบบออนไลน ลดนอยลง รวมทั้งภาพลักษณการทองเที่ยว ของสถาบนั การเงนิ ตาง ๆ การทอ งเท่ียว โรงแรม ของประเทศ รานอาหาร หางสรรพสินคา เปนตน ลวนแตใช พลงั งานไฟฟา ภาพการใหบ ริการของธนาคารโดยผา น ภาพเหตุการณไ ฟฟาดับทเ่ี กาะสมุย เครอื่ งเบิกจา ยอตั โนมัตทิ ี่ตอ งใชพลังงานไฟฟา และเกาะพะงันสงผลใหเ กดิ ความเสียหายในดา น การทอ งเท่ยี ว
ประโยชน 8 ผลกระทบ ภาพแหลง ทอ งเทย่ี วทีต่ องอาศัยแสงสวา ง ภาพขา วเหตุการณไ ฟฟา ดับใน 14 จงั หวัด จากพลงั งานไฟฟา ภาคใต กจิ กรรมทา ยเรอ่ื งที่ 1 ความหมาย และความสาํ คญั ของไฟฟา (ใหผ เู รียนไปทาํ กิจกรรมเรอ่ื งท่ี 1 ทีส่ มดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรยี นรู)
9 เรอื่ งที่ 2 ประวตั คิ วามเปน มาของไฟฟา ในประเทศไทย การใชไ ฟฟาของประเทศไทยถอื วามีประวตั ิความเปนมายาวนาน โดยไดเริ่มนําไฟฟามาใช หลังประเทศอังกฤษเพียง 2 ป ทั้งนี้ไฟฟาเริ่มเขามามีบทบาทในประเทศไทยเม่ือป พ.ศ. 2427 ในรชั สมยั พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลาเจา อยูหัว (รัชกาลท่ี 5) โดยจอมพลเจาพระยาสุรศักดิ์- มนตรี (เจิม แสงชูโต) ซ่งึ ขณะน้ันยงั มีบรรดาศกั ด์ิเปน “จะมืน่ ไวยวรนารถ” ไดซ้ือเครื่องกําเนิดไฟฟา จากประเทศอังกฤษ จํานวน 2 เครื่อง นํามาใชในงานวันเฉลมิ พระชนมพรรษาของพระบาทสมเด็จ พร ะ จุ ล จ อ ม เ ก ล า เ จ า อ ยู หัว โ ด ย จ า ย ก ร ะ แ ส ไ ฟ ฟ า ที่พ ร ะ ที่ นั่ ง จั ก รี ม ห า ป ร า ส า ท ในพระบรมมหาราชวัง ซึ่งนับเปนครั้งแรกของการใชไฟฟาในประเทศไทยและไดมีการพัฒนา ตอเน่ืองมาจนถึงปจจุบัน ในแตละชวงเวลาไดมีการจัดต้ังหนวยงานขึ้นมารับผิดชอบดานไฟฟา ดังนี้ 2440 2455 2493 2494 2497 2500 2501 2505 2512 ป พ.ศ. จัดต้ัง จดั ตง้ั จดั ตง้ั “องคก าร จัดตง้ั จดั ตั้ง “การไฟฟา “บริษัทบางกอกอิเลก็ “การไฟฟา พลงั งานไฟฟา “การไฟฟานครหลวง ฝายผลติ แหง ตริกไลท ซนิ ดิเคท” กรงุ เทพฯ” ลิกไนต” และ ประเทศไทย” “องคก ารไฟฟา สวน (กฟน.)” หรอื “โรงไฟฟา วดั เลียบ” ภมู ภิ าค” จดั ตั้ง “โรงไฟฟา สามเสน” จัดตง้ั “คณะกรรมการ จัดตงั้ จัดตั้ง ซ่งึ ภายหลงั เปล่ยี นชอ่ื เปน “การไฟฟา “กองไฟฟาหลวงสามเสน” พจิ ารณาสรางโรงไฟฟา “การไฟฟา ยันฮี ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื (กฟ.อน.)” ทําใหกจิ การไฟฟา เริม่ ท่วั ราชอาณาจกั ร” (กฟย.)” เปน ปก แผน ภายหลังเปลย่ี นช่อื เปน “สํานักงานพลังงานแหงชาติ” แผนผังแสดงชว งเวลาการจดั ตั้งหนว ยงานท่ีรับผดิ ชอบดานไฟฟาของประเทศไทย กิจกรรมทายเรอ่ื งที่ 2 ประวัตคิ วามเปน มาของไฟฟา ในประเทศไทย (ใหผ ูเ รยี นไปทาํ กจิ กรรมเร่ืองที่ 2 ที่สมุดบนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรู)
10 เรื่องท่ี 3 ประเภทของไฟฟา ไฟฟามีแหลงกําเนิดท้ังท่ีเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและมนุษยประดิษฐขึ้น ในเร่ืองท่ี 3 ประกอบดวย 2 ตอน คือ ตอนที่ 1 ประเภทของไฟฟา ตอนที่ 2 การกําเนิดของไฟฟา ตอนที่ 1 ประเภทของไฟฟา แบง ประเภทของไฟฟา เปน 2 ประเภท คือ 1. ไฟฟาสถิต ไฟฟาสถิต คือ ปริมาณประจุไฟฟาบวกและลบท่ีคางอยูบนพ้ืนผิววัสดุไมเทากันและ ไมส ามารถทจ่ี ะไหลหรือถายเทไปท่ีอืน่ ๆ ได เนอ่ื งจากวัสดนุ ้ันเปน ฉนวนหรือเปนวัสดุท่ีไมนําไฟฟา จะแสดงปรากฏการณในรูปการดึงดูด การผลักกันหรือเกิดประกายไฟ ซ่ึงปรากฏการณการเกิด ไฟฟาสถติ ในธรรมชาติ เชน ฟาแลบ ฟา รอง ฟา ผา เปน ตน ภาพฟา แลบ ภาพฟาผา หลักการเกิดไฟฟาสถิตสามารถนําไปใชประโยชนไดหลายอยาง เชน ทําใหเกิดภาพ บนจอโทรทัศน ทําใหเกิดภาพในเคร่ืองถายเอกสาร เครื่องเอกซเรย ชวยในการพนสีรถยนต จนถึงการทํางานของไมโครชิพในเคร่ืองคอมพวิ เตอร เปนตน
11 2. ไฟฟา กระแส ไฟฟากระแส คือ การไหลของอิเล็กตรอนภายในตัวนําไฟฟาจากท่ีหนึ่งไปอีกที่หน่ึง เชน ไหลจากแหลงกําเนิดไฟฟาไปสูแหลงท่ีตองการใชกระแสไฟฟา ซ่ึงกอใหเกิดแสงสวาง เม่ือกระแสไฟฟาไหลผานลวดความตานทานสูงจะกอใหเกิดความรอน เราใชหลักการเกิดความ รอ น มาประดษิ ฐอปุ กรณไฟฟา เชน เตาหุงตม เตารดี ไฟฟา เปนตน ไฟฟากระแส แบงออกเปน 2 ชนิด คอื 2.1 ไฟฟา กระแสตรง (Direct Current หรือ DC) ไฟฟากระแสตรงเปนไฟฟาท่ีมีทิศทางการไหลไปทางเดียวตลอดระยะเวลา ที่วงจรไฟฟาปด กลาวคือ กระแสไฟฟาจะไหลจากข้ัวบวกภายในแหลงกําเนิดผานตัวตานทาน หรือโหลดผาน ตัวนําไฟฟาแลวยอนกลับเขาแหลงกําเนิดที่ขั้วลบเปนทางเดียวเชนน้ีตลอดเวลา เชน ถา นไฟฉาย ไดนาโม เปน ตน ภาพถา นไฟฉาย ภาพไดนาโม ประโยชนของไฟฟา กระแสตรง 1) ใชใ นการทดลองทางเคมี เชน การนาํ น้ํามาแยกเปน ออกซิเจน และไฮโดรเจน เปนตน 2) ใชในการชุบโลหะตาง ๆ 3) ใชเ ชอ่ื มโลหะและตัดแผนเหลก็ 4) ทาํ ใหเหล็กมีอํานาจแมเ หล็ก 5) ใชในการประจกุ ระแสไฟฟา เขา แบตเตอร่ี
12 6) ใชในวงจรอิเล็กทรอนิกส 7) ใชเปนอุปกรณอาํ นวยความสะดวก เชน ไฟฉาย เปน ตน 2.2 ไฟฟากระแสสลับ (Alternating Current หรือ AC) ไฟฟากระแสสลับเปนไฟฟาที่มีการไหลกลับไปกลับมา ทั้งขนาดของกระแสและ แรงดันไมคงท่ี เปล่ียนแปลงอยูเสมอ คือ กระแสจะไหลไปทางหนึ่งกอน ตอมาก็จะไหลสวนกลับ แลวก็เร่ิมไหลเหมือนครั้งแรก การที่กระแสไฟฟาไหลไปตามลูกศรเสนทึบดานบนครั้งหน่ึงและ ไหลไปตามลกู ศรเสน ประดานลา งอีกครั้งหนง่ึ เรียกวา 1 รอบ ความถ่ี หมายถึง จํานวนลูกคลื่นไฟฟากระแสสลับท่ีเปลี่ยนแปลงใน 1 วินาที ไฟฟากระแสสลับท่ีใชในประเทศไทยมีความถี่ 50 เฮิรตซ ซึ่งหมายถึง จํานวนลูกคลื่นไฟฟาสลับ ทีเ่ ปลย่ี นแปลง 50 รอบ ในเวลา 1 วินาที ภาพการเกิดคล่ืนของไฟฟากระแสสลับ ประโยชนข องไฟฟา กระแสสลับ 1) ใชก ับระบบแสงสวา งไดดี 2) ใชกบั เครือ่ งใชไฟฟา ทต่ี องการกําลังมาก ๆ 3) ใชก บั เคร่ืองอาํ นวยความสะดวกและอุปกรณไ ฟฟาไดเ กือบทุกชนิด
13 ตอนที่ 2 การกาํ เนิดของไฟฟา แหลงกําเนดิ ไฟฟา ในโลกนี้มหี ลายอยาง ทั้งท่เี กิดโดยธรรมชาติ เชน ฟาแลบ ฟาผา เปนตน และมนษุ ยไ ดค น พบการกําเนิดไฟฟาทส่ี าํ คญั มีดงั น้ี 1. ไฟฟาที่เกิดจากการเสียดสีของวัตถุ เปนไฟฟาท่ีเกิดขึ้นจากการนําวัตถุตางกัน 2 ชนดิ มาขดั สีกนั เชน แผนพลาสตกิ กับผา หวกี บั ผม เปน ตน แทงแกว ภาพการเกิดไฟฟาจากการเสียดสีของวตั ถุ 2. ไฟฟาที่เกิดจากการทําปฏิกิริยาทางเคมี โดยการนําโลหะ 2 ชนิดที่แตกตางกัน ตัวอยาง สังกะสีกับทองแดงจุมลงในสารละลาย โลหะทั้งสองจะทําปฏิกิริยาเคมีกับสารละลาย ทําใหเ กดิ กระแสไฟฟา เชน แบตเตอรี่ ถานอลั คาไลน (ถา นไฟฉาย) เปน ตน แบตเตอร่ี ถานอลั คาไลน 1.5 โวลต ถา นอลั คาไลน 9 โวลต ภาพอปุ กรณไฟฟาท่เี กิดจากการทาํ ปฏิกิริยาทางเคมี 3. ไฟฟา ทเี่ กดิ จากพลังงานแสงอาทิตย โดยเราสามารถสรางเซลลแสงอาทิตย (Solar Cell) ท่ีทําหนาท่ีเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตยใหเปนพลังงานไฟฟา ปจจุบันเคร่ืองใชไฟฟา หลายชนดิ ใชพลงั งานแสงอาทิตย เชน นาฬกิ าขอ มือ เครอื่ งคดิ เลข เปน ตน
14 ภาพเซลลแ สงอาทติ ยท ีใ่ ชในการผลิตไฟฟา ของเข่ือนสริ ินธร จังหวดั อุบลราชธานี 4. ไฟฟาที่เกิดจากพลังงานแมเหล็กไฟฟา กระแสไฟฟาที่ไดมาจากพลังงานแมเหล็ก โดยวิธีการใชลวดตวั นําไฟฟา ตัดผานสนามแมเ หล็ก หรอื การนาํ สนามแมเหล็กว่ิงตัดผานลวดตัวนํา อยางใดอยางหน่ึง ท้ังสองวิธีน้ีจะทําใหมีกระแสไฟฟาไหลในลวดตัวนําน้ัน กระแสท่ีผลิตไดมีท้ัง กระแสตรงและกระแสสลบั ภาพอุปกรณที่มกี ารใชไ ฟฟา ที่เกดิ จากพลังงานแมเ หลก็ ไฟฟา กิจกรรมทายเรอ่ื งท่ี 3 ประเภทของไฟฟา (ใหผเู รียนไปทาํ กจิ กรรมเรอื่ งที่ 3 ที่สมดุ บนั ทกึ กิจกรรมการเรียนรู)
15 หนว ยการเรียนรูที่ 2 พลังงานไฟฟาของประเทศไทย สาระสาํ คญั ในปจจุบันประเทศไทย ใชเชื้อเพลิงที่หลากหลายในการผลิตไฟฟา โดยสวนใหญผลิต จากกาชธรรมชาติ หากพิจารณาการใชไฟฟาในแตละชวงเวลาในหน่ึงวัน พบวามีปริมาณการใช ไฟฟา ไมส มํ่าเสมอขึ้นอยกู บั ความตอ งการของประชาชน ซง่ึ มีแนวโนมการใชพลังงานไฟฟาเพิ่มขึ้น ทุกปตามภูมิอากาศ ประชากรท่ีเพ่ิมข้ึนและการขยายตัวทางเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม โดยมี หนวยงานท่ีรับผิดชอบเก่ียวของดานพลังงานไฟฟาหลายหนวยงาน ไดแก คณะกรรมการกํากับ กิจการพลังงาน (กกพ.) การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) การไฟฟาสวนภูมิภาค (กฟภ.) และการไฟฟา นครหลวง (กฟน.) ตวั ช้ีวัด 1. บอกสดั สว นเชอ้ื เพลงิ ทใ่ี ชใ นการผลิตไฟฟา ของประเทศไทย 2. บอกการใชไ ฟฟา ในแตล ะชวงเวลาในหน่งึ วัน 3. อธบิ ายสถานการณพ ลงั งานไฟฟา ของประเทศไทย 4. ระบชุ อ่ื และสงั กดั ของหนวยงานทีเ่ กยี่ วขอ งดา นพลังงานไฟฟา ในประเทศไทย 5. บอกบทบาทหนา ท่ีของหนว ยงานท่เี กีย่ วขอ งดานพลังงานไฟฟา ขอบขายเนื้อหา เร่ืองท่ี 1 สถานการณพ ลงั งานไฟฟา ของประเทศไทย เรื่องท่ี 2 หนวยงานท่ีเก่ยี วขอ งดา นพลังงานไฟฟา ในประเทศไทย เวลาท่ีใชใ นการศึกษา 20 ชว่ั โมง
16 ส่ือการเรยี นรู 1. หนงั สือเรียนรายวิชาเลอื ก การใชพ ลงั งานไฟฟา ในชีวิตประจาํ วนั พว02027 2. ชดุ วิชาการใชพลังงานไฟฟา ในชวี ิตประจาํ วนั 1 รหสั วิชา พว12010 3. เว็บไซต https://www.youtube.com/ พิมพคําวา “ชุดไฟฟานารู” เร่ือง ทําไม คาไฟแพง ไฟฟาซ้ือหรือสราง และผลิตไฟฟา อยางไรดี 4. ใบแจงคา ไฟฟา
17 เรอ่ื งท่ี 1 สถานการณพ ลงั งานไฟฟา ของประเทศไทย ปจจุบันการใชพลังงานไฟฟาในประเทศไทยเพ่ิมสูงข้ึนอยางตอเน่ือง โดยเช้ือเพลิงหลัก ทน่ี าํ มาใชในการผลิตไฟฟา คือ กาซธรรมชาติ นั้น เร่ิมลดลงเร่ือย ๆ จนอาจสงผลกระทบตอการ ผลติ ไฟฟาในอนาคต ในเรือ่ งที่ 1 ประกอบดว ย 3 ตอน คอื ตอนที่ 1 สัดสวนการผลิตไฟฟา จากเชอ้ื เพลิงประเภทตา ง ๆ ตอนที่ 2 การใชไฟฟา ในแตล ะชว งเวลาในหนง่ึ วัน ตอนที่ 3 สภาพปจ จุบันและแนวโนม การใชพลังงานไฟฟา ตอนท่ี 1 สดั สวนการผลติ ไฟฟา จากเชอื้ เพลิงประเภทตา ง ๆ การผลิตไฟฟาของประเทศไทย มีการใชเช้ือเพลิงที่หลากหลาย ซึ่งไดมาจากแหลง เชื้อเพลิงภายในและภายนอกประเทศ โดยสวนใหญผลิตจากกาซธรรมชาติ รอยละ 69.19 รองลงมาคือ ถานหินนําเขาและถานหินในประเทศ (ลิกไนต) รอยละ 18.96 พลังนํ้า ในประเทศและพลังนํ้านําเขา รอยละ 8.65 พลังงานหมุนเวียน รอยละ 2.37 นํ้ามันเตาและ น้ํามนั ดีเซล รอยละ 0.75 และซอ้ื ไฟฟาจากประเทศมาเลเซีย รอ ยละ 0.07 แผนภมู แิ สดงสัดสวนเช้อื เพลิงทใ่ี ชในการผลิตไฟฟา ของประเทศไทย ป พ.ศ. 2558
18 จากภาพสัดสวนเชื้อเพลิงท่ีใชในการผลิตไฟฟาในประเทศไทย ป พ.ศ. 2558 จะเห็นวา ประเทศไทยมีความเส่ียงตอ ความมนั่ คงดานพลังงานไฟฟา คอนขางสูง เนื่องจากประเทศไทยมีการ พึ่งพากา ซธรรมชาติในการผลติ ไฟฟา มากเกินไป โดยกาซธรรมชาติที่นํามาใชมาจาก 2 แหลงหลัก ๆ คอื แหลง กา ซธรรมชาตใิ นประเทศไทยประมาณรอยละ 60 สวนทเี่ หลอื อีกประมาณรอยละ 40 นาํ เขาจากประเทศเมียนมาร ตอนท่ี 2 การใชไฟฟาในแตละชวงเวลาในหนึง่ วนั การใชไฟฟาแตละชวงเวลาในหน่ึงวัน มีปริมาณความตองการใชไฟฟาไมสม่ําเสมอ โดยความตอ งการไฟฟาสูงสุดจะเกิด 3 ชวงเวลา คือ เวลา 10.00 – 11.00 น. เวลา 14.00 – 15.00 น. และเวลา 19.00 – 20.00 น. ดงั ภาพ โรงไฟฟาฐาน ความตองการไฟฟาสงู สดุ ระดับ 3 ระดับ 2 ระดับ 1 โรงไฟฟาขนาดใหญ พลังนาํ้ น้าํ มัน เดินเครื่องตลอด 24 ช่วั โมง ราคาถกู ความตอ งการไฟฟาปานกลาง กา ซธรรมชาติ พลังงานทดแทน ความตองการไฟฟา พ้ืนฐาน (โรงไฟฟาฐาน) กา ซธรรมชาติ ลิกไนต ภาพการใชไฟฟา แตล ะชวงเวลาในหน่งึ วัน การเลือกใชเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟา ตองพิจารณาถึงประเภทของโรงไฟฟาที่ตองการ ในระบบดวย เพื่อใหสอดคลองกับความตองการใชไฟฟาในแตละชวงเวลา โดยคํานึงถึง ประสทิ ธิภาพของโรงไฟฟา และตนทนุ ในการผลติ ไฟฟา เพราะโรงไฟฟา แตล ะประเภท
19 มีความเหมาะสมในการผลิตไฟฟาในแตละชวงเวลาที่ตางกัน จะเห็นไดวาความตองการใชไฟฟา ในแตล ะวนั จะแบง ออกเปน 3 ระดบั ดังนี้ ระดับ 1 ความตองการไฟฟาพ้ืนฐาน เปนความตองการใชไฟฟาตํ่าสุดของแตละวัน ซึ่งในแตละวันจะตองผลิตไฟฟาไมต่ํากวาความตองการในระดับน้ี โดยโรงไฟฟาที่ใชผลิตไฟฟา ต า ม ค ว า ม ต อ ง ก า ร ไ ฟ ฟ า พื้ น ฐ า น จ ะ เ ป น โ ร ง ไ ฟ ฟ า ที่ ต อ ง เ ดิ น เ ค รื่ อ ง ต ล อ ด เ ว ล า จึงควรเปนโรงไฟฟาท่ีใชเชื้อเพลิงราคาถูกเปนลําดับแรก ไดแก โรงไฟฟาถานหิน โรงไฟฟา กา ซธรรมชาติ และโรงไฟฟา พลังงานนวิ เคลียร ระดับ 2 ความตองการไฟฟาปานกลาง เปนความตองการใชไฟฟามากข้ึนกวาความ ตองการไฟฟาพ้นื ฐาน แตย งั ไมถงึ ระดับสูงสุด โรงไฟฟาที่ผลิตพลังงานไฟฟาชวงท่ีมีความตองการ ไฟฟาปานกลางจะใชโรงไฟฟากาซธรรมชาติ และหากกาซธรรมชาติไมเพียงพอ จะตองใชน้ํามัน ดีเซล หรอื พลังงานทดแทนอื่น ๆ มาผลิตไฟฟา จงึ ทาํ ใหต นทุนเช้ือเพลงิ สูง ระดับ 3 ความตองการไฟฟาสูงสุด เปนความตองการใชไฟฟาบางชวงเวลาเทานั้น สําหรับโรงไฟฟาท่ีผลิตพลังงานไฟฟาไดทันทีในชวงท่ีมีความตองการสูงสุด เชน โรงไฟฟากังหัน กา ซทีใ่ ชน ้ํามนั ดเี ซลเปนเชอ้ื เพลงิ โรงไฟฟา พลงั น้ํา เปน ตน ตอนที่ 3 สภาพปจจุบนั และแนวโนมการใชพ ลังงานไฟฟา ปจจุบันประเทศไทยมีความตองการไฟฟาเพิ่มข้ึนทุกปตามสภาพภูมิอากาศ จํานวน ประชากรท่เี พิม่ ข้นึ และการขยายตัวทางเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม ดังนั้น พลังงานท่ีย่ังยืนและ ความม่ันคงของระบบพลังงานไฟฟา จึงมีสวนสําคัญตอการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคม ของประเทศเปน อยา งมาก
20 ภาพการใชพลังงานไฟฟาของประเทศไทย จากภาพการใชพลังงานไฟฟาของประเทศไทย ในป พ.ศ. 2553 ใชพลังงานไฟฟา 161,554 ลานหนวย และป พ.ศ. 2558 ใชพลังงานไฟฟาถึง 183,288 ลานหนวย ซึ่งการใชไฟฟา ในชวง 5 ป ระหวางป พ.ศ. 2553 – 2558 เพ่ิมขึ้น รอยละ 13.45 โดยเฉล่ียแลวเพิ่มขึ้นรอยละ 2.7 ตอ ป เช้ือเพลิงแตละประเภทมีขอดีและขอจํากัด เพ่ือใชเปนขอมูลในการพิจารณาเลือกใช เช้อื เพลิงในการผลิตไฟฟา ไดอ ยา งเหมาะสม ตารางเปรียบเทยี บขอดีและขอจํากดั ของเช้ือเพลงิ ประเภทตา ง ๆ เชือ้ เพลิง ขอ ดี ขอจาํ กัด กาซธรรมชาติ - ราคาคา ไฟตอหนว ยต่าํ - มกี ารปลอ ยกา ซเรือนกระจก - ราคาเชื้อเพลงิ มีความผันผวน - สามารถผลติ ไฟฟาไดตลอด 24 ช่ัวโมง - ปริมาณสํารองเช้ือเพลิงในประเทศไทย มปี ริมาณจาํ กัด ถา นหนิ - มปี รมิ าณเช้อื เพลิงเพียงพอ - มกี ารปลอยกา ซเรือนกระจก - ราคาคา ไฟตอ หนว ยต่าํ - ใชเ ชือ้ เพลงิ ปรมิ าณมาก - สามารถผลติ ไฟฟา ไดต ลอด 24 ช่ัวโมง - ประชาชนยังขาดความมั่นใจในเร่ือง มลภาวะทางอากาศ
21 เชื้อเพลิง ขอ ดี ขอจํากดั นวิ เคลยี ร - มปี รมิ าณเชอื้ เพลงิ เพียงพอ - ใชเ งินลงทุนในการกอสรางสูง - ราคาคาไฟตอ หนวยต่ํา - ใชเวลากอ สรา งโรงไฟฟานาน - สามารถผลิตไฟฟา ไดต ลอด 24 ชัว่ โมง - ประชาชนยงั กังวลในเรอ่ื งความปลอดภัย - เปน โรงไฟฟาที่สะอาด ไมก อ ใหเ กิดมลพิษ และกา ซเรือนกระจก - ใชเ ชอื้ เพลงิ นอ ย ลม - เปนแหลง พลงั งานท่ีไดจ ากธรรมชาติ ไมมี - ราคาคาไฟตอ หนว ยสูง คา เชอ้ื เพลงิ - พ่งึ พาไมไ ด เน่อื งจากตองข้ึนอยูกับสภาพ - เปนแหลงพลังงานสะอาด ไมกอใหเกิด อากาศและฤดกู าล มลภาวะจากกระบวนการผลิตไฟฟา - ใชพ้ืนที่มากเม่ือเทียบกับโรงไฟฟา ประเภทอื่น นํ้า - เปนแหลง พลังงานทีไ่ ดจากธรรมชาติ ไมมี - การเดินเครื่องผลติ ไฟฟาข้นึ กบั ปรมิ าณนํา้ คาเช้อื เพลิง ในชวงที่สามารถปลอยนํ้าออกจากเข่ือน - เปนแหลงพลังงานสะอาด ไมกอใหเกิด ได มลภาวะจากกระบวนการผลติ ไฟฟา แสงอาทติ ย - เปน แหลง พลังงานท่ไี ดจ ากธรรมชาติ ไมมี - ราคาคาไฟตอ หนว ยสงู คา เชอื้ เพลิง - พง่ึ พาไมได เน่อื งจากตองข้ึนอยูกับสภาพ - สามารถนาํ ไปใชใ นแหลง ที่ยงั ไมมีไฟฟาใช อากาศและฤดกู าล และอยูห างไกลจากระบบสง ไฟฟา - ใชพ้ืนท่ีมากเมื่อเทียบกับโรงไฟฟา - การดูแลรกั ษางา ย ประเภทอน่ื - เปนแหลงพลังงานสะอาด ไมกอใหเกิด - ปญหาการจัดเกบ็ ไฟฟา มลภาวะจากกระบวนการผลิตไฟฟา ชีวมวล - ใชประโยชนจากเศษวัสดุเหลือใชทาง - ชีวมวลเปน วัสดุทีเ่ หลือใชจากการแปรรูป การเกษตร ทางการเกษตร มีปริมาณสํารองท่ีไม - ชว ยเพมิ่ รายไดใ หเ กษตรกร แนนอน - ชวยแกปญหาสิ่งแวดลอมเร่ืองของเหลือ - การบรหิ ารจัดการเชือ้ เพลิงทาํ ไดย าก ทง้ิ ทางการเกษตร - ราคาชีวมวลแนวโนมสูงข้ึน เน่ืองจากมี ความตองการใชเพมิ่ ขึ้นเร่ือย ๆ - ชีวมวลที่มีศักยภาพเหลืออยูมักจะอยู กระจัดกระจาย มีความชื้นสูง จึงทําให ตนทุนการผลิตไฟฟาสูงขึ้น เชน ใบออย และยอดออย ทะลายปาลม เปนตน
22 เชือ้ เพลิง ขอดี ขอ จํากดั ความรอ นใต - เปนแหลงพลงั งานทีไ่ ดจ ากธรรมชาติ ไมมี ใชไดเฉพาะในพ้ืนท่ีท่ีมีแหลงความรอน พภิ พ คา เชอ้ื เพลิง ใตพิภพอยูเ ทา น้ัน - เปน แหลง พลงั งานสะอาด ส่งิ ท่ีตอ งคาํ นึงถงึ ในการเลือกเชือ้ เพลงิ เพ่ือใชผลติ ไฟฟา 1. ความม่ันคง ควรมีแหลงสํารองเช้ือเพลิงที่มีปริมาณเพียงพอและแนนอน สามารถ พงึ่ พาตนเองได มีการกระจายประเภทของเช้ือเพลิงเพ่ือลดความเส่ียงจากการพ่ึงพาเช้ือเพลิงใด เช้อื เพลิงหนึ่งมากเกนิ ไป 2. ราคาเหมาะสม ควรเลือกเชอ้ื เพลิงที่มตี นทุนในการผลติ ไฟฟาตํา่ 3. ส่ิงแวดลอม ควรเลือกเช้ือเพลิงที่ไมกอใหเกิดผลกระทบกับส่ิงแวดลอมเกินเกณฑ มาตรฐานท่กี ฎหมายกาํ หนด คําสนงงึ ั ถคงึ มสยงิ อแมวดรลบั อ้ ม สมดลุ ความมนั คง ราคาเหมาะสม • ระบบผลติ เพียงพอ • ระบบส่งมนั คง • การพงึ พาตนเอง • ความเสียง ภาพปจจัยทค่ี วรคาํ นึงในการเลือกเชอ้ื เพลิงเพอ่ื ใชผ ลิตไฟฟา เพ่ือลดความเส่ียงของการใชกาซธรรมชาติที่อาจหมดไปในอนาคต การเพิ่มจํานวน โรงไฟฟา ทีส่ ามารถผลิตไฟฟาไดต ลอด 24 ช่ัวโมง เชน ถานหิน นิวเคลียร เปนตน จึงจําเปนอยางย่ิง และตองควบคูไปกับพลังงานหมุนเวียนในอัตราสวนท่ีเหมาะสม โดยการปรับสัดสวนการใช
23 เชื้อเพลิงใหต อบสนองตอความตองการใชไฟฟาท่ีจะเพ่ิมข้ึนในอนาคต และคํานึงถึงตนทุนในการ ผลติ กระแสไฟฟา ดวย กิจกรรมทา ยเรอื่ งท่ี 1 สถานการณพ ลงั งานไฟฟาของประเทศไทย (ใหผูเรียนไปทํากิจกรรมเรอื่ งท่ี 1 ทส่ี มุดบันทกึ กจิ กรรมการเรยี นรู)
24 เรือ่ งที่ 2 หนว ยงานทเี่ กี่ยวของดา นพลงั งานไฟฟาในประเทศไทย หนวยงานท่ีรบั ผิดชอบเกีย่ วกบั ไฟฟา ในประเทศไทยต้งั แตระบบผลิต ระบบสง จนถงึ ระบบ จําหนา ยใหกบั ผใู ชไฟฟา แบงเปน 2 ภาคสวน คือ ภาครัฐบาล และ ภาคเอกชน โดยภาครัฐบาล มีหนวยงาน การไฟฟา ฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) การไฟฟาสวนภูมิภาค (กฟภ.) และการ ไฟฟานครหลวง(กฟน.) สําหรับภาคเอกชนมีเฉพาะระบบผลิตไฟฟาเทาน้ัน นอกจากน้ียังมี คณะกรรมการกาํ กบั กจิ การพลงั งาน (กกพ.) ซ่งึ เปนองคก รอิสระที่ทาํ หนา ทีก่ ํากับกิจการไฟฟาและ กิจการ กา ซธรรมชาตภิ ายใตกรอบนโยบายของรัฐบาลและกระทรวงพลังงาน ภาพการสง ไฟฟาจากโรงไฟฟาถึงผูใ ชไ ฟฟา
25 สญั ลกั ษณของหนวยงาน หนว ยงาน/บทบาทหนา ทข่ี องหนว ยงาน คณะกรรมการกํากบั กิจการพลังงาน (กกพ.) สงั กัดกระทรวงพลังงาน มีภารกิจในการกํากับดูแล การประกอบกิจการพลังงาน ใหมีความมั่นคง และเช่ือถือได มีประสิทธิภาพ เปนธรรมตอท้ังผูใช และผูประกอบ กจิ การพลังงาน ตลอดจนเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ติดตอ ไดที่หมายเลข 1204 การไฟฟา ฝา ยผลติ แหงประเทศไทย (กฟผ.) เปนรัฐวิสาหกิจดานกิจการพลังงาน สังกัด กระทรวงพลังงาน มีภารกิจในการจัดหาพลังงานไฟฟา ใหแ กป ระชาชน โดยการผลิตไฟฟา รับซ้ือไฟฟา จัดสงไฟฟา และจําหนายไฟฟาใหแกการไฟฟานครหลวง การไฟฟา สว นภมู ิภาค ผูใชไ ฟฟา รายอื่น ๆ ตามที่กฎหมายกําหนด รวมท้งั ประเทศใกลเคยี ง ตดิ ตอ ไดท่ีหมายเลข 1416 การไฟฟานครหลวง (กฟน.) เปน รัฐวิสาหกจิ ประเภทสาธารณูปโภคสาขาพลังงาน สังกัดกระทรวงมหาดไทย มีภารกิจในการรับซื้อไฟฟา แ ล ะ จํ า ห น า ย ไ ฟ ฟ า ใ ห กั บ ป ร ะ ช า ช น ใ น พ้ื น ท่ี จั ง ห วั ด กรุงเทพมหานคร นนทบุรี และสมุทรปราการ ติดตอได ทหี่ มายเลข 1130 การไฟฟาสว นภูมภิ าค (กฟภ.) เปนรัฐวสิ าหกิจดา นสาธารณปู โภค สังกัดกระทรวง มหาดไทย มีภารกิจในการผลิตไฟฟา รับซื้อ จัดสง และ จําหนายไฟฟาใหแกประชาชน ธุรกิจ และอุตสาหกรรม ตางๆ ในเขตจําหนาย 74 จังหวัดทั่วประเทศ ยกเวน กรุงเทพมหานคร นนทบุรี และสมุทรปราการ ติดตอได ท่ีหมายเลข 1129
26 หากประชาชนไดรับความขัดของเกี่ยวกับระบบไฟฟา เชน หมอแปลงไฟฟาระเบิด เสาไฟฟาลม ไฟฟาดับ ไฟฟาตก บิลคาไฟฟาไมถูกตอง เปนตน นอกจากนี้ยังรวมไปถึงการขอใช ไฟฟา เปลี่ยนขนาดมเิ ตอรไ ฟฟา สามารถตดิ ตอ ไดที่การไฟฟาสวนภูมิภาค หรือการไฟฟา นครหลวง ที่อยูในแตละพื้นท่ี แตหากประชาชนพบปญหาเกิดข้ึนกับเสาสงไฟฟาแรงสูง สามารถติดตอไดท่ี การไฟฟา ฝา ยผลติ แหงประเทศไทย กจิ กรรมทา ยเรอ่ื งที่ 2 หนวยงานที่เกีย่ วขอ งดา นพลงั งานไฟฟา ของประเทศไทย (ใหผ เู รียนไปทํากิจกรรมเรื่องท่ี 2 ทสี่ มุดบันทกึ กิจกรรมการเรียนรู)
27 หนวยการเรียนรูท่ี 3 อปุ กรณไฟฟา และวงจรไฟฟา สาระสาํ คญั การดาํ เนนิ ชีวิตของมนุษยในปจจุบันมีพลังงานไฟฟาเขามาเก่ียวของอยูตลอดเวลา ดังนั้น เพื่อใหการใชพ ลงั งานไฟฟา มีความปลอดภัย ผูใชตองรูจักอุปกรณไฟฟา วงจรไฟฟา และเลือกใช อุปกรณและเครือ่ งใชไฟฟา ไดอ ยา งเหมาะสม ตวั ชว้ี ัด 1. บอกชอ่ื และหนา ท่ขี องอุปกรณไฟฟา 2. อธบิ ายการตอ วงจรไฟฟาแบบตา ง ๆ ขอบขา ยเน้อื หา เรือ่ งที่ 1 อปุ กรณไฟฟา เร่อื งท่ี 2 วงจรไฟฟา เร่ืองท่ี 3 สายดนิ และหลักดนิ เวลาที่ใชใ นการศกึ ษา 30 ชัว่ โมง สอื่ การเรยี นรู 1. หนงั สอื เรยี นรายวิชาเลอื ก การใชพลงั งานไฟฟาในชีวติ ประจาํ วัน พว02027 2. ชดุ วชิ า การใชพ ลังงานไฟฟา ในชีวิตประจําวนั 2 รหสั วิชา พว12010 3. ชุดสาธิตการตอ วงจรไฟฟา 4. ถา นไฟฉาย 2A จาํ นวน 2 กอ น 5. สายไฟ 6. หลอดไฟฉาย
28 เรอื่ งที่ 1 อปุ กรณไ ฟฟา อุปกรณไฟฟาที่ใชในวงจรไฟฟามีหลายชนิด แตละชนิดมีหนาที่และความสําคัญ ที่แตกตา งกนั ออกไป ไดแก 1. สายไฟ สายไฟเปนอปุ กรณสําหรับสง กระแสไฟฟาจากที่หน่ึงไปยังอีกที่หน่ึง โดยกระแสไฟฟา ผานไปตามสายไฟจนถึงเครื่องใชไฟฟา สายไฟทําดวยสารที่มีคุณสมบัติเปนตัวนําไฟฟา (ยอมให กระแสไฟฟา ไหลผา นไดด ี) เชน ทองแดง เปน ตน โดยจะถกู หมุ ดวยฉนวนไฟฟาเพ่ือความ ปลอดภัยของผใู ชไฟฟาสายไฟที่ใชกนั ตามบา นเรอื นมดี ังนี้ ชนิดของสายไฟ พกิ ัดแรงดนั และลกั ษณะการตดิ ตงั้ VAF สายแข็ง พิกัดแรงดัน: 300 โวลต การตดิ ตง้ั : เดนิ สายไฟลอยตามบาน VAF – G หรอื สาย VAF แบบมกี ราวด พิกดั แรงดนั : 300 โวลต การติดตั้ง: เดินปลั๊กลอยแบบมีสายกราวด VFF สายออ น เดนิ ซอนในผนัง พิกัดแรงดนั : 750 โวลต การติดต้งั : ตอเขาเคร่ืองอุปกรณไฟฟาหรือ เคร่ืองใชไ ฟฟา พกิ ัดแรงดัน: 300 โวลต การติดต้ัง: เครื่องใชไฟฟาตามบาน ปลั๊กพวง ชนิดทําเองในบาน
ชนดิ ของสายไฟ 29 VCT สายออน VSF สายออน พกิ ดั แรงดนั และลกั ษณะการตดิ ตง้ั THW สายแข็งออ น พกิ ดั แรงดัน: 750 โวลต การติดต้ัง: สายฉนวน 2 ช้ัน เดินคอนโทรล ปลกั๊ พวงใชกลางแจง ได พกิ ดั แรงดนั : 300 โวลต การตดิ ต้งั : เดินลอยหรอื ตคู อนโทรล พกิ ดั แรงดนั : 750 โวลต การติดตั้ง: เดินสายไฟฝงทอและตูคอนโทรล โรงงาน 2. ฟวส ฟวสเปนอุปกรณปองกันกระแสไฟฟาไหลเกิน จนเกิดอันตรายตอเคร่ืองใชไฟฟา ถามี กระแสไฟฟา ไหลเกนิ ฟวสจ ะหลอมละลายจนขาดทําใหตดั วงจรไฟฟาในครวั เรือนโดยอตั โนมัติ ฟว สท าํ ดว ยโลหะผสมระหวา งตะกว่ั กบั ดบี ุก มีจุดหลอมเหลวต่ําและมีรูปรางแตกตาง กันไปตามวตั ถปุ ระสงคของการใชงาน ดงั ภาพ ฟวสห ลอด ฟว สเ สน ฟว สกระเบือ้ ง ภาพฟวสชนดิ ตางๆ
30 3. อปุ กรณต ดั ตอน หรือ เบรกเกอร เบรกเกอร คือ อุปกรณตัดวงจรโดยอัตโนมัติ เม่ือมีกระแสไฟฟาไหลผานเกินขนาด ปุมหรือคันโยกท่ีเบรกเกอร จะดีดมาอยูในตําแหนงตัดวงจรอยางอัตโนมัติ โดยอาศัยหลักการ ทํางานของแมเหล็กไฟฟา เบรกเกอรมจี าํ หนายตามทอ งตลาดหลายแบบ และหลายขนาด ดังภาพ ภาพเบรกเกอรแบบตาง ๆ 4. สวิตช สวิตช เปนอุปกรณปดหรือเปดวงจรไฟฟา เพ่ือควบคุมการจายกระแสไฟฟาใหกับ เครอ่ื งใชไฟฟา ภาพสวติ ชไ ฟฟา
31 สวิตชมี 2 ประเภท คอื 1) สวิตชทางเดียว สามารถปดหรือเปดวงจรไฟฟาไดเพียงทางเดียว เชน วงจร ของหลอดไฟฟาหลอดใดหลอดหนง่ึ เปนตน 2) สวติ ชส องทาง เปนการตดิ ต้งั สวติ ช 2 จดุ เพ่อื ปดหรือเปด วงจรไฟฟา ไดสองจุด เชน สวติ ชไ ฟท่บี ันไดทส่ี ามารถ เปด - ปด ไดท ั้งอยชู ัน้ บนและชั้นลาง ทําใหส ะดวกในการใชงาน ภาพสวิตชแบบทางเดยี ว (ซา ย) และแบบสองทาง (ขวา) ขอ ควรรขู องสวติ ช 1) ไมควรใชสวิตชอันเดียวควบคุมเคร่ืองใชไฟฟาหลายช้ินใหทํางานพรอมกัน เพราะ กระแสไฟฟาที่ไหลผานสวิตชมากเกินไปจะทําใหจุดสัมผัสเกิดความรอนสูง อาจทําใหสวิตชไหม และเปน อนั ตรายได 2) ไมควรใชสวิตชธรรมดาควบคุมเคร่ืองใชไฟฟาท่ีมีกระแสไฟฟาไหลผานสูง เชน เครอื่ งปรบั อากาศ เปนตน ควรใชเบรกเกอร เพราะสามารถทนกระแสไฟฟาไดสงู กวา 5. สะพานไฟ หรอื คทั เอาท สะพานไฟ หรือ คัทเอาท เปนอุปกรณสําหรับตัดตอวงจรไฟฟาท้ังหมดภายใน ครัวเรือน ประกอบดวยฐานและคนั โยกทม่ี ลี กั ษณะเปนขาโลหะ 2 ขา ซ่ึงมีท่ีจับเปนฉนวน เมื่อสับ คันโยกข้ึน กระแสไฟฟาจะไหลเขาสูวงจรไฟฟาในครัวเรือน และเม่ือสับคันโยกลงกระแสไฟฟา จะหยุดไหล เปน การตัดวงจร
32 ภาพสะพานไฟและฟว สใ นสะพานไฟ ขอ ควรรเู กีย่ วกับสะพานไฟ 1) สะพานไฟชวยใหเกดิ ความสะดวกและปลอดภยั ในการซอ มแซมหรือตดิ ตั้งอปุ กรณ ไฟฟา 2) ถา ตองการใหวงจรเปด (ไมมีกระแสไฟฟา ไหลผาน) ใหสับคันโยกลง แตถาตองการ ใหวงจรปด (มีกระแสไฟฟาไหลผาน) ใหสบั คันโยกข้นึ 3) ในการสบั คันโยกจะตองใหแนบสนิทกับทร่ี องรับ 6. เครอื่ งตัดไฟรว่ั เคร่ืองตัดไฟร่ัว เปนอุปกรณเสริมความปลอดภัยอีกช้ันหน่ึง ท่ีสามารถตัดวงจรไฟฟา กรณีเกิดไฟฟาร่ัว โดยกําหนดความไวของการตัดวงจรไฟฟาตามปริมาณกระแสไฟฟาที่ร่ัวลงดิน เพอื่ ใหม ีการตดั ไฟร่วั กอนทจี่ ะเปนอนั ตรายกบั ระบบไฟฟา ภาพเครอื่ งตดั ไฟร่วั
33 7. เตารบั และเตา เสยี บ เตา รับและเตาเสียบ เปนอุปกรณทใ่ี ชเ ชอ่ื มตอ วงจรไฟฟา ทําใหกระแสไฟฟา ไหลเขา สู อุปกรณและเคร่อื งใชไ ฟฟา 1) เตารับหรือปลั๊กตัวเมีย คือ อุปกรณท่ีเช่ือมตอกับวงจรไฟฟาในครัวเรือน เชน เตารับท่ีติดต้งั บนผนังบานหรอื อาคาร เปน ตน เพือ่ รองรบั การตอ กบั เตา เสยี บของเคร่อื งใชไฟฟา 2) เตาเสียบหรือปลั๊กตัวผู คือ อุปกรณสวนท่ีติดอยูกับปลายสายไฟของ เคร่อื งใชไ ฟฟา เตา เสยี บทีใ่ ชก นั อยูมี 2 แบบ คือ (1) เตา เสยี บ 2 ขา ใชกบั เตา รบั ทีม่ ี 2 ชอง (2) เตา เสียบ 3 ขา ใชกบั เตารับท่ีมี 3 ชอง โดยขากลางจะตอ กับสายดิน เตารบั หรอื ปลกั๊ ตัวเมีย เตาเสยี บหรอื ปลัก๊ ตัวผู ขอควรรูเกยี่ วกบั เตา รับและเตาเสยี บ 1) การใชงานควรเสยี บเตา เสียบใหแนนสนิทกับเตารับและไมใชเตาเสียบหลายอัน กับเตา รับอันเดยี ว เพราะเตารบั อาจรอนจนลุกไหมไ ด 2) เม่อื ถอดปลก๊ั ออกควรจบั ทเ่ี ตาเสยี บ ไมควรดงึ ทีส่ ายไฟ เพราะจะทําใหสายหลุด และเกดิ ไฟฟาลดั วงจรได กจิ กรรมทายเรอื่ งท่ี 1 อปุ กรณไ ฟฟา (ใหผ เู รียนไปทาํ กิจกรรมเรื่องท่ี 1 ทส่ี มดุ บันทกึ กิจกรรมการเรียนรู)
34 เร่อื งที่ 2 วงจรไฟฟา วงจรไฟฟา คือ การเช่ือมตอกระแสไฟฟาจากแหลงจายไฟฟาผานสายไฟฟาไปยัง เครื่องใชไ ฟฟา ในครัวเรือน การเช่อื มตอ กระแสไฟฟา จากแหลงจายไฟฟา มี 3 แบบ คือ แบบอนุกรม แบบขนาน และ แบบผสม ภาพของวงจรไฟฟา ลักษณะการตอ วงจรไฟฟา การตอวงจรไฟฟาแบบอนุกรม เปนการ นํ า เ อ า เ ค รื่ อ ง ใ ช ไ ฟ ฟ า ม า ต อ เ รี ย ง ลํ า ดั บ กั น ไ ป โดยนําปลายดา นหนึ่งตอ เขา กบั ปลายอีกดานหนึ่ง ข อ ง เ ค ร่ื อ ง ใ ช ไ ฟ ฟ า แ ต ล ะ ตั ว จ น ถึ ง ตั ว สุ ด ท า ย แลวจึงตอเขากับแหลงกําเนิดไฟฟา ทําให กระแสไฟฟาไหลไปในทิศทางเดียว และ กระแสไฟฟาภายในวงจรจะมีคา เทากันทกุ ๆ จุด การตอวงจรไฟฟาแบบขนาน เปนการ นําเอาเคร่ืองใชไฟฟา 2 ชนิดข้ึนไป มาตอเรียง แบบขนานกัน โดยนําปลายดานเดียวกันของ เครือ่ งใชไฟฟา แตละตัวมาตอ เขาดวยกัน แลวตอ ปลายของเครื่องใชไฟฟาแตละตัวท่ีตอกันแลว ตอเขากับแหลงกําเนิดไฟฟา โดยแรงดันไฟฟา ข อ ง เ ค รื่ อ ง ใ ช ไ ฟ ฟ า แ ต ล ะ ตั ว จ ะ มี ค า เ ท า กั น แตกระแสที่ไหลในแตละสาขายอยของวงจรจะมี คาไมเ ทา กนั อยา งไรกต็ ามเมือ่ นําคามารวมกันจะ ไดเทากับกระแสทไี่ หล ผา นวงจรทงั้ หมด
ภาพของวงจรไฟฟา 35 ลกั ษณะการตอ วงจรไฟฟา การตอวงจรไฟฟาแบบผสม เปนการ ต อ ผ ส ม กั น ข อ ง ว ง จ ร ไ ฟ ฟ า แ บ บ อ นุ ก ร ม แ ล ะ วงจรไฟฟา แบบขนาน การตอวงจรแบบผสม วงจรไฟฟาภายในครัวเรือนจะเปนการตอแบบขนาน เพ่ือใหเคร่ืองใชไฟฟาแตละชนิด รับแรงดันไฟฟาที่จุดเดียวกัน หากเครื่องใชไฟฟาชนิดหนึ่งเกิดขัดของเครื่องใชไฟฟาชนิดอื่น ก็ยงั คงใชงานไดตามปกติ สําหรับประเทศไทย ไฟฟาท่ีใชในครัวเรือนเปนไฟฟากระแสสลับที่มีความตางศักย 220 โวลต ความถ่ี 50 เฮิรตซ โดยใชสายไฟ 3 เสน คือ 1) สายไฟ (Line) หรอื สาย L มีศกั ยไฟฟาเปน 220 โวลต 2) สายนิวทรลั (Neutral) หรอื สาย N มศี กั ยไฟฟา เปน 0 โวลต 3) สายดนิ (Ground) หรือ สาย G มีไวเ พือ่ ความปลอดภัยตออปุ กรณไฟฟา และผใู ช กระแสไฟฟา จะสง ผานมิเตอรไฟฟามายังแผงควบคุมไฟฟา ซ่ึงแผงควบคุมไฟฟาทําหนาที่ จา ยกระแสไฟฟา ไปยงั อุปกรณเ ครื่องใชไฟฟา แผงควบคมุ ไฟฟา ประกอบไปดว ยอุปกรณตัดตอนหลักหรือคัทเอาท ซงึ่ มี 1 ตัวตอครัวเรือน และมอี ปุ กรณต ัดตอนยอยหลายตัวไดขึ้นอยูกับจํานวนเครื่องใชไฟฟาท่ีใชในครัวเรือน นอกจากน้ี ยังมจี ดุ ตอ สายดินท่ีจะตอไปยังเตารบั หรือปลก๊ั ตวั เมยี ทกุ จดุ ในครวั เรือน เพอื่ ตอเขา เครื่องใชไ ฟฟา
36 ภาพตัวอยา งแผงวงจรไฟฟาในครวั เรือน กิจกรรมทายเรอื่ งที่ 2 วงจรไฟฟา (ใหผูเรยี นไปทํากิจกรรมเรือ่ งที่ 2 ทส่ี มดุ บนั ทกึ กิจกรรมการเรียนร)ู
37 เร่ืองที่ 3 สายดนิ และหลักดิน 1. สายดนิ สายดิน คือ สายไฟที่ตอเขากับเครื่องใชไฟฟา มีไวเพ่ือปองกันการเกิดกระแสไฟฟา ลัดวงจรกับเครื่องใชไฟฟาและทําอันตรายกับผูใช โดยการตอลงดิน เพื่อใหสายดินเปนตัวนํา กระแสไฟฟาท่ีอาจเกิดการร่ัวไหล จากเครื่องใชไฟฟาลงสูพื้นดิน เปนการปองกันไมใหไดรับ อนั ตรายจากกระแสไฟฟา ภาพระบบสายดิน
38 ภาพสายดนิ และหลักดิน 2. หลกั ดนิ หลักดิน คือ อุปกรณที่ทําหนาท่ีนํากระแสไฟฟาที่ร่ัวไหลจากเครื่องใชไฟฟา ผานสายดิน ลงสูพ้ืนดิน โดยหลักดินจะมีลักษณะเปนแทงทรงกระบอก เสนผาศูนยกลาง 16 มิลลิเมตร และยาวไมนอยกวา 2.4 เมตร ทําจากวัสดุท่ีทนการผุกรอน เชน แทงทองแดงหรือ แทงแมเ หล็กหุม ทองแดง เปนตน โดยหลักดนิ เปน องคป ระกอบทีส่ าํ คญั ของระบบสายดนิ ดงั น้ี 1) เปนอุปกรณป ลายทางท่ีจะทาํ หนา ทส่ี มั ผัสกับพื้นดนิ 2) เปนสวนท่ีจะทาํ ใหส ายดนิ หรอื อปุ กรณท ต่ี อ ลงดนิ มศี กั ยไฟฟา เปน ศูนยเทากับดนิ 3) เปน เสนทางไหลของประจไุ ฟฟา หรือกระแสไฟฟา ท่ีจะไหลลงสูดนิ 4) เปนตัวกําหนดคุณภาพ อายุความทนทาน และความปลอดภัยของระบบการตอ ลงดินในระยะยาว สําหรับเครื่องใชไฟฟาที่แนะนําใหติดตั้งสายดิน เชน เครื่องทําน้ําอุนไฟฟา ตูเย็น เคร่อื งปรบั อากาศ เครือ่ งซกั ผา เคร่ืองคอมพิวเตอร เปนตน จากการศกึ ษาความรูเกย่ี วกับวงจรไฟฟาและอปุ กรณไ ฟฟา สามารถนํามาใชตอระบบไฟฟา ภายในบานได ดังตวั อยางในภาพตอ ไปนี้
39 ภาพการตอ ระบบไฟฟาภายในบาน กจิ กรรมทายเรอ่ื งที่ 3 สายดนิ และหลกั ดนิ (ใหผูเรยี นไปทาํ กจิ กรรมเรอ่ื งท่ี 3 ทสี่ มุดบันทกึ กจิ กรรมการเรยี นร)ู
40 หนว ยการเรียนรทู ่ี 4 การประหยดั พลังงานไฟฟา สาระสาํ คญั การใชพ ลงั งานไฟฟาใหเกิดความคุมคา และประหยัด ผใู ชตองรูจักวธิ ีการประหยัดพลังงาน ไฟฟาและวางแผนการใชพ ลงั งานไฟฟา ในครวั เรอื นอยา งเหมาะสม ตวั ช้วี ัด 1. บอกกลยทุ ธการประหยัดพลังงานไฟฟา 2. จําแนกฉลากเบอร 5 ของแทกบั ของลอกเลยี นแบบ 3. เลอื กใชเครอ่ื งใชไฟฟา ไดเ หมาะสมกับสถานการณท ีก่ ําหนดให 4. ปฏิบัติตนเปนผูประหยัดพลังงานไฟฟาในครวั เรือน ขอบขายเน้ือหา เรี่องท่ี 1 กลยทุ ธการประหยัดพลงั งานไฟฟา เร่อื งที่ 2 แนวปฏบิ ัตกิ ารประหยัดพลังงานไฟฟาในครัวเรอื น เวลาท่ใี ชในการศกึ ษา 20 ช่ัวโมง สอื่ การเรยี นรู 1. หนงั สอื เรยี นรายวิชาเลอื ก การใชพลงั งานไฟฟา ในชีวิตประจาํ วัน พว02027 2. ชดุ วชิ าการใชพลังงานไฟฟาในชวี ิตประจําวัน 1 รหสั วิชา พว12010
41 เร่อื งที่ 1 กลยุทธก ารประหยดั พลงั งานไฟฟา การประหยัดพลังงาน คือ การใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ และรูคุณคา การประหยัดพลังงานนอกจากชวยลดปริมาณการใชพลังงาน ซึ่งเปนการประหยัดคาใชจายของ ครัวเรอื นและประเทศชาตแิ ลว ยังชว ยลดปญหาผลกระทบจากสิ่งแวดลอมไดด วย กลยุทธท่ีใชในการประหยัดพลังงานไฟฟา คือ กลยุทธ 3 อ. ไดแก อุปกรณประหยัด ไฟฟา อาคารประหยดั ไฟฟา และอุปนิสยั ประหยัดไฟฟา 1. กลยทุ ธ อ. 1 อปุ กรณประหยัดไฟฟา เปนการสงเสริมใหทุกครัวเรือนเปล่ียนมาใช เคร่อื งใชไ ฟฟา ทมี่ ีประสิทธภิ าพสงู ประหยดั ไฟ ซึ่งมีวธิ ีการดูฉลากเบอร 5 ดังภาพ ภาพฉลากเบอร 5 ของแท ปจ จุบนั ฉลากเบอร 5 มผี ูลอกเลียนแบบมาก ท้ังนี้ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) ไดจดทะเบียนเคร่ืองหมายรับรองตามพระราชบัญญัติเคร่ืองหมายการคา หากบุคคลใด ลอกเลยี นแบบถอื วา มคี วามผิด สามารถสงั เกตลักษณะของฉลากเบอร 5 ของปลอมได ดงั ภาพ
42 ภาพฉลากเบอร 5 ของปลอม 2. กลยุทธ อ. 2 อาคารประหยัดไฟฟา ไดแก การบริหารการใชไฟฟา การปรับปรุง ระบบปอ งกันความรอ นเขา สูอาคาร การใชระบบปรับอากาศประสิทธิภาพสูง การปรับปรุงระบบ แสงสวา ง และการจดั การอบรมใหความรูดานการใชพลงั งานอยางถกู ตอ ง 3. กลยทุ ธ อ. 3 อุปนิสัยประหยัดไฟฟา เปนการปลูกจิตสํานึกและอุปนิสัยใหคนไทย โดยเฉพาะอยางยิ่งเยาวชนไทย ใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ เชน ปดสวิตชไฟและ เคร่อื งใชไฟฟาเม่ือเลกิ ใชงาน ตั้งอุณหภูมิเคร่อื งปรบั อากาศที่ 26 องศาเซลเซียส และถอดปล๊ัก ทุกคร้ังหลงั การใชเคร่ืองใชไฟฟา เปนตน กิจกรรมทา ยเรอื่ งท่ี 1 กลยุทธก ารประหยดั พลังงานไฟฟา (ใหผูเรียนไปทาํ กิจกรรมเรอ่ื งที่ 1 ทส่ี มดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรยี นรู)
43 เร่อื งที่ 2 แนวปฏิบตั ิการประหยดั พลงั งานไฟฟาในครวั เรอื น โดยท่ัวไปเครื่องใชไฟฟาภายในครัวเรือน มักมีการใชพลังงานไฟฟาสูงเกือบทุกชนิด เพือ่ เปน การประหยัดและคมุ คา ผูใชจงึ ควรมีความรูเ กี่ยวกับการใชเ คร่อื งใชไฟฟา อยา งถูกวธิ ี ดงั น้ี เคร่ืองใชไฟฟา การใชง าน หลอดไฟฟา • เลอื กใชประเภทและขนาดวตั ตใหเหมาะสมกับการใชง านและพนื้ ทีต่ ดิ ต้งั • เลือกใชห ลอดประหยัดไฟ • หลอดไฟฟา และอุปกรณตอ งไดรบั การรับรองมาตรฐานสินคา • ปด สวติ ชไฟทุกครั้งเมื่อเลิกใชงาน โทรทัศน • เลอื กประเภทและขนาดใหเหมาะสมกับความตอ งการใชงาน โทรทัศนทมี่ ี ขนาดใหญ ยง่ิ กินไฟมากขน้ึ • ปด และถอดปลกั๊ ทันทเี ม่อื ไมม ีคนดู • วางโทรทัศนใ นจุดทีอ่ ากาศถา ยเทไดส ะดวก ตูเย็น • เลือกใชตูเย็นที่มีฉลากประหยัดไฟเบอร 5 และมีขนาดเหมาะสมกับ ครัวเรือน • ไมแ ชของท่ยี ังรอนเพราะจะทําใหตูเ ย็นกินไฟ/ทาํ งานหนัก • วางตูเย็นในจุดที่อากาศถายเทไดสะดวก และหางจากผนังอยางนอย 15 ซม. ไมต งั้ ตูเยน็ ใกลแ หลงความรอ น หรือรับแสงแดดโดยตรง • ตรวจสอบยางขอบประตู ไมใ หม ีรอยรัว่ หรือเสื่อมสภาพ • ละลายนา้ํ แขง็ อยา งสม่ําเสมอ และปรบั อณุ หภมู ใิ หเหมาะสมกบั ชนิดและ ปรมิ าณของในตูเย็น เครอ่ื งซกั ผา • เลอื กขนาดใหเหมาะสมกับการใชง าน
Search