Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือ ศรร.ฐาน7การศึกษาตลอดชวิต

คู่มือ ศรร.ฐาน7การศึกษาตลอดชวิต

Published by ii.monzter, 2022-06-21 03:43:00

Description: คู่มือ ศรร.ฐาน7การศึกษาตลอดชวิต

Search

Read the Text Version

ค่มู ือการศึกษาฐานเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ชอื่ ฐานเรียนรู้ การศกึ ษาตลอดชีวิต ผรู้ ับผดิ ชอบ นายกฤษดากร เหล่าประเสริฐ นางสาวกรรภิรมย์ ทัศนสุวรรณ นางสาวศศพิ มิ พ์ เชอ้ื หนองปรง นักศึกษาแกนนำ นายจักรภพ ตนั ยะสิทธ์ิ นายนลธวัฒน์ ทรพั ย์สมบตั นายไพศาล สงั ขวรรณะ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภออ่ทู อง สำนกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสพุ รรณบรุ ี

คูม่ อื การศึกษาฐานเรยี นรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภออูท่ อง .................................................................................................................... ชื่อฐานการเรียนรู้ การศึกษาตลอดชวี ิต ผู้จดั ทำ 1. นายกฤษดากร เหล่าประเสริฐ 2. นางสาวกรรภิรมย์ ทัศนสวุ รรณ 3. นางสาวศศิพมิ พ์ เชือ้ หนองปรง ความเป็นมา การศึกษาตลอดชีวติ (Lifelong Education) หมายถึง การจัดกระบวนการทางการศกึ ษา เพ่อื ให้เกิด การเรยี นรู้ตลอดชีวิต เป็นการจัดการศกึ ษาในรูปแบบของการศึกษาในระบบโรงเรียน (Formal Education) การศึกษานอกระบบโรงเรียน (Non - Formal Education) และการศึกษาตามอัธยาศัย (Informal Education) โดยมงุ่ ให้ผเู้ รียนเกิดแรงจงู ใจทจี่ ะเรยี นรู้ด้วยตนเอง (Self - directed Learning) มุ่งพฒั นาบุคคล ให้สามารถพัฒนาตนเอง และปรับตนเองให้ก้าวทันความเปลย่ี นแปลงของสังคม การเมอื ง และเศรษฐกิจของ โลก ห้องสมุดประชาชนเป็นแหล่งเรียนรู้ที่สามารถสง่ เสริมสนับสนนุ ให้คนเกิดการเรียนรู้ตลอดชีวติ กล่าวคือ หอ้ งสมุดเป็นแหล่งรวบรวมทรพั ยากรสารสนเทศท่ีหลากหลายและมีประโยชน์ ก่อใหเ้ กิดการเรียนรู้อย่างไม่มี ที่สิ้นสุด กระตุ้นให้รักการอ่านและการศึกษาค้นคว้า ก่อให้เกิดการศึกษาอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง เป็นสื่อกลางในกระบวนการเรยี นการสอน และตอบสนองความต้องการในการแสวงหาความรู้เฉพาะบุคคล ซึ่งในปัจจุบัน ห้องสมุดประชาชนยังมีการบริการต่างๆมากมาย ให้บริการด้านการเรียนรู้ เช่น wifi ฟรี คอมพวิ เตอร์ ไวใ้ ช้สืบค้นหาข้อมลู ที่ต้องการเรยี นรู้ หนงั สือ ส่ือ นทิ รรศการเกยี่ วกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง เป็นตน้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภออู่ทอง จึงเห็นความสำคัญของการเรยี นรู้ ตลอดชีวิต โดยมีนโยบายในการพัฒนาห้องสมุดประชาชนอำเภออู่ทอง ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิต ตามนโยบาย 5 ดี กล่าวคือ บรรณารักษ์ดี บรรยากาศดีเอื้อต่อการเรียนรู้ กิจกรรมดี เครือข่ายดี และมี นวัตกรรมดี โดยมีการส่งเสรมิ สนับสนุนให้นักศึกษาและประชาชนเขา้ มาศกึ ษาเรียนรู้ ณ ห้องสมุดประชาชน และปลูกผังนักศึกษาให้เป็นอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง จึงได้จดั ทำฐานการเรยี นรู้ “การศกึ ษาตลอดชีวติ ” ขึ้น วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อสง่ เสรมิ ให้นกั ศึกษาและประชาชนรกั การอ่านและการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ 2. เพ่ือสง่ เสรมิ ให้นกั ศึกษาและประชาชนมีความรคู้ วามเข้าใจในการมาใชบ้ รกิ ารทหี่ ้องสมดุ ประชาชนอำเภออทู่ อง 3. เพอื่ สง่ เสรมิ ให้นกั ศกึ ษาและประชาชนผสู้ นใจสามารถนำความรู้ ไปปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจำวันตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ความรู้ เป็นแหล่งเรียนรู้ทสี่ ามารถส่งเสริมสนบั สนนุ ให้คนเกดิ การเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ สอดคล้องกับหลกั สตู ร 1. วิชาทกั ษะการเรียนรู้ 2. วชิ าเศรษฐกิจพอเพยี ง กิจกรรมการเรยี นรู้ ข้ันท่ี 1 ขั้นนำ 1) วิทยากรกล่าวทักทายผูเ้ รยี น และแนะนำตนเอง แนะนำช่อื ฐานการเรยี นรู้ \"การศกึ ษาตลอดชีวติ \" แนะนำจุดประสงคแ์ ละความสำคัญของการเรียนรู้ โดยผ่านสือ่ ป้ายนเิ ทศ แผนภมู ปิ า้ ย ข้นั ท่ี 2 ขัน้ สอน 1) วทิ ยากร อธบิ ายวิธีการใช้ห้องสมุด และแจกเอกสารประกอบ 2) วทิ ยากร อธิบาย มุมบริการต่างๆ ภายในห้องสมดุ ประชาชนอำเภออทู่ อง 3) วิทยากร อธิบายถึงแหล่งเรียนสำคัญท่ีสามารถไปศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ และวิธีการเรียนรู้ใน รูปแบบตา่ งๆ เช่น การอ่านจากแผ่นพบั การสแกน QR Code อ่านจากปา้ ยนิเทศ Online เปน็ ต้น ขน้ั ที่ 3 ข้ันสรุป วิทยากรให้เวลาผูเ้ รียนในการศกึ ษาเพมิ่ เติม และทำใบงาน พร้อมมอบหมายใหไ้ ปสรุปความรู้ท่ีไดล้ งใน สมดุ บันทกึ การเรยี นรู้ ขั้นที่ 4 ขั้นนำไปใช้ ผู้เรียนร่วมกันถอดองค์ความรู้ ในด้านความรู้ที่ได้รับ ด้านคุณธรรม ด้านความพอประมาณ ด้านความมีเหตุผล ด้านภูมิคุ้มกัน และเชื่อมโยงสู่ เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม ลงในกระดาษบรู๊ฟ ส่ืออปุ กรณ์การเรยี นรู้ 1) วิทยากรประจำฐาน 2) ปา้ ยนเิ ทศความรู้ 3) แผ่นพบั YouTube, QR Code 4) สมุดบนั ทกึ การเรียนรู้ 5) ใบงาน การวดั ผลประเมนิ ผล 1.การสงั เกต 1.1 พฤตกิ รรมการเรียนรู้ 1.2 การถอดบทเรียนและการนำเสนอ 2.ตรวจผลงาน 2.1 บนั ทึกการเรียนรู้ 2.2 ใบงาน 2.3 แผนผังการถอดบทเรียนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ปศพพ.)

ความสอดคล้องกบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เงื่อนไขความรู้ 1. การเข้าใชบ้ ริการตา่ งๆ เชน่ การยืม-คืน 2. รับรูข้ ่าวสาร 3. ถ่ายทอดองคค์ วามรู้ใหผ้ ูอ้ ่ืนได้ 4. รู้กฎระเบยี บการใช้หอ้ งสมุด เงื่อนไขคณุ ธรรม 1. มีวนิ ยั ในการทำตามกฎการเขา้ ใชห้ ้องสมดุ ประชาชน 2. มคี วามขยันหม่ันเพียร 3. มีความรบั ผิดชอบ หลักการ มีเหตผุ ล มภี มู ิคมุ้ กนั ในตัวท่ดี ี พอประมาณ 1. ตอ้ งการมคี วามรใู้ น 1. พัฒนาตนเองใหม้ คี วามรู้ การศึกษาค้นคว้า เพิ่มขึน้ 1. ใชเ้ ทคโนโลยี/อปุ กรณ์ อยา่ งรูค้ ณุ ค่า 2. ศกึ ษาคน้ คว้าจากแหลง่ 2. ใชแ้ หล่งเรยี นรู้ได้อย่าง เรยี นรู้ได้ด้วยตนเอง ถกู ต้อง 2. จดั กจิ กรรมได้ หลากหลาย 3. ใชเ้ ทคโนโลยผี ลิตสือ่ 3. ถ่ายทอดองค์ความรู้ 4. ใชท้ รัพยากรท่มี ีอย่คู ุ้มคา่ ให้แกผ่ ู้อ่นื อยา่ งถกู ต้อง 3. ครู/นักเรียน รว่ มกันจดั กิจกรรมจากสือ่ ทมี่ ีอยู่ 4. ปฏบิ ัตติ ามกฎระเบียบ การใช้ห้องสมุดอย่าง 4. ใช้เวลาอย่างคมุ้ ค่า ถกู ต้อง สมดุลยงั่ ยนื 4 มติ ิ เศรษฐกิจ สงั คม สิ่งแวดลอ้ ม วฒั นธรรม 1. มแี หลง่ เรียนร้ไู ว้ 1. สามารถถ่ายทอด 1. พฒั นาแหลง่ เรียนรู้ 1. มนี ิสัยรกั การอา่ น ศกึ ษาค้นควา้ ด้วย ความรูใ้ หแ้ ก่ผอู้ นื่ 2. มนี ิสัยรกั ความเปน็ 2. ใฝร่ ู้ใฝเ่ รียน ตนเอง อย่างถูกต้อง 3. ภูมิใจในสถาบนั ระเบียบและ 2. มสี ่ือ/หนังสอื เพอ่ื 2. รับรู้ข่าวสารที่ สะอาด ของตนเอง การเรยี นรู้ ถูกต้อง 3. สรา้ งบรรยากาศ 4. มีความสามัคคี เอ้อื ต่อการบรกิ าร 3. ประหยัดคา่ ใช้จา่ ย 3. มีจติ อาสาในการ 4. ใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่ พฒั นาแหล่งเรยี นรู้ คุ้มคา่ 4. แบ่งปนั ความรู้ เช่น หนงั สอื ปันสุข ปันความรสู้ ู่ชมุ ชน

กจิ กรรมการเรียนรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ศูนย์การเรยี นรู้ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ด้านการศกึ ษา การถอดบทเรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ฐานท่ี 7 การศกึ ษาตลอดชวี ติ

ภาคผนวก



ใบความรู้ ห้องสมดุ ประชาชน บทบาทและหน้าที่ของห้องสมุดประชาชนและบรรณารักษ์ในวันนี้ทีจ่ ะเอื้ออำนวยต่อการเรยี นรู้ ของประชาชนทวั่ ไปและผ้เู รียนไดอ้ ย่างแทจ้ รงิ ห้องสมุดเป็นแหล่งความรู้ที่นักเรียน นักศึกษา สามารถค้นหาความรู้ด้วยตนเอง โดยห้องสมุดมี บทบาท ในการเสริมความรู้ สนับสนุนการศึกษาในระบบและให้โอกาสในการเข้าถึงการศึกษา ได้ใช้ศึกษา ค้นคว้าเพิ่มเติมเพ่ือพฒั นาอาชพี ให้ทันกับวทิ ยาการและเทคโนโลยี ให้แก่ผู้ที่ไม่มีโอกาสเข้าศึกษาในโรงเรียน หรอื ผู้ทไี่ ด้สำเรจ็ การศึกษาแล้ว ห้องสมุดในปัจจุบัน ทำหน้าที่เก็บรวบรวม จัดระบบ เพื่อให้บริการสื่อสารนิเทศต่างๆ ตลอดจนถึง เทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีทางการสื่อสาร อีกทั้งยังมีเครื่องมือในการค้นหาและดำเนินการ ให้บริการสอ่ื ต่างๆ เกดิ ประโยชน์สูงสุดแก่ผใู้ ชห้ อ้ งสมดุ การจดั ตั้งห้องสมดุ เปน็ การดำเนินงานทส่ี อดคลอ้ งกับเร่ืองการศกึ ษาตามอธั ยาศัยและการศึกษาตลอด ชีวิต มีความมุ่งหวังให้ห้องสมุดได้เป็นแหล่งการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาตนเองตลอดชีวิต และส่งเสริมให้ ประชาชนเป็นผูท้ ีใ่ ฝเ่ รยี นรู้ การทจี่ ะดงึ ดดู ความสนใจให้ผู้คนเขา้ มาใชห้ ้องสมดุ มากๆนัน้ หอ้ งสมุดจะตอ้ งมีการ พัฒนารูปแบบให้มีความแตกตา่ งไปจากหอ้ งสมดุ ทเ่ี คยเป็นมาในอดตี นัน่ คือการทำให้หอ้ งสมดุ เป็นหอ้ งสมุดที่ มีชีวิต (Living Library) เป็นห้องสมุดที่มีการพัฒนาตัวเองอยู่ตลอดเวลา เพื่อตอบสนองความต้องการ ของผ้ใู ชบ้ ริการทกุ เพศ ทุกวัย ไมจ่ ำกดั ห้องสมดุ มีบริบทอะไรบา้ ง • เปน็ ศนู ย์การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารที่ทันสมยั • เป็นศูนย์ข้อมูล ทั้งในเชิงจัดการฐานข้อมูล (Knowlegde Management) และการสงวนรักษาและ อนรุ กั ษ์ เอกสารโบราณ เอกสารต้นฉบบั ตวั เขยี น • เพ่ิมศักยภาพความเป็นหอ้ งสมดุ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ (E-Library) ให้มีความสมบูรณ์ และมกี ารเปลย่ี นแปลง สู่การเป็นแหลง่ ความรูร้ ะบบดจิ ิทลั • มีการรว่ มมอื กันระหวา่ งหน่วยงานทัง้ ที่เปน็ หอ้ งสมุดดว้ ยกนั เอง และ หนว่ ยงานอื่นๆ การบรกิ ารของห้องสมุด ห้องสมดุ มหี น้าท่ีคอยให้บรกิ ารแกผ่ ูเ้ ขา้ ใช้หอ้ งสมุด เพ่อื เปน็ ศูนย์กลางการศกึ ษาคน้ คว้าใหม้ ีมาตรฐาน ยิง่ ข้นึ ไป เพิ่มพูนความรู้ ขา่ วสารท่ีทนั เหตกุ ารณ์ ดงั นน้ั หอ้ งสมดุ จึงใหบ้ รกิ ารดงั น…้ี 1. บรกิ ารการอ่าน เป็นบริการหลกั ของหอ้ งสมุดทีจ่ ดั หาและคดั เลือกหนังสือ ส่ิงพิมพ์ ตา่ งๆ มาไว้เพื่อ ให้บริการ และจัดเตรียมสถานท่ีใหอ้ ำนวยความสะดวกต่อการอ่าน เพื่อตอบสนอง ความต้องการ และความ สนใจของผใู้ ชม้ ากท่สี ุด 2. บริการยืม - คืนหนังสือ ให้บริการยืมหนงั สือทัว่ ไป หมวด 000 - 900 หนังสือ นวนิยาย เรื่องส้ัน หนงั สอื วรรณกรรมเยาวชน ในกรณีที่ยมื เกนิ กำหนดผู้ยืมจะตอ้ งเสยี คา่ ปรับตาม อัตราท่ีห้องสมดุ กำหนด 3. บริการหนงั สือจอง ในกรณที ่ีหนงั สอื บางวชิ ามีนอ้ ยหรือไมเ่ พียงพอ ผู้สอนจะสงั่ จอง เกบ็ ไว้ท่ีแผนก ใหย้ ืม และหอ้ งสมดุ จะกำหนดวนั ยืมใหน้ ้อยลง โดยยืมไดเ้ พียง 1 คนื เทา่ นน้ั 4. บรกิ ารวารสาร หนังสือพิมพ์ ห้องสมดุ ได้จัดบรกิ ารการอ่าน/การคน้ ควา้ วารสารและหนงั สือพมิ พ์

5. บริการตอบคำถามและชว่ ยการค้นคว้า บริการน้ีได้จดั ไว้เพอ่ื ใหค้ วามช่วยเหลือผู้ท่ีมาใช้บริการของ หอ้ งสมดุ โดยจะมผี ใู้ ห้บรกิ าร 6. บริการหนังสืออ้างอิง หนังสืออ้างอิงที่ใช้ค้นคว้าหาคำตอบในเรื่องใดเรื่องหนึ่งได้อย่างรวดเร็ว หนงั สืออา้ งองิ จะจดั เรียงไว้ตามหมวดหมรู่ ะบบทศนยิ มดิวอี้ และไมอ่ นุญาตให้ยืมออกนอกหอ้ งสมุด 7. บรกิ ารอนิ เทอร์เนต็ ผู้ใช้บริการสามารถสบื คน้ ข้อมลู บนอินเทอร์เน็ตที่สนใจได้ทว่ั โลก ซ่ึงทำให้ผู้ใช้ สามารถเข้าถึงสารสนเทศทท่ี ันสมัยได้มากขึ้น ตรงตามความตอ้ งการและสะดวก รวดเร็ว ระเบียบการใช้ห้องสมุด 1. ถอดรองเท้าก่อนเขา้ ห้องสมุด 9. เมอ่ื อ่านหนังสือ วารสาร หนงั สือพิมพ์ เสร็จแล้ว ตอ้ ง 2. เขา้ หอ้ งสมดุ ทางด้านซา้ ยมอื และลงชื่อ เกบ็ เข้าทเ่ี ดมิ ทุกคร้ัง การเข้าใช้หอ้ งสมดุ 3. แตง่ กายสุภาพ เรยี บรอ้ ย 10. เมอ่ื ต้องการยืมหนังสอื วารสาร หนงั สอื พมิ พ์ ให้ตดิ ต่อ 4. ไม่สง่ เสยี งดงั ภายในห้องสมุด บรรณารักษ์ 5. ไม่นาํ ของมีคมเข้าห้องสมุด 6. ไมน่ ําสัมภาระ (กระเป๋า หนงั สอื 11. เมื่อต้องการใช้อินเตอร์เน็ต โทรทัศน์ โปรเจคเตอร์ ใหต้ ดิ ตอ่ บรรณารกั ษ์ ส่วนตวั ฯลฯ) เขา้ หอ้ งสมุด 7. เม่อื ลุกจากทีน่ ่ังต้องเก็บเกา้ อี้เข้าทีเ่ ดิม 12. รกั ษาสาธารณสมบัติ ใชอ้ ยา่ งคุ้มค่า และประหยัด เชน่ 8. ไม่ขดี เขยี นข้อความใด ๆ หรือฉกี ชว่ ยปดิ ไฟ ปิดพัดลม ชว่ ยเกบ็ เก้าอ้ี เก็บหนังสือ เขา้ ทีใ่ ห้ เรยี บร้อยถกู ตอ้ ง เป็นตน้ หนงั สือ วารสาร สิง่ พิมพท์ กุ ชนิด 13. ดแู ลทรพั ย์สนิ ของหอ้ งสมุดดจุ ของตน ป้องกนั ขดั ขวาง ผู้ทำลาย เชน่ ผู้ท่แี อบตัด ฉีกหนงั สอื ขโมยหนังสอื เป็นต้น ระเบยี บและมารยาทการใช้ คอมพวิ เตอร/์ Internet/Wi-Fi 1. ตดิ ต่อบรรณารกั ษ์ 2. บันทกึ รายละเอียดลงในบนั ทกึ การใชบ้ รกิ ารอนิ เตอรเ์ น็ต 3. นกั เรยี นใชบ้ รกิ ารสบื ค้นโต๊ะละ 1 คนเทา่ นนั้ 4. ใช้สำหรบั คน้ หาขอ้ มลู เกี่ยวกบั การเรียน สิง่ ทมี่ สี าระ สรา้ งสรรคใ์ นทางทดี่ ี 5. การใชอ้ ปุ กรณ์ในการบันทึกขอ้ มลู จาก Internet ต้องอยูใ่ นสภาพเรยี บรอ้ ย ไมม่ ไี วรัส 6. ใชค้ อมพิวเตอร์อยา่ งระมัดระวัง เปดิ -ปิดตามขั้นตอน 7. อนญุ าตใหใ้ ชค้ อมพวิ เตอรค์ นละ 30 นาที 8. ไม่อนญุ าต ใหน้ กั เรียนเล่นเกม หรอื สบื คน้ ขอ้ มลู ท่ีไมเ่ หมาะสม 9. นกั เรยี นเลน่ FACEBOOK ไดไ้ ม่เกิน 10 นาที (กรณีเกย่ี วกับการเรยี น) 10. นกั เรียนฝา่ ฝืนไมป่ ฏบิ ัตติ ามกฎ ตดั สทิ ธิการใช้ Internet 1 สปั ดาห์

ระเบียบ มารยาทและคุณธรรมจรยิ ธรรม ในการใชห้ อ้ งสมุด ห้องสมดุ เป็นหนว่ ยงานบริการทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ผู้ใช้เป็นจำนวนมาก ดงั นั้นเพื่อใหเ้ กดิ ความเป็นธรรมแก่ ผู้รับบริการ ห้องสมุดจึงต้องมีระเบียบ เพื่อให้ทุกคนปฏิบัติ อันจะทำให้เกิดความเสมอภาค ในขณะเดียวกนั ผรู้ ับบริการกจ็ ะต้องมมี ารยาทให้เกยี รติแกส่ ถานที่ด้วย ความหมายของระเบยี บและมารยาท พอสรุปได้ ดงั นี้ ระเบียบ หมายถึง ข้อบังคบั ท่ีจะใหป้ ฏิบัติ หรือละเว้นการปฏิบตั ิ อย่างใดอยา่ งหนึ่ง เพื่อให้สังคมอยู่ อย่างสงบสุขและเปน็ ธรรม ผู้ฝ่าฝืนจะได้รับโทษ เช่น การห้ามสูบบุหรี่ในห้องสมุด การยมื หนงั สือในห้องสมดุ การปรับหนังสอื เกินกำหนดส่ง เป็นต้น ระเบียบของห้องสมุด แต่ละแห่งอาจมีขอ้ ปฏิบัติแตกต่างกันไป ทัง้ น้ี ขึ้นอยู่กับ สภาพห้องสมุดและวัตถุประสงค์ของห้องสมุดน้ันๆ อย่างไรก็ตาม ระเบียบของห้องสมุดที่เป็น สาระสำคญั กย็ ังคงคลา้ ยคลึงกนั ซ่ึงจะมีข้อกำหนดหลัก ๆ ดังนี้ 1.1 เวลาทำการ 1.2 ผู้ใชบ้ ริการและสิทธิหนา้ ที่ 1.3 ระเบียบการยืม เช่น ผู้ยืมวัสดุต้องใช้บตั รห้องสมุดของตนเอง ยืมวัสดุได้ตามจำนวนที่ห้องสมดุ กำหนด เป็นตน้ 1.4 บทลงโทษ กรณีที่มีการกระทำที่ฝ่าฝืนระเบียบการใช้ห้องสมุด เช่น การนําหนังสือออกจาก หอ้ งสมุดโดยไมไ่ ด้รับอนญุ าต การตดั การฉกี ภาพ หรอื ข้อความจากวารสาร เป็นตน้ มารยาท เป็นข้อพึงปฏบิ ัติ โดยเกดิ จากการสำนกึ รูจ้ ักการควรไม่ควรของผู้นั้นเอง เช่น ไมค่ วรส่งเสียง ดงั เกนิ สมควรในห้องสมดุ ผู้ทีไ่ มม่ มี ารยาทมักไมค่ ำนงึ ถงึ ความรู้สกึ ของผอู้ ื่น อาจพูดดว้ ยเสียงปกติแต่ค่อนข้าง ดงั แม้ไมผ่ ดิ ระเบยี บ ไมไ่ ดร้ ับโทษโดยระเบยี บ แตส่ งั คมกไ็ มย่ อมรับเท่ากบั ถูกลงโทษเชน่ กนั มารยาทในการใช้ ห้องสมุด การใช้สาธารณสมบัติร่วมกันในห้องสมดุ ผู้ใช้ควรมีจิตสำนึกที่จะช่วยกนั รกั ษาทรัพย์สินและสร้าง บรรยากาศทีด่ ี ให้เกียรติซึ่งกันและกนั ให้เกียรติสถานที่ ผู้มีมารยาทและคุณธรรมพงึ ปฏิบัตติ น ดังน้ี 1. แตง่ กายสุภาพ เหมาะกับกาลเทศะ 2. วาจาสภุ าพ ใชเ้ สียงเทา่ ท่ีจำเป็น 3. งดนาํ อาหาร เคร่ืองดื่ม หรือของขบเค้ียวมารับประทาน 4. รักษาสาธารณสมบัติ ใช้อย่างคุ้มค่า และประหยัด เช่น ช่วยปิดไฟ ปิดพัดลม ช่วยเก็บเก้าอ้ี เก็บหนงั สอื เขา้ ทใ่ี ห้เรียบร้อยถกู ต้อง เป็นต้น 5. ดแู ลทรพั ยส์ นิ ของหอ้ งสมดุ ดจุ ของตน ปอ้ งกัน ขดั ขวางผทู้ ำลาย เช่น ห้ามตดั /ฉีกหนังสอื ห้ามขโมย หนังสอื เป็นตน้

ใบงาน เรอ่ื ง หอ้ งสมดุ ประชาชน คำสงั่ ตอบคำถามต่อไปนี้ใหถ้ ูกตอ้ ง 1. หอ้ งสมดุ หมายถึงอะไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. จงบอกประโยชน์ของหอ้ งสมุด ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ระเบยี บ มารยาท คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ในการใช้หอ้ งสมดุ มอี ะไรบ้าง (ตอบแบบสรปุ โดยยอ่ ) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. การบรกิ ารห้องสมุดมีอะไรบา้ ง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ใบความรู้ เร่อื ง การศึกษาตลอดชีวติ การศึกษา (Education)ในมาตรา 4 ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 นิยาม ความหมายของการศกึ ษา มีความหมายวา่ \"กระบวนการเรียนรเู้ พ่อื ความเจรญิ งอกงามของบุคคลและสงั คม โดยการถ่ายทอดความรู้ การฝึก การอบรม การสบื สานทางวัฒนธรรมการสรา้ งสรรคจ์ รรโลงความก้าวหนา้ ทางวิชาการ การสร้างองค์ความรู้อันเกิดจากการจัดสภาพแวดล้อม สังคมการเรียนรู้ และปัจจัยเก้อื หนุน ให้บุคคลเรียนรูอ้ ย่างตอ่ เนื่องตลอดชีวิต\" และมาตรา 15 ได้กำหนดระบบการศึกษา ในการจัดการศึกษามี สามรูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย พระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 มาตรา 4 ได้บัญญัติความหมายของการศึกษาตลอดชีวิตไว้ว่า หมายถงึ การศกึ ษาท่เี กดิ จากการผสมผสานระหว่างการศกึ ษาในระบบการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษา ตามอัธยาศัย เพอ่ื ให้สามารถพัฒนาคณุ ภาพชีวิตได้อยา่ งตอ่ เนื่องตลอดชวี ติ นอกจากน้ีในพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 มาตรา 8 การส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาตามอัธยาศัย ก็ได้ให้ความสำคัญต่อผู้เรียน โดยได้ระบุไว้ ว่า \"ผู้เรียนได้รับความรู้และทักษะพื้นฐานในการแสวงหาความรู้ที่จะเอื้อต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต\" ใน ความหมายของการศึกษาตลอดชีวิตดังกล่าว สอดคล้องกับความหมายของการศึกษา ซึ่งมีสถานที่และ ระยะเวลาเช่นเดยี วกนั คอื เป็นการศึกษาทเี่ กิดในทกุ สถานท่ี และตลอดระยะเวลาในชวี ติ ของบุคคลบุคคลหน่ึง นอกจากน้ี การศึกษาตลอดชวี ติ ยังจะต้องเป็นการผสมผสานกันระหว่างการศกึ ษาในระบบการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศยั อีกดว้ ยในการจัดการศึกษาของประเทศจึงใหค้ วามสำคัญกับการศึกษาตลอดชวี ิต เป็นอย่างสูง โดยเห็นได้จากความหมายของการศึกษา และความหมายของการศึกษาตลอดชีวิตดังกล่าว พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาตเิ องกไ็ ด้บญั ญัติไว้ในมาตรา 8 โดยในการจดั การศึกษาใหย้ ึดหลกั 3 ประการ คือ เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสำหรบั ประชาชน, ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา และพัฒนาสาระ และกระบวนการเรยี นรใู้ ห้เปน็ ไปอย่างตอ่ เนอื่ ง ในหนังสือ กศน. ได้ใหค้ วามหมายของ การศกึ ษาตลอดชีวติ ไว้ดงั นี้ • การศึกษาทเี่ กิดข้ึนจากการผสมผสานระหวา่ งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั เพ่ือใหส้ ามารถพัฒนาคุณภาพชวี ติ ได้อย่างต่อเน่ืองตลอดชวี ิต • การศกึ ษาทเี่ กดิ ขน้ึ อยา่ งต่อเนอ่ื ง ตัง้ แตเ่ กิดจนตาย • พฒั นาคนใหไ้ ด้เรยี นร้ใู นรปู แบบตา่ งๆตามความสามารถของตนเอง เพ่ือกา้ วทันการเปลีย่ นแปลงของ โลก สามารถทำงานและอยรู่ ว่ มกนั ในสังคม การเรียนรู้ตลอดชีวิต หมายถึง การรับรู้ความรู้ ทักษะ และเจตคติ ตั้งแตเ่ กิดจนตายจากบุคคลหรอื สถาบันใดๆ โดยสามารถจะเรียนรู้ดว้ ยวิธีเรยี นตา่ งๆ อยา่ งมีระบบหรอื ไมม่ รี ะบบ โดยตั้งใจหรือโดยบังเอิญก็ได้ ทั้งนี้สามารถทำให้บุคคลนั้นเกิดการพัฒนาตนเองการศึกษาตลอดชีวิต ( Lifelong Education) หมายถงึ การจัดกระบวนการทางการศกึ ษา เพอื่ ใหเ้ กิดการเรยี นรตู้ ลอดชีวิต เปน็ การจัดการศึกษาในรูปแบบ ของการศึกษาในระบบโรงเรียน (Formal Education) การศึกษานอกระบบโรงเรียน (Non - Formal Education) และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั (Informal Education) โดยมุ่งให้ผเู้ รยี นเกดิ แรงจูงใจท่ีจะเรยี นรู้ด้วย ตนเอง (Self - directed Learning) มงุ่ พฒั นาบุคคลให้สามารถพฒั นาตนเอง และปรบั ตนเองใหก้ า้ วทันความ เปลย่ี นแปลงของสงั คมการเมอื งและเศรษฐกิจของโลก

การศกึ ษาตลอดชีวติ หมายถงึ การศึกษาทเี่ กิดจากการผสมผสานระหว่างการศกึ ษาในระบบ การศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย เพ่ือให้สามารถพฒั นาคุณภาพชีวิตไดอ้ ย่างตอ่ เนือ่ งตลอดชวี ิต การศกึ ษาในระบบ เป็นการศกึ ษาที่กำหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมนิ ผล ซึ่งเปน็ เงอื่ นไขสำคญั ของการสำเร็จการศึกษาท่ีแน่นอน การศึกษานอกระบบ เป็นการศกึ ษาท่ีมีความยืดหยุ่น ในการกำหนดจดุ มงุ่ หมาย รปู แบบ วิธกี ารจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศกึ ษา การวดั ผลประเมนิ ผล ซ่ึงเปน็ เงื่อนไขสำคัญของการสำเร็จการศึกษา โดยเนื้อหาและหลักสูตรจะต้องมีความเหมาะสม สอดคล้องกบั สภาพ ปัญญาและความต้องการของกลุ่มแต่ละกลมุ่ การศึกษาตลอดชีวิต Phillip H. Coombs (ผู้เขียนหนังสือ The World Crisis in Education : The View from the Eighties) พบว่ารูปแบบการศึกษาในระบบโรงเรียนของประเทศด้อย พัฒนา และประเทศกำลงั พัฒนา ไม่สามารถให้บริการแก่ประชาชน ได้อย่างท่ัวถึงทำให้เกิดวิกฤตการณ์ทาง การศกึ ษา (Educational Crisis) เพราะประชาชนที่มฐี านะดเี ท่านนั้ ท่มี ีโอกาสไดร้ บั การศึกษา สว่ นคนยากจน จะขาดโอกาสในการศึกษา แม้รัฐบาลต่างๆ ได้ทุ่มเทงบประมาณด้านการศึกษาสูงมากก็ตาม แต่การศึกษา ไมส่ ามารถช่วยพฒั นาคุณภาพชวี ติ การศึกษาของประชาชน โดยเฉพาะผ้อู ยู่ในทอ้ งถิ่นห่างไกล รัฐบาลย่ิงพฒั นา คนรวยกลับรวยย่งิ ข้ึน คนจนกลับจนลง จงึ ทำใหม้ กี ารเรียกรอ้ งใหม้ ีการปฏิรูปการศึกษา หมายเหตุ : หนังสอื ท่ี กล่าวถึงในข้างบน แปลเปน็ ภาษาไทยในชื่อ วิกฤตการณ์ของโลกในทางการศกึ ษา: ทัศนะในทศวรรษ 1980 ซึ่ง เป็นหนังสือแปล อันดับที่ 87 ของ กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ กรุงเทพฯ ปี 2535 โดย ดร. ก่อ สวสั ดิพาณิชย์

ใบงาน เร่อื ง การศึกษาตลอดชวี ติ คำสั่ง ให้ตอบคำถามต่อไปน้ี 1. การศกึ ษาตลอดชีวิต หมายถึง .............................................................................................................. ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... 2. การศกึ ษา (Education)ในมาตรา ของพระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 นยิ าม ความหมายของการศกึ ษา มคี วามหมายวา่ อย่างไร ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... 3. การศึกษาตลอดชวี ิต Phillip H. Coombs (ผูเ้ ขยี นหนังสือ The World Crisis in Education : The View from the Eighties) บอกความหมายวา่ อยา่ งไร ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... 4. ผู้เรียนมีความเขา้ ใจในการเรยี นร้ตู ลอดชีวิตวา่ อยา่ งไร ................................................................................................................................................................ ..... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ ......... ..................................................................................................................................................................... ช่อื - สกลุ ....................................................................ระดบั ชัน้ ......................................................

ใบงาน เรอ่ื ง การศึกษาตลอดชวี ิต ถอดบทเรยี นตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ฐานเรียนรู้ ...................................................................................... ความรู้ คณุ ธรรม ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ความพอประมาณ ความมีเหตผุ ล การมีภูมิคมุ้ กนั ............................................. ............................................. ............................................. ............................................. ............................................. ............................................. ............................................. ............................................. ............................................. ............................................. ............................................. ............................................. ............................................. ............................................. ............................................. ............................................. ............................................. ............................................. .......... .......... .......... ดา้ นวฒั นธรรม ดา้ นเศรษฐกจิ ดา้ นสงั คม ดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ......................................

(ภาพตวั อย่าง) การถอดบทเรยี นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง จาก นักศึกษา ฐานที่ 7 ฐานการศึกษาตามอธั ยาศัย

(ภาพตวั อย่าง) การถอดบทเรยี นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง จาก นักศึกษา ฐานที่ 7 ฐานการศึกษาตามอธั ยาศัย

แบบสอบถามความพงึ พอใจ ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภออทู่ อง ตอนที่ 1 ขอ้ มลู ทวั่ ไป 1. เพศ  ชาย  หญงิ 2. อายุ  ตำ่ กว่า 15 ปี  16-30 ปี  31-40 ปี  41-50 ปี  51-60 ปี  61 ปขี ึ้นไป 3. ระดบั การศกึ ษา  ประถมศกึ ษา  มัธยมศึกษาตอนตน้  มัธยมศึกษาตอนปลาย  ปรญิ ญาตรี  สงู กว่าปรญิ ญาตรี  อื่น ๆ ระบุ......... 4. อาชีพ  รบั จ้าง  เกษตรกรรม ค้าขาย ขา้ ราชการ  นกั เรยี น/นกั ศกึ ษา  อืน่ ๆ ระบุ.............. ตอนที่ 2 คำชีแ้ จงให้ท่านทำเคร่อื งหมาย  ลงในชอ่ งระดบั ความพงึ พอใจตามความคิดเหน็ ทีแ่ ท้จรงิ ของทา่ น ระดับความพงึ พอใจ รายการ ดีมาก ดี พอใช้ ควร ต้อง ปรับปรงุ ปรับปรงุ 1. กระบวนการ/สถานที/่ ระยะเวลา การใหบ้ ริการ 1.1 การ ชี้แจงลำดับขน้ั ตอนของกจิ กรรม 1.2 ความเหมาะสมของสถานทีเ่ อื้อตอ่ การเรียนรู้ 1.3 ความเหมาะสมของระยะเวลาในการเรยี นรู้ 2. วิทยากรผถู้ ่ายทอดความรู้ 2.1 บคุ ลิกภาพ/อัธยาศยั ของวทิ ยากร 2.2 ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ 2.3 รปู แบบของกิจกรรม 3. ด้านสอ่ื ประกอบการเรยี นรู้ 3.1 ส่อื ประกอบการเรียนรเู้ พียงพอ 3.2 สื่อประกอบการเรียนรเู้ หมาะสม 3.3 สอ่ื ประกอบการเรียนรทู้ นั สมยั 4. ดา้ นความรู้และประโยชนท์ ี่ไดร้ ับ 4.1 ทา่ นได้รับความรู้ แนวคดิ ทกั ษะและประสบการณ์ใหม่ ๆ 4.2 ท่านสามารถนำสงิ่ ท่ไี ดร้ บั ไปใช้ในชีวิตประจำวัน 4.3 ประโยชนท์ ่ที า่ นไดร้ บั จากฐานการเรยี นรู้ 5. ความพงึ พอใจของทา่ นตอ่ ภาพรวมของฐานการเรยี นรู้ ขอ้ เสนอแนะ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…..……. *** ขอขอบคุณในความร่วมมือตอบแบบสอบถาม ***

ภาพผลการดำเนนิ งาน การประเมนิ การใชฐ้ านการเรยี นรู้ การศกึ ษาตลอดชวี ิต โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการศนู ย์การเรียนรู้เศรษฐกจิ พอเพียง สำหรบั นักศกึ ษา กศน.อำเภออูท่ อง ภายใต้โครงการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียน ณ แหล่งเรียนรู้ภายในศูนยก์ ารเรยี นรูเ้ ศรษฐกิจพอเพยี งอำเภออทู่ อง (ฐานการเรียนรกู้ ารศึกษาตลอดชวี ติ ) วันท่ี 25 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ.2564

ภาพผลการดำเนนิ งาน การประเมินการใชฐ้ านการเรยี นรู้ การศึกษาตลอดชวี ติ โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารการขบั เคลือ่ นศนู ยก์ ารเรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ภายใตโ้ ครงการพฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี น ณ แหล่งเรยี นรภู้ ายในศนู ยก์ ารเรียนรเู้ ศรษฐกิจพอเพยี งอำเภออู่ทอง (ฐานการเรยี นรกู้ ารศกึ ษาตลอดชวี ติ ) วนั ที่ 26 มกราคม พ.ศ.2565

ภาพผลการดำเนนิ งาน การประเมนิ การใช้ฐานการเรยี นรู้ การศึกษาตลอดชีวติ โครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการพฒั นาแกนนำนกั ศึกษาเพ่ือขับเคลื่อนศนู ยก์ ารเรียนรู้ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ระยะท่ี 2 ภายใต้โครงการพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี น ณ แหลง่ เรียนรู้ภายในศนู ยก์ ารเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพยี งอำเภออทู่ อง (ฐานการเรยี นรูก้ ารศึกษาตลอดชวี ิต) วันท่ี 7 มถิ นุ ายน พ.ศ.2565

ภาพผลการดำเนนิ งาน การประเมินการใช้ฐานการเรียนรู้ การศกึ ษาตลอดชีวติ โครงการสง่ เสรมิ การเรียนรกู้ ารใชส้ ่อื สังคมออนไลน์และพฒั นาทกั ษะการดำเนินชวี ิต ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง ภายใต้โครงการพฒั นาคุณภาพผ้เู รยี น ณ แหลง่ เรียนร้ภู ายในศนู ย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพยี งอำเภออู่ทอง (ฐานการเรยี นรูก้ ารศกึ ษาตลอดชวี ิต) วนั ที่ 15 มถิ นุ ายน พ.ศ.2565 น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook