Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ ป.5 (1-2564)

แผนการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ ป.5 (1-2564)

Published by Arpaporn Sonprasert, 2021-08-24 07:06:04

Description: แผนการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ ป.5 (1-2564)

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เร่ือง ความเป็นมาของทอ้ งถิ่น แผนจดั การเรียนรทู้ ี่ 1 เร่อื ง วิธีการสบื ค้นความเปน็ มาของท้องถ่ิน รายวชิ า ประวัตศิ าสตร์ รหัสวิชา ส 15102 ระดบั ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 5 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 น้าหนักเวลาเรยี น 1.0 (นน./นก.) เวลาเรยี น 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 1 ชัว่ โมง ....................................................................................................................................................... 1. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตวั ชว้ี ดั ชนั้ ปี/ผลการเรยี นร/ู้ เป้าหมายการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ ส 4.1 เขา้ ใจความหมายความสาคญั ของเวลา และยุคสมัยทางประวตั ศิ าสตร์สามารถใชว้ ิธกี าร ทางประวตั ิศาสตรม์ าวเิ คราะหเ์ หตุการณ์ต่างๆ อย่างเปน็ ระบบ ตวั ชว้ี ัด/ผลการเรยี นรู้ ส 4.1 ป.5/1 สืบค้นความเปน็ มาของท้องถิ่นโดยใช้หลักฐานทห่ี ลากหลาย 2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 2.1 วเิ คราะห์วธิ กี ารสืบค้นความเป็นมาของท้องถิน่ 2.2 ค้นหาวิธกี ารสืบค้นทางประวตั ศิ าสตร์ 2.3 สนใจศกึ ษาวธิ ีการสบื คน้ ขอ้ มลู ทางประวัติศาสตร์ 3. สาระส้าคญั การสบื ค้นความเปน็ มาของท้องถิ่นตามขน้ั ตอนวิธีการทางประวตั ิศาสตรท์ ่ีรอบคอบและสบื คน้ ศึกษา จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ท่ีปรากฏตามแหล่งข้อมูลทาให้สามารถทราบข้อเท็จจริงเก่ียวกับความเป็นมา ของทอ้ งถน่ิ ได้ชดั เจน และตรงกับความเป็นจรงิ 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 การสบื ค้นความเป็นมาของท้องถน่ิ 5. คุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ ตวั ชีว้ ัดท่ี 4.1 ตง้ั ใจ เพียรพยายามในการเรยี นและเขา้ รว่ มกิจกรรมการเรียนรู้ 6. สมรรถนะสา้ คญั ของผเู้ รยี น 6.1 ความสามารถในการสื่อสาร 6.2 ความสามารถในการคิด 6.3 ความสามารถในการแกป้ ัญหา 6.4 ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ 6.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

7. ช้นิ งานหรือภาระงาน 7.1 แผนภาพ วิธีการสืบค้นความเปน็ มาของท้องถิน่ 8. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 8.1 ครทู าการทักทายนักเรียนวา่  นักเรียนทราบประวัติความเป็นมาของท้องถิ่นตนเองหรือไม่ (ตัวอย่างค้าตอบ ยังไม่ทราบ ชัดเจน)  ทาอย่างไรจึงจะทราบประวัติความเป็นมาของท้องถิ่นตนเอง (ตัวอย่างค้าตอบ ถามผู้รู้ ค้นควา้ จากหนังสือ)  นักเรียนต้องการทราบประวัติความเป็นมาของท้องถ่ินตนเองหรือไม่ (ตัวอย่างค้าตอบ ตอ้ งการทราบครบั /ค่ะ) 8.2 ครูนาภาพโบราณสถานท่ีเปน็ แหลง่ ข้อมูลในทอ้ งถ่ินให้นักเรียนดู จากน้ันให้นักเรียนร่วมกันศึกษา วธิ ีการสบื คน้ ความเปน็ มาของท้องถ่นิ แลว้ รว่ มกันแสดงความคดิ เห็น โดยครูใช้คาถาม ดงั น้ี  ขนั้ ตอนวธิ กี ารทางประวัติศาสตรม์ ีกี่ขนั้ ตอน อะไรบา้ ง (ตวั อย่างค้าตอบ มี 4 ข้ันตอน ได้แก่ การตั้งค้าถามในเรื่องที่สนใจ การรวบรวมข้อมูล การเรียบเรียงข้อมูล และการน้าเสนอ เร่ืองราว) 8.3 ครูและนักเรียนสรุปเก่ียวกับข้ันตอนวิธีการทางประวัติศาสตร์เป็นแผนภาพลงบนกระดานพร้อม อธิบายประกอบ นาเสนอเรื่องราว เพ่ือนาเสนอผลจากการศึกษา เรียบเรยี งเรื่องราวจากข้อมูลทร่ี วบรวมได้ เพ่อื อธิบายเรื่องราวทเ่ี กิดข้ึน รวบรวมขอ้ มลู จากหลักฐานประวตั ิศาสตร์ เพื่อใหไ้ ด้ขอ้ เท็จจรงิ เกี่ยวกับเรอ่ื งท่ศี กึ ษา ตง้ั คาถามในเร่ืองทส่ี นใจ เพ่ือศึกษาเรือ่ งราวที่สนใจ ขัน้ ตอนวธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตร์ 8.4 ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มตามความเหมาะสม ร่วมกันวางแผนข้ันตอนวิธีการทางประวัติศาสตร์ใน การศกึ ษาเหตกุ ารณ์สาคญั ท่ีเกิดขึน้ ในทอ้ งถ่นิ ของตนเอง โดยออกแบบแผนภาพพร้อมตกแต่งให้สวยงาม  เมอ่ื ทกุ กลุม่ ทาเสร็จแลว้ ให้ส่งผแู้ ทนกลมุ่ ออกมานาเสนอแผนภาพให้เพ่ือนดหู นา้ ชน้ั เรยี น 8.5. ใหน้ ักเรียนและครรู ว่ มกนั สรุปความรู้ ดงั นี้  วิธีการสืบค้นความเป็นมาของท้องถิ่น เริ่มจากการกาหนดหัวข้อการรวบรวมข้อมูลหลักฐาน ตรวจสอบขอ้ มลู เรียบเรียงข้อมูล และนาเสนอข้อมูล ตามขั้นตอนวิธีการทางประวัติศาสตร์ ทาให้สามารถทราบข้อเทจ็ จรงิ เกยี่ วกบั ความเปน็ มาของทอ้ งถ่นิ ตรงกับความเป็นจรงิ 8.6 ให้นักเรยี นรว่ มกันแสดงความคิดเหน็ โดยครูใช้คาถามทา้ ทาย ดงั น้ี  นกั เรียนได้อะไรจากการศกึ ษาวิธกี ารสืบคน้ ขอ้ มลู ความเป็นมาของท้องถน่ิ

9. สอ่ื การเรียนการสอน / แหลง่ เรยี นรู้ 9.1 ภาพโบราณสถานของท้องถิน่ 10. การวดั ผลและประเมินผล 10.1 วิธีการวัดและประเมนิ ผล 10.1.1 สังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในการเข้าร่วมกจิ กรรม 10.1.2 สังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรมกล่มุ 10.2 เครอ่ื งมอื 10.2.1 แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรม 10.2.2 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกล่มุ 10.3 เกณฑก์ ารประเมิน 10.3.1 การประเมนิ พฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรม ผ่านตง้ั แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผ่าน ผา่ น 1 รายการ ถอื วา่ ไมผ่ า่ น 10.3.2 การประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่ คะแนน 9-10 ระดบั ดมี าก คะแนน 7-8 ระดบั ดี คะแนน 5-6 ระดับ พอใช้ คะแนน 0-4 ระดับ ควรปรับปรงุ



แผนการจดั การเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เร่ือง ความเปน็ มาของท้องถนิ่ แผนจดั การเรยี นรูท้ ่ี 2 เร่ือง หลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ รายวชิ า ประวัติศาสตร์ รหัสวิชา ส 15102 ระดับชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 5 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 นา้ หนกั เวลาเรยี น 1.0 (นน./นก.) เวลาเรียน 1 ชวั่ โมง/สัปดาห์ เวลาทใ่ี ช้ในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 1 ชวั่ โมง ....................................................................................................................................................... 1. มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตัวชีว้ ดั ช้นั ปี/ผลการเรยี นร/ู้ เป้าหมายการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ส 4.1 เขา้ ใจความหมายความสาคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัตศิ าสตร์สามารถใช้วิธกี าร ทางประวตั ศิ าสตรม์ าวิเคราะหเ์ หตุการณต์ า่ งๆ อย่างเปน็ ระบบ ตวั ช้วี ัด/ผลการเรยี นรู้ ส 4.1 ป.5/1 สืบค้นความเป็นมาของท้องถน่ิ โดยใชห้ ลักฐานท่หี ลากหลาย 2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 2.1 อธิบายความรหู้ ลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ 2.2 จาแนกหลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ 2.3 มคี วามสนใจศึกษาเรยี นรู้เหตกุ ารณ์ทางประวัติศาสตร์ เพื่อพัฒนาความรูค้ วามเข้าใจทาง ประวตั ศิ าสตร์ได้อย่างถูกต้อง 3. สาระส้าคญั หลักฐานทางประวัติศาสตร์มีหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษรและหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร เรียกว่าหลกั ฐานชน้ั ต้น และหลักฐานที่บันทึกเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ในภายหลังเรียกว่าหลักฐานช้ัน รอง 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 หลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ 5. คุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ ใฝ่เรยี นรู้ ตวั ชว้ี ดั ที่ 4.1 ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกจิ กรรมการเรียนรู้ 6. สมรรถนะส้าคัญของผู้เรยี น 6.1 ความสามารถในการสอ่ื สาร 6.2 ความสามารถในการคิด 6.3 ความสามารถในการแก้ปญั หา 6.4 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต 6.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

7. ช้นิ งานหรอื ภาระงาน 7.1 แผนภาพ หลักฐานทางประวัติศาสตร์ 8. การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 8.1 ครูทักทายนักเรียนก่อนนาเข้าสู่บทเรียน โดยการตั้งคาถามให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นเพื่อ กระตุ้นความคิด ดังนี้  เหตุการณ์เรื่องราวทางประวัติศาสตร์มีความเป็นมาอย่างไรและได้ข้อมูลเหตุการณ์มาจาก แหลง่ ใด โดยครใู หน้ กั เรยี นแสดงความคิดเหน็ ทลี ะคน จากนนั้ ครูอธบิ ายเปน็ ความรเู้ พิม่ เตมิ ว่า “เหตุการณ์ ทางประวัติศาสตร์เป็นเหตุการณ์เรื่องราวท่ีมีการเล่าสืบต่อมาจากคร้ังอดีตโดยการบันทึกเรื่องราว ต่างๆ ลงในหลักฐานบันทึก เช่น จารึกใบลาน พงศาวดาร หลักศิลาจารึก และการสืบค้นข้อมูลจาก หลักฐานทางโบราณคดี เช่น โบราณสถาน โบราณวตั ถุ จงึ ทาให้เราได้ทราบเรื่องราวเหตุการณ์ในคร้ัง อดีตของบรรพบรุ ุษได้” 8.2 ครูใหน้ ักเรียนร่วมกนั ศึกษาหลักฐานทางประวัตศิ าสตรว์ ่ามอี ะไรบ้างโดยครใู ชค้ าถาม ดงั น้ี  นกั ประวัติศาสตร์มกี ารแบ่งหลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์กันอย่างไรบ้างโดยให้ครูสรุป คาตอบของนักเรียนเขียนเป็นโครงสร้างแผนภาพบนกระดานพร้อมมีภาพตัวอย่างหลักฐาน ทางประวตั ิศาสตร์แสดงประกอบกับแผนภาพ ดังน้ี ตวั อย่างแผนภาพ หลกั ฐานท่เี ป็นลายลกั ษณ์อักษร หลักฐานทไ่ี ม่เป็นลายลักษณ์อักษร ศิลาจารกึ โบราณสถาน จดหมายเหตุ โบราณวตั ถุ พงศาวดาร เคร่อื งมือ / เครื่องใช้ แผนที่ คาบอกเลา่ หลักฐานช้ันต้น หลักฐานช้นั รอง เปน็ ข้อมูลที่นักประวัติศาสตร์รวบรวมจากหลกั ฐานชั้นต้นมาเรยี บเรียงเป็นตาราบันทึก เรอื่ งราวทางประวัติศาสตรใ์ ห้เราไดศ้ ึกษาทาใหเ้ ข้าใจเหตกุ ารณ์ทางประวตั ิศาสตรไ์ ด้งา่ ยข้ึน แต่ ก็มีความนา่ เช่อื ถือน้อยกว่าหลกั ฐานชัน้ ต้น

8.3 ใหค้ รอู ธิบายสรปุ ความรูจ้ ากแผนภาพเพ่ิมเติม 8.4 ใหน้ ักเรียนร่วมกนั สรุปความรู้ ดังนี้  หลกั ฐานทางประวัติศาสตรม์ หี ลักฐานท่เี ปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษรและหลักฐานที่ไมเ่ ป็น ลายลกั ษณอ์ ักษร เรยี กว่าหลกั ฐานช้ันต้น และหลักฐานทบ่ี ันทึกเหตกุ ารณ์ทางประวตั ิศาสตร์ ในภายหลังเรียกวา่ หลกั ฐานชั้นรอง 8.5 ใหน้ ักเรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็นโดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดังนี้  นักเรยี นได้อะไรจากการศึกษาเหตุการณ์ทางประวัตศิ าสตร์ 9. ส่อื การเรยี นการสอน / แหลง่ เรยี นรู้ 9.1 ภาพตัวอยา่ งหลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ 10. การวดั ผลและประเมนิ ผล 10.1 วิธีการวดั และประเมินผล 10.1.1 สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในการเขา้ รว่ มกิจกรรม 10.2 เคร่ืองมือ 10.2.1 แบบสังเกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรม 10.3 เกณฑก์ ารประเมนิ 10.3.1 การประเมนิ พฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรม ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ผา่ น



แผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 เรอ่ื ง ความเปน็ มาของท้องถน่ิ แผนจดั การเรยี นรู้ที่ 3 เรือ่ ง หลักฐานทางประวัติศาสตร์ท่ีใช้ในการศกึ ษาทอ้ งถนิ่ รายวิชา ประวตั ิศาสตร์ รหัสวิชา ส 15102 ระดับชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 น้าหนักเวลาเรยี น 1.0 (นน./นก.) เวลาเรยี น 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลาทใี่ ช้ในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 1 ชั่วโมง ....................................................................................................................................................... 1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชี้วดั ชั้นป/ี ผลการเรียนร้/ู เป้าหมายการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ส 4.1 เขา้ ใจความหมายความสาคญั ของเวลา และยุคสมัยทางประวัตศิ าสตรส์ ามารถใช้วิธีการ ทางประวตั ิศาสตร์มาวเิ คราะห์เหตุการณ์ตา่ งๆ อย่างเปน็ ระบบ ตัวช้ีวัด/ผลการเรียนรู้ ส 4.1 ป.5/2 รวบรวมขอ้ มลู จากแหล่งต่าง ๆ เพื่อตอบคาถามทางประวัติศาสตรอ์ ยา่ งมีเหตุผล 2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 2.1 ระบุหลกั ฐานทางประวัติศาสตรท์ ่ใี ช้ในการศกึ ษาท้องถิ่น 2.2 จาแนกหลักฐานทางประวัตศิ าสตรท์ ี่ใชเ้ พื่อการศึกษาประวัติความเป็นมาของท้องถน่ิ 2.3 สนใจศกึ ษาหลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ของท้องถ่ินตนเอง 3. สาระสา้ คัญ หลักฐานทางประวัติศาสตรท์ ่ีใชใ้ นการศึกษาท้องถนิ่ ประกอบดว้ ยหลักฐานท่เี ปน็ ลายลักษณ์-อักษร และ หลักฐานที่ไมเ่ ปน็ ลายลักษณ์อักษร 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 หลักฐานทางประวตั ิศาสตรท์ ่ใี ช้ในการศกึ ษาท้องถ่นิ 5. คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ ใฝ่เรยี นรู้ ตัวชี้วัดที่ 4.1 ต้ังใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้ารว่ มกจิ กรรมการเรยี นรู้ 6. สมรรถนะส้าคญั ของผู้เรียน 6.1 ความสามารถในการสอื่ สาร 6.2 ความสามารถในการคิด 6.3 ความสามารถในการแกป้ ญั หา 6.4 ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ 6.5 ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

7. ช้นิ งานหรอื ภาระงาน 7.1 แผนภาพ หลักฐานทางประวัตศิ าสตรท์ ่ีใชใ้ นการศึกษาท้องถิ่น 8. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ 8.1 ครูให้นักเรียนดภู าพที่เกี่ยวข้องกับหลักฐานทางประวัติศาสตร์ เช่น ภาพวาดกรุงศรีอยุธยา ภาพ ศิลาจารึกพอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราช แลว้ ร่วมกนั แสดงความคดิ เหน็ โดยครใู ช้คาถาม ดงั น้ี  สง่ิ ทีอ่ ยู่ในภาพเป็นของสมยั อดีตหรือปัจจบุ นั (ตัวอยา่ งคา้ ตอบ สมยั อดีต)  ภาพท่ีครูนามาให้ดูแสดงให้เห็นเร่ืองราวทางประวัติศาสตร์อย่างไรบ้าง (ตัวอย่างค้าตอบ สภาพสังคม ลกั ษณะการดา้ เนนิ ชีวิต)  ถ้านักเรียนจะศึกษาเร่ืองราวทางประวัติศาสตร์จะศึกษาได้จากส่ิงใดบ้าง (ตัวอย่างค้าตอบ ภาพวาด ศลิ าจารกึ )  นักเรียนคิดวา่ หลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ที่ทาให้รู้เร่ืองราวความเป็นมาและเหตุการณ์สาคัญ ทางประวัติศาสตร์มอี ะไรบา้ ง (ตัวอย่างค้าตอบ ภาพวาด ศิลาจารกึ จดหมายเหตุ) 8.2 ให้นักเรียนอ่านเน้ือหาเก่ียวกับหลักฐานท่ีใช้ในการศึกษาเร่ืองราวในอดีตของท้องถิ่นในหนังสือ เรยี นหรือในชุดกจิ กรรม แลว้ แสดงความคิดเห็น โดยครูใชค้ าถาม ดงั นี้  ข้อมูลประวัติศาสตร์ หมายถึงอะไร (ตัวอย่างค้าตอบ ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดที่ รวบรวมไดจ้ ากหลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์)  หลักฐ านประวัติศาสตร์แบ่งออกเป็นก่ีประเภท อะไรบ้าง (ตัวอย่างค้าตอบ 2 ประเภท ได้แก่ หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร และหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์ อกั ษร) 8.3 ครูให้นักเรียนร่วมกันยกตัวอย่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์ โดยครูผู้สอนเป็นผู้จดชื่อหลักฐาน ทางประวตั ิศาสตร์ลงบนกระดาน ตัวอย่างแผนภาพ บันทกึ จดหมายเหตุ คาบอกเล่า หลกั ฐานทาง แผนท่ี ภาพวาด ประวตั ศิ าสตร์ หนังสือ โบราณวตั ถุ โบราณสถาน

8.4 ครูทาบตั รคาเก่ียวกบั หลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ ตวั อย่างบตั รค้า โบราณวัตถุ โบราณสถาน ภาพวาด คาบอกเลา่ จารึกใบลาน พงศาวดาร หลกั ศลิ าจารกึ จดหมายเหตุ 8.5 ครูอธบิ ายเพิ่มเติมเก่ยี วกับกล่มุ ประเทศสมาชิกอาเซยี น ดงั นี้ ประเทศไทยค้นพบจารึกจิตรเสนท่ีแสดงถึงการเผยแพร่กระจายวัฒนธรรม “เจนละ” หรือ วัฒนธรรมสมัยก่อนเมืองพระนคร ราวพุทธศตวรรษที่ 12-14 และจารึกของไทยมีความสอดคล้องกับจารึกท่ี พ บ ใ น ป ร ะ เ ท ศ กั ม พู ช า แ ล ะ จ ด ห ม า ย เ ห ตุ จี น ที่ แ ส ด ง ว่ า เ ม่ื อ ใ ด ที่ ก ษั ต ริ ย์ ที่ ท ร ง อ นุ ภ า พ ขึ้นครองราชอาณาจักรขอมแล้ว มักจะแผ่พระเดชานุภาพ เข้าไปในดินแดนใกล้เคียง รวมถึง ประเทศไทย โดยหลักฐานท่ีพบเชื่อว่าอาณาจักรเจนละ อยู่ในลุ่มน้าโขงตอนกลาง เขตเมืองจาปาศักดิ์ประเทศ ลาวปจั จบุ ัน พระเจ้าจิตรเสน หลังจากขึ้นครองราชย์ ทรงพระนามว่า พระเจ้ามเหนทรวรมัน เป็นกษัตริย์องค์ สาคัญของเจนละท่ีเรอื งอานาจมาก หลักฐานเก่ยี วกบั อานาจของพระองคน์ ั้น พบอย่เู ปน็ จานวนมาก ในดินแดน ภาคใต้ของประเทศลาว และบรเิ วณภาคเหนือของประเทศกัมพูชาปัจจุบัน แต่ท่ีพบมากที่สุด ได้แก่ บริเวณลุ่ม แม่น้ามลู ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือของประเทศไทย พระเจ้าจิตรเสน ทรงมีความเช่ียวชาญการศึกสงคราม จดหมายเหตุจีนสมัยราชวงศ์ซุย เมื่อ ประมาณ พ.ศ. 1132-1161 ได้บันทึกไว้ว่า “พระเจ้าจิตรเสนพระองค์นี้น่าจะได้เผชิญศึกสงคราม ควบคู่ไปกับ พระเชษฐาของพระองค์ คือ พระเจ้าภววรมันท่ี 1 เจ้าชายท้ัง 2 พระองค์ ทรงเป็นนักรบ ได้ร่วมแรงร่วมใจกัน ก่ อ ตั้ ง อ า ณ า จั ก ร เ จ น ล ะ ข้ึ น โ ด ย ย ก ก อ ง ทั พ ต่ อ ต้ า น อ า ณ า จั ก ร ฟู นั น จ น ป ร ะ ส บ ชัยชนะ” ทุกคร้ังท่ีพระเจ้าจิตรเสนได้รับชัยชนะ ก็จะสร้างศาสนานุสาวรีย์ พร้อมท้ังจารึก ประกาศพระราช ประสงค์ท่ีสร้างรูปเคารพขึ้น เป็นการอุทิศถวายแด่พระศิวะเทพเจ้า โดยมีพระประสงค์จะให้เป็นที่สักการบูชา ของปวงชน ณ อาณาบรเิ วณนน้ั ๆ อกี ท้งั เพ่อื เปน็ การเฉลิมฉลอง และเป็นทร่ี ะลึกแห่งชัยชนะของพระองค์ หลกั ฐานเก่าท่ีสุดที่พบในประเทศไทย ได้แก่ ศิลาจารึกท่ีระบุพระนามของพระเจ้าจิตรเสน หรือพระเจ้า มเหนทรวรมัน ปัจจุบันน้ีพบแล้ว จานวน 10 หลัก มีทั้งจารึกอยู่บนแท่งหิน ที่ทาขึ้นโดยเฉพาะ บนฐาน ประติมากรรม และบนผนังถา้ จารกึ ไวด้ ว้ ยภาษาสนั สกฤตเหมอื นกันทุกหลัก ถึงแม้จะไม่ปรากฏศักราช แต่เมื่อ ศกึ ษาวเิ คราะหร์ ปู อักษรในจารกึ แล้ว ทราบวา่ เปน็ รปู อักษรปัลลวะ ในระหว่างพุทธศตวรรษท่ี 12 จารึกเหล่าน้ี พบอยทู่ จี่ งั หวดั อบุ ลราชธานี จานวน 5 หลัก ไดแ้ ก่ จารกึ ปากแมน่ า้ มลู 1 และ 2 จารึกปากโดมน้อย จารึกวัดสุ ปัฏนาราม และจารึกถ้าภูหมาไน จารึกถ้าเป็ดทอง 3 หลัก ท่ีอาเภอปะคา จังหวัดบุรีรัมย์ บริเวณลุ่มแม่น้าชี ตอนบน พบจารึกวัดศรีเมืองแอม ที่อาเภอเขาสวนกวาง จังหวัดขอนแก่น ในภาคตะวันออก พบจารึกช่องสระ แจง ทอ่ี าเภอตาพระยา จงั หวดั สระแกว้ ข้อความในจารกึ ทงั้ หมด แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม คอื 1. กล่าวถึง พระนามพระเจ้าจิตรเสน ไม่ได้กล่าวถึงพระนามพระเจ้ามเหนทรวรมัน แสดงว่ามีการ จารึกในสมัยที่พระองค์ยังเป็นพระเ จ้าจิตรเสนทรงนับถือศาสนาพราหมณ์ ลัทธิไศว นิกาย

ตามบรรพบุรุษ เม่ือทาสงครามชนะข้าศึก แล้วพระองค์ได้สร้างศิวลึงค์ ด้วยความภักดีตามคาส่ังของพระบิดา และพระมารดา 2. กล่าวถึงพระประวัติพระเจ้ามเหนทรวรมัน และการสร้างศิวลึงค์ ไว้เป็นเครื่องหมายแห่งชัยชนะ ของพระองค์ ได้แก่ จารึกปากแม่น้ามูล 1 และ 2 จารึกวดั สปุ ัฏนาราม และจารกึ ปากโดมนอ้ ย 3. กล่าวถึงพระประวัติ พรเจา้ มเหนทรวรมนั เหมอื นกลุ่มท่ี 2 แตต่ อนทา้ ยต่างกนั คือ ให้สร้างโคอุสภะ ไว้เป็นสวัสดิมงคล แก่ชยั ชนะของพระองค์ ได้แก่ จารึกถ้าภหู มาไน และจารกึ วดั ศรีเมืองแอม 4. กลา่ วถึงการสรา้ งบ่อนา้ ไว้ใหแ้ กป่ ระชาชน ในจารึกช่องสระแจง จึงเชื่อว่าจารึกที่แสดงพระนามของกษัตริย์ขอม ปรากฏอยู่ ณ ที่ใด ก็อาจจะแสดงถึงความสัมพันธ์ ระหวา่ งราชอาณาจักรขอมกบั ดินแดนนน้ั ๆ จากจารึกที่พบแล้วในปัจจุบัน ทาให้ทราบถึง ร่องรอยความยิ่งใหญ่ของ อ า ณ า จั ก ร เ จ น ล ะ ใ น รั ช ก า ล พ ร ะ เ จ้ า ม เ ห น ท ร ว ร มั น มี อ า ณ า เ ข ต ค ร อ บ ค ลุ ม ลานา้ โขง ต้งั แต่เมืองภวปุระ ซึ่งเป็นเมืองราชธานีในเขตประเทศกัมพูชา ผ่านเมืองจาปาศักด์ิ เขตประเทศลาว เขา้ สดู่ นิ แดนทิศตะวันตกเขตประเทศไทย ที่ปากแม่น้ามูล จังหวัดอุบลราชธานี ล่องตามลาน้าเข้ามาถึงบริเวณ จงั หวัดบรุ รี ัมย์ และขน้ึ มาตามลานา้ ทีจ่ งั หวัดขอนแก่น สว่ นดินแดนตอนใต้น้ันเข้าไปถึงบริเวณเทือกเขาดงรัก ที่ จังหวดั สระแก้ว ซึ่งอยู่ในลุ่มแม่น้าบางปะกง และบางทีอาจจะเลยเข้าไปถึงลุ่มแม่น้าป่าสัก ที่จังหวัดเพชรบูรณ์ อกี ดว้ ย หลักฐานจากจารกึ ทกี่ ลา่ วมาขา้ งตน้ เป็นหลกั ฐานทางประวัติศาสตรร์ นุ่ แรกสดุ ที่พบ แสดงให้เห็นถึง ความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนโบราณในแถบอีสาน กับอาณาจักรเจนละทั้งด้านการปกครอง และศาสนาระยะ แรกเริม่ โดยเฉพาะศาสนาพราหมณ์ ลทั ธไิ ศวนิกาย จากน้ันแบง่ กลุ่มนักเรียน 2 กลุ่มตามความเหมาะสม แล้วให้แต่ละกลุ่มส่งผู้แทนออกมาติดบัตรคาลง บนกระดาน ซึง่ ครูแบ่งกระดานเป็น 2 ดา้ น คือ ด้านท่ี 1 หลักฐานทีเ่ ปน็ ลายลักษณ์อักษร ด้านที่ 2 หลักฐานท่ี ไม่เปน็ ลายลักษณ์อักษร โดยครูคอยตรวจสอบความถกู ต้องและให้คาแนะนาเพมิ่ เติมพร้อมอธบิ าย 8.6 ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั สรปุ ความรูเ้ กี่ยวกบั หลกั ฐานประวตั ิศาสตร์ โดยครูใช้คาถามดงั นี้  การศกึ ษาขอ้ มูลจากหลักฐานประวตั ิศาสตร์มปี ระโยชน์อยา่ งไร (ตวั อย่างคา้ ตอบ ไดข้ ้อมูลทถ่ี ูกต้องชัดเจนและตรงตามความเป็นจริง) 8.7 ใหน้ ักเรยี นรว่ มกนั สรปุ ความรู้ ดังน้ี หลักฐานท่ีเป็นลายลักษณ์อักษรและหลักฐานท่ีไม่เป็นลายลักษณ์อักษรทางประวัติศาสตร์ เป็น หลักฐานที่ใช้ในการศึกษาสืบค้นความเป็นมาของท้องถิ่น เพ่ือให้ทราบข้อเท็จจริงเก่ียวกับท้องถ่ินตาม ขอ้ เท็จจริง 8.8 ให้นักเรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เหน็ โดยครใู ชค้ าถามท้าทาย ดงั นี้  หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรม์ คี วามสาคัญตอ่ ท้องถิ่นอย่างไร 9. สื่อการเรียนการสอน / แหลง่ เรียนรู้ 9.1 ภาพตวั อย่างหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ 9.2 บตั รคา หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์

10. การวัดผลและประเมนิ ผล 10.1 วิธีการวัดและประเมนิ ผล 10.1.1 สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในการเข้ารว่ มกจิ กรรม 10.1.2 สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่ 10.2 เครือ่ งมอื 10.2.1 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม 10.2.2 แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลุ่ม 10.3 เกณฑ์การประเมิน 10.3.1 การประเมนิ พฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรม ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือวา่ ผ่าน ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไมผ่ ่าน 10.3.2 การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกล่มุ คะแนน 9-10 ระดับ ดีมาก คะแนน 7-8 ระดบั ดี คะแนน 5-6 ระดับ พอใช้ คะแนน 0-4 ระดับ ควรปรับปรงุ



แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 1 เรื่อง ความเป็นมาของทอ้ งถน่ิ แผนจดั การเรยี นรูท้ ่ี 4 เรอื่ ง การนา้ เสนอความเป็นมาของท้องถนิ่ โดยอา้ งอิงจากหลักฐาน (1) รายวชิ า ประวัติศาสตร์ รหัสวชิ า ส 15102 ระดับชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 5 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 นา้ หนกั เวลาเรยี น 1.0 (นน./นก.) เวลาเรยี น 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลาท่ใี ช้ในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 1 ชวั่ โมง ....................................................................................................................................................... 1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชว้ี ดั ชั้นปี/ผลการเรียนรู/้ เป้าหมายการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ ส 4.1 เข้าใจความหมายความสาคญั ของเวลา และยคุ สมัยทางประวตั ศิ าสตรส์ ามารถใชว้ ธิ กี าร ทางประวัติศาสตรม์ าวเิ คราะหเ์ หตกุ ารณ์ต่างๆ อย่างเปน็ ระบบ ตวั ช้วี ัด/ผลการเรียนรู้ ส 4.1 ป.5/1 สบื คน้ ความเป็นมาของท้องถิ่นโดยใชห้ ลกั ฐานทห่ี ลากหลาย 2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 2.1 นาเสนอเร่ืองราวความเป็นมาของท้องถน่ิ ตนเอง 2.2 ค้นหาขอ้ มูลเร่อื งราวความเปน็ มาของท้องถ่นิ เพ่ือนาเสนอข้อมลู 2.3 สนใจศกึ ษาเรยี นรู้ประวัติศาสตร์ในท้องถน่ิ ของตนเอง 3. สาระสา้ คัญ การนาเสนอข้อมูลเปน็ ขน้ั ตอนสดุ ทา้ ยของการสบื คน้ ความเป็นมาของทอ้ งถน่ิ โดยมีการอ้างอิงจาก หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ประกอบการนาเสนอ 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 การศกึ ษาการนาเสนอความเป็นมาของท้องถ่ินโดยอา้ งอิงจากหลักฐาน 5. คณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ ใฝ่เรยี นรู้ ตวั ช้ีวัดท่ี 4.1 ต้ังใจ เพยี รพยายามในการเรยี นและเขา้ ร่วมกิจกรรมการเรยี นรู้ 6. สมรรถนะสา้ คญั ของผูเ้ รยี น 6.1 ความสามารถในการส่ือสาร 6.2 ความสามารถในการคิด 6.3 ความสามารถในการแก้ปญั หา 6.4 ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ 6.5 ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

7. ช้ินงานหรือภาระงาน 7.1 ตวั อย่าง การนาเสนอความเปน็ มาของท้องถ่ิน 8. การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 8.1 ครูนาตัวอย่างการนาเสนอความเป็นมาของท้องถ่ิน โดยการเล่าเรื่อง ครูให้ผู้แทนนักเรียน ออกมาอา่ นให้เพือ่ นฟงั และใช้คาถามให้นักเรียนรว่ มกันสนทนา ดังนี้ ตัวอย่างการน้าเสนอความเปน็ มาของทอ้ งถิ่น ฉนั อาศยั อยู่ท่ีอาเภอกนั ทรลักษณ์ จังหวดั ศรสี ะเกษ จังหวัดที่ฉันอาศัยอยู่เดิมเรียก เมือง ขุขันธ์ นักโบราณคดีสันนิษฐานว่าขอมเคยมีอานาจอยู่ในบริเวณนี้ เพราะปรากฏหลักฐานในพื้นที่ ซึ่งเป็น โบราณสถานและโบราณวัตถุของขอมหลายอย่าง เช่น ปราสาทโดนตวล ปราสาทพระวิหาร เป็นต้น ในพุทธศตวรรษท่ี 25 ฝร่ังเศส ได้ขยายอานาจเข้ามาครอบครองกัมพูชา และอ้างสิทธิเหนือปราสาท พระวิหารจนกระท่ังศาลโลกตัดสินให้ปราสาทพระวิหารอยู่ภายใต้อธิปไตยของกัมพูชา เมื่อวันท่ี 15 มถิ ุนายน พ.ศ. 2505 การนาเสนอขอ้ มูลดงั กล่าว ฉันใช้หลักฐาน ดงั นี้ ปราสาทพระวิหาร รปู ภาพปราสาทพระวิหาร ปราสาทโดนตวล ซง่ึ แสดงให้เหน็ ถงึ สถาปตั ยกรรมของขอม คาพพิ ากษาของศาลโลกทต่ี ัดสนิ ใหป้ ราสาท- พระวิหารอยูภ่ ายใต้อธปิ ไตยของกัมพชู า เม่ือ พ.ศ. 2505 หนงั สือทเี่ กีย่ วข้องกับจังหวัดศรสี ะเกษและปราสาทพระวิหาร การนาเสนอข้อมลู ตามตวั อย่างมหี ลักฐานใดท่ใี ช้อ้างอิง (ตัวอย่างค้าตอบ รูปภาพปราสาทพระวิหาร ปราสาทโดนตวล หนังสือทีเ่ กย่ี วขอ้ งกบั จังหวดั ศรีสะเกษ) ครูอธบิ ายเพิม่ เติมว่า “การนาเสนอข้อมูล ต้องนาเสนอข้อมูลตามความเป็นจริง หลีกเลี่ยงการใช้อคติ และความรู้สึกส่วนตัวในการนาเสนอ และนาเสนอข้อมูลให้มีความน่าสนใจเพ่ือไม่ให้ผู้ฟังหรือผู้อ่านเกิด ความเบ่ือหน่าย การนาเสนอข้อมูลนอกจากการเล่าเรื่องแล้ว ยังมีการเขียนอย่างง่าย ๆ และการจัด นทิ รรศการ เปน็ ต้น” 8.2 ให้นกั เรยี นแบ่งกลมุ่ กล่มุ ละเท่า ๆ กนั รว่ มกันศกึ ษาข้อมูลประวัติศาสตร์ของท้องถ่ินของตนเอง จากแหลง่ ขอ้ มลู ต่าง ๆ เช่น หอ้ งสมุด พิพธิ ภัณฑ์ในจังหวัด 8.3 ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งผู้แทนออกมานาเสนอผลการศึกษาข้อมูลเก่ียวกับประวัติศาสตร์ของ ท้องถ่ินตนเองมาเล่าให้เพือ่ นฟังพร้อมบอกแหล่งท่ีมาของข้อมูลท่ีตนไปศึกษาคน้ ควา้ มา

8.4 ใหน้ ักเรียนและครูรว่ มกันสรุปความรู้ ดงั น้ี การนาเสนอความเป็นมาของท้องถิ่น สามารถนาเสนอในรูปแบบการเล่าเร่ือง การเขียน การจัด นิทรรศการโดยสบื ค้นจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ท่ีมีปรากฏในห้องสมุด พิพิธภัณฑ์ และโบราณสถาน ของท้องถิ่น 8.5 ให้นักเรียนร่วมกนั แสดงความคิดเหน็ โดยครใู ชค้ าถามทา้ ทาย ดงั น้ี  นกั เรยี นมีรูปแบบการนาเสนอเร่ืองราวของท้องถิน่ ตนเองให้น่าสนใจไดอ้ ยา่ งไร 9. ส่ือการเรยี นการสอน / แหลง่ เรียนรู้ 9.1 ตัวอยา่ ง การนาเสนอเร่ืองเลา่ ทางประวัตศิ าสตร์ 10. การวดั ผลและประเมนิ ผล 10.1 วิธีการวดั และประเมินผล 10.1.1 สงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี นในการเข้าร่วมกจิ กรรม 10.1.2 สงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี นในการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลุ่ม 10.2 เคร่อื งมอื 10.2.1 แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรม 10.2.2 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลมุ่ 10.3 เกณฑก์ ารประเมิน 10.3.1 การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม ผ่านต้งั แต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผา่ น 1 รายการ ถือว่า ไมผ่ ่าน 10.3.2 การประเมนิ พฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลุม่ คะแนน 9-10 ระดับ ดมี าก คะแนน 7-8 ระดับ ดี คะแนน 5-6 ระดับ พอใช้ คะแนน 0-4 ระดบั ควรปรบั ปรุง



แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 1 เรื่อง ความเป็นมาของทอ้ งถน่ิ แผนจดั การเรยี นรูท้ ่ี 5 เรอื่ ง การนา้ เสนอความเป็นมาของท้องถนิ่ โดยอา้ งอิงจากหลักฐาน (2) รายวชิ า ประวัติศาสตร์ รหัสวชิ า ส 15102 ระดับชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 5 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 นา้ หนกั เวลาเรยี น 1.0 (นน./นก.) เวลาเรยี น 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลาท่ใี ช้ในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 1 ชวั่ โมง ....................................................................................................................................................... 1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชว้ี ดั ชั้นปี/ผลการเรียนร/ู้ เป้าหมายการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ ส 4.1 เข้าใจความหมายความสาคญั ของเวลา และยคุ สมัยทางประวตั ศิ าสตรส์ ามารถใชว้ ธิ กี าร ทางประวัติศาสตรม์ าวิเคราะหเ์ หตกุ ารณ์ต่างๆ อย่างเปน็ ระบบ ตวั ช้วี ัด/ผลการเรียนรู้ ส 4.1 ป.5/1 สบื คน้ ความเป็นมาของท้องถ่ินโดยใชห้ ลกั ฐานทห่ี ลากหลาย 2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 2.1 นาเสนอเร่ืองราวความเป็นมาของท้องถน่ิ ตนเอง 2.2 ค้นหาขอ้ มูลเร่อื งราวความเปน็ มาของท้องถนิ่ เพ่ือนาเสนอข้อมลู 2.3 สนใจศกึ ษาเรยี นรู้ประวัติศาสตร์ในท้องถน่ิ ของตนเอง 3. สาระสา้ คัญ การนาเสนอข้อมูลเปน็ ขน้ั ตอนสดุ ทา้ ยของการสืบคน้ ความเป็นมาของทอ้ งถน่ิ โดยมีการอ้างอิงจาก หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ประกอบการนาเสนอ 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 การศกึ ษาการนาเสนอความเป็นมาของท้องถน่ิ โดยอา้ งอิงจากหลักฐาน 5. คณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ ใฝ่เรยี นรู้ ตวั ช้ีวัดท่ี 4.1 ต้ังใจ เพยี รพยายามในการเรยี นและเขา้ ร่วมกิจกรรมการเรยี นรู้ 6. สมรรถนะสา้ คญั ของผูเ้ รยี น 6.1 ความสามารถในการส่ือสาร 6.2 ความสามารถในการคิด 6.3 ความสามารถในการแก้ปญั หา 6.4 ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต 6.5 ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

7. ชนิ้ งานหรือภาระงาน 7.1 แผนภาพ แหล่งข้อมลู ประวตั ศิ าสตร์ 7.2 ช้นิ งานที่ 1 เร่ือง การสืบค้นความเป็นมาของท้องถิ่น 8. การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 8.1 ให้นักเรียนอ่านเนื้อหาเกี่ยวกับแหล่งข้อมูลประวัติศาสตร์ในท้องถ่ิน จากน้ันร่วมกันแสดงความ คิดเห็น โดยครูใช้คาถาม ดังนี้  แหล่งข้อมูลประวัติศาสตร์ในจังหวัดที่ง่ายต่อการศึกษาของนักเรียนได้แก่ที่ใดบ้าง (ตัวอย่าง คา้ ตอบ ห้องสมุด พพิ ิธภัณฑ์ โบราณสถาน) 8.2 ครูเตรียมข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งข้อมูลแต่ละแหล่งในท้องถ่ินของตนเอง จากน้ันให้นักเรียนกลุ่ม เดิมร่วมกนั บอกว่าขอ้ มูลทค่ี รูบอกเปน็ ลักษณะของข้อมลู ท่ีได้จากแหลง่ ใด ตวั อย่าง สถานทีร่ วบรวมหนังสือ วารสาร หอ้ งสมดุ หนงั สือพมิ พท์ ี่มเี รอื่ งราวประวัตศิ าสตร์ สถานทสี่ าคญั ทางประวตั ิศาสตร์ เชน่ วัด โบราณสถาน โบสถ์ มัสยิด ศาลเจา้ พิพธิ ภณั ฑ์ สถานทเ่ี ก็บรวบรวมโบราณวตั ถุ เช่น พระพุทธรูป ภาพถ่าย เครือ่ งมอื เครื่องใช้ 8.3 ครูและนักเรียนรว่ มกันสรุปความร้เู ก่ยี วกบั แหลง่ ข้อมลู ประวัติศาสตรเ์ ป็นแผนภาพลงบนกระดาน หอ้ งสมุด พิพธิ ภัณฑ์ วัด โบสถ์ มัสยดิ แหล่งข้อมูล ประวัตศิ าสตร์ ศาลเจา้

8.4 ให้นักเรยี นและครรู ่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี การนาเสนอความเป็นมาของท้องถ่ิน สามารถนาเสนอในรูปแบบการเล่าเร่ือง การเขียน การจัด นทิ รรศการโดยสบื ค้นจากหลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ที่มีปรากฏในห้องสมุด พิพิธภัณฑ์ และโบราณสถาน ของท้องถิน่ 8.5 ให้นกั เรยี นร่วมกนั แสดงความคิดเหน็ โดยครใู ช้คาถามทา้ ทาย ดังนี้  การศึกษาและนาเสนอเหตุการณท์ างประวัติศาสตร์ของท้องถิน่ นักเรยี นได้รบั ประโยชน์ อยา่ งไรบ้าง 8.6 ให้นักเรยี นทาใบงานท่ี 1 การสบื คน้ ความเป็นมาของทอ้ งถ่นิ 9. สื่อการเรยี นการสอน / แหลง่ เรียนรู้ 9.1 ตัวอยา่ ง แหลง่ ข้อมูลในท้องถนิ่ 9.2 ช้นิ งานท่ี 1 เรอ่ื ง การสืบค้นความเปน็ มาของท้องถ่นิ 10. การวัดผลและประเมนิ ผล 10.1 วิธกี ารวัดและประเมนิ ผล 10.1.1 สงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้ารว่ มกิจกรรม 10.1.2 ตรวจช้นิ งานที่ 1 10.2 เครื่องมือ 10.2.1 แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรม 10.3 เกณฑ์การประเมิน 10.3.1 การประเมนิ พฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรม ผา่ นตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผ่าน 1 รายการ ถือวา่ ไม่ผ่าน

การประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Rubrics) การประเมินชนิ้ งานที่ 1 ใหผ้ สู้ อนพิจารณาจากเกณฑ์การประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Rubrics) เร่ือง การสบื คน้ ความเป็นมาของทอ้ งถิ่น เกณฑ์การประเมิน 4 ระดับคะแนน 1 32 เขียนอธบิ ายหรือ เขียนอธิบายหรอื สรปุ เขียนอธบิ ายหรอื สรุป เขยี นอธบิ ายหรอื สรุป เขียนอธิบายหรอื สรุป สรุปการสืบค้น การสบื คน้ เรอ่ื งราว การสบื คน้ เรื่องราว การสบื คน้ เรอื่ งราว การสบื ค้นเร่ืองราว เรือ่ งราวความ ความเปน็ มาของ ความเป็นมาของ ความเป็นมาของ ความเป็นมาของ เปน็ มาของท้องถิ่น ท้องถิ่นตนเอง ได้ ทอ้ งถ่ินตนเอง ทอ้ งถ่ินตนเอง ได้ ท้องถิน่ ตนเอง ได้ แต่ ตนเอง สัมพนั ธ์กัน มีการ ได้ มกี ารจาแนก สอดคลอ้ งกบั ข้อมลู มี ไมส่ อดคล้องกบั ข้อมูล เช่อื มโยงใหเ้ ห็นเป็น ขอ้ มูลหรืออธิบายให้ การเขยี นขยายความ เขียนตามข้อมูลที่อา่ น ภาพรวมแสดงให้เห็น เห็นถงึ ความสมั พันธ์ และยกตัวอย่าง ไมม่ ีการอธิบาย ถงึ ความ กับตนเองอยา่ งเปน็ เพ่ิมเติมให้เขา้ ใจงา่ ย เพิ่มเติม สัมพนั ธ์กบั ตนเอง เหตุเปน็ ผล และผอู้ ่นื



แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 1 เรอื่ ง ความเปน็ มาของทอ้ งถนิ่ แผนจดั การเรยี นรทู้ ่ี 6 เร่อื ง กจิ กรรมเสรมิ ทักษะความรู้การสืบค้นความเปน็ มาของท้องถ่นิ รายวิชา ประวตั ิศาสตร์ รหัสวิชา ส 15102 ระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 5 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 นา้ หนกั เวลาเรยี น 1.0 (นน./นก.) เวลาเรยี น 1 ช่วั โมง/สัปดาห์ เวลาทใี่ ชใ้ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ 1 ชั่วโมง ....................................................................................................................................................... 1. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตวั ชี้วดั ช้ันปี/ผลการเรยี นร/ู้ เป้าหมายการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ส 4.1 เข้าใจความหมายความสาคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัตศิ าสตรส์ ามารถใช้วธิ กี าร ทางประวัตศิ าสตรม์ าวเิ คราะหเ์ หตกุ ารณ์ตา่ งๆ อยา่ งเปน็ ระบบ ตัวชวี้ ัด/ผลการเรียนรู้ ส 4.1 ป.5/1 สบื คน้ ความเป็นมาของท้องถิ่นโดยใช้หลักฐานท่ีหลากหลาย 2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 2.1 อธิบายและสรปุ ความรู้การสืบค้นความเปน็ มาของท้องถนิ่ ลงในแบบกจิ กรรม 2.2 จาแนกและสรปุ ความรู้การสบื คน้ ความเป็นมาของท้องถ่นิ ลงในแบบกจิ กรรม 2.3 เห็นความสาคัญในการฝกึ ทกั ษะการเรียนรู้และทากิจกรรมระหวา่ งเรยี น 3. สาระสา้ คัญ การสืบค้นความเป็นมาของท้องถิ่นประกอบด้วยหลักฐานท่ีเป็นลายลักษณ์อักษร หลักฐานท่ีไม่เป็น ลายลักษณ์อักษรซ่ึงเป็นหลักฐานชั้นต้น และหลักฐานท่ีเรียบเรียงบันทึกเป็นตาราประวัติศาสตร์เรียกว่า หลกั ฐานชน้ั รอง 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 กจิ กรรมการสบื ค้นความเปน็ มาของท้องถ่ิน 5. คุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ ใฝเ่ รยี นรู้ ตวั ช้ีวดั ที่ 4.1 ตง้ั ใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้ารว่ มกจิ กรรมการเรียนรู้ 6. สมรรถนะส้าคัญของผเู้ รียน 6.1 ความสามารถในการส่ือสาร 6.2 ความสามารถในการคดิ 6.3 ความสามารถในการแกป้ ญั หา 6.4 ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ 6.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

7. ชน้ิ งานหรอื ภาระงาน 7.1 แบบกจิ กรรมเสริมทักษะความรู้ การสบื คน้ ความเป็นมาของท้องถิน่ 8. การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 8.1 ครูนาแบบกิจกรรม แบบฝึกหัดหรือครูสร้างแบบกิจกรรมเพ่ือนามาทดสอบความรู้พัฒนาเสริม ทักษะระหว่างเรยี น (แบบกิจกรรมใหข้ ึน้ อยกู่ บั ดุลยพินจิ ของครู) ดงั นี้ ตวั อยา่ งกิจกรรม ใหน้ กั เรยี นนาหลักฐานทางประวัติศาสตร์ท่กี าหนดให้จาแนกลงในแผนภาพให้ถกู ต้อง บันทึกสว่ นตัว พระพุทธรูป คาบอกเลา่ แผนที่ โปสเตอร์ โบราณสถาน หนังสอื พมิ พ์ แถบบันทกึ เสยี ง เอกสารราชการ เคร่ืองสังคโลก หลกั ฐานท่เี ปน็ ลายลกั ษณ์อกั ษร หลักฐานทไ่ี มเ่ ป็นลายลกั ษณอ์ ักษร 8.2 ใหน้ ักเรียนสารวจหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ที่มีในจังหวัดของนักเรียนมา 3 อย่าง จากน้ันบันทึก ขอ้ มลู ลงในแบบบันทึก แบบบันทึกหลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ จังหวดั _____________________________________________ ลา้ ดับที่ หลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ 1. _____________________________________________ 2. _____________________________________________

8.3 ให้นักเรียนอ่านข้อความที่กาหนดให้ แล้วนาตัวอักษรหน้าข้อความมาเรียงลาดับขั้นตอนการ สืบค้นความเป็นมาของท้องถิ่นลงในแผนภาพใหถ้ ูกต้อง ก. นาขอ้ มูลของสมาชิกมาจัดเรยี งลาดับเหตกุ ารณ์การต้ังถนิ่ ฐานของคนในจังหวัด ตัง้ แตอ่ ดตี จนถงึ ปจั จบุ ัน ข. จัดตัง้ โครงการศกึ ษาประวัตกิ ารต้งั ถน่ิ ฐานในจังหวดั ของตนเอง ค. สมาชิกในโครงการนาเหตกุ ารณ์เกี่ยวกบั การต้ังถ่ินฐานในจงั หวดั มาจัดเป็น ปา้ ยนิเทศแสดงผลงานใหค้ วามรแู้ กน่ ักเรยี นในโรงเรยี น ง. คน้ คว้าขอ้ มลู หลักฐานทางประวัตศิ าสตรเ์ ก่ียวกบั การตงั้ ถ่ินฐานในจังหวัดจาก หอ้ งสมดุ และพิพธิ ภณั ฑ์ในจังหวดั ขั้นตอนการสบื คน้ ความเปน็ มาของท้องถิ่น 8.4 ครตู รวจและเฉลยแบบกิจกรรมของนักเรียนพรอ้ มอธิบายสรปุ ความรู้เพิ่มเติม 8.5 ให้นักเรียนรว่ มกันสรปุ ความรู้ ดังน้ี การสืบค้นความเป็นมาของท้องถ่ินประกอบด้วยหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร หลักฐานท่ีไม่เป็นลาย ลักษณ์อักษรซึ่งเป็นหลักฐานช้ันต้น และหลักฐานท่ีเรียบเรียงบันทึกเป็นตาราประวัติศาสตร์เรียกว่า หลกั ฐานชน้ั รอง 8.6 ให้นกั เรยี นรว่ มกนั แสดงความคดิ เห็นโดยครูใช้คาถามท้าทาย ดังน้ี  นักเรียนไดร้ บั ความรู้อะไรจากการสบื คน้ ความเป็นมาของท้องถิ่นตนเอง 9. ส่อื การเรยี นการสอน / แหล่งเรียนรู้ 9.1 แบบกิจกรรมเสริมทักษะความรู้การสบื คน้ ความเป็นมาของท้องถิน่ 10. การวัดผลและประเมินผล 10.1 วธิ ีการวัดและประเมินผล 10.1.1 สังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการเข้ารว่ มกิจกรรม 10.2 เครือ่ งมือ 10.2.1 แบบสังเกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรม 10.3 เกณฑ์การประเมิน 10.3.1 การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม ผา่ นตง้ั แต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไมผ่ า่ น



แผนการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 เร่ือง ความเป็นมาของทอ้ งถ่นิ แผนจัดการเรยี นรูท้ ี่ 7 เรือ่ ง การตงั้ ค้าถามทางประวัตศิ าสตร์อยา่ งมเี หตุผล รายวชิ า ประวตั ิศาสตร์ รหัสวิชา ส 15102 ระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 5 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 นา้ หนกั เวลาเรียน 1.0 (นน./นก.) เวลาเรียน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลาที่ใชใ้ นการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 1 ชวั่ โมง ....................................................................................................................................................... 1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ช้ีวัดช้นั ปี/ผลการเรียนร้/ู เปา้ หมายการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ส 4.1 เขา้ ใจความหมายความสาคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตรส์ ามารถใชว้ ิธกี าร ทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อยา่ งเปน็ ระบบ ตวั ชวี้ ัด/ผลการเรียนรู้ ส 4.1 ป.5/2 รวบรวมขอ้ มูลจากแหลง่ ต่าง ๆ เพอื่ ตอบคาถามทางประวัติศาสตรอ์ ยา่ งมีเหตุผล 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 ยกตวั อยา่ งการตง้ั คาถามทางประวัติศาสตร์อย่างมเี หตุผล 2.2 ศกึ ษาและค้นหาการต้งั คาถามทางประวัติศาสตร์อยา่ งมเี หตุผล 2.3 สนใจศึกษาข้อมลู หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์เพ่ือใชต้ ั้งคาถามและตอบคาถามอย่างมเี หตุผล 3. สาระส้าคัญ การตัง้ คาถามเป็นข้ันตอนแรกของการสืบค้นข้อมูลทางประวัติศาสตร์ และเป็นการนาไปสู่การสืบค้น เพอื่ หาข้อมูลคาตอบทต่ี อ้ งการทราบอย่างมเี หตผุ ล 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 การใช้ขอ้ มูลเพ่ือต้ังคาถามอย่างมเี หตุผล 5. คณุ ลักษณะท่พี ึงประสงค์ ใฝเ่ รยี นรู้ ตัวชว้ี ดั ที่ 4.1 ตง้ั ใจ เพยี รพยายามในการเรยี นและเข้ารว่ มกจิ กรรมการเรียนรู้ 6. สมรรถนะสา้ คัญของผู้เรยี น 6.1 ความสามารถในการสื่อสาร 6.2 ความสามารถในการคิด 6.3 ความสามารถในการแกป้ ญั หา 6.4 ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ 6.5 ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

7. ชนิ้ งานหรือภาระงาน 7.1 แผนภาพ การใชข้ ้อมูลและหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ 8. การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 8.1 ครูนาเรื่องราวตัวอย่าง ปราสาทพระวิหารมาให้นักเรียนฟัง โดยคัดผู้แทนนักเรียนมาอ่านให้ เพอื่ นฟัง จากนั้นครูใชค้ าถามให้นกั เรยี นรว่ มกนั แสดงความคิดเหน็ ดงั นี้ เรือ่ งราว ปราสาทพระวิหาร ฝร่ังเศสได้เข้าครอบครองอินโดจีน และได้ทาสนธิสัญญาปักปันเขตแดนกับราชอาณาจักรสยาม (ประเทศไทย) เม่ือ พ.ศ. 2447 โดยระบุให้ใช้สันปันน้าเป็นเส้นแบ่งพรมแดน ซึ่งมีผลให้ปราสาทพระ วิหารอยู่ในดินแดนไทย ต่อมาใน พ.ศ. 2451 ฝร่ังเศสได้จัดทาแผนท่ีข้ึนฝ่ายเดียว แผนที่แผ่นหน่ึง คือ แผ่นดงรัก ซึ่งครอบคลุมพื้นท่ีปราสาทพระวิหาร ไม่ได้ใช้แนวสันปันน้า เป็นเส้นแบ่งพรมแดนทาให้ ปราสาทพระวิหารในแผนที่อยู่ในเขตแดนของกัมพูชา โดยรัฐบาลไทยในขณะน้ันไม่ได้ยอมรับแผนที่ ดังกล่าว แต่ก็ไม่ได้ทักท้วง เม่ือ พ.ศ. 2484 เกิดสงครามพิพาทอินโดจีนระหว่างไทยกับฝร่ังเศสข้ึน ประเทศไทยได้รับชัยชนะในการรบไทยจึงได้เขาพระวิหารกลับคืนมา ต่อมาเกิดสงครามโลกคร้ังที่ 2 ประเทศไทยต้องรักษาสถานะเพ่ือไม่ให้ตกเป็นฝ่ายแพ้สงครามตามญี่ปุ่น จึงได้คืนปราสาทพระวิหาร กลับไปอยู่บริเวณชายแดนของกัมพูชา ต่อมาเวียดนามทาสงครามชนะฝรั่งเศสจึงต้องถอนทหารออกไป ไทยจงึ ไดก้ ลับเขา้ ไปรกั ษาการณบ์ ริเวณปราสาทพระวิหาร อีกครั้ง ภายหลังกัมพูชาได้รับเอกราช เจ้านโรดมสีหนุได้เรียกร้องให้ไทยคืนปราสาทพระวิหารและให้ศาลช้ี ขาดว่าอธิปไตยเหนือเขาพระวิหารเป็นของกัมพูชา โดยย่ืนฟ้องร้องต่อศาลโลก ศาลโลกได้ตัดสินให้ ปราสาทพระวิหารเปน็ ของกมั พูชาด้วยเสียง 9 ตอ่ 3  กอ่ นที่นักเรียนจะทาการสืบค้นเรื่องราวของปราสาทพระวิหารนักเรียนจะต้องปฏิบัติอย่างไร กอ่ น (ตัวอยา่ งค้าตอบ ตั้งคา้ ถามเก่ียวกบั เรือ่ งราวของปราสาทพระวิหาร)  ตง้ั คาถามเพ่อื อะไร (ตัวอย่างค้าตอบ เพือ่ ท้าการสืบคน้ ข้อมูลหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ สามารถใหค้ า้ ตอบทีต่ นเองต้องการทราบได้)  แล้วนักเรียนจะต้ังคาถามเพ่ือทาการสืบค้นเรื่องราวปราสาทพระวิหารว่าอย่างไรจึงจะมี เหตผุ ล ครใู หน้ กั เรยี นทุกคนตัง้ คาถามมาคนละ 1 คาถาม ตัวอยา่ งคา้ ถาม  เพราะเหตใุ ดบนั ไดทางขึน้ ปราสาทพระวิหารอยู่เขตฝ่ังไทย แต่ตัวปราสาท พระวิหาร เป็นของกมั พูชา 8.2 ครูให้นักเรียนร่วมกันค้นคว้าว่า “การต้ังคาถามทางประวัติศาสตร์เพ่ือหาคาตอบทาง ประวตั ศิ าสตรจ์ ะต้องศกึ ษาจากแหลง่ ข้อมูลใดบา้ ง” โดยครูให้นักเรียนช่วยกันหาคาตอบ จากนั้นครูสรุปคาตอบของนักเรียนเป็นแผนภาพบนกระดาน ดัง ตวั อย่าง

ห้องสมดุ การใช้ขอ้ มูลและ หอสมุดแหง่ ชาติ หลกั ฐานทาง สถานท่ีทางประวัติศาสตร์และบริเวณใกล้เคยี ง ประวัตศิ าสตร์ คาบอกเลา่ ของผรู้ ูท้ ่มี ีประสบการณต์ รง 8.3 ใหน้ กั เรยี นและครรู ่วมกันสรปุ ความรู้ ดงั นี้ การสืบค้นข้อมูลทางประวัติศาสตร์เร่ิมต้นจากการต้ังคาถาม เพื่อนาไปสู่การรวบรวมข้อมูล ตรวจสอบ ขอ้ มลู และสรปุ เรยี บเรยี งข้อมลู เปน็ คาตอบทางประวัตศิ าสตร์อย่างมีเหตุมผี ล 8.4 ให้นกั เรยี นรว่ มกนั แสดงความคิดเหน็ โดยครใู ช้คาถามทา้ ทาย ดังน้ี  นักเรยี นจะตงั้ คาถามทางประวตั ิศาสตรใ์ นทอ้ งถน่ิ ของตนเองอย่างมเี หตผุ ลไดอ้ ย่างไร 9. ส่ือการเรียนการสอน / แหล่งเรยี นรู้ 9.1 ประวัตเิ รื่องราว ปราสาทพระวหิ าร 10. การวัดผลและประเมนิ ผล 10.1 วิธกี ารวดั และประเมนิ ผล 10.1.1 สงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเขา้ รว่ มกิจกรรม 10.2 เคร่อื งมอื 10.2.1 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรม 10.3 เกณฑก์ ารประเมนิ 10.3.1 การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม ผา่ นตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผา่ น 1 รายการ ถอื วา่ ไมผ่ ่าน



แผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 เรอื่ ง ความเป็นมาของทอ้ งถนิ่ แผนจัดการเรยี นรู้ท่ี 8 เร่ือง การตอบค้าถามทางประวัตศิ าสตรอ์ ย่างมเี หตุผล รายวิชา ประวตั ศิ าสตร์ รหัสวชิ า ส 15102 ระดับชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 5 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 น้าหนักเวลาเรียน 1.0 (นน./นก.) เวลาเรียน 1 ช่ัวโมง/สัปดาห์ เวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1 ช่ัวโมง ....................................................................................................................................................... 1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ช้ีวัดชั้นปี/ผลการเรียนร/ู้ เป้าหมายการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ส 4.1 เขา้ ใจความหมายความสาคญั ของเวลา และยคุ สมัยทางประวตั ิศาสตรส์ ามารถใชว้ ธิ กี าร ทางประวตั ิศาสตรม์ าวเิ คราะห์เหตุการณ์ตา่ งๆ อย่างเปน็ ระบบ ตวั ชี้วดั /ผลการเรียนรู้ ส 4.1 ป.5/2 รวบรวมข้อมลู จากแหล่งตา่ ง ๆ เพ่ือตอบคาถามทางประวัตศิ าสตร์อยา่ งมีเหตุผล 2. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 2.1 อธิบายการตอบคาถามทางประวัติศาสตร์อยา่ งมีเหตผุ ล 2.2 ค้นหาคาตอบจากการต้งั คาถามทางประวตั ิศาสตร์อย่างมเี หตุผล 2.3 สนใจศกึ ษาขอ้ มูลหลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์เพ่ือใชต้ ้งั คาถามและตอบคาถามอย่างมีเหตผุ ล 3. สาระส้าคญั การตง้ั คาถามเป็นข้ันตอนแรกของการสืบค้นข้อมูลทางประวัติศาสตร์ และเป็นการนาไปสู่การสืบค้น เพอื่ หาข้อมูลคาตอบท่ตี ้องการทราบอยา่ งมีเหตุผล 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 การใชข้ ้อมูลเพื่อตอบคาถามอยา่ งมีเหตผุ ล 5. คุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ ตัวชี้วดั ท่ี 4.1 ตงั้ ใจ เพยี รพยายามในการเรียนและเขา้ รว่ มกจิ กรรมการเรียนรู้ 6. สมรรถนะสา้ คัญของผเู้ รียน 6.1 ความสามารถในการสื่อสาร 6.2 ความสามารถในการคิด 6.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา 6.4 ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ 6.5 ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

7. ช้นิ งานหรือภาระงาน 7.1 แผนภาพ การตอบคาถามอย่างมเี หตุผลทางประวตั ิศาสตร์ 7.2 ชนิ้ งานท่ี 2 การตั้งคาถามและการตอบคาถามทางประวัติศาสตร์อย่างมเี หตผุ ล 8. การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 8.1 ครูให้นักเรยี นร่วมกันศกึ ษา การใชข้ อ้ มูลและหลักฐานทางประวัติศาสตร์เพ่ือตอบคาถามอย่างมี เหตผุ ล โดยครใู ช้คาถามใหน้ กั เรยี นร่วมกนั แสดงความคดิ เหน็ ดงั นี้  การตอบคาถามอยา่ งมีเหตผุ ลทางประวัติศาสตร์จะต้องมีองค์ประกอบอย่างไรบ้าง ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั สรุปคาตอบเป็นแผนภาพลงบนกระดาน ตัวอยา่ งแผนภาพ ทาการสืบค้นข้อมูลหลักฐาน ตรวจสอบวิเคราะหข์ ้อมลู หลักฐาน ตั้งคาถามทางประวัติศาสตร์ การตอบคา้ ถาม สรปุ เรยี บเรียงข้อมลู อย่างมีเหตผุ ลทาง ประวตั ศิ าสตร์ สามารถตอบคาถามได้อย่างมีเหตผุ ลตามขอ้ มูลหลักฐาน 8.2 ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กัน จากนั้นให้แต่ละกลุ่มต้ังคาถามทาง ประวัติศาสตร์ของทอ้ งถน่ิ ตนเอง แลว้ ร่วมกนั หาคาตอบให้กับกลุ่มของตนเองอย่างมีเหตุผล โดยการสืบค้น ข้อมูลทางประวัติศาสตร์ ดังแผนภาพทค่ี รูยกตัวอย่าง เร่มิ ตงั้ คาถาม ศึกษารวบรวมข้อมลู หลกั ฐาน ตรวจสอบขอ้ มลู จบ นาเสนอเปน็ คาตอบ บนั ทึกเรยี บเรยี งข้อมลู เสร็จแลว้ ออกนาเสนอหนา้ ชั้นเรยี น และครูตรวจสอบความถูกตอ้ งพรอ้ มอธิบายเพ่ิมเตมิ 8.3 ใหน้ กั เรยี นและครูร่วมกนั สรปุ ความรู้ ดังนี้ การสืบค้นข้อมูลทางประวัติศาสตร์เร่ิมต้นจากการตั้งคาถาม เพ่ือนาไปสู่การรวบรวมข้อมูล ตรวจสอบ ขอ้ มลู และสรุปเรยี บเรียงข้อมูลเปน็ คาตอบทางประวัตศิ าสตร์อยา่ งมเี หตมุ ีผล

8.4 ให้นกั เรียนร่วมกันแสดงความคิดเหน็ โดยครใู ช้คาถามทา้ ทาย ดงั นี้  นกั เรียนจะตอบคาถามทางประวัติศาสตร์ในท้องถิน่ ของตนเองอย่างมเี หตุผลได้อย่างไร 8.5 ให้นักเรียนทาชิ้นงานท่ี 2 เรื่อง การตั้งคาถามและการตอบคาถามทางประวัติศาสตร์อย่างมี เหตุผล 9. ส่ือการเรยี นการสอน / แหลง่ เรียนรู้ 9.1 ตวั อยา่ งแผนภาพ การตงั้ คาถาม ทางประวตั ศิ าสตร์ อยา่ งมีเหตผุ ล 9.2 ชิน้ งานท่ี 2 เร่ือง การตงั้ คาถามและการตอบคาถามทางประวตั ศิ าสตรอ์ ยา่ งมีเหตผุ ล 10. การวดั ผลและประเมินผล 10.1 วธิ กี ารวดั และประเมินผล 10.1.1 สังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในการเขา้ รว่ มกิจกรรม 10.1.2 สงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี นในการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม 10.1.3 ตรวจช้นิ งานที่ 2 10.2 เครือ่ งมอื 10.2.1 แบบสังเกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรม 10.2.2 แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่ 10.3 เกณฑ์การประเมนิ 10.3.1 การประเมินพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรม ผา่ นตัง้ แต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผา่ น 1 รายการ ถือว่า ไมผ่ า่ น 10.3.2 การประเมินพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลมุ่ คะแนน 9-10 ระดับ ดีมาก คะแนน 7-8 ระดับ ดี คะแนน 5-6 ระดบั พอใช้ คะแนน 0-4 ระดับ ควรปรับปรงุ

การประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Rubrics) การประเมนิ ชน้ิ งานที่ 2 ใหผ้ ้สู อนพจิ ารณาจากเกณฑก์ ารประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Rubrics) เรือ่ ง การตัง้ คาถามและการตอบคาถามทางประวัตศิ าสตรอ์ ย่างมเี หตุผล เกณฑก์ าร ระดบั คะแนน ประเมนิ 4 3 2 1 เขียนอธบิ ายหรอื เขยี นอธบิ ายหรือสรุป เขยี นอธิบายหรือสรปุ เขียนอธบิ ายหรือสรุป เขยี นอธบิ ายหรือสรุป สรุปการตง้ั คาถาม การต้ังคาถามและ การตั้งคาถามและ การตั้งคาถามและ การตัง้ คาถามและ และตอบคาถาม ตอบคาถามทาง ตอบคาถามทาง ตอบคาถามทาง ตอบคาถามทาง ทางประวัตศิ าสตร์ ประวัติศาสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ ประวัตศิ าสตร์ ประวตั ิศาสตร์ เกย่ี วกับท้องถ่นิ ของ เกย่ี วกบั ท้องถน่ิ ของ เก่ียวกบั ท้องถ่ินของ เกย่ี วกับท้องถน่ิ ของ เกี่ยวกับท้องถ่ินของ ตนเอง ตนเองได้สัมพันธ์กัน ตนเองได้ มีการ ตนเองได้สอดคลอ้ ง ตนเองได้ แต่ไม่ มกี ารเชอื่ มโยง จาแนกข้อมูลหรอื กับข้อมลู มกี ารเขยี น สอดคล้องกบั ข้อมลู ให้เหน็ เป็นภาพรวม อธบิ ายใหเ้ ห็นถงึ ขยายความและมีการ เขยี นตามข้อมลู ที่อ่าน แสดงให้เห็นถึง ความสัมพันธก์ ับ ยกตวั อย่างเพิม่ เติมให้ ไม่มีการอธิบาย ความสมั พันธ์กับ ตนเองอยา่ งเป็นเหตุ เข้าใจง่าย เพ่ิมเติม ตนเองและผอู้ น่ื เปน็ ผล



แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เรือ่ ง ความเปน็ มาของทอ้ งถิ่น แผนจดั การเรียนรูท้ ่ี 9 เร่ือง ความจริงกบั ข้อเทจ็ จริงเกี่ยวกบั เรอ่ื งราวในท้องถ่นิ (1) รายวชิ า ประวัติศาสตร์ รหัสวิชา ส 15102 ระดับชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 5 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 น้าหนักเวลาเรยี น 1.0 (นน./นก.) เวลาเรียน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลาทใี่ ช้ในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 1 ช่ัวโมง ....................................................................................................................................................... 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วัดช้ันปี/ผลการเรยี นร/ู้ เป้าหมายการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ ส 4.1 เข้าใจความหมายความสาคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตรส์ ามารถใชว้ ิธกี าร ทางประวตั ิศาสตรม์ าวิเคราะห์เหตกุ ารณต์ า่ งๆ อยา่ งเปน็ ระบบ ตัวชว้ี ัด/ผลการเรียนรู้ ส 4.1 ป.5/3 อธิบายความแตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเทจ็ จรงิ เก่ียวกับเรื่องราวในทอ้ งถน่ิ 2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 2.1 เปรียบเทยี บความจรงิ กบั ข้อเท็จจริงเกี่ยวกบั ข้อมลู ประวตั ิศาสตรใ์ นทอ้ งถนิ่ 2.2 จาแนกข้อมลู ที่เปน็ ความจริงกบั ข้อเทจ็ จริงในทอ้ งถิน่ 2.3 วจิ ารณค์ วามจรงิ กับข้อเท็จจรงิ เกยี่ วกับเรื่องราวในท้องถิ่น 3. สาระสา้ คญั ความจรงิ เปน็ เหตกุ ารณ์ที่มผี ู้บันทึกและมีหลกั ฐานเปน็ เคร่ืองยนื ยันข้อเท็จจรงิ คือ คาบอกเล่าทเ่ี กิด จากความคิดความรสู้ ึกของผ้เู ลา่ หรอื ผ้บู ันทึกเร่ืองราวทางประวัติศาสตร์ 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 ความจริงกับขอ้ เท็จจรงิ เก่ียวกบั เรอื่ งราวในทอ้ งถิ่น 5. คุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ ใฝ่เรยี นรู้ ตวั ชว้ี ดั ท่ี 4.1 ตงั้ ใจ เพยี รพยายามในการเรยี นและเข้ารว่ มกิจกรรมการเรยี นรู้ 6. สมรรถนะสา้ คัญของผเู้ รยี น 6.1 ความสามารถในการส่ือสาร 6.2 ความสามารถในการคดิ 6.3 ความสามารถในการแกป้ ัญหา 6.4 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ 6.5 ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

7. ชน้ิ งานหรือภาระงาน 7.1 แผนภาพ ความแตกตา่ งของความจรงิ กบั ข้อเท็จจริง 8. การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 8.1 ครูให้คัดเลือกผู้แทนออกมาเล่าประวัติของตนเองให้เพื่อนฟัง จบแล้วครูใช้คาถามให้นักเรียน รว่ มกัน แสดงความคดิ เหน็ ดงั น้ี  อะไรคอื ความจริงทเี่ ปน็ ประวัตขิ องเพื่อนทเี่ ลา่ ใหน้ ักเรียนฟงั และมีอะไรยนื ยนั (ตัวอย่างค้าตอบ วัน เดือน ปี เกิด ช่ือบิดามารดา สถานท่ีเกิด หลักฐานยืนยันความจริง คือ ใบสูติบัตร ส้าเนาทะเบยี นบ้าน) จากนั้นครถู ามนกั เรยี นท่ีออกมาเลา่ ประวัติให้เพ่ือนฟงั ต่อว่า  เพราะเหตุใดรูปร่างของเธอ (นักเรียนท่ีเล่าประวัติ) จึงดูสมบูรณ์แข็งแรง (ตัวอย่างค้าตอบ เพราะว่าด่มื นมทกุ วัน)  นักเรียนคดิ ว่าจรงิ ทเี่ พือ่ นบอกหรือไม่ (ตัวอยา่ งค้าตอบ อาจจะจรงิ ) จากน้ันครูอธิบายเพ่ิมเติมว่า “การท่ีเพื่อนดูรูปร่างแข็งแรง อาจจะมีสาเหตุมาจากอย่างอื่นด้วย นอกจากจะด่มื นมแลว้ ยงั ทานอาหารครบ 5 หมู่ ออกกาลังกายสม่าเสมอ ต่ืนนอนเป็นเวลา ความรู้สึกท่ี เพอ่ื นบอกวา่ ตนเองแขง็ แรงเพราะดม่ื นมทุกวัน เขาเรียกวา่ ขอ้ เท็จจริง คอื อาจไม่ใช่ความจริงท้ังหมด อาจ มาจากสาเหตอุ ย่างอื่นด้วย” 8.2 ครใู ห้นักเรยี นร่วมกนั ศกึ ษา ความจริงกบั ข้อเท็จจริงเกย่ี วกบั เร่ืองราวในท้องถิ่น โดยครูใช้คาถาม ให้นกั เรียนร่วมกันแสดงความคดิ เหน็ ดงั น้ี  ความจริงกับข้อเท็จจริงมีความแตกต่างกันอย่างไร (ครูและนักเรียนสรุปคาตอบเป็น แผนภาพลงบนกระดาน) ตัวอยา่ งแผนภาพ

จากนัน้ ให้ครูอธิบายสรุปความรจู้ ากแผนภาพเพ่มิ เตมิ 8.3 ใหน้ กั เรยี นและครรู ว่ มกันสรุปความรู้ ดงั น้ี ความจริงเป็นเหตุการณ์ที่มีผู้บันทึกเรื่องราว และมีหลักฐานประกอบยืนยันข้อเท็จจริง คือ เร่ืองราวท่ีมี การขยายความจากความคิด การวิเคราะห์และความรู้สึกที่มีการเขียนหรือบอกเล่าเรื่องราวข้อมูลใน ท้องถนิ่ 8.4 ใหน้ ักเรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เห็นโดยครูใชค้ าถามท้าทาย ดงั น้ี  นักเรียนมแี นวทางการศกึ ษาความจริงกบั ขอ้ เทจ็ จริงที่เกย่ี วกบั เรื่องราวในท้องถ่ินอย่างไร 9. สอ่ื การเรยี นการสอน / แหล่งเรียนรู้ 9.1 การเลา่ ประวัติของตนเอง เพือ่ เปรยี บเทียบความจริงกับขอ้ เทจ็ จริง 10. การวัดผลและประเมนิ ผล 10.1 วธิ ีการวดั และประเมินผล 10.1.1 สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการเข้ารว่ มกจิ กรรม 10.2 เคร่อื งมอื 10.2.1 แบบสังเกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรม 10.3 เกณฑ์การประเมิน 10.3.1 การประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรม ผา่ นต้งั แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผ่าน ผ่าน 1 รายการ ถอื วา่ ไมผ่ ่าน



แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 เร่อื ง ความเป็นมาของทอ้ งถนิ่ แผนจัดการเรียนรูท้ ี่ 10 เรือ่ ง ความจริงกับข้อเทจ็ จริงเกย่ี วกบั เรือ่ งราวในทอ้ งถ่นิ (2) รายวชิ า ประวตั ศิ าสตร์ รหัสวชิ า ส 15102 ระดับชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 น้าหนกั เวลาเรยี น 1.0 (นน./นก.) เวลาเรยี น 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลาที่ใช้ในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 1 ชว่ั โมง ....................................................................................................................................................... 1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชว้ี ดั ช้ันป/ี ผลการเรยี นรู/้ เปา้ หมายการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ส 4.1 เข้าใจความหมายความสาคัญของเวลา และยคุ สมัยทางประวตั ิศาสตร์สามารถใชว้ ธิ กี าร ทางประวัติศาสตรม์ าวเิ คราะห์เหตุการณต์ า่ งๆ อยา่ งเป็นระบบ ตวั ช้วี ัด/ผลการเรยี นรู้ ส 4.1 ป.5/3 อธบิ ายความแตกต่างระหว่างความจริงกบั ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรือ่ งราวในทอ้ งถนิ่ 2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 2.1 เปรียบเทยี บความจรงิ กบั ขอ้ เทจ็ จริงเกยี่ วกับขอ้ มลู ประวตั ิศาสตร์ในท้องถ่นิ 2.2 จาแนกข้อมลู ที่เปน็ ความจริงกบั ข้อเทจ็ จริงในทอ้ งถ่ิน 2.3 วิจารณ์ความจรงิ กับข้อเท็จจรงิ เกย่ี วกับเรื่องราวในท้องถิน่ 3. สาระสา้ คัญ ความจรงิ เปน็ เหตุการณท์ ี่มผี บู้ ันทกึ และมหี ลักฐานเป็นเคร่ืองยนื ยนั ข้อเท็จจรงิ คือ คาบอกเลา่ ท่ีเกดิ จากความคิดความรสู้ ึกของผู้เลา่ หรอื ผบู้ ันทึกเร่ืองราวทางประวัติศาสตร์ 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 ความจริงกับขอ้ เทจ็ จรงิ เกย่ี วกบั เรือ่ งราวในท้องถ่ิน 5. คณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ ใฝ่เรยี นรู้ ตวั ชว้ี ดั ท่ี 4.1 ตั้งใจ เพยี รพยายามในการเรยี นและเข้าร่วมกจิ กรรมการเรียนรู้ 6. สมรรถนะสา้ คัญของผเู้ รยี น 6.1 ความสามารถในการส่อื สาร 6.2 ความสามารถในการคดิ 6.3 ความสามารถในการแกป้ ญั หา 6.4 ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ 6.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

7. ชิ้นงานหรอื ภาระงาน 7.1 ชนิ้ งานท่ี 3 เร่อื ง ความจริงกบั ข้อเทจ็ จริงเกีย่ วกับเรอ่ื งราวในท้องถนิ่ 8. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 8.1 ครนู าเรอ่ื งราวตัวอย่างข้อมูลจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่แสดงความจริงกับข้อเท็จจริง มา อ่านให้นักเรียนฟัง โดยให้ผู้แทนนักเรียนอ่านให้เพื่อนฟังหน้าชั้นเรียน จากน้ันให้นักเรียนร่วมกันตอบ คาถาม ดังนี้ ตวั อย่างข้อมูลหลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ ประวตั พิ ระนางจามเทวี พระนางจามเทวี เป็นปฐมกษตั รยิ ์แห่งอาณาจักรหรภิ ุญไชย ในตานานจามเทววี งศ์ ได้บันทึกเรื่องราว ของพระนางจามเทวโี ดยสรุปได้ ดงั น้ี เม่ือประมาณพุทธศตวรรษที่ 13 มีพระฤๅษีองค์หน่ึงได้ส่งสาส์นมาถวายกษัตริย์ละโว้ เพ่ืออัญเชิญ พระธิดา ช่ือ จามเทวี ซึ่งเป็นผู้ที่มีความสามารถขึ้นปกครองอาณาจักรหริภุญไชย เมื่อพระ นางจามเทวี ข้ึนปกครองเมืองแล้วทรงโปรดให้วางระเบียบการปกครองและเผยแผ่พระพุทธศาสนา โดยโปรดให้สร้าง วัดกู่กดุ (วัดจามเทวี) สร้างอารามวัดมหาวัน เป็นต้น ส่งผลให้อาณาจักรหริภุญไชย มีความสงบร่มเย็นสืบ ต่อมา  อะไรคือข้อมูลทางประวัติศาสตร์ท่ีเป็นความจริง เกี่ยวกับประวัติพระนางจามเทวี (ตัวอย่าง ค้าตอบ หลักฐานท่ีปรากฏทางประวัติศาสตร์ เช่น พงศาวดารเมืองล้าพูน โบราณสถาน วัดกู่กดุ )  อะไรเป็นขอ้ เทจ็ จรงิ เกย่ี วกบั ประวตั ิของพระนางจามเทวี (ตัวอย่างค้าตอบ ความสามารถใน การปกครองอาณาจักรหริภุญไชย การวางระเบียบการปกครองและการเผยแผ่ พระพทุ ธศาสนา ของพระนางจามเทวี) 8.2 ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนสืบค้นเรื่องราวเก่ียวกับท้องถิ่นของตนเองท่ีแสดงความจริงกับข้อเท็จจริง แล้วบันทึกการศึกษาออกนาเสนอหน้าชั้นเรียน จบการนาเสนอ ครูและนักเรียนสรุปประเด็นสาคัญ เกี่ยวกับการศกึ ษาข้อมูลในทอ้ งถนิ่ เป็นแผนภาพลงบนกระดาน ดงั น้ี

หลักฐานจากการบอกเล่าอาจไมใ่ ชค่ วามจริง ตรวจสอบความนา่ เชื่อถือของขอ้ มลู ควรวเิ คราะห์ควบคู่กบั หลกั ฐานท่ีมี การศกึ ษา ความจรงิ กบั ขอ้ เทจ็ จริงมกั ปะปนกนั ความจริงกบั ข้อเทจ็ จริง ควรศกึ ษาจากข้อมลู ท่หี ลากหลาย เกย่ี วกับขอ้ มูล ในทอ้ งถ่นิ ผู้สืบคน้ ข้อมลู ควรตรวจสอบข้อมลู ก่อนนามาใช้ อาจมีการเพิ่มเตมิ ขอ้ มูลใหมเ่ ขา้ มา 8.3 ให้นกั เรยี นและครรู ว่ มกนั สรปุ ความรู้ ดังน้ี ความจริงเป็นเหตุการณ์ท่ีมีผู้บันทึกเรื่องราว และมีหลักฐานประกอบยืนยันข้อเท็จจริง คือ เร่ืองราวท่ีมีการขยายความจากความคิด การวิเคราะห์และความรู้สึกท่ีมีการเขียนหรือบอกเล่า เรื่องราวข้อมลู ในท้องถ่นิ 8.4 ใหน้ ักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นโดยครใู ช้คาถามทา้ ทาย ดังน้ี  นักเรียนจะนาความรู้จากการศกึ ษา ความจรงิ กับข้อเทจ็ จริงเกย่ี วกับเร่ืองราวในท้องถิน่ ไปใช้ ประโยชน์ไดอ้ ยา่ งไร 8.5 ให้นักเรียนทาชน้ิ งานท่ี 3 เร่อื ง ความจรงิ กับข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเร่ืองราวในทอ้ งถิน่ 9. สือ่ การเรียนการสอน / แหล่งเรียนรู้ 9.1 ประวัติพระนางจามเทวี 9.2 ช้นิ งานที่ 3 เรอื่ ง ความจริงกบั ข้อเท็จจริงเก่ยี วกับเรอ่ื งราวในท้องถิ่น

10. การวดั ผลและประเมนิ ผล 10.1 วธิ กี ารวดั และประเมินผล 10.1.1 สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเข้ารว่ มกิจกรรม 10.1.2 สังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่ 10.1.3 ตรวจชิ้นงานที่ 3 10.2 เคร่อื งมอื 10.2.1 แบบสังเกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรม 10.2.2 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลมุ่ 10.3 เกณฑ์การประเมิน 10.3.1 การประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรม ผา่ นตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผา่ น 1 รายการ ถอื วา่ ไมผ่ ่าน 10.3.2 การประเมินพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลุ่ม คะแนน 9-10 ระดบั ดีมาก คะแนน 7-8 ระดบั ดี คะแนน 5-6 ระดบั พอใช้ คะแนน 0-4 ระดบั ควรปรับปรงุ

การประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Rubrics) การประเมนิ ชิ้นงานท่ี 3 ใหผ้ ู้สอนพจิ ารณาจากเกณฑ์การประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ (Rubrics) เรอื่ ง ความจรงิ กับขอ้ เท็จจรงิ เกีย่ วกบั เรื่องราวในทอ้ งถ่นิ เกณฑ์การประเมนิ 4 ระดบั คะแนน 1 32 เขียนอธิบายหรอื เขยี นอธิบายหรือสรุป เขยี นอธบิ ายหรอื สรุป เขยี นอธิบายหรอื สรปุ เขียนอธบิ ายหรอื สรุป สรุปการสืบค้น การสืบคน้ เร่อื งราว การสืบค้นเรอื่ งราว การสบื คน้ เร่อื งราว การสืบคน้ เรอื่ งราว เร่ืองราวเก่ียวกับ เก่ยี วกับท้องถ่นิ ของ เกยี่ วกับท้องถ่ินของ เกี่ยวกบั ท้องถน่ิ ของ เกีย่ วกับท้องถน่ิ ของ ท้องถิ่นของตนเองที่ ตนเองท่ีแสดงความ ตนเองท่ีแสดงความ ตนเองที่แสดงความ ตนเองที่แสดงความ แสดงความจรงิ กับ จริงกับข้อเทจ็ จรงิ ได้ จริงกับข้อเทจ็ จรงิ ได้ จรงิ กับข้อเท็จจริง จริงกบั ข้อเทจ็ จริงได้ ข้อเทจ็ จรงิ สมั พันธก์ ัน มีการ มกี ารจาแนกข้อมลู ไดส้ อดคล้อง แตย่ ังไม่สอดคล้องกบั เช่ือมโยงใหเ้ หน็ เปน็ อธบิ ายให้เห็นถงึ กบั ข้อมลู มกี ารเขียน ข้อมูลเขียนตามข้อมูล ภาพรวมแสดงให้เหน็ ความสัมพนั ธก์ ับ ขยายความ ทอี่ า่ นไมม่ ีการอธบิ าย ถึงความสมั พนั ธ์กับ ตนเองอย่างเปน็ เหตุ ยกตวั อย่างเพม่ิ เติมให้ เพ่ิมเติม ตนเองและผูอ้ ่นื เป็นผล เข้าใจง่าย



แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 เรอื่ ง ความเป็นมาของทอ้ งถ่นิ แผนจัดการเรยี นรูท้ ี่ 11 เร่ือง กิจกรรมเสริมทักษะความรู้ท้ายหน่วยการเรยี นรู้ รายวิชา ประวตั ิศาสตร์ รหัสวชิ า ส 15102 ระดับชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 น้าหนักเวลาเรยี น 1.0 (นน./นก.) เวลาเรยี น 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์ เวลาทใี่ ช้ในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 1 ช่ัวโมง ....................................................................................................................................................... 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชว้ี ดั ชั้นป/ี ผลการเรียนร/ู้ เปา้ หมายการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ ส 4.1 เขา้ ใจความหมายความสาคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวตั ิศาสตรส์ ามารถใช้วิธีการ ทางประวัติศาสตรม์ าวิเคราะห์เหตกุ ารณ์ต่างๆ อยา่ งเปน็ ระบบ ตัวช้ีวัด/ผลการเรียนรู้ ส 4.1 ป.5/1 สืบคน้ ความเปน็ มาของท้องถ่ินโดยใชห้ ลักฐานท่ีหลากหลาย ส 4.1 ป.5/2 รวบรวมขอ้ มูลจากแหลง่ ต่าง ๆ เพอ่ื ตอบคาถามทางประวตั ิศาสตร์อยา่ งมีเหตุผล ส 4.1 ป.5/3 อธิบายความแตกตา่ งระหว่างความจริงกับขอ้ เท็จจรงิ เกี่ยวกับเรื่องราวในท้องถ่ิน 2. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 2.1 อธิบายสรปุ ความรู้ ความเปน็ มาของท้องถิน่ ลงในแบบกจิ กรรม 2.2 จาแนกและสรุปความร้คู วามจริงกบั ข้อเทจ็ จริงความเป็นมาของท้องถ่ินลงในแบบกจิ กรรม 2.3 เห็นความสาคญั ในการพัฒนาทกั ษะการเรียนรู้และทากจิ กรรมในระหว่างเรยี น 3. สาระส้าคัญ การสืบคน้ ความเปน็ มาของท้องถ่ินจะทาให้ทราบข้อมูลที่เปน็ ความจริง และข้อเทจ็ จรงิ เกี่ยวกับความ เปน็ มาของท้องถนิ่ ได้อยา่ งถูกตอ้ ง 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 กิจกรรมเสริมทักษะความรู้ความเป็นมาของท้องถ่ิน 5. คณุ ลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ ใฝเ่ รียนรู้ ตัวชวี้ ดั ที่ 4.1 ต้ังใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้ารว่ มกิจกรรมการเรียนรู้ 6. สมรรถนะส้าคญั ของผเู้ รียน 6.1 ความสามารถในการสอ่ื สาร 6.2 ความสามารถในการคดิ 6.3 ความสามารถในการแกป้ ัญหา 6.4 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต 6.5 ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook