Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ฟิสิกส์ e-book

ฟิสิกส์ e-book

Published by thanakornyaruang53, 2021-03-31 09:56:16

Description: ฟิสิกส์ e-book

Search

Read the Text Version

โครงงานฟิ สิกส์ เร่ือง แรงลอยตวั จดั ทาโดย นาย ธนากร ยารวง เลขท่ี 1 นาย เอกนรินทร์ ชยั ยา เลขที่ 2 นางสาว รัชนีกร พลทามลู เลขท่ี 18 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 6 ครูท่ีปรึกษาการทาโครงงาน นาง ธญั ญารัตน์ ปิ งวงั โรงเรียนป่ าแดดวทิ ยาคม สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา สพม.เชียงรายเขต2

เรื่อง แรงลอยตวั จดั ทำโดย นายธนากร ยารวง เลขท่ี 1 นายเอกนรินทร์ ชยั ยา เลขท่ี 2 นางสาวรัชนีกร พลทามูล เลขท่ี 18 ครูทป่ี รึกษำ นำง ธัญญำรัตน์ ปิ งวงั บทคดั ยอ่ แรงลอยตวั คือแรงพยงุ ของของเหลวและแก๊สท่ีกระทาต่อวตั ถุท่ีอยใู่ นของเหลวและ แก๊สน้นั ทาใหว้ ตั ถุลอยอยไู่ ดใ้ นชีวิตประจาวนั เราจะพบว่าวตั ถุบางชนิดลอยอยใู่ นน้าได้ เพราะแรงลอยตวั ท่ีกระทาตอ่ วตั ถุน้นั มีคา่ เพยี งพอที่จะตา้ นน้าหนกั ของวตั ถุ ที่เกิดจาก แรงโนม้ ถ่วงของโลกได้ แต่สาหรับวตั ถุบางชนิดท่ีจมลงน้า แสดงวา่ แรงลอยตวั ท่ีกระทา ต่อวตั ถุน้นั มีค่านอ้ ยกวา่ น้าหนกั ของวตั ถุ

กิตติกรรมประกาศ โครงงานน้ีสาเร็จลุล่วงไดด้ ว้ ยความกรุณาจากอาจารยธ์ ญั ญารัตน์ ปิ งวงั อาจารยท์ ่ีปรึกษา โครงงานท่ีไดใ้ หค้ าเสนอแนะแนวคิดตลอดจนแกไ้ ขขอ้ บกพร่องต่าง ๆ มาโดยตลอดจน โครงงานเล่มน้ีเสร็จสมบูรณ์ผศู้ ึกษาจึงขอกราบขอบพระคุณเป็นอยา่ งสูง ขอกราบขอบพระคุณพอ่ คุณแมแ่ ละผปู้ กครองท่ีให้คาปรึกษาในเร่ืองตา่ ง ๆ รวมท้งั เป็น กาลงั ใจท่ีดีเสมอมา ขอบคุณเพ่ือน ๆ ท่ีช่วยให้คาแนะนาดี ๆ เก่ียวกบั การจดั ทาโครงงานชิ้นน้ีสุดทา้ ยขอ ขอบใจเพ่ือนๆในกลุ่มทุกคนที่ใหค้ วามร่วมมือจนทาใหโ้ ครงงานสาเร็จลุล่วงไปได้ คณะผจู้ ดั ทา

สารบญั 1 หนา้ ก บทคดั ยอ่ ข กิตตกิ รรมประกาศ 1-2 บทที่ 1 บทนา 3-14 1.1ทม่ี าและความสาคญั 1.2วตั ถุประสงค์ 15-16 1.3ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จไดร้ ับ 1.4ขอบเขตการศกึ ษา 17 18 บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ยั ที่เกี่ยวขอ้ ง 2.1สื่อการเรียนออนไลน์ 2.2การหาแรงลอยตวั 2.3หลกั การของอาร์คิมิดีส บทที่ 3 วธิ ีดาเนินงาน 3.1ข้นั ตอนการวางแผนดาเนินงาน 3.2ข้นั การดาเนินงาน บทท่ี 4 ผลการดาเนินงาน 4.1ส่วนประกอบของสื่อออนไลน์ บทที่ 5 สรุปผลการดาเนินงาน บรรณานุกรม

บทที่1 1 บทนำ ทม่ี ำและควำมสำคญั การศึกษาหาความรู้ของผคู้ นแตล่ ะยคุ แตล่ ะสมยั มีความแตกต่างกนั อยา่ งมาก โดยปัจจบุ นั หรือในศตวรรษที่21น้ี มีการศึกษาหาความรู้ท่ีหลากหลายแตกตา่ งกนั ไป ไม่วา่ จะหาความรู้ใน ห้องเรียนจากคุณครูผสู้ อนท่ีมากความสามารถและการศึกษาหาความรู้ดว้ ยตนเองจาก อินเตอร์เน็ตและช่องทางเวบ็ เพจ มากมาย วิชาฟิ สิกส์เป็นอีกหน่ึงวิชาที่มีความสาคญั เป็นอยา่ งมากในการเรียนของปัจจบุ นั น้ี และมี เน้ือหามากมาย และเรื่อง แรงลอยตวั ก็เป็นอีกเรื่องหน่ึงที่มีความซบั ซอ้ น และอาจทาให้ นกั เรียนหรือผศู้ ึกษาเกิดความสบั สน ดงั น้นั ผจู้ าทาจึงไดจ้ ดั ทาโครงงานเรื่อง แรงลอยตวั เพ่ือใหผ้ ทู้ ี่สนใจไดค้ น้ ควา้ หาความรู้ไดอ้ ยา่ งสะดวกรวดเร็วและงา่ ยต่อการใชช้ ีวิตประจาวนั มากที่สุด

2 วตั ถุประสงค์ 1.เพอื่ ศึกษาคนควา้ ขอ้ มูลในรายวิชาฟิ สิกส์เร่ือง แรงลอยตวั 2.เพ่อื สร้างสื่อบรู ณาการออนไลน์ 3.เพือ่ พฒั นาทกั ษะการเรียนรู้ของศตวรรษที่21 ประโยชน์ท่คี ำดว่ำจะได้รับ 1.ช่วยพฒั นาทกั ษะการคิด 2.ช่วยให้ศึกษาหาขอ้ มูลไดง้ ่าย 3.ช่วยพฒั นาความรู้ของตนเองในการทางาน ขอบเขตกำรศึกษำ การหาแรงลอยตวั

บทที่2 3 เอกสำรและงำนวจิ ัยทีเ่ กยี่ วข้อง ส่ือกำรเรียนออนไลน์ ส่ือการสอน สื่อการสอน อปุ กรณ์ช่วยสอน ในปัจจุบนั นกั การศึกษามกั จะเรียกการนา ส่ือการเรียนการสอนชนิดตา่ ง ๆ มารวมกนั วา่ เทคโนโลยที างการศึกษา ซ่ึงหมายถึง การนาเอาวสั ดุอุปกรณ์และวธิ ีการมาใชร้ ่วมกนั อยา่ งมีระบบในการเรียนการสอน เพ่ือ เพม่ิ ประสิทธิภาพในการสอน หลกั กำรใช้ส่ือกำรเรียนกำรสอน 1. ข้นั นาเขา้ สู่บทเรียน เพอ่ื กระตุน้ ใหผ้ เู้ รียนเกิดความสนใจในเน้ือหาที่กาลงั จะเรียน หรือเน้ือหาท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การเรียนในคร้ังก่อน 2. ดาเนินการสอนหรือประกอบกิจกรรมการเรียน เป็นข้นั สาคญั ในการเรียนเพราะ เป็นข้นั ที่จะใหค้ วามรู้เน้ือหาอยา่ งละเอียด

4 3. วิเคราะห์และฝึกปฏิบตั ิ 4. สรุปบทเรียน เป็นข้นั ของการเรียนการสอนเพ่อื การย้าเน้ือหา 5. ประเมินผเู้ รียน เป็นการทดสอบความสามารถของผเู้ รียนว่าผเู้ รียนเขา้ ใจในส่ิงท่ี เรียนถูกตอ้ งมากนอ้ ยเพียงใด ประเภทของสื่อกำรเรียนกำรสอน 1. สื่อประเภทวสั ดุ ไดแ้ ก่ ส่ือเล็ก ซ่ึงทาหนา้ ท่ีเกบ็ ความรู้ในลกั ษณะของภาพเสียง และ อกั ษรในรูปแบบตา่ ง ๆ ท่ีผเู้ รียนสามารถใชเ้ ป็นแหล่งหาประสบการณ์ หรือศึกษา ไดอ้ ยา่ งแทจ้ ริงและกวา้ งขวาง 2. สื่อประเภทเครื่องมือ หรือโสตทศั นูปกรณ์ ไดแ้ ก่ สื่อใหญ่ ที่เป็ฯตวั กลางหรือ ทางผา่ นของความรู้ ที่ถ่ายทอดไปยงั ครูและนกั เรียน

4 3. วิเคราะห์และฝึกปฏิบตั ิ 4. สรุปบทเรียน เป็นข้นั ของการเรียนการสอนเพ่อื การย้าเน้ือหา 5. ประเมินผเู้ รียน เป็นการทดสอบความสามารถของผเู้ รียนว่าผเู้ รียนเขา้ ใจในส่ิงท่ี เรียนถูกตอ้ งมากนอ้ ยเพียงใด ประเภทของสื่อกำรเรียนกำรสอน 1. สื่อประเภทวสั ดุ ไดแ้ ก่ ส่ือเล็ก ซ่ึงทาหนา้ ท่ีเกบ็ ความรู้ในลกั ษณะของภาพเสียง และ อกั ษรในรูปแบบตา่ ง ๆ ท่ีผเู้ รียนสามารถใชเ้ ป็นแหล่งหาประสบการณ์ หรือศึกษา ไดอ้ ยา่ งแทจ้ ริงและกวา้ งขวาง 2. สื่อประเภทเครื่องมือ หรือโสตทศั นูปกรณ์ ไดแ้ ก่ สื่อใหญ่ ที่เป็ฯตวั กลางหรือ ทางผา่ นของความรู้ ที่ถ่ายทอดไปยงั ครูและนกั เรียน

4 3. วิเคราะห์และฝึกปฏิบตั ิ 4. สรุปบทเรียน เป็นข้นั ของการเรียนการสอนเพ่อื การย้าเน้ือหา 5. ประเมินผเู้ รียน เป็นการทดสอบความสามารถของผเู้ รียนว่าผเู้ รียนเขา้ ใจในส่ิงท่ี เรียนถูกตอ้ งมากนอ้ ยเพียงใด ประเภทของสื่อกำรเรียนกำรสอน 1. สื่อประเภทวสั ดุ ไดแ้ ก่ ส่ือเล็ก ซ่ึงทาหนา้ ท่ีเกบ็ ความรู้ในลกั ษณะของภาพเสียง และ อกั ษรในรูปแบบตา่ ง ๆ ท่ีผเู้ รียนสามารถใชเ้ ป็นแหล่งหาประสบการณ์ หรือศึกษา ไดอ้ ยา่ งแทจ้ ริงและกวา้ งขวาง 2. สื่อประเภทเครื่องมือ หรือโสตทศั นูปกรณ์ ไดแ้ ก่ สื่อใหญ่ ที่เป็ฯตวั กลางหรือ ทางผา่ นของความรู้ ที่ถ่ายทอดไปยงั ครูและนกั เรียน

5 กำรศึกษำในศตวรรษท2่ี 1 การศึกษาในศตวรรษท่ี 21 ครูจะตอ้ งปรับแนวทางการเรียนการสอน (pedagogy) โดยครู จะตอ้ งทาให้เดก็ รักท่ีจะเรียนรู้ตลอดชีวติ และมีเป้าหมายในการสอนท่ีจะทาใหเ้ ดก็ มีทกั ษะ ชีวิต ทกั ษะการคิด และทกั ษะดา้ นไอที ซ่ึงไอทีในท่ีน้ีไมไ่ ดห้ มายถึง ใชค้ อมพวิ เตอร์เป็น หรือใชไ้ อแพดเป็น แตห่ มายถึงการท่ีเดก็ รู้วา่ เม่ือเขาอยากรู้เรื่องใดเรื่องหน่ึงเขาจะไปตาม หาขอ้ มูล (data) เหล่าน้นั ไดท้ ่ีไหน และเม่ือไดข้ อ้ มลู มาเดก็ ตอ้ งวเิ คราะหไ์ ดว้ า่ ขอ้ มลู เหล่าน้นั มีความน่าเชื่อถือเพียงใด และสามารถแปลงขอ้ มลู เป็นความรู้ (knowledge) ได้ ซ่ึง ส่ิงเหล่าน้ีตอ้ งเกิดจากการฝึกฝน ครูจะตอ้ งให้เดก็ ไดม้ ีโอกาสทดลองดว้ ยตนเอง

6 อปุ กรณ์เคร่ืองมือเละกำรส่ือสำรออนไลน์ คอมพวิ เตอร์ คือ เครื่องคานวณ อิเลก็ ทรอนิกส์ที่สามารถทางานคานวณผลและเปรียบเทียบค่า ตามชุดคาสง่ั ดว้ ยความเร็วสูงอยา่ งต่อเนื่องและอตั โนมตั ิ พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ไดใ้ ห้คาจากดั ความของคอมพวิ เตอร์ไวค้ ่อนขา้ งกะทดั รัดวา่ เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบ อตั โนมตั ิ ทาหนา้ ที่เสมือนสมองกล ใชส้ าหรับแกป้ ัญหาต่างๆ ท้งั ท่ีง่ายและซบั ซอ้ น โดยวิธีทาง คณิตศาสตร์ หรืออาจกล่าวไดว้ า่ เครื่องคอมพิวเตอร์หมายถึง เคร่ืองมือที่ช่วยในการคานวณและ การประมวลผลขอ้ มลู สมาร์ทโฟน คือ โทรศพั ทม์ ือถือท่ีนอกเหนือจากใชโ้ ทรออก-รับสายแลว้ ยงั มีแอพพลิเคชน่ั ให้ ใชง้ านมากมาย สามารถรองรับการใชง้ านอินเทอร์เน็ตผา่ น 3G, Wi-Fi และสามารถใชง้ านโซเชียล เน็ตเวิร์คและแอพพลิเคชนั่ สนทนาช้นั นา เช่น LINE, Youtube, Facebook, Twitter ฯลฯ โดยท่ีผใู้ ช้ สามารถปรับแต่งลูกเล่นการใชง้ านสมาร์ทโฟนให้ตรงกบั ความตอ้ งการไดม้ ากกวา่ มือถือธรรมดา

7 แทบ็ เลต็ คือ อปุ กรณ์คอมพิวเตอร์ที่มีหนา้ จอระบบสมั ผสั ขนาดใหญ่ มีขนาดหนา้ จอ ต้งั แต่ 7 นิ้วข้ึนไป พกพาไดส้ ะดวก สามารถใชง้ านหนา้ จอผา่ นการสมั ผสั ผ่านปลายนิ้ว ไดโ้ ดยตรง มีแอพพลิเคชน่ั มากมายใหเ้ ลือกใช้ ไม่วา่ จะรับ-ส่งอีเมล,์ เล่นอินเทอร์เน็ต, ดู หนงั , ฟังเพลง, เล่นเกม หรือแมก้ ระทงั่ ใชท้ างานเอกสารออฟฟิ ต ขอ้ ดีของแทบ็ เล็ตคือมี หนา้ จอท่ีกวา้ ง ทาให้มีพ้นื ท่ีการใชง้ านเยอะ มีน้าหนกั เบา พกพาไดส้ ะดวกกวา่ โน๊ตบคุ๊ หรือ คอมพวิ เตอร์ สามารถจดบนั ทึกหรือใชเ้ ป็นอุปกรณ์เพื่อการศึกษาไดเ้ ป็น อยา่ งดี

8 กำรหำแรงลอยตวั แรงพยงุ หรือแรงลอยตวั เป็นแรงที่ของเหลวพยงุ วตั ถุข้ึน เม่ือวตั ถุน้นั อยใู่ นของเหลว เมื่อวตั ถุ อยใู่ นอากาศหรืออยใู่ นของเหลว จะมีแรงมากระทาต่อวตั ถุแตกต่างกนั เม่ือชง่ั วตั ถุในอากาศ กบั ชง่ั ในของเหลว วตั ถุจะมีน้าหนกั ต่างกนั

9 แรงพยุง = นำ้ หนกั ของวตั ถุท่ีชั่งในอำกำศ – นำ้ หนักวตั ถุที่ช่ังในของเหลว ดงั น้นั เม่ือเราชงั่ น้าหนกั ของวตั ถุในของเหลวจะนอ้ ยกวา่ เม่ือชง่ั ในอากาศ ดงั ภาพ เนื่องจากของแขง็ เม่ืออยใู่ นของเหลวจะเกิดแรงดนั จากของเหลวกระทากบั วตั ถุส่วนท่ี จม ซ่ึงกค็ ือแรงพยงุ นนั่ เอง

10 1 หลกั กำรของอำร์คมิ ดิ สี ต้งั ชื่อตามอาร์คิมิดีสแห่งซีราคิวส์ ผคู้ น้ พบกฎน้ีเป็นคนแรก ซ่ึงเป็นกฎเก่ียวกบั แรงลอยตวั และ การแทนท่ี โดยกล่าววา่ เม่ือนาวตั ถุลงไปแทนที่ของเหลวจะมีแรงตา้ นเท่ากบั น้าหนกั ของของเหลว ปริมาตรเท่าส่วนจม จากหลกั การน้ีทาใหเ้ ขา้ ใจในหลกั การหลายอยา่ ง เช่น เรือเหล็กทาไมจึงลอยน้า ของเหลวตา่ งชนิดกนั มีความหนาแน่นตา่ งกนั อาร์คีมีดีสช้ีให้เห็นถึงเร่ืองความหนาแน่นและนามา เทียบกบั น้าเรียกวา่ ความถ่วงจาเพาะ จากหลกั การน้ีทาให้อาร์ดีมีดีสสามารถพสิ จู น์มงกุฎทองคา ท่ี ช่างทามงกุฎหลอมส่ิงเจือปนลงไปในเน้ือทอง อาร์คีมีดีสหาวิธีวดั ปริมาตรมงกุฎทองคาไดด้ ว้ ยการ เอาไปแทนท่ีน้า และปล่อยให้น้าลน้ ออกมา อาร์คีมีดีส คน้ พบวิธีวดั แรงพยงุ ตวั ของของเหลวดงั น้ี จากรูป ขณะท่ีอิฐจมลงไปในน้า น้าจะ สูงข้ึนแลว้ ไหลผา่ นพวยลงในบกี เกอร์ที่เล็กกวา่ ปริมาตรของน้าท้งั หมดในบีกเกอร์ใบเลก็ คือ ปริมาตรของน้าที่ถูกแทนที่ น้าหนกั ของน้าที่ถูกแทนที่จะเท่ากบั แรงพยงุ ตวั ของน้าที่กระทาตอ่ อิฐ

11 แรงพยงุ ของของเหลว จะมีค่าเท่ากบั น้าหนกั ของของเหลวที่ถูกวตั ถุแทนที่ หรือสามารถหาไดจ้ ากสูตร FB=W=ρVg FB คือ แรงพยงุ มีหน่วยเป็ น นิวตนั (N) W คือ น้าหนกั ของของเหลวท่ีถูกวตั ถุแทนท่ี มีหน่วยเป็น กิโลกรัม (kg) ρ คือ ความหนาแน่นของของเหลว มีหน่วยเป็ น กิโลกรัมตอ่ ลูกบาศกเ์ มตร(kg/m3) V คือ ปริมาตรของของเหลวท่ีถูกวตั ถุแทนที่ มีหน่วยเป็ น ลูกบาศกเ์ มตร(m3) g คือ ความเร่งเน่ืองจากแรงโนม้ ถ่วงของโลก มีหน่วยเป็ น เมตรตอ่ วินาทีกาลงั สอง (m/s2)

12 ข้อควรจำ 1. \" ของเหลวทถี่ ูกแทนท่ี\" และ \"น้าหนกั วตั ถุในอากาศ\" อาจมีมากกวา่ 1 แรงก็ได้ เช่น ภาพท่ี 3 (ตอ้ งสงั เกตแรงจากรูป) 2. คาวา่ \"น้าหนกั ของวตั ถุในอากาศ\" หมายถึง น้าหนกั วตั ถุท้งั กอ้ น

13 3. คาวา่ \"กด\" แปลวา่ มีตมุ้ น้าหนกั วางทบั อยตู่ อนบน 4. คาวา่ \"ถ่วง\" แปลวา่ มีตุม้ น้าหนกั ดึงอยตู่ อนล่าง และตุม้ น้าหนกั แทนท่ีน้าดว้ ย 5. ถา้ ไม่จาเป็น ไม่ควรคิดน้าหนกั วตั ถุในของเหลว ให้พิจารณาเป็นน้าหนกั วตั ถุ ในอากาศท้งั หมด แรงลอยตวั เทา่ กบั น้าหนกั ของเหลวท่ีมีปริมาตรเทา่ กบั วตั ถุส่วนท่ีจม (หรือน้าหนกั ของเหลวท่ี ถูกแทนที่)

14 ตัวอย่ำงกำรหำแรงลอยตวั 1. เม่ือนาดินน้ามนั กอ้ นหน่ึงแขวนดว้ ยเคร่ืองชง่ั สปริง พบวา่ อ่านค่าน้าหนกั ได้ 5.45 นิวตนั แต่เม่ือ นาไปชง่ั ในน้า พบวา่ อ่านค่าน้าหนกั บนเคร่ืองชงั่ สปริงได้ 4.20 นิวตนั แรงพยงุ ที่น้ากระทาตอ่ ดินน้ามนั มีคา่ เท่าไร วธิ ีทา จากสมการ แรงพยงุ ของน้า = น้าหนกั ของวตั ถุที่ชง่ั ในอากาศ – น้าหนกั วตั ถุท่ีชง่ั ในน้า แทนค่า แรงพยงุ ของน้า = 5.45 N – 4.20 N = 1.25 N เพราะฉะน้นั แรงพยงุ ที่น้ากระทาตอ่ ดินน้ามนั มีค่าเท่ากบั 1.25 นิวตนั

บทท3่ี 15 วธิ ีดำเนินงำน ข้นั ตอนกำรวำงแผนดำเนนิ งำน ผจู้ ดั ทาโครงงานไดว้ างแผนดาเนินงาน ดงั น้ี 1. ต้งั ช่ือเรื่อง 2. เขียนเคา้ โครงโครงงาน 3. กาหนดแผนปฏิบตั ิงาน 4. ศึกษาขอ้ มูลเก่ียวกบั โครงงาน 5. ออกแบบและจดั ทาส่ือ 6. รวบรวมขอ้ มลู ที่เกี่ยวขอ้ งกบั โครงงาน 7. วิเคราะห์ขอ้ มลู 8. สรุปและดาเนินงาน 9. จดั ทารูปเล่มโครงงาน 10. นาเสนอโครงงาน

16 ข้นั กำรดำเนินงำน 1. ศึกษา คน้ ควา้ ขอ้ มูล หลกั การ เน้ือหา ความรู้เกี่ยวกบั การหาแรงลพั ธ์ 2. รวบรวมขอ้ มูลเก่ียวกบั การหาแรงลอยตวั 3. จดั ทาส่ือออนไลน์ 4. นาขอ้ มูลที่ไดม้ าวเิ คราะห์และสรุปผล 5. จดั ทารูปเล่มและนาเสนอ

บทที่4 17 ผลกำรดำเนนิ งำน ส่วนประกอบของสื่อออนไลน์ 1. หนา้ แรก 2. การประยกุ ตใ์ ช้ 3. ตวั อยา่ งโจทย์ 4. เน้ือหา 5. ขอ้ มูลเบ้ืองตน้ ของผจู้ ดั ทา

บทที่ 5 18 สรุปผลกำรดำเนินงำน จากผลการดาเนินงานพบวา่ ปัจจยั ท่ีทาใหว้ ตั ถุเกิดการลอยตวั เกิดจาก ความหนาแน่นของวตั ถุ และความหนาแน่นของของเหลว วตั ถุแตล่ ะชนิดหรือของเหลวแต่ละชนิดะมีความหนาแน่นไม่ เทา่ กนั ของเหลวท่ีมีความหนาแน่นมากจะมีแรงลอยตวั มาก ทาให้พยงุ วตั ถุใหล้ อยข้ึนได้ มากกวา่ ของเหลวท่ีมีความหนาแน่นนอ้ ย หรือถา้ วตั ถุมีความหนาแน่นนอ้ ยกวา่ ของเหลววตั ถุจะ ลอยในของเหลว ถา้ วตั ถุมีความหนาแน่นเท่ากนั กบั ของเหลววตั ถุจะลอยปร่ิมในของเหลว และ ถา้ วตั ถุมีความหนาแน่นมากกวา่ ของเหลววตั ถุจะจมในของเหลว

บรรณำนุกรม 1.คน้ ควา้ จากหนงั สือเรื่องแรงลอยตวั จากหอ้ งสมุด 2.การทาส่ือออนไลน์ http://oho.ipst.ac.th/bookroom/snet2/mathematicians/arch_princ.htm 3.หลกั การของอาร์คีมีดีส https://www.margetting.com/post/5step-to-online-offline


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook