แบ่งตามหน้าทแ่ี ละลกั ษณะการดาเนินกจิ กรรมหลกั ตามกรอบของกฎหมาย • สถาบนั การเงนิ เกยี่ วกบั การรับฝากเงนิ ทาหนา้ ที่หลกั ในการระดมทุนส่วนใหญ่โดยวธิ ีการรับ เงินฝากในรูปแบบต่างๆ จากประชาชน เช่น เงินฝากเผอื่ เรียก เงินฝากออมทรัพย์ เงินฝากท่ีได้ จะนาไปลงทุนหรือใหก้ ยู้ มื ภายใตก้ รอบกฎหมายท่ีกาหนด
• สถาบนั การเงนิ ทม่ี สี ัญญาผูกพนั กบั แหล่งเงนิ ทุน เป็นสถาบนั ที่สร้างเครื่องมือทางเครดิตที่ เป็นสัญญาผกู พนั กบั ผฝู้ าก เช่น บริษทั ประกนั ชีวติ กองทุนประกนั สังคม กองทุนสารอง เล้ียงชีพ เป็นตน้ เงินทุนท่ีระดมได้ จะนาไปปล่อยกู้ หรือนาไปลงทุนในโครงการต่างๆ ในระยะยาว
• สถาบนั การเงนิ ทอ่ี อกเครื่องมือทางการเงนิ เพื่อระดมทุน เป็นสถาบนั ท่ีใชว้ ิธีระดมทุนโดย ออกเครื่องมือต่างๆ เช่น ตวั๋ สญั ญาใชเ้ งิน หุน้ กู้ เพอ่ื ใหป้ ระชาชนจดั ซ้ือไวเ้ พ่ือการออกโดย ใหด้ อกเบ้ียสูง สถาบนั ประเภทน้ี เช่น บริษทั หลกั ทรัพย์ บริษทั เงินทุน บริษทั เครดิตฟองซิเอร์ เป็นตน้
• สถาบนั การเงินท่มี หี น้าทห่ี ลกั ในการให้สินเช่ือ เป็นสถาบนั ที่เนน้ การปล่อยสินเช่ือหรือ ปล่อยกเู้ ป็นหลกั การระดมทุนส่วนใหญ่มาจากการลงทุนของผปู้ ระกอบการ หรือจากการ ขายหุน้ และเงินกยู้ มื ภายในและภายนอกประเทศ สถาบนั ประเภทน้ี เช่น โรงรับจานา บริษทั เงินทุน ธนาคารพฒั นาวสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่ มแห่งประเทศไทย เป็นตน้
สถาบนั การเงนิ ทสี่ าคญั • บริษทั เครดิตฟองซิเอร์ • บริษทั หลกั ทรัพย์ • ธนาคารพาณิชย์ • บริษทั หลกั ทรัพยจ์ ดั การกองทุนรวม • ธนาคารออมสิน • บริษทั ประกนั ชีวติ • ธนาคารเพอื่ การเกษตรและ • สหกรณ์ออมทรัพย์ • โรงรับจานา สหกรณ์การเกษตร • กองทุนประกนั สังคม • ธนาคารอาคารสงเคราะห์ • ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย • ธนาคารเพอ่ื การส่งออกและ นาเขา้ แห่งประเทศไทย • บริษทั เงินทุน
สถาบันการเงนิ ในประเทศไทย ลาดบั ที่ รายชื่อ หน่วยงานกากบั ดูแล กฎหมายทใ่ี ช้บงั คบั กระทรวงการคลงั 1 ธนาคารแห่งประเทศไทย พระราชบญั ญตั ิธนาคารแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2485 และท่ีแกไ้ ขเพิ่มเติม 2 ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารแห่งประเทศไทย พระราชบญั ญตั ิธุรกิจสถาบนั การเงิน 3 บริษทั เงินทุน ธนาคารแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2551 4 บริษทั เครดิตฟองซิเอร์ 5 ธนาคารออมสิน กระทรวงการคลงั พระราชบญั ญตั ิธุรกิจสถาบนั การเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2551 6 ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงการคลงั การเกษตร (ธ.ก.ส.) ธนาคารแห่งประเทศไทย พระราชบญั ญตั ิธนาคารออมสิน ธนาคารแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2509 7 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.) พระราชบญั ญตั ิธนาคารเพอื่ การเกษตร 8 ธนาคารเพื่อการส่งออกและนาเขา้ แห่ง กระทรวงการคลงั และสหกรณ์การเกษตร พ.ศ. 2509 ประเทศไทย (ธสน.) ธนาคารแห่งประเทศไทย พระราชบญั ญตั ิธนาคารอาคารสงเคราะห์ พ.ศ. 2496 พระราชบญั ญตั ิธนาคารเพื่อการส่งออก และนาเขา้ แห่งประเทศไทย พ.ศ. 2536
ลาดบั ที่ รายชื่อ หน่วยงานกากบั ดูแล กฎหมายทใี่ ช้บงั คบั 9 ธนาคารพฒั นาวสิ าหกิจขนาดกลางและ กระทรวงการคลงั พระราชบญั ญตั ิธนาคารพฒั นาวสิ าหกิจ ขนาดยอ่ มแห่งประเทศไทย (ธพว.) ธนาคารแห่งประเทศไทย ขนาดกลางและขนาดยอ่ มแห่งประเทศ กระทรวงอุตสาหกรรม ไทย พ.ศ. 2545 10 ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย กระทรวงการคลงั พระราชบญั ญตั ิธนาคารอิสลามแห่ง ธนาคารแห่งประเทศไทย ประเทศไทย พ.ศ. 2545 11 บรรษทั ประกนั สินเชื่ออุตสาหกรรม กระทรวงการคลงั พระราชบญั ญตั ิบรรษทั ประกนั สินเช่ือ อุตสาหกรรมขนาดยอ่ ม พ.ศ. 2534 ขนาดยอ่ ม (บสย.) กระทรวงอุตสาหกรรม พระราชกาหนดบรรษทั ตลาดรองสินเชื่อ 12 บรรษทั ตลาดรองสินเชื่อเพือ่ ท่ีอยอู่ าศยั กระทรวงการคลงั ท่ีอยอู่ าศยั พ.ศ. 2540 ธนาคารแห่งประเทศไทย พระราชกาหนดบรรษทั บริหารสินทรัพย์ 13 บรรษทั บริหารสินทรัพยไ์ ทย กระทรวงการคลงั ไทย พ.ศ. 2544 14 บริษทั บริหารสินทรัพย์ กระทรวงการคลงั พระราชกาหนดบริษทั บริหารสินทรัพย์ ธนาคารแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2541 15 บริษทั รับแลกเปลี่ยนเงินตรา ตา่ งประเทศ กระทรวงการคลงั พระราชบญั ญตั ิควบคุมการแลก ธนาคารแห่งประเทศไทย เปล่ียนเงิน พ.ศ. 2485 16 บริษทั หลกั ทรัพย์ 17 บริษทั หลกั ทรัพยจ์ ดั การกองทุนรวม คณะกรรมการกากบั หลกั ทรัพยแ์ ละ พระราชบญั ญตั ิหลกั ทรัพยแ์ ละตลาด ตลาดหลกั ทรัพย์ หลกั ทรัพย์ พ.ศ. 2535
ลาดบั ที่ รายช่ือ หน่วยงานกากบั ดูแล กฎหมายทใ่ี ช้บังคบั พระราชบญั ญตั ิประกนั ชีวติ 18 บริษทั ประกนั ชีวติ กระทรวงการคลงั พ.ศ. 2535 และท่ีแกไ้ ขเพ่ิมเติม สานกั งานคณะกรรมการกากบั และ 19 สหกรณ์การเกษตร ส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกนั ภยั พระราชบญั ญตั ิสหกรณ์ 20 สหกรณ์ออมทรัพย์ พ.ศ. 2511 และที่แกไ้ ขเพมิ่ 21 กองทุนสารองเล้ียงชีพ กรมส่งเสริมสหกรณ์และ กรมตรวจบญั ชีสหกรณ์ พระราชบญั ญตั ิกองทุนสารองเล้ียงชีพ 22 กองทุนประกนั สงั คม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ. 2530 พระราชบญั ญตั ิประกนั สงั คม 23 โรงรับจานา คณะกรรมการกากบั หลกั ทรัพยแ์ ละ พ.ศ. 2533 ตลาดหลกั ทรัพย์ พระราชบญั ญตั ิโรงรับจานา พ.ศ. 2505 และท่ีแกไ้ ขเพิ่มเติม กระทรวงแรงงาน กระทรวงมหาดไทย ทม่ี า : ธนาคารแห่งประเทศไทย, 2552 หมายเหตุ : ไม่นบั รวมสาขาธนาคารต่างประเทศ ธนาคารพาณิชยท์ ่ีเป็นบริษทั ลูกของธนาคาร ต่างประเทศ และธนาคารพาณิชยเ์ พือ่ รายยอ่ ย
ความหมายและความสาคญั ของธนาคารกลางธนาคารกลาง • ธนาคารกลาง คือ ธนาคารแห่งประเทศไทย (Bank of Thailand) หรือ ธปท. • เป็นสถาบนั การเงินที่จดั ต้งั ข้ึนตามพระราชบญั ญตั ิธนาคารแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2485 • ทาหนา้ ที่ในฐานะเป็นธนาคารกลางของประเทศ
บทบาทหน้าที่ของธนาคารแห่งประเทศไทย • เป็นนายธนาคารของรัฐบาล • ควบคุมปริมาณเงินของประเทศใหอ้ ยู่ ในปริมาณที่เหมาะสม • ออกธนบตั รใหม่ • ดูแลการซ้ือขายเงินตราระหวา่ งประเทศ • เป็นนายธนาคารของสถาบนั การเงิน • ดูแล ควบคุม และตรวจสอบสถาบนั การเงิน ต่างๆ ท่ีอยใู่ นกากบั • บริหารจดั การหน้ีสาธารณะ • ใหค้ าปรึกษาและขอ้ เสนอแนะ
ความสัมพนั ธ์ระหว่างผู้ผลติ ผู้บริโภค และสถาบนั การเงนิ ในระบบเศรษฐกิจ ผผู้ ลิต ผบู้ ริโภค และสถาบนั การเงิน ลว้ นมีความเกี่ยวขอ้ งสัมพนั ธ์กนั ทางดา้ นการหารายได้ การมีรายจ่ายเพื่อการอุปโภค และมีการเกบ็ เงินบางส่วนไวเ้ พื่อการออม หรือนาไปลงทุนเพ่อื ใหม้ ีรายไดเ้ พมิ่ ข้ึน ซ่ึงเราสามารถอธิบายความสัมพนั ธ์ไดด้ งั น้ี ความสัมพนั ธ์ระหว่างผู้ผลติ สถาบันการเงิน และผู้บริโภค
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เศรษฐกจิ ประเทศไทย
สภาพเศรษฐกจิ ประเทศไทย การพงึ่ พาอาศัยและ การแข่งขันกนั ทางเศรษฐกจิ ปัญหาเศรษฐกจิ ของไทย
ลกั ษณะทางเศรษฐกจิ ของประเทศไทย ประเทศไทยประชากรส่วนใหญ่มีรายไดน้ อ้ ย มีฐานะยากจน ไมม่ ีโอกาสในการ ประกอบอาชีพเท่าที่ควร จาเป็นตอ้ งจดั สรรเงินไวส้ าหรับการบริโภคในอนาคตและการลงทุน ที่จะช่วยเพิ่มรายได้
• มพี ื้นฐานจากภาคเกษตรกรรม อาชีพหลกั ของคนไทย คือ เกษตรกรรม ประเทศไทยสมยั ก่อนมีรายไดจ้ ากภาค เกษตรกรรมมา แต่หลงั จากเริ่มมีการพฒั นาอุตสาหกรรม ประเทศไทยจึงไมพ่ ่ึงผลผลิตทางการเกษตรเหมือนในอดีต
• เป็ นประเทศผู้ส่งออก เป็นแหล่งรายไดห้ ลกั สาหรับการเล้ียงดูประชากรในประเทศ ทาให้ เกิดการคา้ ระหวา่ งประเทศมากประเทศหน่ึง
• เป็ นประเทศที่มปี ัญหาความยากจนและช่องว่างทางรายได้ โดยรายไดต้ ่อหวั ของ ประชากรอยใู่ นระดบั ปานกลาง แต่ความแตกต่างระหวา่ งคนรวยและคนจนมีมาก ปัจจุบนั ประเทศไทยถือวา่ มีปัญหาเรื่องความเหล่ือมล้าประเทศหน่ึง
• เป็ นประเทศทม่ี ปี ัญหาการกระจุกตวั ของความเจริญ ขาดการกระจายความเจริญไปสู่ ภูมิภาคและต่างจงั หวดั โดยมีกรุงเทพมหานครเป็นเมืองเอกเพียงเมืองเดียวที่มีขนาด เศรษฐกิจเกินกวา่ 1 ใน 4 ของประเทศ
• พง่ึ พาการนาเข้าพลงั งาน โดยเฉพาะน้ามนั ปิ โตรเลียม ทาใหส้ ูญเสียเงินออกนอก ประเทศเป็นจานวนมาก จาเป็นตอ้ งอนุรักษแ์ ละหาพลงั งานทดแทนโดยเร็ว
• ขาดแคลนสาธารณูปโภคและการขนส่งทมี่ คี ุณภาพ โดยภาพรวมยงั ขาดคุณภาพท่ีดี การคมนาคมไมเ่ ท่าทนั การขยายตวั ความตอ้ งการของประชากร หากทาไดอ้ ยา่ งทวั่ ถึง จะช่วยกระจายความเจริญและทาใหป้ ระหยดั พลงั งานได้
• เป็ นประเทศทย่ี งั อ่อนแอด้านนวตั กรรมและเทคโนโลยี มีการพ่งึ พาเทคโนโลยจี าก ต่างชาติเป็นส่วนใหญ่ ตอ้ งนาเขา้ เคร่ืองจกั รราคามหาศาล จึงจาเป็นตอ้ งปรับปรุง เศรษฐกิจภายในประเทศใหเ้ ขม้ แขง็ ส่งเสริมการผลิตใหม่ๆ
การพง่ึ พาอาศัยกนั ทางเศรษฐกจิ การพ่งึ พาอาศยั กนั ทางเศรษฐกิจถือวา่ เป็นสิ่งจาเป็นในระบบเศรษฐกิจ เน่ืองจากไมม่ ีผผู้ ลิต สินคา้ รายใดตอบสนองไดท้ ุกอยา่ งและผบู้ ริโภคมีความตอ้ งการท่ีหลากหลาย จาเป็นตอ้ งพ่งึ หา อาศยั กนั เพ่อื ใหธ้ ุรกิจของตนอยรู่ อด การพ่งึ พาช่วยทาใหเ้ ศรษฐกิจเกิดการขยายตวั และมีความ มนั่ คง
การแข่งขันทางเศรษฐกจิ การแข่งขนั ทางเศรษฐกิจนบั วา่ เป็นประโยชนแ์ ก่ผบู้ ริโภค ในเร่ือง ของการบริการหรือคุณภาพสินคา้ ท่ีดีข้ึน ราคาถูกลง ในการแขง่ ขนั กจ็ ะ ข้ึนอยกู่ บั สินคา้ และบริการของคู่แขง่ รายอ่ืนที่เขา้ มาแข่งขนั ดว้ ย ซ่ึง โดยทว่ั ไปการแขง่ ขนั ทางเศรษฐกิจแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ
• การแข่งขันทเี่ ป็ นสินค้าประเภทเดยี วกนั หากมีผแู้ ข่งขนั หลายราย สินคา้ และบริการจะมีการพฒั นาดีข้ึน ทาให้ น่าประทบั ใจมากข้ึน เพ่อื ดึงดูดใหผ้ บู้ ริโภคหนั มาสนใจ และเลือกใชส้ ินคา้ หรือบริการของตน
• การแข่งขันทเี่ ป็ นสินค้าทดแทนกนั สินคา้ ทดแทนมีอยหู่ ลายชนิด โดยผผู้ ลิตตอ้ งโฆษณา ประชาสมั พนั ธใ์ หผ้ บู้ ริโภคเขา้ ใจวา่ สินคา้ ของตนมีคุณประโยชน์ มีความคุม้ ค่าเพื่อไมใ่ ห้ ผบู้ ริโภคหนั ไปใชส้ ินคา้ ทดแทน
ปัญหาเศรษฐกจิ ในระดบั ชุมชน • ปัญหาความยากจน • ปัญหาขาดแคลนเงินทุน • ปัญหาการขาดแคลนเทคโนโลยี • ปัญหาผลผลิตมีนอ้ ยและราคาต่า • ปัญหาการบริโภคนิยม
แนวทางในการแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกจิ ของชุมชน • สร้างความเขม้ แขง็ ใหก้ บั ชุมชน • ส่งเสริมใหช้ ุมชนพ่งึ พาตนเองดา้ นการผลิต • ส่งเสริมใหช้ ุมชนพ่ึงพาตนเองดา้ นการตลาด • ส่งเสริมการสร้างงานในชุมชน • รัฐบาลควรจดั สรรเงินทุนในแบบเงินกรู้ ะยะยาว • ส่งเสริมใหม้ ีการพฒั นาคุณภาพชีวติ • ส่งเสริมใหม้ ีการอนุรักษส์ ิ่งแวดลอ้ ม
ปัญหาเศรษฐกจิ ในระดบั ประเทศ • ปัญหาความยากจน • ปัญหาการออมอยใู่ นระดบั ต่า • การขาดดุลการคา้ • ปัญหาการส่งออกสินคา้ • ปัญหาผลกระทบจากเศรษฐกิจระหวา่ งประเทศภาวะการวา่ งงาน • ปัญหาการกระจายรายได้ • ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม
แนวทางการแก้ไขปัญหาเศรษฐกจิ ของประเทศ • เร่งแกไ้ ขปัญหาความยากจน • เนน้ เศรษฐกิจรากฐาน • บริหารจดั การทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มอยา่ งมีประสิทธิภาพ • เพิ่มสมรรถนะและขีดความสามารถในการแข่งขนั • เสริมสร้างการจดั การท่ีดีในทุกระดบั • มงุ่ พฒั นาเศรษฐกิจเพือ่ ความสมดุลและยงั่ ยนื
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เศรษฐกจิ พอเพยี ง
ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง การประยกุ ต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งในการดารงชีวติ การประยกุ ต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งของนักเรียน ประโยชน์ของปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ความหมายของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency- Economy) เป็นปรัชญาช้ีถึงแนวทาง การดารงอยแู่ ละปฏิบตั ิตนของ ประชาชนในทุกระดบั ต้งั แต่ระดบั ครอบครัว ระดบั ชุมชน จนถึงระดบั รัฐ ท้งั ในการพฒั นา และบริหารประเทศใหด้ าเนินไป ในทางสายกลาง โดยเฉพาะการ พฒั นาเศรษฐกิจเพ่อื ใหก้ า้ วทนั ต่อโลกยคุ โลกาภิวตั น์
ความเป็ นมาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงท่ีพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ทรงมี พระราชดารัสช้ีแนะแนวทางการดาเนินชีวติ ของพสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอด ดงั จะเหน็ ได้ จากพระบรมราโชวาทเน่ืองในโอกาสต่างๆ
พระบรมราโชวาทในพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว เมื่อวนั ที่ 18 กรกฏาคม พ.ศ. 2517 “... การพฒั นาประเทศต้องทาตามลาดับขนั้ ต้อง สร้างพืน้ ฐาน คือ ความพอมี พอกิน พอใช้ของ ประชาชนส่วนใหญ่เบือ้ งต้นก่อน โดยใช้วิธีการ และอปุ กรณ์ท่ีประหยดั และถกู ต้องตามวิชาการ เม่ือได้พืน้ ฐานความมนั่ คงพร้อมสมควรและ ปฏิบัติได้แล้ว จึงค่อยสร้างความเจริญและ ฐานะทางเศรษฐกิจขึน้ สูงโดยลาดบั ต่อไป...”
พระบรมราโชวาทในพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว เม่ือวนั ที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2517 “... คนอื่นจะว่าอย่างไรกช็ ่างเขา จะว่าเมืองไทยล้าสมยั ว่าเมืองไทยเชย ว่าเมืองไทยไม่มสี ่ิงที่ ทันสมยั แต่ว่าเราอย่พู อมพี อกินและขอให้ทุกคนมปี รารถนาท่ีจะให้เมืองไทยพออยู่ พอกิน มคี วามสงบ และทางาน ตั้งจิตอธิษฐาน ต้ังปณิธาน ในทางนีท้ ี่จะให้เมืองไทยอยแู่ บบพอมี พอกิน ไม่ใช่ว่าจะรุ่งเรืองอย่างยอด แต่ว่ามคี วามพออย่พู อกิน มคี วามสงบ เปรียบเทียบกับ ประเทศอ่ืนๆ ถ้าเรารักษาความพออย่พู อกินนีไ้ ด้ เรากจ็ ะยอดยิ่งยวดได้...”
พระราชดารัสในพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว พ.ศ. 2538 “...ถ้านา้ มพี อดีปี ไหน กส็ ามารถท่ีจะประกอบการเกษตรหรือปลกู ข้าวนาได้ ในฤดูแล้งนา้ น้อย กส็ ามารถใช้นา้ ท่ีกกั ไว้ในสระนา้ แต่ละแปลงมาทาการเพาะปลกู แม้แต่ข้าวกย็ งั ปลกู ได้ ไม่ต้อง เบยี ดเบียนชลประทานระบบใหญ่ เพราะมขี องตัวเอง ทฤษฎใี หม่มไี ว้ป้องกนั การขาดแคลน ในยามปกติกจ็ ะทาให้ร่ารวยขึน้ ในยามมอี ุทกภยั กส็ ามารถจะฟื้นตวั ได้ โดยไม่ต้องให้ราชการ ไปช่วยมากเกินไป ทาให้ประชาชนมโี อกาสพึ่งตวั เองได้อย่างด”ี
พระราชดารัสในพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู ัว เมื่อวนั ที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2542 “...คนเราถ้าพอในความต้องการ มนั กม็ คี วามโลภน้อย เมื่อมคี วามโลภน้อยกเ็ บยี ดเบียนคนอ่ืนน้อย ถ้าความคิดอันนี้ มคี วามคิดว่าอะไร ต้องพอเพียง หมายความว่า พอประมาณ ซ่ือตรง ไม่โลภมาก คนเรากเ็ ป็นสุข...”
หลกั การทรงงานของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั • พฒั นาความพร้อมของตน • พจิ ารณาเร่ืองต่างๆ อยา่ งครบวงจร • พฒั นาตามระบอบประชาธิปไตย • การใหแ้ ละการเสียสละ • การใชห้ ลกั พออยพู่ อกิน • การพ่งึ ตนเอง • เศรษฐกิจพอเพยี ง
โครงการตามพระราชดาริ • โครงการตามพระราชดาริโครงการแรกเกิดข้ึน ใน พ.ศ. 2495 เป็นโครงการสร้างถนนเขา้ ไปใน หว้ ยมงคล ตาบลทบั ใต้ อาเภอหวั หิน จงั หวดั ประจวบคีรีขนั ธ์ • ช่วยใหร้ าษฎรสามารถสญั จรไปมาและนา ผลผลิตออกมาจาหน่ายยงั ชุมชนภายนอกได้ สะดวกข้ึน
โครงการตามพระราชประสงค์ • เป็นโครงการซ่ึงทดลองปฏิบตั ิเป็นการส่วนพระองค์ ต่อมาเม่ือแน่พระทยั วา่ โครงการน้นั ๆ ไดผ้ ลดี เป็นประโยชนก์ บั ประชาชน จึงโปรดเกลา้ ฯใหร้ ัฐบาลเขา้ มารับงานต่อภายหลงั เพื่อใหอ้ าชีพและพฒั นาอาชีพของประชาชน
โครงการหลวง • เป็นโครงการท่ีพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงเจาะจงดาเนินการพฒั นาและบารุงรักษาตน้ น้าลาธารในบริเวณป่ าเขาในภาคเหนือ • ม่งุ พฒั นาชาวไทยภูเขาใหม้ ีความอยดู่ ีกินดี เลิกการปลูกฝ่ิน เลิกการตดั ไมท้ าลายป่ า • ทรงพฒั นาช่วยเหลือใหป้ ลูกพืชหมุนเวยี น และเล้ียงสัตวไ์ วเ้ พ่ือการบริโภค
โครงการในพระบรมราชานุเคราะห์ เป็นโครงการท่ีพระองคไ์ ดพ้ ระราชทานแนะนาแนวพระราชดาริใหเ้ อกชนไปดาเนินการ พร้อมท้งั ติดตามอยา่ งต่อเนื่องดว้ ยภาคเอกชน
โครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดาริ เป็นโครงการที่พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงวางแผนพฒั นาและทรงเสนอแนะใหร้ ัฐบาล ร่วมดาเนินการ โดยพระองคจ์ ะเสดจ็ ฯ ร่วมทรงงาน กบั หน่วยงานของรัฐบาล ไดแ้ ก่ • โครงการดา้ นการเกษตร • โครงการดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม • โครงการดา้ นสาธารณสุข • โครงการส่งเสริมอาชีพ • โครงการพฒั นาแหล่งน้า • โครงการคมนาคม/สื่อสาร • โครงการสวสั ดิการสังคม • โครงการสาคญั อ่ืนๆ
หลกั การเศรษฐกจิ พอเพยี ง • ต้งั อยบู่ นพ้นื ฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาท • คานึงถึงความพอประมาณ มีเหตุผล สร้างภูมคุม้ กนั ที่ดีในตวั • ใชค้ วามรู้ ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผนและการตดั สินใจ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111