Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการศึกษาสังเกตโรงเรียน

รายงานการศึกษาสังเกตโรงเรียน

Published by ทัศนีย์ ม่วงสุข, 2021-03-13 04:39:10

Description: รายงานการศึกษาสังเกตโรงเรียน

Search

Read the Text Version

รายงานการศึกษาสังเกตโรงเรียน โรงเรยี นอนุบาลดวงตะวนั อาเภอคลองหลวง จงั หวัดปทุมธานี ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 วนั ท่ี 2 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2563 ถงึ วันที่ 10 เดอื น กันยายน พ.ศ. 2563 นางสาวทัศนีย์ ม่วงสขุ หลักสตู รครศุ าสตร์บัณฑติ สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย ชัน้ ปีท่ี 4 รหสั ประจาตัว 60181860106 คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยออลงการณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์

การศกึ ษาสังเกตโรงเรยี น ตอนท่ี 1 การศึกษาสังเกตโรงเรยี น 1.1 ข้อมูลท่วั ไปของโรงเรยี น 1.1.1 สภาพทวั่ ไปของโรงเรยี น - ชือ่ โรงเรียน ที่ต้ัง ทาเลที่ตัง้ แผนผังโรงเรียน โรงเรยี นอนุบาลดวงตะวัน ตั้งอยูบ่ ้านเลขท่ี 59 หมู่ 7 ถนนบางขันธ์-หนองเสือ ตาบล คลองสาม อาเภอคลองหลวง จงั หวดั ปทุมธานี รหสั ไปรษณีย์ 12120 สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) เขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษา จังหวัดปทุมธานี เขต 1 โทรศัพท์ 0-2901-1040 โทรสาร 0-2901-1428 อีเมล์ [email protected] เวบ็ ไซด์ www. Duang-tawan.com แผนทกี่ ารเดินทางมาโรงเรียนอนุบาลดวงตะวัน

แผนผงั โรงเรียนอนบุ าลดวงตะวนั - ประวตั ขิ องโรงเรยี นโดยสงั เขป โรงเรียนอนุบาลดวงตะวัน ตั้งอยู่บ้านเลขที่ 59 หมู่ 7 ถนนบางขันธ์-หนอง เสือ ตาบลคลองสาม อาเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี บนพ้ืนที่ 5 ไร่ ก่อตั้งข้ึนเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2551 โดย อาจารย์ดลศักดิ์ ไทรเล็กทิม อาจารย์โรงเรียนสาธิต มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝ่ายประถม) ไดท้ าเรอ่ื งขออนญุ าตจาก สานักเขตพน้ื ท่ีการศึกษา ปทุมธานี เขต 1 จังหวดั ปทุมธานี เปิดสอน นกั เรยี นตัง้ แตช่ ั้นเตรียม อนุบาล ถึง ชั้นอนุบาลปีท่ี 3 รับนักเรียนอายุ 2-6 ปี โดยจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร สถานศึกษาของตนเอง ซึ่งผสมผสานหลักสูตรการเรียนการสอนจาก 2 หลักสูตรพ้ืนฐานคือ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ปี 2546 กระทรวงศึกษาธิการและหลัก Developmentally Appropnate Practices ข อ ง National Association for the Education of Young Children [NAEYC] ประเทศสหรัฐอเมรกิ า ( หลัก DPA )

โรงเรียนอนุบาลดวงตะวัน ใช้แนวทางการสอนแบบเตรียมความพร้อม โดย ให้นักเรียนรู้ผ่านกิจกรรมในชีวิตประจาวัน เน้นให้เด็กทุกคนเติบโตและพัฒนาเป็นมนุษย์ที่ สมบูรณ์ มีพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาอย่างสมดุล โรงเรียน อนุบาลดวงตะวันใช้ “กิจกรรมพัฒนาศักยภาพเด็กน้อยดวงตะวัน” เป็นตัวเสริมสร้างความ สมบูรณ์รอบด้านให้กับเด็กนักเรียน กิจกรรมที่ใช้ ได้แก่ ศิลปะสร้างสรรค์ งานปั้น (ดิน/แป้ง โด) ร้อยดอกไม้ ทาอาหาร งานเกษตร และดนตรี ส่งเสริมให้เด็ก ๆ ใช้ชีวิตอยู่ท่ามกลาง ธรรมชาติ ให้ตระหนกั ถึงคุณคา่ ของธรรมชาติ นางอัจฉราภรณ์ ไทรเล็กทิม ดารงตาแหน่งผู้รับใบอนุญาต ได้ก่อสร้าง อาคารเรียนขึ้นใหม่ ต้ังแต่ วันท่ี 11 พฤกษาคม 2551 โดยงบประมาณ 25 ล้านบาท ประกอบด้วย อาคารสานักงาน อาคารหอ้ งสมุด อาคารเตรยี มอนบุ าล อาคารเรยี นช้นั อนุบาล 1 และอาคารโรงครัว เปิดดาเนินการสอนครั้งแรกในเดอื นพฤกษาคม 2552 โดยมี นางสาวกัญ หา กาญจนาภรณ์ เป็นผู้อานวยการ มีนักเรียนทั้งส้ิน 57 คนระดับชั้นที่เปิดสอน คือ ช้ัน เตรียมอนุบาล (32 คน) และชั้นอนุบาล 1 (25 คน) ในเดือนตุลาคม 2552 ได้ก่อตั้งอาคารเรียนสองช้ันเพิ่มเติมด้วยงบประมาณ 7 ล้านบาทเป็นห้องเรียนช้ันอนุบาล 2และนักเรียนชั้นอนุบาล3 พร้อมท้ังก่อสร้างสระว่ายน้า ดว้ ยงบประมาณ 2 ล้านบาท ปรบั ปรงุ สภาพแวดลอ้ มในโรงเรยี นให้รม่ รน่ื สวยงาม ปกคลุมไป ด้วยต้นไม้ใหญ่และได้รับความไว้วางใจจากผู้ปกครองมากข้ึน จนในปีการศึกษา 2554 มี นกั เรยี น 4 ระดับชัน้ ต้งั แตร่ ะดบั ชน้ั เตรยี มอนบุ าลถงึ ระดบั ช้นั อนุบาล 3

การสะทอ้ นภาพ การฝึกปฏบิ ัติวชิ าชพี ครู 1 (Practicum 1) ภาพท่ี 1 ชือ่ ภาพ ป้ายหนา้ โรงเรียน สถานทถี่ ่ายภาพ หนา้ โรงเรยี น โรงเรียน อนบุ าลดวงตะวนั วนั ทีแ่ ละเวลา 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 เวลา 16:00 น. ผู้ถ่ายภาพ นางสาวทัศนีย์ ม่วงสขุ ผู้สะท้อนภาพ นางสาวทัศนีย์ ม่วงสขุ สะทอ้ นภาพ ภาพป้ายหน้าโรงเรียนอยู่ติดกับถนนหน้าโรงเรียน มีขนาดที่ใหญ่พอสมควร สีสันเป็นที่น่า ดงึ ดดู มีสญั ญาลกั ษณ์คือดวงตะวนั สี ทาใหส้ ามารถมองเหน็ ป้ายโรงเรียนไดช้ ัดเจน

การสะทอ้ นภาพ การฝึกปฏิบตั ิวิชาชีพครู 1 (Practicum 1) ภาพที่ 2 ชื่อภาพ โรงจอดรถรบั ส่งนกั เรยี น สถานท่ีถ่ายภาพ โรงจอดรถรับส่งนกั เรยี น โรงเรียน อนบุ าลดวงตะวนั วนั ท่ีและเวลา 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 เวลา น. 16:38 น. ผ้ถู ่ายภาพ นางสาวทศั นยี ์ ม่วงสุข ผ้สู ะท้อนภาพ นางสาวทัศนยี ์ มว่ งสุข สะทอ้ นภาพ โรงจอดรถรับส่งนักเรียนจะอยู่ตรงขา้ มกบั ประตทู างเข้าของโรงเรียน ซ่งึ มีทจ่ี อดรถเปน็ บริเวณ กว้างทาใหเ้ พยี งพอต่อการจอดรถทผ่ี ปู้ กครองเดินทางมารับสง่ บุตรหลาน

1.1.2 สภาพแวดล้อมภายในหอ้ งเรยี น การจัดสภาพแวดล้อมให้กับเด็กปฐมวัยมีความสาคัญอย่างย่ิง เพราะช่วยส่งเสริม พัฒนาการ ทั้งด้านรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา หากจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม มีบรรยากาศที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย ซ่ึงการจัดสภาพแวดล้อมให้กับเด็กปฐมวัยจาเป็น อย่างยิ่งที่จะต้องจัดให้เหมาะสม สอดคล้องกับวัยและธรรมชาติของเด็กปฐมวัย ควรคานึงถึงเรื่อง ตอ่ ไปนี้ 1. การจัดวางวัสดุควร จัดวัสดุ อุปกรณ์ ส่ือ เคร่ืองเล่น ครุภัณฑ์ ให้เหมาะสม สอดคล้องกับวัยและพัฒนาการ เพื่อให้เด็กสามารถใชห้ รือทากิจกรรมได้สะดวกด้วยตนเอง โดย วสั ดุ อุปกรณ์ สื่อ เครื่องเล่น และครุภัณฑ์ ที่จัดให้สาหรับเด็กปฐมวัยมีหลากหลาย เช่น โต๊ะ เก้าอ้ี ม้าน่ัง กระดานขายของ บอรด์ ติดผลงาน ตู้เก็บของ ท่ีแขวนถว้ ย ท่แี ขวนผ้าเช็ดหน้า ที่เกบ็ เคร่อื งนอน ห้องน้า หอ้ งส้วม ท่ลี ้างมอื ประตู หนา้ ต่าง สื่อ เครือ่ งเล่น เปน็ ต้น 2. วสั ดุ อุปกรณ์ ส่อื เครอื่ งเล่น ครภุ ณั ฑ์ ควรใหม้ ขี นาดเหมาะสมกับเด็กปฐมวัย 3. การจัดพ้ืนท่ีในห้องเรียนควรจัดให้เหมาะสม เลือกที่ตั้งครุภัณฑ์ อุปกรณ์ต่างๆ และมุมประสบการณ์ โดยคานงึ ถงึ - ทิศทางลมเหมาะสม และแสงสวา่ งเพียงพอต่อการทากิจกรรม - มีแสงแดดสอ่ งเหมาะสม ไมร่ บกวนสายตาเด็กขณะปฏิบตั กิ จิ กรรม - สรา้ งบรรยากาศใหร้ ม่ ร่ืน - ทกุ จดุ ของห้องควรใหม้ องเห็นได้โดยรอบ - จดั วาง/ตง้ั ครุภณั ฑ์ และอปุ กรณ์ ทสี่ ะดวกต่อการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม 4. สภาพแวดลอ้ มในหอ้ งควรมีความปลอดภัย โดย - พ้ืนห้องควรโล่ง กว้าง มีบริเวณนุ่ม มีบริเวณท่ีต้ังอุปกรณ์ สื่อ เคร่ือง เลน่ - ตรวจความเรียบร้อยของวัสดุ อุปกรณ์ ส่ือและเคร่ืองเล่นหากชารุดต้อง รีบซอ่ มแซมโดยเร็ว - กาหนดขอบเขตของมุมประสบการณใ์ ห้เด็กรู้ - หน้าตา่ ง ครภุ ัณฑต์ ่างๆ ไม่ควรทาด้วยกระจก - ดูแลบริเวณท่วั ไปใหป้ ลอดภยั จากสัตว์ แมลง พืช และสารเคมีทมี่ ีพษิ - ครุภณั ฑ์ โตะ๊ เกา้ อ้ี ไมค่ วรเปน็ มุมแหลมทเี่ ปน็ อันตราย

การจัดสภาพแวดลอ้ มภายในโรงเรยี นอนุบาลดวงตะวัน มดี ังนี้ - ลกั ษณะทางกายภาพของห้องเรยี นอนุบาล ภายในห้องเรียนชั้นอนุบาลมีพื้นท่ี ท่ีกว้างขวางเพียงพอต่อการทากิจกรรม ภายในห้อง มีประตูและหน้าต่างติดกับผนังห้องเปน็ กระจกบานเลอ่ื นติดมุ้งลวดท่ีสามารถป้องกันยงุ ได้ มีแสงสว่างเพียงพอต่อการเรียนของนักเรียน ภายในห้องเรียนจะตกแต่งไปด้วยป้ายนิเทศตั้งแต่เปิด ประตูเข้ามาจะมีป้ายชื่อสีท่ีเป็นภาษาอังกฤษ หลังห้องเรียนจะมีป้ายสระ หน้าห้องเรียนมีป้ายใน 1 สัปดาห์ มี 7 วัน มีบอร์ดเอาไวจ้ ัดในสปั ดาห์ท่ีเรยี นหน่วยตา่ งๆ และบริเวณประตหู ลงั ห้องจะมีปา้ ย ก-ฮ ซึ่งป้ายเหล่านี้ทาให้ห้องดูสวยงาม จะทาให้ภายในห้องเรียนมีบรรยากาศที่น่าเรียนมากข้ึน โต๊ะและ เกา้ อี้ของนกั เรียนมขี นาดท่ีเหมาะสมกับนักเรียน สาหรับการจดั มมุ ในห้องมคี วามเปน็ ระเบียบเรยี นร้อย ในช้ันอนุบาล 1 ส่วนมากนักเรียนจะนั่งเรียนกับพ้ืนเป็นรูปตัวยู อาจจะมีน่ังเรียนกับโต๊ะบ้างในบ้าง กิจกรรมแล้วแต่ความเหมาะสมของกิจกรรม ช้ันอนุบาล 2 จะนั่งเรียนโต๊ะยาว ที่มีความสูงท่ีเหมาะสม กบั นกั เรยี น ส่วนในชั้นชนั้ อนุบาล 3 เปน็ โต๊ะท่ใี หน้ ักเรยี นนั่งไดโ้ ต๊ะละหนงึ่ ท่ีน่ัง ซึ่งภายในห้องมีจานวน โตะ๊ ทพี่ อดกี ับนักเรียนทกุ คน - การจัดมุมตา่ งๆ ในห้องเรยี น ห้องเรียนจะแบ่งเป็นพื้นที่มุมเล่นสาหรับเด็ก เช่น มุมหนังสือและมุมเขียน มุมบล็อก มุมศิลปะ มุมบ้าน มุมของเล่น และมุมนิทรรศการ จัดให้มีพ้ืนท่ีอเนกประสงค์สาหรับทา กิจกรรมกลุ่มใหญ่ กิจกรรมกลุ่มย่อย และนอนพักผ่อน เพื่อให้นักเรียนได้มีการเรียนรู้จากมุมต่างๆ ภายในห้องเรยี น - การจัดป้ายนิเทศ เช่น ข่าวสารถึงผู้ปกครอง ป้ายนิเทศหน่วยการเรียน ฯลฯ การจัดป้ายนิเทศของอนุบาล 3 ห้องแรคคูน หน้าห้องจะเป็นการจัดป้าย นิเทศตามหน่วยการเรียนของแต่ละสัปดาห์ โดยจะเปล่ียนทุกๆ สัปดาห์ ของบนป้ายนิเทศหน่วยการ เรียนรู้เป็นป้ายใน 1 สัปดาห์มี 7 วัน ทั้งภาษาไทยและอังกฤษ ส่วนประตูหลังห้องจะมีป้าย ก – ฮ ติด อยูท่ ีฝ่ าผนัง ข้างหลงั ห้องเปน็ ป้ายสระ และหน้าประตหู ้องเรียนจะเปน็ ปา้ ยสีต่างๆ ภาษอังกฤษ - ความปลอดภยั ของสภาพแวดล้อมภายในหอ้ งเรยี น ฯลฯ สภาพแวดล้อมภายในห้องเรียน โต๊ะของนักเรียนจะเป็นไม้มีมุมโต๊ะที่เป็น ส่วนโค้งของโต๊ะทุกตัวจะไม่มีมุมแหลมขาโต๊ะมีท่ียางสีดาหุ้มสามารถเคล่ือนย้ายได้ เก้าอี้ของนักเรียน จะเป็นไมม้ มี มุ โตะ๊ ทีเ่ ปน็ ส่วนโคง้ ของโต๊ะทกุ ตัวจะไม่มีมุมแหลมขาเก้าอ้ีมยี างสีดาหุ้มสามารถเคลอ่ื นย้าย ได้ สาหรับในช่วงนี้มีโรคระบาดจึงทาให้ภายในห้องเรียนมีเซฟโซนที่ทาจากแผ่นอะคริลิคใสอยู่ในโซน

ข้างหน้าและข้างๆจะเป็นแผ่นพลาสติกใสโดยทุกโต๊ะของนักเรียนจะมีเซฟโซนให้กับนักเรียน ใน ห้องเรียนจะจัดมุมต่างๆ โดยการจัดชิดกับผนังของห้องทุกมุมเพ่ือให้เด็กได้มีพื้นที่ในการทากิจกรรม ช้ันวางของในมุมต่างๆจะต้องทาจากไม้ท้ังหมดและสมมารถเคลื่อนย้ายได้ ซ่ึงการจัดมุมต่างๆ ภายใน ห้องเรียนจะทาให้ห้องเรยี นมคี วามเปน็ ระเบียบเรยี บรอ้ ย

การสะทอ้ นภาพ การฝึกปฏิบัติวิชาชีพครู 1 (Practicum 1) ภาพท่ี 3 ชอ่ื ภาพ หอ้ งเรียนยามเช้า สถานที่ถ่ายภาพ หอ้ งเรยี นชั้นอนุบาล 3 โรงเรยี น อนบุ าลดวงตะวนั วนั ทแ่ี ละเวลา 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 เวลา น. 07:32 น. ผถู้ ่ายภาพ นางสาวทศั นยี ์ มว่ งสขุ ผู้สะท้อนภาพ นางสาวทัศนีย์ ม่วงสุข สะทอ้ นภาพ ภายในหอ้ งเรยี นของช้ันอนบุ าล 3 จะมจี านวนโต๊ะท่เี พยี งพอต่อนักเรยี นทุกคน มีแสงส่อง ผ่านหน้าตา่ งทาใหห้ ้องดสู วา่ งมีบรรยากาศท่นี า่ เรยี นมากยง่ิ ข้ึน พ้ืนหอ้ งสะอาด มีบอร์ดและป้ายนิเทศ ดา้ นหน้าห้องเรียน

การสะทอ้ นภาพ การฝึกปฏบิ ัติวชิ าชีพครู 1 (Practicum 1) ภาพที่ 4 ชื่อภาพ มมุ ของใช้ส่วนตวั สถานท่ถี ่ายภาพ ห้องเรยี นชั้นอนบุ าล 3 โรงเรยี น อนุบาลดวงตะวนั วนั ท่ีและเวลา 13 สงิ หาคม พ.ศ. 2563 เวลา น. 16:23 น. ผูถ้ ่ายภาพ นางสาวทัศนยี ์ มว่ งสขุ ผูส้ ะทอ้ นภาพ นางสาวทัศนีย์ มว่ งสขุ สะทอ้ นภาพ ภายในหอ้ งจะมชี น้ั วางของสว่ นตัวของนักเรียน เชน่ มีชอ่ งวางตะกร้าทีเ่ อาไวใ้ สผ่ ้ากนั เป้อื น และใส่นม มชี ่องกวา้ งๆเอาไว้วางที่นอนของนักเรียนแต่ละคน ซง่ึ มีจานวนท่เี พยี งพอเหมาะสมต่อ นกั เรียนท้งั ห้อง

การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในหอ้ งเรยี นกบั หลักสูตรสถานศกึ ษา สภาพแวดล้อมภายในห้องเรียนของโรงเรียนอนุบาลดวงตะวัน ภายในห้องเรียนจะมีอากาศท่ี สามารถถ่ายเทได้ตลอดเวลา เน่ืองจากมีหน้าต่างอยู่มากพอสมควร ทาให้มีลมพัดเข้ามาตลอดเวลา มี การจัดมุมต่างๆภายในห้องเรียนเช่น มุมหนังสือ ภายในมุมหนังสือจะมีหนังสือนิทานเรื่องต่างให้ นักเรียนสามารถเลือกหนังสือไปอ่านได้ตามที่นักเรียนสนใจและมีจานวนนิทานที่เพียงพอต่อนักเรียน มุมของเล่น คือมุมที่มีของเล่นให้กับนักเรียน ให้นักเรียนได้เล่นเพื่อพัฒนากล้ามเนื้อ มัดเล็ก พัฒนา สติปัญญา และใช้สายตาประสานสัมพันธ์กับมือ เม่ือนักเรียนเล่นเสร็จแล้วก็จะต้องเก็บของเล่นเข้าท่ี เดิม มุมช้ันวางของ คือมุมท่ีเก็บของใช่ส่วนตัวของนักเรียนทุกคน เป็นต้น ซึ่งมุมต่างๆจัดอยู่ชิดติดกับ ผนังซึ่งทาให้ห้องเรียนมีพื้นที่ ท่ีสามารถทากิจกรรมได้ มีพ้ืนที่อานวยความสะดวกสาหรับ เก็บแฟ้ม สะสมผลงานของนักเรียน มีพื้นที่สาหรับวางผลงานของนักเรียน มีป้ายนิเทศหน่วยการสอนของแต่ละ สัปดาห์ มโี ต๊ะและเกา้ อี้ที่เหมาะสาหรบั นักเรียน โดยโต๊ะของนกั เรียนจะมปี ้ายชื่อของนักเรียนแต่ละคน ตดิ อยู่ เป็นต้น 1.1.3 สภาพแวดลอ้ มภายนอกห้องเรียน การจัดสภาพแวดล้อมในห้องอื่นๆ เช่นห้องน้า สระว่ายน้า ห้องรับประทานอาหาร คือ การจัดหอ้ งพยาบาล ห้องสมดุ หอ้ งศนู ยก์ ารเรียน เปน็ ตน้ การจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาปฐมวัย มีความสาคัญต่อเด็ก เนอ่ื งจากธรรมชาติของเด็ก ในวัยนี้สนใจที่จะเรียนรู้ ค้นคว้า ทดลอง และต้องการสัมผัสกับสิ่งแวดล้อมรอบๆตัว ดังนั้น การ จัดเตรียมสิ่งแวดล้อมอย่างเหมาะสมตามความต้องการของเด็ก จึงมีความสาคัญท่ีเก่ียวข้องกับ พฤติกรรมและการเรียนรู้ของเด็ก เดก็ สามารถเรียนรู้จากการเล่นท่ีเป็นประสบการณต์ รงที่เกดิ จากการ รับรู้ด้วย ประสาทสัมผัสท้ังห้า จึงจาเป็นต้องจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพ และความต้องการ ของหลกั สตู ร เพอ่ื ส่งผลใหบ้ รรลจุ ดุ หมายในการพัฒนาเดก็ อาคารเรียน อาคารเรียนของโรงเรียนอนุบาลดวงตะวนั แบ่งเป็นอาคารระดบั ช้ันเตรียมอนุบาล ช้ันอนบุ าล1 และอาคารระดับช้นั อนบุ าล2 ชั้นอนบุ าล3 อาคารระดับช้ันเตรียมอนุบาลและอนบุ าล1 เป็นอาคารช้ัน เดียว ส่วนอาคารระดับชั้นอนุบาล2และอนุบาล3 จะเป็นอาคารสองชั้น อนุบาล2 จะอยู่ช้ันล่าง ส่วน อนุบาล3 จะอยู่ช้ันบน แบ่งออกเป็นช่วงช้ันละ 3 ห้อง อาคารเรียนจะมีร้ัวก้ันเพื่อความปลอดภัยของ เด็ก

หอ้ งสมุด หอ้ งสมดุ โรงเรียนอนุบาลดวงตะวัน มลี กั ษณะเหมือนบ้านไม้ มีบรรยากาศทอี่ บอนุ่ มีแสงสวา่ ง ส่องผ่านจากหน้าต่างทาให้ห้องสว่ างโดยไม่ต้องเปดิ ไฟ ภายในหอ้ งสมดุ มหี นงั สือเป็นจานวนมากเพ่ือให้ นักเรียนได้ศึกษาหาความรจู้ ากหนงั สือและหนังสือเพียงพอสาหรับนักเรียน ให้นักเรียนได้เลือกหนังสือ ตามความสนใจ สนามเด็กเล่น สนามเด็กเล่นโรงเรียนอนุบาลดวงตะวัน แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ในส่วนที่ 1 คือส่วนของเล่น สาหรับนักเรียนช้ันเตรียมอนุบาล ซึ่งสนามเด็กเล่นจะเป็นพลาสติกที่มีความแข็งแรง ของเล่นจะไม่มี ส่วนคมแม้แต่ส่วนเดียว ส่วนท่ี 2 คือสวนเครื่องเล่นสาหรับนักเรียนช้ันอนุบาล 1-3 ซ่ึงภายในสนมเด็ก เล่นจะมีเคร่ืองเล่นมากมาย ไม่ว่าจะเป็น จักรยาน สไลด์เดอร์ ชิงช้า ฯลฯ เพ่ือเป็นการส่งเสริม พัฒนาการของนกั เรยี น การตกแต่งพน้ื ท่โี ดยรวม การตกแต่งพ้ืนที่โดยรวมของโรงเรียนอนุบาลดวงตะวัน เป็นพื้นท่ีโล่งร่มลื่นดูแล้วสบายตา สบายใจ มีต้นไม้ มีอ่างล่างมอื และสบู่ไว้สาหรับให้นักเรยี นเอาไว้ล้างมือ เพื่อนักเรยี นได้ทาความสะอาดร่างกาย

การสะทอ้ นภาพ การฝกึ ปฏิบตั วิ ชิ าชีพครู 1 (Practicum 1) ภาพท่ี 5 ช่ือภาพ สนามเด็กเลน่ สถานทีถ่ า่ ยภาพ สนามเด็กเล่น โรงเรยี น อนุบาลดวงตะวัน วนั ทแี่ ละเวลา 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 เวลา 16:46 น. ผู้ถา่ ยภาพ นางสาวดาวประกาย พรมวิหาร ผสู้ ะทอ้ นภาพ นางสาวทศั นยี ์ มว่ งสขุ สะทอ้ น สนามเด็กเลน่ จะมีเครี่องเล่นพลาสติกทีไ่ ม่มคี วามคมของขอบของเลน่ หนาทนทานต่อการ เล่น และยังช่วยส่งเสริมพัฒนาการดา้ นตา่ งๆ ของนักเรยี นอีกดว้ ย

การสะท้อนภาพ การฝึกปฏบิ ตั วิ ิชาชพี ครู 1 (Practicum 1) ภาพท่ี 6 ช่ือภาพ พ้ืนทีภ่ ายในโรงเรียน สถานทถี่ ่ายภาพ โรงเรียนอนุบาลดวงตะวนั โรงเรยี น อนุบาลดวงตะวนั วันทแ่ี ละเวลา 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 เวลา 16:33 น. ผถู้ ่ายภาพ นางสาวทัศนีย์ ม่วงสขุ ผู้สะทอ้ นภาพ นางสาวทัศนีย์ ม่วงสขุ สะท้อน พืน้ ท่ีภายในโรงเรยี นเป็นพน้ื ที่โล่ง มพี ื้นทีก่ วา้ งเหมาะสาหรับทากิจกรรมตา่ งๆ มีตน้ ไมร่ ่มลืน่ อากาศ ถ่ายเท มเี ครื่องเล่นสนามให้นักเรยี นเอาไว้ไดเ้ ลน่

วเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายนอกห้องเรียนกับหลักสตู รสถานศกึ ษา สภาพแวดลอ้ มภายนอกห้องเรยี นของโรงเรียนอนบุ าลดวงตะวนั ภายนอกห้องเรยี นเป็นการ จดั สภาพแวดลอ้ มที่เอื้อให้เด็กเกิดการเรยี นรใู้ นหลายๆดา้ น มีสนามเดก็ เลน่ ท่ีสง่ เสรมิ พัฒนาการทางด้านตา่ งๆ ของนักเรียน คือด้านร่างกาย โดยนักเรียนได้พัฒนากลา้ มเนื้อมัดใหญ่ กล้ามเนื้อมัดเล็ก ดา้ นสงั คม เด็กจะได้มี ปฏิสัมพนั ธ์กบั เพ่ือนทเ่ี ล่นเครื่องเลน่ สนาม ดา้ นอารมณ์ นักเรยี นจะมีอารมณ์ที่ดี ยม้ิ แย้ม แจม่ ใส รา่ เรงิ สดใส ด้านสตปิ ญั ญา นกั เรยี นไดร้ ู้จักแก้ไขปญั หาได้ด้วยตัวเอง เป็นต้น มตี น้ ไม้ท่ีใหค้ วามร่มเยน็ อยรู่ อบๆบริเวณ โรงเรียน มีพื้นท่ีโลง่ ๆ ไว้สาหรบั ทากิจกรรมตา่ งๆได้ เคร่ืองเล่นสนามเป็นพ้ืนยางลาดเพ่ือปอ้ งกันการเกิด อบุ ตั เิ หตขุ องนักเรียน พนื้ ลาดยางไม่ได้เป็นพื้นเรยี บๆแต่มีลวดลายทีส่ วยงามเพื่อดึงดดู ความสนใจของนกั เรยี น 1.2 หลักสูตรสถานศกึ ษา 1.2.1 ปรัชญา วิสยั ทศั น์ อตั ลกั ษณ์ เอกลกั ษณ์ ปณิธานโรงเรยี นอนบุ าลดวงตะวัน แข็งแรงสดใส ใฝใ่ จเรยี นรู้ เชดิ ชูคุณธรรม กล้าทากล้าคิด มีจติ สาธารณะ ปรชั ญา การศกึ ษา คอื การพฒั นาทกั ษะทางปัญญา และปลกู ฝังคณุ ธรรม วสิ ยั ทศั น์ โรงเรียนอนุบาลดวงตะวัน มุ่งจัดการศึกษาเพ่ือส่งเสริมให้เด็กทุกคนมีเจตคติท่ีดีต่อการมา โรงเรียน รักการเรียนรู้ ควบคู่ไปกับการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม พัฒนาแหล่งการเรียนรู้ของผู้เรียนท่ี หลากหลาย เป็นศูนย์กลางความร่วมมือระหว่างครู ผู้ปกครองและชุมชน เพ่ือให้ผู้เรียนอยู่ในสังคมได้อย่างมี ความสุข อตั ลักษณ์นกั เรียน เรยี นร้อู ยา่ งมคี วามสขุ ควบคคู่ ุณธรรม เอกลกั ษณ์ของสถานศกึ ษา โรงเรยี นแหง่ ความสุข แนวความคดิ (Basic Concept) โรงเรียนอนุบาลดวงตะวัน เชื่อว่า เด็กทุกคนเกิดมาพร้อมกับศักยภาพ ฐานะของโรงเรียนครู และผู้ปกครอง เรามีบทบาทหนา้ ที่ส่งเสริมให้เด็กๆได้คน้ พบและพฒั นาศักยภาพตนเองอย่างเต็มศักยภาพ โดย คานงึ วา่ เดก็ ทกุ คนมีลักษณะเฉพาะตัว (มคี วามสนใจพัฒนาการและศกั ยภาพท่แี ตกต่างกนั )

คติพจน์ ทอแสงแหง่ ปญั ญา พัฒนาคุณธรรม สปี ระจ้าโรงเรยี น สีชมพู หมายถงึ โรงเรยี นแห่งความสขุ สงบ ที่เตม็ ไปดว้ ยพลังที่แจม่ ใส สฟี า้ หมายถึงความสขุ ความสงบ ความขยันขนั แข็ง ตราประจา้ โรงเรยี น โลโกโ้ รงเรยี น รปู พระอาทติ ยบ์ นทุ่งหญ้า พระอาทิตย์ หมายถึง เด็กๆพัฒนาตนเองท้ังดา้ นปญั ญาและคณุ อย่างเต็มที่ ท่งุ หญา้ หมายถึง ความสงบและธรรมชาติ

สปั ดาห์ 1.2.2 แผนระยะยาว/หน่วยการเรยี นร/ู้ กา้ หนดการสอน หมายเหตุ ที่ กา้ หนดการสอน ชน้ั อนุบาลปที ่ี 1 6-7 ชดเชยอาสาฬหบชู า เข้าพรรษา 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 2 12 วนั แม่แห่งชาติ 3 วันท่ี ชอื่ หน่วย 18 วนั วิทยาศาสตรโ์ ลก 4 5 8-10 กรกฎาคม 2563 New normal (3 วนั ) 23 วนั ปิยมหาราช 6 13-17 กรกฎาคม 2563 หน่วยที่ 1 มาโรงเรยี นกนั เถอะ 7 20-24 กรกฎาคม 2563 หน่วยท่ี 2 หอ้ งเรยี นของฉัน 8 27-31 กรกฎาคม 2563 หน่วยที่ 3 ร่างกายของเรา 9 3-7 สิงหาคม 2563 หน่วยท่ี 4 ประสาทสัมผัส 10 10-14 สงิ หาคม 2563 หนว่ ยท่ี 5 หนรู ักคุณแม่ 11 17-21 สิงหาคม 2563 หนว่ ยท่ี 6 วิทยาศาสตร์แสนสนุก 12 24-28 สงิ หาคม 2563 หน่วยที่ 7 อาหารดมี ีประโยชน์ 13 31-4 กันยายน 2563 หน่วยที่ 8 ปลอดภัยไว้กอ่ น 14 7-11 กนั ยายน 2563 หน่วยที่ 9 ของเล่นของใช้ 15 14-18 กนั ยายน 2563 หนว่ ยท่ี 10 การเดนิ ทาง 16 21-25 กนั ยายน 2563 หนว่ ยท่ี 11 เทคโนโลยกี ารส่ือสาร 17 28-2 ตุลาคม 2563 หนว่ ยที่ 12 บา้ นของเรา 18 5-9 ตลุ าคม 2563 หนว่ ยท่ี 13 ครอบครัวของฉัน 19 12-16 ตลุ าคม 2563 หนว่ ยที่ 14 ทรพั ยากรธรรมชาติ (นา้ ดนิ หนิ ) 19-22 ตุลาคม 2563 หน่วยที่ 15 3 ฤดู 26-30 ตลุ าคม 2563 หน่วยที่ 16 ทอ้ งฟา้ บอกเวลา 2-6 พฤศจกิ ายน 2563 หน่วยที่ 17 สัตว์เล้ียงแสนนา่ รัก 9-13 พฤศจกิ ายน 2563 ทบทวนเก็บผลงาน

ก้าหนดการสอน ชนั้ อนบุ าลปที ี่ 2 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563 สปั ดาห์ วันที่ ชื่อหน่วย หมายเหตุ ที่ 6-7 ชดเชยอาสาฬหบูชา เขา้ พรรษา 1 8-10 กรกฎาคม 2563 New normal (3 วนั ) 12 วันแม่แหง่ ชาติ 2 13-17 กรกฎาคม 2563 หน่วยท่ี 1 มาโรงเรียนกันเถอะ 18 วนั วิทยาศาสตร์โลก 3 20-24 กรกฎาคม 2563 หนว่ ยท่ี 2 ร่างกายของฉนั นน้ั สาคัญ 4 27-31 กรกฎาคม 2563 หน่วยที่ 3 สุขนิสยั ทีด่ ี 23 วนั ปิยมหาราช 5 3-7 สิงหาคม 2563 หนว่ ยท่ี 4 อาหารดีมคี ุณคา่ 6 10-14 สงิ หาคม 2563 หนว่ ยท่ี 5 วนั แม่แห่งชาติ 7 17-21 สิงหาคม 2563 หน่วยท่ี 6 นักคดิ ตวั น้อย (สัปดาหว์ ทิ ยาศาสตร)์ 8 24-28 สงิ หาคม 2563 หนว่ ยที่ 7 ประสาทสัมผัสทงั้ 5 9 31-4 กันยายน 2563 หน่วยท่ี 8 ทาอยา่ งไรให้ตัวเราความ ปลอดภัย 10 7-11 กันยายน 2563 หน่วยที่ 9 พลงั งานรอบตัว 11 14-18 กันยายน 2563 หนว่ ยที่ 10 วทิ ยาศาสตรร์ อบรู้ 12 21-25 กนั ยายน 2563 หน่วยท่ี 11 การเดนิ ทางแสนสนุก 13 28-2 ตุลาคม 2563 หน่วยท่ี 12 เทคโนโลยีเพื่อการส่อื สาร 14 5-9 ตุลาคม 2563 หนว่ ยท่ี 13 บ้านของฉัน 15 12-16 ตลุ าคม 2563 หนว่ ยท่ี 14 ครอบครวั อบอุ่น 16 19-22 ตุลาคม 2563 หน่วยที่ 15 ภยั ธรรมชาตทิ ่ีควรรู้ 17 26-30 ตุลาคม 2563 หน่วยที่ 16 นักวทิ ยาศาสตรน์ ้อย 18 2-6 พฤศจิกายน 2563 หนว่ ยที่ 17 สารวจทอ้ งฟา้ 19 9-13 พฤศจิกายน 2563 หนว่ ยท่ี 18 สตั วโ์ ลกน่ารัก

ก้าหนดการสอน ช้นั อนุบาลปที ่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563 สัปดาห์ วนั ที่ ชอื่ หน่วย หมายเหตุ ท่ี 6-7 ชดเชยอาสาฬหบูชา เข้าพรรษา 1 8-10 กรกฎาคม 2563 New normal (3 วัน) 12 วนั แม่แห่งชาติ 2 13-17 กรกฎาคม 2563 หน่วยที่ 1 มาโรงเรยี นกนั เถอะ (3 วัน) 18 วนั วิทยาศาสตรโ์ ลก 3 20-24 กรกฎาคม 2563 หน่วยที่ 2 สารวจตวั เรา 4 27-31 กรกฎาคม 2563 หนว่ ยท่ี 3 เด็กรักษโ์ ลก 23 วนั ปยิ มหาราช 5 3-7 สิงหาคม 2563 หน่วยที่ 4 อาหารหลัก 5 หมู่ 6 10-14 สิงหาคม 2563 หน่วยท่ี 5 สายใยของแม่ 7 17-21 สิงหาคม 2563 หนว่ ยท่ี 6 ทดลองคดิ ประดิษฐ์ของเล่น (สปั ดาห์วทิ ยาศาสตร)์ 8 24-28 สิงหาคม 2563 หนว่ ยที่ 7 ประสาทสมั ผัสทงั้ 5 พาสนกุ 9 31-4 กนั ยายน 2563 หน่วยที่ 8 ความปลอดภัยใกล้ตัว 10 7-11 กนั ยายน 2563 หน่วยที่ 9 รอบรูพ้ ลงั งาน 11 14-18 กันยายน 2563 หนว่ ยที่ 10 อากาศรอบตัว 12 21-25 กนั ยายน 2563 หนว่ ยที่ 11 การคมนาคมทท่ี ันสมยั 13 28-2 ตลุ าคม 2563 หนว่ ยท่ี 12 เทคโนโลยีเพอ่ื การส่ือสาร 14 5-9 ตลุ าคม 2563 หนว่ ยท่ี 13 บ้านของหนู 15 12-16 ตุลาคม 2563 หน่วยที่ 14 ครอบครัวของฉัน 16 19-22 ตุลาคม 2563 หน่วยท่ี 15 ปลอดภัยจากธรรมชาติ 17 26-30 ตุลาคม 2563 หน่วยที่ 16 คณุ ธรรมสรา้ งได้ในใจเรา 18 2-6 พฤศจกิ ายน 2563 หนว่ ยท่ี 17 ปรากฎการณ์บนท้องฟ้า 19 c หน่วยที่ 18 สังเกตชวี ิตสตั ว์โลก

วัน 08.30 08.50 09.00 09.10 ตารางการจัดประส 08.50 09.00 09.10 09.40 โรงเรียนอนบุ าลดวงตะ จันทร์ อ่านไทย ชั้นอนบุ าลปีท 09.40 10 องั คาร 10.20 11 หลกั ภาษา กจิ กรรมวงกลม เสริมประสบการณ์ กิจกรรม ดื่มนม – รบั ประทานอาหารว่าง เกมการศึกษา เคารพธงชาติ สวดมนต์ กายบริหาร ดนตรี กจิ กรรม พธุ พลศึกษา พลศึกษา เสรมิ ปร พฤหสั บดี เกมกา ศกุ ร์ สนุกคิดกบั เสริมประสบการณ์ กิจกรรม วทิ ยาศาสตร์ เกมการศกึ ษา กิจกรรม อ่านไทย เสริมประสบการณ์ เกมการศกึ ษา

สบการณ์ประจา้ วนั 11.40 12.20 13.40 13.50 14.30 ะวัน ปีการศกึ ษา 2563 12.20 13.40 13.50 14.30 ท่ี 2 หอ้ งสงิ โต 0.20 11.00 1.00 11.40 มสรา้ งสรรค์ English รบั ประทานนม อาหารว่างบ่าย เคลอื่ นไหวและ หอ้ งสมดุ ลา้ งหน้า แปรงฟนั เปล่ียนชดุ นอน นิทานก่อนนอน นอนหลบั พักผอ่ น จงั หวะมมุ เสรี มสรา้ งสรรค์ English กิจกรรม รับประทานอาหารว่าง เคลอ่ื นไหวและ กลางแจ้ง ระสบการณ์ English จังหวะมุมเสรี ารศกึ ษา กจิ กรรม มสรา้ งสรรค์ English เคลอ่ื นไหวและ กลางแจง้ มสรา้ งสรรค์ English จังหวะมุมเสรี กจิ กรรม เคล่อื นไหวและ กลางแจง้ จังหวะมุมเสรี กจิ กรรม เคลอ่ื นไหวและ กลางแจ้ง จงั หวะมมุ เสรี

วัน 08.30 08.50 09.00 09.10 ตารางการจดั ประส 08.50 09.00 09.10 09.40 โรงเรยี นอนบุ าลดวงตะ จนั ทร์ อา่ นไทย ช้นั อนุบาลปที 09.40 10 10.20 11 เสริมประสบการณ์ En เกมการศึกษา องั คาร เสริมประสบการณ์ En หลักภาษา เกมการศึกษา กจิ กรรมวงกลม พุธ ดื่มนม – รบั ประทานอาหารว่าง เสรมิ ประสบการณ์ En อา่ นไทยเคารพธงชาติ สวดมนต์ กายบริหารเกมการศึกษา พฤหสั บดี หลักภาษา เสรมิ ประสบการณ์ En เกมการศกึ ษา ศกุ ร์ พลศกึ ษา En พลศกึ ษา (ว่ายนา้ B) (ว่ายนา้ A)

สบการณป์ ระจา้ วัน 11.40 12.20 13.40 13.50 14.30 ะวัน ปีการศึกษา 2563 12.20 13.40 13.50 14.30 ที่ 2 หอ้ งฮิปโป กจิ กรรม กลางแจง้ 0.20 11.00 1.00 11.40 กิจกรรม กลางแจง้ nglish กจิ กรรม รบั ประทานนม อาหารว่างบ่าย เคลื่อนไหวและ สร้างสรรค์ ลา้ งหน้า แปรงฟนั เปล่ียนชดุ นอน นิทานก่อนนอน นอนหลบั พักผอ่ น จังหวะมมุ เสรี nglish ดนตรี รับประทานอาหารว่าง ห้องสมุด nglish กิจกรรม เคล่อื นไหวและ กจิ กรรม สรา้ งสรรค์ จังหวะมมุ เสรี กลางแจ้ง nglish สนกุ คดิ กบั เคลื่อนไหวและ กิจกรรม วิทยาศาสตร์ จังหวะมมุ เสรี กลางแจง้ nglish กิจกรรม เคล่อื นไหวและ กิจกรรม สร้างสรรค์ จังหวะมุมเสรี กลางแจ้ง

วนั 08.30 08.50 09.00 09.10 ตารางการจัดประส 08.50 09.00 09.10 09.40 โรงเรยี นอนุบาลดวงตะ จันทร์ อา่ นไทย ชัน้ อนุบาลปที ่ี 09.40 10 10.20 11 เคลือ่ นไหวและจงั หวะ En อังคาร กจิ กรรมวงกลม หลกั ภาษา เคลอ่ื นไหวและจงั หวะ En ดื่มนม – รบั ประทานอาหารว่าง พธุ เคารพธงชาติ สวดมนต์ กายบริหาร อา่ นไทย ดนตรี En พฤหัสบดี หลกั ภาษา เคลอ่ื นไหวและจงั หวะ En ศกุ ร์ อ่านไทย เคลื่อนไหวและจังหวะ En

สบการณ์ประจ้าวนั ะวนั ปีการศึกษา 2563 3 หอ้ งม้าลาย 0.20 11.00 11.40 12.10 12.50 13.50 14.30 1.00 11.40 12.10 12.50 13.30 14.30 nglish เสรมิ กจิ กรรม มุมเสรเี สริม กิจกรรม ประสบการณ์ สรา้ งสรรค์ ภาษาไทย กลางแจง้ เกมการศกึ ษา nglish สนุกคิดกับ กิจกรรม มมุ เสรีเสริม กิจกรรม วทิ ยาศาสตร์ สร้างสรรค์ คณิตศาสตร์ กลางแจ้ง รับประทานอาหารวา่ งบา่ ย nglish พลศึกษา พลศกึ ษา รบั ประทานอาหารกลางวัน/นอนพักผ่อน มมุ เสรเี สริม กิจกรรม สมดุ ในเวลา กลางแจ้ง nglish เสรมิ กจิ กรรม ประสบการณ์ สรา้ งสรรค์ ห้องสมดุ กจิ กรรม เกมการศกึ ษา กลางแจง้ มมุ เสรีเสริม nglish เสรมิ กจิ กรรม เชาวป์ ญั ญา กิจกรรม ประสบการณ์ สรา้ งสรรค์ กลางแจ้ง เกมการศึกษา

วัน 08.30 08.50 09.00 09.10 ตารางการจัดประส 08.50 09.00 09.10 09.40 โรงเรยี นอนุบาลดวงตะ หลกั ภาษา จนั ทร์ ชั้นอนุบาลปที ี่ สนกุ คดิ กับ อังคาร วิทยาศาสตร์ 09.40 10 10.20 11 พธุ ดนตรี เคลือ่ นไหวและจังหวะ เสรมิ ปร พฤหัสบดี หลักภาษา เกมกา ศุกร์ กจิ กรรมวงกลม อา่ นไทย พลศกึ ษา พล ดื่มนม – รบั ประทานอาหารว่าง เคารพธงชาติ สวดมนต์ กายบริหาร เคล่อื นไหวและจงั หวะ เสริมปร เกมกา เคลื่อนไหวและจงั หวะ เสรมิ ปร เคลอื่ นไหวและจังหวะ เกมกา เสริมปร เกมกา

สบการณป์ ระจา้ วนั 11.40 12.10 12.50 13.50 14.30 ะวนั ปีการศึกษา 2563 12.10 12.50 13.30 14.30 3 หอ้ งแรคคนู 0.20 11.00 1.00 11.40 ระสบการณ์ กจิ กรรม English รับประทานอาหารวา่ งบา่ ยมมุ เสรเี สริม กิจกรรม ารศกึ ษา สร้างสรรค์ English รบั ประทานอาหารกลางวัน/นอนพักผ่อน ภาษาไทย กลางแจง้ ลศกึ ษา เสรมิ ห้องสมุด กจิ กรรม ประสบการณ์ กลางแจ้ง เกมการศกึ ษา มมุ เสรีเสริม สมุดในเวลา กิจกรรม ระสบการณ์ กจิ กรรม English กลางแจ้ง ารศึกษา สร้างสรรค์ English มมุ เสรเี สริม English คณิตศาสตร์ กิจกรรม ระสบการณ์ กจิ กรรม กลางแจง้ ารศกึ ษา สรา้ งสรรค์ มุมเสรีเสรมิ กจิ กรรม ระสบการณ์ เชาว์ปัญญา กลางแจ้ง ารศกึ ษา กจิ กรรม สรา้ งสรรค์

1.2.4 การจัดประสบการณ์ / การวัดและการประเมนิ ผล - การจดั ประสบการณ์ การจัดประสบการณ์สาหรับเดก็ ปฐมวัย จะไม่จัดเป็นรายวิชาแต่จัดในรูปของกิจกรรมบูรณาการผ่าน การเล่น เพ่ือให้เด็กเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง เกิดความรู้ ทักษะ คุณธรรม จริยธรรม รวมท้ังเกิดการ พัฒนาท้งั ทางดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คม และสติปัญญา - หลกั การจัดประสบการณ์ 1. จัดประสบการณ์การเล่นและการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาเด็กโดยองค์รวมอยา่ งต่อเนื่อง 2. เน้นเด็กเป็นสาคัญ สนองความต้องการ ความสนใจ ความแตกต่างระหว่างบุคคลและบริบทของ สังคมทีเ่ ด็กอาศยั อยู่ 3. จัดใหเ้ ดก็ ได้รบั การพัฒนาโดยใหค้ วามสาคญั กบั กระบวนการและผลผลติ 4. จัดการประเมินพัฒนาการให้เป็นกระบวนการอย่างต่อเน่ือง และเป็นส่วนหน่ึงของการจัด ประสบการณ์ 5. ใหผ้ ้ปู กครองและชุมชนมสี ว่ นรว่ มในการพัฒนาเด็ก แนวทางการจัดประสบการณ์หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยของทางโรงเรียนอนุบาลดวงตะวัน ได้ ก้าหนดแนวทางการจัดประสบการณไ์ วด้ ังน้ี 1. จัดประสบการณ์ให้สอดคล้องกับติดต่อวิทยาพัฒนาการคือเหมาะสมกับอายุวุฒิภาวะ และระดับ พฒั นาการเพอ่ื ใหเ้ ด็กทกุ คนได้พัฒนาเตม็ ศกั ยภาพ 2. จัดประสบการณ์ให้สอดคล้องกับลักษณะการเรียนรู้ของเด็กวัยน้คี ือเด็กได้ลงมือ กระทาเรียนรผู้ า่ น ประสาทสัมผสั ทั้ง 5 ไดเ้ คล่อื นไหวสารวจเลน่ สงั เกตสืบค้นทดลอง และคิดแก้ปญั หาด้วยตนเอง 3. จดั ประสบการณ์ในรปู แบบบรู ณาการคือเดือนอาการทางทกั ษะและสาระการเรียนรู้ 4. จัดประสบการณ์ให้เด็กได้ริเร่ิมคิดวางแผนตัดสินใจลงมือกระทาและนาเสนอความ คิดโดยผู้สอน เป็นผู้สนบั สนุนและอานวยความสะดวกและเรียนร้รู ว่ มกับเดก็ 5. จัดประสบการณ์ให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับเด็กอ่ืนกับผู้ใหญ่ภายใต้สภาพแวดล้อม ท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ ในบรรยากาศท่ีอบอุ่นมีความสุขและเรียนรกู้ ารทากจิ กรรมแบบร่วมมือในลกั ษณะ ต่างๆกัน 6. จัดประสบการณใ์ หเ้ ด็กมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อและแหล่งการเรียนรู้ท่หี ลากหลาย และอยู่ในวถิ ีชวี ิตของ เด็ก 7. จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมลักษณะนิสัยท่ีดีและพัฒนาทักษะการใช้ชีวิตประจาวัน ตลอดจน สอดแทรกคณุ ธรรมจริยธรรมใหเ้ ปน็ สว่ นหนงึ่ ของการจัดประสบการณ์การเรียน รู้อย่างตอ่ เนอ่ื ง 8. จัดประสบการณ์ทั้งในลักษณะท่ีมีการวางแผนไว้ล่วงหน้า และแผนท่ีเกิดข้ึนในสภาพจริงโดยไม่ได้ คาดการณ์ไว้

9. ให้ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดประสบการณ์ทางการวางแผนการสนับสนุน สื่อการ สอนการเข้าร่วมกิจกรรมและการประเมนิ พัฒนาการ 10. จัดทาสารนิทัศน์ด้วยการรวบรวมข้อมูลเกย่ี วกับพฒั นาการและการเรียนรขู้ องเด็ก เป็นรายบคุ คล นามาใสก่ รองและใชใ้ หเ้ ปน็ ประโยชน์ตอ่ พัฒนาการเด็กและการวิจยั ชั้นเรียน การวดั และการประเมินพัฒนาการของเด็ก 1. ประเมนิ พฒั นาการของเด็กครบทกุ ด้านและนาผลมาพัฒนาเด็ก 2. ประเมินเป็นรายบคุ คลอยา่ งสมา่ เสมอตอ่ เน่ืองตลอดปี 3. สภาพการประเมนิ ควรมลี กั ษณะเชน่ เดียวกบั การปฏิบตั ิกิจกรรมประจาวนั 4. ประเมิน อยา่ งเปน็ ระบบมกี ารวางแผนเลอื กใชเ้ ครื่องมือและจดบันทึกไวเ้ ป็นหลักฐาน 5. ประเมินตามสภาพจริงด้วยวิธีหลากหลายเหมาะกับเดก็ รวมทั้งใช้แหลง่ ขอ้ มลู หลาก หลายด้านไม่ใช่ การทดสอบ วิธกี ารและเครอื่ งมือที่ใชใ้ นการประเมนิ พัฒนาการเด็ก 1. การสงั เกตและการบนั ทึกการสังเกตมอี ยู่ 2 แบบคอื การสงั เกตอยา่ งเป็นระบบไดแ้ ก่การสงั เกตอย่าง มจี ุดหมายท่แี นน่ อนตาม แผนท่วี างไวแ้ ละอีกแบบหนึ่งคือการสังเกตอยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการเป็นการสังเกตให้ เหน็ ในขณะที่เด็กทากิจกรรมประจาวันและเกิดพฤติกรรมที่ไม่คาดคิดว่าจะเกิด ข้ึนและผู้สอนจดบันทึกไว้การ สงั เกตและบนั ทกึ พัฒนาการเด็กสามารถใช้แบบง่ายๆ เช่นแบบบนั ทกึ พฤติกรรมแบบบนั ทกึ รายวัน 2. การสนทนาสามารถใช้การสนทนาได้ทาเป็นรายกลุ่มและรายบุคคลเพื่อประเมินความ สามารถใน การแสดงความคิดเห็นและพัฒนาการด้านการใช้ภาษาของเด็กและบันทึกผลการ สนทนาลงในแบบบันทึก พฤตกิ รรมหรอื บนั ทกึ รายวนั 3. การสัมภาษณ์ด้วยวิธีพูดคุยกับเด็กเป็นรายบุคคลควรสารในสภาวะแวดล้อมที่เหมาะ สมเพื่อไม่ให้ เกิดความเครียดวิตกกังวล โรงเรียนอนุบาลดวงตะวันจัดให้มีการประเมินแบบอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอครอบ คลุมทุกด้าน ประเมินอย่างมีระบบมีการวางแผนใช้วิธีการและเครื่องมือการ ประเมินอย่างหลากหลายได้แก่การสังเกตการ บันทึกการสนทนาการสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลจากผลงานของเด็กแล้วนาผลการประเมินพัฒนาการแจ้ง ให้ผู้ ปกครองทราบเปน็ ระยะระยะอย่างต่อเน่ืองการประเมินพฒั นาการได้ดาเนนิ การดังตอ่ ไปนี้ กอ่ นเรียน โรงเรยี นไดจ้ ัดทาข้อมลู ในการท่ีจะจัดแบง่ กลมุ่ แบบตามความสามารถโดยการ สัมภาษณผ์ ู้ปกครอง กรอกเอกสารขอ้ มลู เช่น - แบบประวตั ินกั เรียน - แบบข้อมลู พฤติกรรม เพ่มิ เตมิ

ระหวา่ งเรยี น โรงเรยี นไดจ้ ดั หาเครื่องมือประเมินพัฒนาการเด็กเพ่อื รวบรวมพฤติกรรมของเด็กอย่างต่อเนอ่ื ง โดย การสงั เกตพฤติกรรมต่างๆของเด็กและบันทกึ ลงใน - แบบประเมนิ เวลามาเรยี นของเดก็ - แบบบันทึกพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล - แบบบันทึกหลงั การสอนแบบประเมนิ พัฒนาการการจดั กจิ กรรม 6 กิจกรรมหลกั - แบบประเมนิ พฒั นาการกจิ กรรมสรา้ งสรรค์ หลงั เรยี น โรงเรียนได้นาการประเมินพัฒนาการระหว่างเรียน มาสรุปผลภาคเรียนของแตล่ ะปีโดยบนั ทกึ ผลใน แบบเอกสารของสานักคณะกรรมการการ ศึกษาเอกชนและรายงานผลให้ผู้ปกครองทราบพฤติกรรมของบุตร หลานและเกบ็ ไว้เปน็ หลกั ฐานของโรงเรยี นดงั น้ี - บัญชเี รียกชอื่ และสมดุ บันทึกพัฒนาการนักเรียน - สมุด บนั ทึกประจาวนั สานสัมพันธโ์ รงเรยี นถึงบา้ น - บนั ทึกลกู รักประจาสปั ดาห์ - สมดุ รายงานประจาตัวนักเรียน - สมุดรายงานสขุ ภาพประจาตัวนกั เรียน 1.2.5 การวิเคราะหค์ วามสอดคล้องของหลักสูตรการศึกษากับการปฏิบัติ โรงเรียนอนุบาลดวงได้มีการจัดการเรียนการสอนยึดหลักสูตรการปฐมศึกษาปฐมวัย ปี 2546 และ หลัก Developmentally Appropriate Practices (DAP) ของ National Association for the Education of Young Children (NAEYC) ประเทศสหรัฐอเมริกา ซ่ึงการเรียนการสอนอยู่บนพ้ืนฐานของหลักการ 3 ข้อ คือ เหมาะสมกับวัย (Age Appropriateness), เหมาะสมกับตัวบุคคล (Individual Appropriateness) และ เหมาะสมกับสภาพท้องถ่ินและวัฒนธรรม (Culture Appropriateness) นอกจากน้ันยังจัดการเรียนการสอน จะเน้นให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism Approach) ผ่าน 5 แนวทางได้แก่ การลงมือ ทา (Learning by doing or First-hand experience), การเรียนรู้จากโครงการ (Project Appraoch ), การ เรียนเล่นอย่างมีความสุข (Learning through play), การเรียนรู้ผ่านกิจกรรมเสรีท่ีเด็ก ๆ เป็นผู้เลือกเอง (Learning center) และ การจัดกิจกรรมท่ีส่งเสริมการพัฒนาความสามารถที่หลากหลายของผู้เรียน (พหุ ปัญญา ภาษาและการสื่อสาร, ดนตรีและจังหวะ, ร่างกายและการเคล่ือนไหว, มิติสัมพันธ์และการจินตภาพ, ตรรกะและคณิตศาสตร์, การเข้าใจตนเอง, มนุษย์สัมพันธ์และการเข้าใจผู้อื่น, การเข้าใจธรรมชาติ) เพ่ือให้ ผู้เรียนไดร้ ับการพัฒนากระบวนการเรยี นรู้ ครบท้งั 4 ด้าน ดา้ นรา่ งกาย ด้านอารมณ-์ จติ ใจ ดา้ นสงั คม และด้าน

สติปัญญา ซ่ึงสิ่งเหล่านี้จะทาให้เด็กมีความสมบูรณ์แข็งแรงท้ังทางร่างกาย จิตใจ มีคุณธรรม จริยธรรมท่ีดีงาม เหมาะสมกับวยั 1.3 งานบริหารของโรงเรยี น 1.3.1 โครงสรา้ งบริหาร ผรู้ ับใบอนญุ าตจดั ตั้งโรงเรียน ผู้ทรงคณุ วุฒแิ ละที่ปรกึ ษาอาวุโส คณะกรรมการบริหารโรงเรยี น ผ้อู านวยการโรงเรยี น รองผอู้ านวยการโรงเรียน ผู้จดั การทางโรงเรียน ฝา่ ยวชิ าการ ฝ่ายงบประมาณ ฝ่ายบรหิ ารบุคคล ฝา่ ยบรหิ ารงานทว่ั ไป และกจิ กรรมพเิ ศษ และกจิ การนกั เรยี น คุณครปู ริญญา วรรณวงศ์ 1.งานดแู ลหลลักสูตรและ คณุ ครอู าภากร ค้าเคน คณุ ครูอัจฉราภรณ์ ไทรเล็กทิม คุณครปู ระภสั สร วิชยั ยา งานวชิ าการของสถานศกึ ษา 1.งานการวางแผนงาน 1.งานบคุ คล 1.งานตอ้ นรับผู้ปกครอง 2.งานทะเบยี นและวัดผล ดา้ นงบฯ 2.งานพัฒนาบุคคล และรับสมคั รนกั เรยี น 3.งานวิจัยในช้ันเรียน 2.งานการเงนิ และการ 3.งานสวสั ดกิ ารบุคลากร 2.งานสารบรรณเอกสาร 4.งานพัฒนาแหล่งการ บัญชี 4.งานกิจกรรมกฬี าสี การพมิ พ์ เรียนรู้ 3.งานพัสดแุ ละครุภณั ฑ์ 5.งานกจิ กรรมการแสดง 3.งานหนงั สอื วารสารและ 5.งานพัฒนาสือ่ และ 4.งานสวนพฤกษศาสตร์ 6.งานสุขภาพนกั เรียนและ สงิ่ พิมพ์ เทคโนโลยีทางการศึกษา และแปลงเกษตร บุคลากร 4.งานอาคารนอกสถานที่ 6.งานเทคนิคการสอน 5.งานสระนา้ 5.งานยานพาหนะ 7.งานแนะแนวการศึกษา 6.งานหอ้ งสมุด 6.งานเทคโนโลยแี ละข้อมูล 8.งานฝึกประสบการณ์ 7.งานกิจกรรมพิเศษ สารสนเทศเพ่ือการศึกษา วิชาชีพ นอกเวลาเรยี น 7.งานสวสั ดิการนกั เรียน 8.งานพฒั นาระบบ ประกันคุณภาพภายใน สถานศกึ ษา

1.3.2 คณะกรรมการบริหารสถานศกึ ษา หรือคณะกรรมการโรงเรยี น คณะกรรมการอา้ นวยการ 1. นายดลศักด์ิ ไทรเลก็ ทิม ประธานคณะกรรมการบรหิ ารสถานศึกษา 2. คุณอัจฉราภรณ์ ไทรเล็กทิม ผอู้ านวยการและหัวหนา้ งานฝ่ายบรหิ ารบคุ คลและกจิ การนกั เรยี น 3. คุณครูปริญญา วรรณวงค์ รองผู้อานวยการและหัวหนา้ ฝ่ายวิชาการ 4. คุณครูอาภากร คาเคน ผจู้ ดั การและหวั หนา้ ฝ่ายงบประมาณและกจิ การพเิ ศษ 5. คณุ ครูประภัสสร วิชยั ยา หัวหน้าฝ่ายบรหิ ารงานทั่วไป หนา้ ที่และความรบั ผิดชอบ 1. เขียนโครงการพฒั นาหลกั สตู รสถานศึกษาเพ่ือเสนองานผู้บรหิ าร 2. ประชมุ ชแ้ี จงวตั ถุประสงค์ในการจดั โครงการ พร้อมทงั้ มอบหนา้ ท่ี 3. ควบคมุ และประสานงานใหค้ าปรึกษาในการดาเนนิ งานตามขน้ั ตอนตา่ งๆ 4. วางแผนในการบรหิ ารหลักสตู รและงานวิชาการของสถานศึกษา 5. ตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดาเนนิ งาน คณะกรรมการการบริหารหลักสูตรสถานศกึ ษา 1.คณุ ครปู รญิ ญา วรรณวงค์ หัวหน้างาน 2.คณุ ครจู ารวุ รรณ กาลังเก่ง กรรมการ 3.คณุ ครูมณฑภิ า มหายนต์ กรรมการ 4.คณุ ครูธีราพร อุปมนต์ กรรมการ 5.คณุ ครูอจั ฉราภรณ์ ไทรเล็กทมิ กรรมการและเลขานุการ หนา้ ทแ่ี ละความรบั ผิดชอบให้ดาเนินการงานตามแผนงานทก่ี าหนดไวใ้ นโครงสรา้ งการบรหิ าร สถานศึกษา ประจาปีการศึกษา 2556 ฝ่ายวิชาการ วา่ ด้วยการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการสถานศึกษา 1.3.3 การจดั ระบบบริหารของโรงเรียน ฝ่ายวชิ าการ 1. งานบริหารหลกั สูตรและงานวิชาการของสถานศึกษา 2. งานทะเบียนและวดั ผล 3. งานวิจัยในชน้ั เรยี น 4. งานพฒั นาแหลง่ การเรียนรู้ 5. งานพฒั นาสอื่ และเทคโนโลยีทางการศึกษา 6. งานนเิ ทศการสอน 7. งานแนะแนวการศกึ ษา

8. การฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชพี ฝ่ายงบประมาณและกิจการพิเศษ 1. งานการวางแผนดา้ นงบ ฯ 2. งานการเงนิ และการบัญชี 3. งานพสั ดุและครุภัณฑ์ 4. งานสวนพฤกษศาสตรแ์ ละแปลงเกษตร 5. งานสระวา่ ยน้า 6. งานห้องสมุด 7. งานกิจกรรมพิเศษนอกเวลาเรยี น 8. งานพัฒนาระบบประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษา ฝ่ายบรหิ ารบคุ คลและกจิ การนักเรียน 1. งานบคุ คล 2. งานพัฒนาบคุ ลากร 3. งานสวสั ดีการบุคลากร 4. งานกจิ กรรมกีฬา 5. งานกิจกรรมการแสดง 6. งานสุขภาพนกั เรยี นและบุคลากร ฝา่ ยบริหารงานท่ัวไป 1. งานต้อนรับผูป้ กครองและรับสมคั รนักเรียน 2. งานสารบรรณเอกสารการพมิ พ์ 3. งานหนังสือ วารสารและส่งิ พมิ พ์ 4. งานอาคารสถานที่ 5. งานยานพาหนะ 6. งานเทคโนโลยแี ละข้อมูลสารสนเทศเพ่ือการศกึ ษา 7. งานสวัสดกิ ารนักเรียน

1.3.4 จา้ นวนบคุ คลากรของโรงเรยี น เชน่ ครู ครูพเี่ ล้ียง นักเรยี น แมบ่ า้ น นกั การภารโรง จานวนเด็กนกั เรยี นโรงเรยี นอนุบาลดวงตะวนั มจี านวนทง้ั หมด 246 คน ตารางสถติ ขิ อ้ มลู พ้ืนฐานของโรงเรียน เพศ วฒุ ิการศึกษา ชาย หญงิ ตาแหน่ง ตา่ กว่า ปรญิ ญาตรี ปริญญาโท ปรญิ ญาตรี ผู้รบั ใบอนุญาต/ผู้อานวยการ - 1 1- รองผ้อู านวยการ/ผ้จู ัดการ - 2 ครปู ระจาชั้น/ครูพเิ ศษ 3 13 - 11 - 11 ครูผูช้ ่วย - 3 - 16 - เจ้าหนา้ ท่ธี รุ การ 6 - พนักงานขบั รถ 2 - 11 - - พนกั งานทัว่ ไป - 1 - 1 21 แม่ครวั - 2 ผชู้ ว่ ยแมค่ รัว 11 34 6- - แมบ่ า้ น 2- - รวมทั้งหมด 1- - 1- - 2- - 25 19 1

1.3.5 หลักฐานใบประกาศผลการประเมนิ คณุ ภาพของโรงเรียนจากส้านักงานรบั รอง มาตรฐานและประเมนิ คุณภาพการศกึ ษา (องค์การมหาชน) หรือสมศ.

1.4 งานบรกิ ารของโรงเรียน 1.4.1 ด้านอาหารกลางวัน ทางโรงเรียนมีอาหารกลางวันให้นักเรียนรับประทาน คุณค่าอาหารทางโภชนาการครบถ้วน ท้งั 5 หมู่ 1.4.2 ด้านสาธารณสุข โรงเรียนได้มีการทาความสะอาดด้วยน้ายาฆ่าเชื้อเม่ือนักเรียนกลับบ้านกันหมดแล้วทุกวัน มี เจลแอลกอฮอล์และสบู่ต้ังอยู่ตามจุดต่างๆ เช่น หน้าห้องเรียน หน้าห้องน้า หลังห้องเรียน หน้าประตูทางเข้า โรงเรยี น ตามอา่ งลา้ งมอื ต่างๆ 1.4.3 ดา้ นรถรับ-สง่ นกั เรยี น ในส่วนของผู้ปกครองที่ไม่สามารถ มารับ-ส่งบุตรหลาน ได้เองทางโรงเรียนก็จะมีรถตู้ไว้ สาหรบั รับ-สง่ นกั เรียน โดยผู้ปกครองจะเสียค่าใชจ้ า่ ยใหก้ บั ทางโรงเรียน จะมีครปู ระจาอยู่ในรถแต่ละคนั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook