Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เศรษฐศาสตร์ ม.1

เศรษฐศาสตร์ ม.1

Published by sunisa.sombunma, 2020-05-17 05:41:22

Description: เศรษฐศาสตร์ ม.1

Search

Read the Text Version

รายวิชาพ้นื ฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ สงั คมศึกษาฯ วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น

ความหมายความสาคญั และประโยชน์ ของวชิ าเศรษฐศาสตร์ ขอบข่ายและเป้าหมายของวชิ า เศรษฐศาสตร์ ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์



ความหมายของวิชาเศรษฐศาสตร์ วชิ าเศรษฐศาสตร์เป็นวชิ าท่ีศึกษาถึงการจดั สรรทรัพยากรท่ีมีอยอู่ ยา่ งจากดั เพ่ือตอบสนอง ความตอ้ งการอนั ไม่มีที่สิ้นสุดของมนุษยอ์ ยา่ งมีประสิทธิภาพใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุด

ความสาคญั ของวชิ าเศรษฐศาสตร์ • ระดบั บุคคลและครัวเรือน ช่วยใหส้ มาชิกในครัวเรือนวางแผน ใชท้ รัพยากรไดอ้ ยา่ งเหมาะสม เช่น นกั เรียนวางแผนการใช้ เงินค่าขนม แม่บา้ นจดั ทาบญั ชีครัวเรือน เป็นตน้ • ระดบั ผู้ผลติ ช่วยใหผ้ ผู้ ลิต ใชแ้ รงงาน วตั ถุดิบ ไดอ้ ยา่ งคุม้ ค่า ช่วยลดตน้ ทุนการผลิต และเพิ่มผลกาไรจากสินคา้ • ระดบั ประเทศ ช่วยใหร้ ัฐบาลจดั สรรทรัพยากรต่างๆได้ เพียงพอต่อประชาชน และช่วยแกป้ ัญหาทางเศรษฐกิจ เช่น การวา่ งงาน ความยากจน ค่าครองชีพสูง เป็นตน้

ประโยชน์ของการศึกษาวชิ าเศรษฐศาสตร์ • ในฐานะผู้บริโภค ช่วยใหผ้ บู้ ริโภคจดั สรรรายไดท้ ่ีมีอยอู่ ยา่ งจากดั ไปซ้อื สินคา้ ต่างๆ ได้ อยา่ งมีเหตุผล และสามารถวางแผนการบริโภค การออมไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ • ในฐานะผู้ผลติ หรือผู้ประกอบการ ช่วยใหผ้ ผู้ ลิตสามารถตดั สินใจวา่ จะดาเนินธุรกิจใด ใช้ เทคโนโลยใี ด ผลิตสินคา้ จานวนเท่าใด ราคาเท่าใด เพ่อื ใหล้ ดตน้ ทุนและเกิดกาไรสูงสุด • ในฐานะรัฐบาล ช่วยใหร้ ัฐบาลเขา้ ใจสาเหตุของปัญหาเศรษฐกิจของประเทศ แลว้ หาแนว ทางแกไ้ ขโดยใชน้ โยบายต่างๆ เช่น การจดั เกบ็ ภาษี การลงทุนในสาธารณูปโภค การ บริหารหน้ีสาธารณะ เพ่อื ใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุดแก่ประชาชน



ขอบข่ายของวิชาเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์จุลภาค (microeconomics) • ศึกษาพฤติกรรมทางเศรษฐกิจ ส่วนยอ่ ยระดบั บุคคล • ศึกษาพฤติกรรมของผผู้ ลิต • ศึกษาพฤติกรรมของผบู้ ริโภค • ศึกษาตลาดสินคา้ • ศึกษาการกาหนดราคาสินคา้ และบริการ

เศรษฐศาสตร์มหภาค (macroeconomics) • ศึกษาพฤติกรรมทางเศรษฐกิจท้งั ระบบในระดบั ส่วนรวมของประเทศ • ศึกษารายไดป้ ระชาชาติ • ศึกษาปริมาณเงิน • ศึกษาการออมและการลงทุน • ศึกษาการจา้ งงาน • ศึกษาการคา้ ระหวา่ งประเทศ • ศึกษาภาวะเงินเฟ้อ เงินฝืด • ศึกษาภาวะการวา่ งงาน

เป้าหมายของการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ • มุ่งทาความเขา้ ใจในพฤติกรรมทางดา้ นเศรษฐกิจ ของมนุษย์ • ทาความเขา้ ใจปัญหาและผลกระทบต่อชีวติ ความเป็นอยขู่ องประชาชนท่ีเป็นผลกระทบ จากเศรษฐกิจ • นาความรู้ไปใชใ้ นการออกนโยบายต่างๆ ของรัฐบาล เพื่อแกป้ ัญหาทางเศรษฐกิจ



ท่ดี นิ • พ้ืนดินท่ีใชใ้ นการเพาะปลูกหรือประกอบกิจการต่างๆ • ทรัพยากรธรรมชาติท่ีอยบู่ นผวิ ดินและในดิน • สภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศเหนือพ้ืนดิน • ผลตอบแทนจากท่ีดิน คือ ค่าเช่า

แรงงาน • แรงงาน คือ ทรัพยากรมนุษย์ • เป็นผใู้ ชก้ าลงั กาย กาลงั ความคิด ผลิตสินคา้ และบริการ • ผลตอบแทนของแรงงาน คือ ค่าจา้ ง ค่าแรง เงินเดือน ซ่ึงผปู้ ระกอบการเป็นผจู้ ่ายให้

ทุน • เป็นสิ่งท่ีมนุษยส์ ร้างข้ึนเพื่อใชผ้ ลิตสินคา้ และบริการ • ทุนมีหลายลกั ษณะ เช่น เคร่ืองจกั ร โรงงาน เป็นตน้ • เงินตราไมถ่ ือวา่ เป็นทุน แต่เงินเป็ นเคร่ื องมือสาหรับ ซ้ือปัจจยั การผลิต • ผลตอบแทนจากการลงทุน คือ ดอกเบ้ีย

ผู้ประกอบการ • เป็นผรู้ วบรวมปัจจยั การผลิต คือ ที่ดิน แรงงาน และทนุ มาผลิตสินคา้ และบริการ • ผปู้ ระกอบการอาจเป็นหน่วยงาน บริษทั หา้ งร้าน หรือเอกชนเพียงคนเดียวกไ็ ด้ • เป็นผทู้ ี่ตอ้ งยอมรับความเส่ียงที่เกิดข้ึนจากการผลิต การบริหารจดั การในกระบวนการผลิต • ผลตอบแทนของผปู้ ระกอบการ คือ กาไร หรือ ขาดทุน



หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 พฤติกรรมการบริโภค

การบริโภค อุปสงค์ อปุ ทาน ทรัพย์สินทางปัญญา



ความหมายของการบริโภค การบริโภค หมายถึง การใชป้ ระโยชนจ์ ากสินคา้ และบริการเพ่ือนามาตอบสนอง ความตอ้ งการของมนุษย์

ความสาคญั ของการบริโภค • การบริโภคเป็นตวั กาหนดสภาวการณ์ผลิตและการตลาด • การใชท้ รัพยากรเพ่ือการผลิตน้นั โดยส่วนใหญ่มีเป้าหมายเพือ่ การบริโภค • การบริโภคเป็นตวั กาหนดวา่ สินคา้ ชนิดใดจะผลิตออกสู่ตลาด • การบริโภคเป็นองคป์ ระกอบพ้นื ฐานท่ีกาหนดความเป็นไปของสภาวะทางเศรษฐกิจ ของประเทศ

หลกั การบริโภคที่ดี ความมปี ระโยชน์ ความประหยดั และความปลอดภยั ความจาเป็ น บริโภคเพื่อตอบสนองการ พิจารณาวา่ มีประโยชนม์ าก บริโภคใหเ้ หมาะสมกบั ฐานะ ดารงชีพอยา่ งแทจ้ ริง นอ้ ยแค่ไหนต่อตนเอง ทางเศรษฐกิจของตนเอง

ปัจจยั ที่มผี ลต่อพฤตกิ รรมการบริโภค

ปัจจยั ที่มผี ลต่อการเปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมการบริโภคของคนไทย สภาพสังคม เทคโนโลยี สมยั ใหม่ ข้อมูลด้าน สื่อต่างๆ โภชนาการ

ค่านิยมและพฤติกรรมการบริโภคของคนไทย • มกั เลือกซ้ือสินคา้ โดยพิจารณา จากราคาสินคา้ และรายไดเ้ ป็นหลกั • มีค่านิยมในเร่ืองการมีสุขภาพที่ดี • มีการบริโภคตามกระแสสังคม • มีการบริโภคสินคา้ ฟ่ มุ เฟื อย

ผลดี และผลเสียของค่านิยมการบริโภคในปัจจุบนั ผลดี ผลเสีย • ช่วยกระจายรายไดไ้ ปยงั ผผู้ ลิต • เกิดนิสยั เลียนแบบ อยากมีอยากได้ • การหมุนเวยี นทางการเงินมีความ • เกิดพฤติกรรมการก่อหน้ี คล่องตวั • ส่งผลต่อภาวะ การขาดดุลการคา้ • ทาใหค้ นมีชีวิตและสุขภาพท่ีดีข้ึน



ความหมายของอุปสงค์ อุปสงค์ (demand) หมายถึง ปริมาณความตอ้ งการสินคา้ และบริการชนิดใดชนิดหน่ึงของ ผบู้ ริโภคท่ีเตม็ ใจจะซ้ือ และซ้ือหามาได้ ณ ระดบั ราคาต่างๆ ที่ตลาดกาหนดให้

กฎของอุปสงค์ ปริมาณซ้ือของสินคา้ หรือบริการชนิดใดชนิดหน่ึงจะแปรผกผนั กบั ระดบั ราคาของสินคา้ หรือบริการชนิดน้นั โดยใหป้ ัจจยั อ่ืนๆ คงที่

ปัจจยั ที่มผี ลต่อการกาหนดอุปสงค์ ราคาสินคา้ รสนิยมของ รายไดข้ องผบู้ ริโภค ผบู้ ริโภค จานวนประชากร ราคาของสินคา้ ที่เก่ียวขอ้ ง

อุปทาน อุปทาน (supply) หมายถึง ปริมาณสินคา้ และบริการท่ีผขู้ ายหรือผผู้ ลิตยนิ ดีขายหรือ ผลิตใหก้ บั ผซู้ ้ือ ณ ระดบั ราคาต่างๆ ตามที่ตลาดกาหนด

กฎของอุปทาน ปริมาณขายของสินคา้ หรือบริการชนิดใดชนิดหน่ึงจะแปรผนั โดยตรงกบั ระดบั ราคา ของสินคา้ หรือบริการชนิดน้นั ๆ โดยใหป้ ัจจยั อื่นๆ คงท่ี

ปัจจัยท่มี อี ทิ ธิพลต่อการกาหนดอปุ ทาน ราคาสินคา้ ตน้ ทุนการผลิต ราคาสินคา้ ชนิดอื่น



ความหมายของทรัพยสินทางปัญญา ทรัพยส์ ินทางปัญญา หมายถึง ผลงานที่เกิดจากการประดิษฐค์ ิดคน้ การออกแบบของมนุษย์ ที่ไดร้ ับการคุม้ ครองตามกฎหมาย ทรัพยส์ ินทางปัญญาถือเป็นทรัพยส์ ินประเภทหน่ึง ซ่ึงผเู้ ป็น เจา้ ของยอ่ มมีสิทธิในการใชป้ ระโยชนจ์ ากทรัพยส์ ินน้นั

ความสาคญั ของทรัพย์สินทางปัญญาไทย

ประเภทของทรัพย์สินทางปัญญา

กฎหมายเกย่ี วกบั การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา • พระราชบญั ญตั ิลิขสิทธ์ิ พ.ศ. 2537 • พระราชบญั ญตั ิสิทธิบตั ร พ.ศ. 2522 • พระราชบญั ญตั ิเคร่ืองหมายการคา้ พ.ศ. 2534 • พระราชบญั ญตั ิความลบั ทางการคา้ พ.ศ. 2545

สาเหตุท่ตี ้องมกี ารจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา • เป็นการบอกผอู้ ่ืนวา่ ใครเป็นผคู้ ิด ผปู้ ระดิษฐผ์ ลงานเป็นคนแรก • เป็นการคุม้ ครองป้องกนั มิใหผ้ อู้ ื่นนาไปใชโ้ ดยไม่ไดร้ ับอนุญาต • เป็นการเปิ ดเผยใหส้ าธารณชนรู้วา่ กาลงั ทาอะไร คิดอะไร เพ่ือนาความรู้สู่สงั คม • ผปู้ ระดิษฐไ์ ดร้ ับค่าตอบแทนในงานของตนอยา่ งเป็นธรรม

แนวทางการป้องกนั การละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา • สร้างความตระหนกั และเผยแพร่ความรู้เก่ียวกบั ทรัพยส์ ินทางปัญญาใหแ้ ก่เดก็ และเยาวชน เพ่ือใหม้ ีจิตสานึกในการเคารพทรัพยส์ ินทางปัญญาของผอู้ ่ืน • จดั ใหม้ ีการเผยแพร่และประชาสมั พนั ธ์ • ส่งเสริมการทางานของหน่วยงานที่เก่ียวขอ้ งกบั การป้องกนั และปราบปราม • ดาเนินการทางกฎหมายกบั ผทู้ ี่ละเมิดทรัพยส์ ินทางปัญญา • นากฎหมายท่ีเกี่ยวขอ้ งมาบงั คบั ใช้ • ดาเนินการลงโทษผทู้ ี่ทาผดิ กฎหมายอยา่ งจริงจงั • ช่วยกนั สอดส่องดูแลการผลิตและการจดั จาหน่ายสินคา้ ละเมิดลิขสิทธ์ิ

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 สถาบันการเงนิ

ความหมายและความสาคญั ของสถาบนั ทางการเงนิ ประเภทของสถาบนั การเงิน ธนาคารกลาง



ความหมายของสถาบันการเงนิ สถาบนั การเงิน หมายถึง สถาบนั ที่ทาหนา้ ท่ีเป็นตวั กลางในการดาเนินธุรกรรมทางการเงิน เป็นผรู้ ับฝากหรือระดมเงินออมและการใหส้ ินเชื่อ

ลกั ษณะสาคญั ของสถาบนั การเงนิ • เป็ นตวั กลาง เป็นสถาบนั ที่อยู่ ระหวา่ งผอู้ อมและผทู้ ี่ตอ้ งการ สินเช่ือกยู้ มื • เป็ นผู้รับความเส่ียงแทน เป็นสถาบนั ที่รับความเสี่ยงแทน ผอู้ อมและผกู้ ยู้ มื เงิน • สร้างสภาพคล่องทางการเงนิ ทาหนา้ ท่ีช่วยสร้างสภาพคลอ่ ง ใหก้ บั ตราสารทางการเงิน โดย ค้าประกนั การออกเช็ค ตว๋ั สญั ญา ใชเ้ งิน และอื่นๆ ใหก้ บั หน่วยงาน บริษทั หา้ งร้านต่างๆ ทาใหต้ ราสาร ดงั กล่าวน้นั ไดร้ ับการยอมรบั มีความน่าเช่ือถือ



แบ่งตามลกั ษณะของกจิ การ • สถาบนั การเงินประเภทธนาคาร เป็นสถาบนั การเงิน ท่ีทาหนา้ ท่ีรับฝากเงินออมจากประชาชน แลว้ นาเงิน ฝากน้นั มาปล่อยกู้ ไดแ้ ก่ ธนาคารพาณิชยต์ ่างๆ ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ • สถาบนั การเงนิ ประเภททีม่ ใิ ช่ธนาคาร คือ สถาบนั ทางการ เงินในลกั ษณะอ่ืนๆ เช่น บริษทั เงินทุน บริษทั ประกนั ชีวติ สหกรณ์ออมทรัพย์ โรงรับจานา บริษทั แลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศ เป็นตน้

แบ่งตามหน้าทใ่ี นการดาเนนิ การ • สถาบนั การเงนิ ทัว่ ไป เป็นสถาบนั การเงินที่ทา หนา้ ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั ธุรกรรมต่างๆ ทางการเงิน เช่น ธนาคารพาณิชย์ บริษทั หลกั ทรัพย์ บริษทั หลกั ทรัพยจ์ ดั การกองทุนรวม เป็นตน้ • สถาบนั การเงนิ เฉพาะอย่าง เป็นสถาบนั ท่ีทา หนา้ ที่เฉพาะทางการเงิน เช่น ธนาคารอาคาร สงเคราะห์ ท่ีเนน้ ปล่อยสินเชื่อเพอื่ ที่อยอู่ าศยั เป็น ตน้

แบ่งตามอายุของหลกั ทรัพย์ • สถาบนั การเงนิ ในตลาดเงนิ เป็นสถาบนั การเงินที่ออกหลกั ทรัพยแ์ ละซ้ือขายหลกั ทรัพยท์ ี่มี อายคุ รบกาหนดไถ่ถอนไมเ่ กิน 1 ปี ไดแ้ ก่ ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารออมสิน ธนาคารเพอ่ื การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร • สถาบนั การเงนิ ในตลาดทุน เป็นสถาบนั ท่ีออกหลกั ทรัพยแ์ ละการซ้ือขายหลกั ทรัพยท์ ่ีมีอายุ ครบไถ่ถอนมากกวา่ 1ปี โดยใชเ้ ครื่องมือทางการเงินต่างๆ เช่น พนั ธบตั รรัฐบาล หุน้ กู้ ตว๋ั สัญญาใชเ้ งิน เป็นหลกั ประกนั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook