Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัยอาภาภรณ์ 2-2563

วิจัยอาภาภรณ์ 2-2563

Published by Arpaporn Sonprasert, 2021-03-31 03:30:00

Description: วิจัยอาภาภรณ์ 2-2563

Search

Read the Text Version

การพัฒนาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นรสู้ าระวิชาสงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่อง ประเด็นสาคัญในประวัติศาสตรไ์ ทย โดยใชก้ ารเรยี นรู้แบบผงั มโนทศั น์ สาหรบั นกั เรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 อาเภอแมแ่ จ่ม จังหวดั เชียงใหม่ นางสาวอาภาภรณ์ สอนประเสริฐ พนักงานราชการ ผวู้ จิ ัย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 อาเภอแมแ่ จ่ม จังหวดั เชยี งใหม่ สานักบริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

บทที่ 1 บทนา ช่ือเรอ่ื ง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนร้สู าระวชิ าสังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม เร่ือง ประเดน็ สาคัญในประวัตศิ าสตร์ไทย โดยใช้การเรียนรแู้ บบผงั มโนทศั น์ สาหรับนักเรียนชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 5 ความเป็นมาและความสาคญั ของปัญหา การพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนเป็นสิ่งสาคัญท่ีเกิดขึ้นจากการดาเนินการ จัดการเรียนรู้ท่ีมี ประสิทธิภาพ โดยท่ีสื่อการสอนเป็นสิ่งที่มีประโยชน์ ซึ่งส่ือการสอนเป็นสิ่งท่ีช่วยให้เกิดการเรียนรู้อย่างมี ประสิทธิภาพ เพราะช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจเนื้อหาบทเรียนที่ยุ่งยากได้ง่ายในระยะเวลาอันสั้น ช่วย กระตุ้นและสร้างความสนใจแก่ผู้เรียน ทาให้ผู้เรียนมีความเข้าใจตรงกันและเกิดประสบการณ์ร่วมกันในวิชาที่ เรยี น ทาใหเ้ กดิ มนษุ ย์สัมพันธอ์ ันดีระหว่างผู้เรียนและผู้สอน ช่วยสร้างเสริมลักษณะท่ีดีในการศึกษาค้นคว้าหา ความรู้ ชว่ ยให้ผเู้ รียนเกดิ ความคิดสรา้ งสรรค์จากการใช้ส่ือ ชว่ ยแกป้ ญั หาเรือ่ งความแตกต่างระหว่างบุคคลโดย การจดั ให้มีการใชส้ ือ่ ในการศึกษารายบุคคล สื่อการสอนจึงมบี ทบาทสาคัญในการเรียนการสอน เน่ืองจากเป็น ตัวกลางท่ีช่วยให้การส่ือสารระหว่างผู้สอนและผู้เรียนดาเนินการเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทาให้ผู้เรียนมี ความเข้าใจความหมายของเนื้อหาบทเรียนได้ตรงกับท่ีผู้สอนต้องการให้เรียนรู้ได้ท้ังส้ิน ในการใช้ส่ือการสอน นั้นผู้สอนจาเป็นต้องศึกษาถึงลักษณะและคุณสมบัติของสื่อแต่ละชนิดเพ่ือเลือกส่ือให้ตรงกับวัตถุประสงค์การ สอนและสามารถจัดประสบการณก์ ารเรยี นรู้ใหแ้ ก่ผเู้ รียน โดยตอ้ งการวางแผนอย่างเป็นระบบในการใช้สื่อด้วย ทั้งน้ีเพอื่ ให้กระบวนการเรยี นการสอนดาเนินไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพ ลักษณะของเนื้อหาวิชาสังคมศึกษาส่วนใหญ่จะมีรายละเอียดค่อนข้างเยอะ ต้องอาศัยการอ่าน การ จาเน้ือหามาก ซ่ึงทาให้นักเรียนหลายคนรู้เบื่อหน่ายในการเรียน การจารายละเอียด รวมถึงรายละเอียด ปลีกย่อยอีก ในการเรียนการสอนวิชาสังคมศึกษาจึงเน้นให้จัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อการสอนเข้ามาเพ่ือให้ ผเู้ รียนเกดิ การพฒั นาการเรียนรู้ โดยผู้สอนต้องจัดกิจกรรมการสอนให้สอดคล้องกับความสามารถ ความสนใจ และสภาพแวดล้อมของผเู้ รียน ให้ผเู้ รียนมีส่วนรว่ มและลงมือปฏิบัติได้จริงซ่ึงผังมโนทัศน์เป็นส่ือประเภทหนึ่งที่ น่าจะเปน็ ประโยชน์ตอ่ การพฒั นาการเรยี นรู้ เพราะเป็นสอ่ื ท่ีชว่ ยให้ผู้เรียนใชค้ วามคิดและสรุปส่ิงต่างๆท่ีได้จาก การเรียนไดเ้ ป็นอย่างดี การใชผ้ ังมโนทัศน์เป็นกิจกรรมหน่ึง ท่ีฝึกให้นักเรียนได้คิดอย่างเป็นระบบ เมื่อนักเรียน สามารถจดั ลาดับการคิดไดแ้ ล้วนักเรียนจะสามารถจดจาความรู้เดิมท่ีเคยเรียนมาพร้อมท่ีจะพัฒนาสู่ระดับการ คดิ ในข้นั ทีส่ งู ข้นึ คือระดบั ความเข้าใจ ทิวาวรรณ ภาสุคา(2543,หนา้ 57) สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 น้ัน การใช้ผังมโนทัศน์ น่าจะเป็นสื่อท่ีช่วยในการพัฒนาการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน เพราะจะทาให้ผู้เรียนได้สรุปและความ โยงความคิด อยา่ งเปน็ ระบบ จากการเรียนที่ผ่านมา ผู้วิจัยจึงมีความสนใจท่ีจะศึกษาการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ผังมโน ทศั น์เพอ่ื พัฒนาการเรยี นรขู้ องนกั เรียนระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 5 ของโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 วัตถปุ ระสงค์การวิจัย การวิจัยในคร้ังนี้ มีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อศึกษาการใช้ผังมโนทัศน์เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 5 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31

ประโยชน์ทีค่ าดวา่ จะไดร้ ับ 1. การวิจยั น่าจะช่วยใหท้ ราบถงึ ผลของการใช้ผังมโนทัศน์ท่ีมีตอ่ การพฒั นาการเรียนรู้ของนักเรียนใน ระดับช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 2. ข้อมูลท่ีได้จากการวิจัยน่าจะเป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน ในการใช้เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ โดยใชผ้ งั มโนทศั นท์ มี่ ตี ่อการเรียนร้ขู องนกั เรียนให้ไดผ้ ลดียิ่งขนึ้ ขอบเขตของการวจิ ยั การศึกษาในคร้งั นม้ี ีขอบเขตการศึกษา ดงั น้ี 1. ขอบเขตด้านประชากร ประชากรที่ใช้ในการศึกษา เป็นนักเรียนระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 5 ท่กี าลงั ศกึ ษาในภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563 2. ขอบเขตด้านเนอ้ื หา การใชผ้ งั มโนทัศนเ์ พ่อื พัฒนาการเรยี นรขู้ องนักเรียน นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ มโนทัศน์ หมายถงึ ความคิด ความเข้าใจท่ีสรุปเกี่ยวกับการจัดกลุ่ม ส่ิงใดสิ่งหนึ่งหรือเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ที่เกิดจากการสังเกต หรือการได้รับประสบการณ์เก่ียวกับสิ่งน้ันหรือเรื่องนั้น แล้วใช้คุณลักษณะหรือ คณุ สมบัติท่มี ีลกั ษณะคล้ายคลึงกัน จดั เข้าเปน็ กลุ่มเดียวกนั ซง่ึ จะทาใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจสิง่ ตา่ งๆ ไดง้ ่ายขึ้น ผังมโนทศั น์ หมายถงึ แผนผงั หรือแผนภาพ ทแ่ี สดงความสัมพนั ธข์ องมโนทัศน์ เรอ่ื งใดเรอื่ ง หน่งึ อยา่ งมรี ะบบ และเป็นลาดบั ขน้ั โดยอาศยั หรือข้อความเปน็ ตัวเชือ่ มใหค้ วามสมั พนั ธ์ของมโนทัศน์ ตา่ งๆเป็นไปอย่างมคี วามหมาย ซึ่งอาจจะมีทิศทางเดียว สองทศิ ทาง หรือมากกว่าก็ได้ การเรยี นรู้ หมายถึง การเปล่ียนพฤติกรรมใดๆ กต็ ามซง่ึ เป็นผลมาจากประสบการณ์ ท้งั การ เรียนรดู้ ้านวชิ าการ รวมถึงการเรียนรูใ้ นดา้ นค่านยิ ม บทบาท การพัฒนาการเรยี นรู้ หมายถึง การพฒั นาความรู้ ความสามารถ ความเขา้ ใจ และคุณลกั ษณะที่ พงึ ประสงค์ ของนักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 นกั เรียนระดับชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 5 หมายถงึ นกั เรียนระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จานวน 117 คน โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 หมายถึง โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 เลขท่ี 99 หมู่ 10 ต.ชา่ งเคงิ่ อ.แม่แจ่ม จ.เชยี งใหม่ 50270

บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ยั ทีเ่ กี่ยวข้อง การวิจัย เร่ือง การใช้ผังมโนทัศน์เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 ผู้วจิ ัยได้ศึกษาเอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี ก่ียวขอ้ งดังต่อไปน้ี 1. ผงั มโนทัศน์ 1.1 ความหมายของผงั มโนทัศน์ 1.2 ประเภทของผังมโนทัศน์ 1.3 การสร้างผังมโนทัศน์ 1.4 ข้นั ตอนการจดั การเรยี นรู้ 1.5 ประโยชนข์ องผงั มโนทัศน์ 1.6 ข้อดีของผงั มโนทศั น์ 2. การพฒั นาการเรียนรู้ 2.1 ความหมายของการเรยี นรู้ 2.2 ทฤษฎกี ารเรียนรู้ 2.3 ธรรมชาตขิ องการเรยี นรู้ 2.4 ชนิดของการเรยี นรู้ 2.5 รูปแบบการเรยี นรู้ 2.6 องคป์ ระกอบของการเรียนรู้ 2.7 กระบวนการของการเรียนรู้ 3. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 5 4. โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 5. งานวิจยั ที่เก่ยี วข้อง

1. ผังมโนทัศน์ 1.1 ความหมายของผังมโนทัศน์ นักวิชาการหลายทา่ น ไดใ้ ห้ความหมายของผงั มโนทัศนไ์ วด้ ังน้ี วชิ ัย วงศใ์ หญ่ ไดส้ รปุ ความหมายของผงั มโนทัศน์วา่ เป็นปจั จัยทีส่ นับสนุนกระบวนการ เรียนรู้ทม่ี ีความหมายสาหรับการสรา้ งมโนทศั น์แก่ผเู้ รียน มนัส บุญประกอบ ได้ให้ความหมายของผังมโนทัศน์ไว้ว่าผังมโนทัศน์มีลักษณะเป็นแผนภูมิอย่างหน่ึง ที่แสดงความสัมพนั ธร์ ะหว่างมโนทัศนด์ ้วยเส้นและคาเช่ือมโยงท่ีเหมาะสมทาให้สามารถอ่านความสัมพันธ์จาก แผนภมู นิ ั้นเปน็ ประโยคหรือขอ้ ความทีม่ ีความหมาย อัญชลี ตนานนท์ ได้สรปุ ไวว้ ่า การสรา้ งหรือการวาดผังมโนทัศน์ คือการถ่ายทอดความคิดความเข้าใจ ของผสู้ ร้างในเร่อื งหนึ่งออกมาในรปู ความสัมพนั ธ์ของมโนทัศน์ซ่ึงมีลาดับขั้น สุวิทย์ มูลคา และอรทัย มุลคา (2552,หน้า 174) ได้กล่าวว่า แผนภาพแทนความคิดท่ีแสดงให้เห็น ถึงความสัมพันธ์ท่ีมีความหมายระหว่างความคิดรวบยอดต่าง ๆ โดยอยู่ในรูปของข้อความ ท้ังน้ีข้อความอาจ เป็นฉลากความคิดรวบยอดสองอัน หรือมากกว่านั้น ซ่ึงมาเช่ือมโยงกันด้วยถ้อยคาที่แสดงให้เห็นถึง ความสัมพนั ธ์ หรอื ความเกยี่ วขอ้ งระหว่าง ความคิดรวบยอดน้ัน ๆ จากความหมายของผังมโนทัศน์สรุปได้ว่า ผังมโนทัศน์เป็นแผนภาพซ่ึงแสดงความสัมพันธ์ระหว่างผัง มโนทัศน์อย่างมีลาดับข้ันจากมโนทัศน์จากมโนทัศน์ที่กว้างและลดหลั่นลงมาเป็นมโนทัศน์ย่อยๆ โดยมีคาหรือ ข้อความเชื่อมโยงกัน ทาให้แผนภาพนั้นมีความหมายความสัมพันธ์อย่างเป็นระบบของมโนทัศน์ในลักษณะ เชน่ นีท้ าใหเ้ กดิ การเรยี นร้อู ยา่ งมีความหมาย 1.2 ประเภทของผงั มโนทศั น์ รูปแบบของกรอบมโนทศั น์ (สุวิทย์ มลู คาและอรทัย มูลคา, 2551 : หน้า 176-192) 1. Concept Map ผังมโนทัศน์ เป็นแผนภาพทแี่ สดงความสัมพันธร์ ะหว่างมโนทัศน์ ตา่ งๆ เกีย่ วกับเรอ่ื งใดเรอื่ งหนงึ่ อยา่ งเป็น ลาดับขน้ั เพ่อื ให้เกดิ การสร้างองค์ความรอู้ ย่างเปน็ ระบบ 2. Mind Map แผนที่ความคิด แผนที่ความคิดรูปแบบนใี้ ชแ้ สดงการเชอ่ื มโยงข้อมลู เกยี่ วกับเร่ืองใดเร่ืองหน่งึ ระหวา่ งความคดิ หลกั ความคิดรอง และความคดิ ย่อยทเี่ กีย่ วข้องสัมพนั ธก์ ัน ซึง่ มีรูปแบบดังน้ี

3. Web Diagram แผนผังใยแมงมุม แผนผังรูปแบบน้ีใช้แสดงในการแยกแยะองค์ประกอบต่างๆ ของขอ้ มูล 4. Tree Structure แผนภมู โิ ครงสร้างต้นไม้ แผนผงั รูปแบบน้ีแสดงความสัมพันธ์ของเรื่องท่ีมีความสาคญั ลดหล่ันกันเป็นช้ันๆ หรือเรียกว่า ผัง แสดงความสัมพนั ธแ์ บบกง่ิ ไม้ 5. Venn Diagram แผนภมู เิ วนน์ แผนผังรูปแบบนใ้ี ช้แสดงขอ้ มูลเพือ่ ใหเ้ กดิ ความคิดรวบยอดท่ีแสดงถึงความสมั พันธข์ อง องค์ประกอบตา่ งๆ ของบุคคล สถานท่ี หรือส่ิงของในลักษณะต่างๆ 6. Descending Ladder แผนภูมขิ ้ันบนั ได แผนภูมิรปู แบบนี้ใช้แสดงความสมั พันธข์ องข้อมูลทีม่ ลี กั ษณะแสดงลาดับเวลากระบวนการหรอื ขน้ั ตอนเป็นลาดับอยา่ งง่ายๆ 7. Cycle Graph แผนภาพวงจร แผนภาพรูปแบบนี้ใช้แสดงข้อมูลท่ีมีความสัมพันธ์กันระหว่างเหตุการณ์กับระยะเวลาที่มีการ เรียงลาดบั การเคลือ่ นไหวของข้อมลู ลกั ษณะเป็นวงจรท่ีไม่มีจุดเร่ิมต้น ณ ที่ใดทหี่ นึ่ง 8. Flowchart Diagram แผนผังการดาเนนิ งาน แผนภาพรปู แบบนีใ้ ชแ้ สดงการเคลอ่ื นไหวของข้อมูลที่มีลักษณะมองเห็นกระบวนการเป็นวงจรทม่ี ี การเล่ือนไหลหลายทศิ ทาง แต่สดุ ทา้ ยกน็ าไปสู่จดุ มงุ่ หมายปลายทางอยา่ งใดอย่างหนงึ่ ที่ตอ้ งการ 9. Matrix Diagram แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ แผนภาพรปู แบบนใี้ ชแ้ สดงข้อมูลท่ีเน้นถึงชนิดและความสัมพันธ์ที่สาคัญซึ่งกาหนดไว้เป็นแนวตั้ง และแนวนอน 10. Fishbone Map แผนผงั กา้ งปลา เป็นแผนผังทนี่ าเสนอขอ้ มลู ท่ีมปี ระเดน็ ปญั หาหลักแล้วเสนอสาเหตหุ รือผลตา่ งๆ ทเี่ ป็น องคป์ ระกอบเกย่ี วขอ้ งกนั 11. Interval Graph แผนภาพแสดงความสัมพนั ธข์ องเหตกุ ารณ์ เผยภาพรูปแบบน้ีสามารถใช้แสดงความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์ต่างๆตามลาดับเวลาโดย กาหนดช่วงของระยะเวลา ซ่ึงอาจเป็นปี เดือน สัปดาห์ วัน ชั่วโมง อย่างใดก็ได้ แต่ระยะห่างต้องกาหนด เท่าๆกนั มีช่ือเรยี กอีกอยา่ งว่า Time Line 12. Order Graph แผนภาพแสดงลาดบั เหตุการณ์ แผนภาพรปู แบบนีเ้ ป็นแผนภาพท่ใี ช้แสดงความสัมพันธ์ระหวา่ งเหตุการณ์ตา่ งๆตามลาดบั เวลาท่ี คลา้ ยคลึงกบั Interval Graph หรอื Time Line แตจ่ ะแตกตา่ งตรงที่ไม่ไดน้ าขอ้ มลู ด้านระยะเวลามาแสดง 13. Clissification Map แผนผังแสดงความสมั พนั ธแ์ บบจาแนกประเภท ผังรูปแบบนี้เหมาะกับข้อเขียนแบบพรรณนาโวหาร จะแสดงถึงความสัมพันธ์ของหัวเรื่อง ลักษณะการจัดกรอบมโนทศั น์ท้ัง 13 รปู แบบ มีเทคนิควธิ กี ารดงั ตอ่ ไปนี้

1.3 การสร้างผังมโนทศั น์ อัลท์ (Ault) (พรรณี อาไพวทิ ย์,2537:21-22) ได้เสนอแนะวธิ ีการสร้างกรอบมโนทศั น์ ไว้ดังนี้ 1. ขั้นเลือก เปน็ การเลอื กเรอ่ื งท่ีจะสรา้ งกรอบมโนทศั น์ อาจจะนามาจากตาราสมุดจดคาบรรยาย แล้วอา่ นข้อความน้ันอยา่ งนอ้ ย 1 ครั้ง จากนั้นจงึ ระบมุ โนทัศนท์ ่ีสาคัญ 2. ขน้ั จัดลาดบั เปน็ การนามโนทศั น์ท่สี าคัญ ซึง่ ไดเ้ ขียนลงในแผน่ กระดาษเลก็ ๆ แลว้ มาจดั ลาดบั จากมโนทัศน์ทก่ี วา้ ง ไปสูม่ โนทัศนท์ ี่รองลงมา และมโนทศั น์ที่เฉพาะเจาะจงตามลาดบั 3. ขัน้ จัดกลมุ่ นามโนทศั นม์ าจัดกลมุ่ เขา้ ด้วยกัน โดยใช้เกณฑ์ 2 ขอ้ คือ 1) จดั กลมุ่ มโนทศั น์ทีอ่ ย่ใู นระดบั เดยี วกนั 2) จดั กลมุ่ มโนทัศน์ทีม่ คี วามเกี่ยวขอ้ งกนั อย่างใกล้ชดิ 4. ขนั้ จดั ระบบ นามโนทศั นท์ อ่ี ยู่ในกลุ่มเดียวกัน มาจัดระบบตามลาดับความเกี่ยวข้อง ซ่ึงในข้ันน้ียัง สามารถเปลยี่ นแปลงหรือหามโนทัศนม์ าเพ่ิมไดอ้ ีก 5. ขั้นเช่ือมมโนทัศน์ท่ีมีความสัมพันธ์กัน เป็นการนามโนทัศน์ที่มีความสัมพันธ์กันมาเชื่อมโยงกัน โดยลากเส้นเชื่อมโยง และมีคาเชื่อมระบุความสัมพันธ์ไว้ทุกเส้น และหลังจากใส่คาเช่ือมแล้วจะ สามารถอ่านได้เป็นประโยค เส้นท่ีเชื่อมน้ีอาจเชื่อมระหว่างมโนทัศน์ในชุดเดียวกันหรือเช่ือมโยง ระหว่างชุดของมโนทศั นก์ ไ็ ด้ 1.4 ขน้ั ตอนการจัดการเรียนรู้ 1. ขั้นตรวจสอบมโนทัศน์พ้ืนฐาน ผู้สอนจะต้องทาการตรวจสอบมโนทัศน์พื้นฐานของผู้เรียน เกยี่ วกบั เรื่องที่จะทาให้ผูเ้ รยี นเรียนรู้ ซง่ึ อาจทาได้โดยให้ผู้เรียนทาแบบทดสอบหรือการตั้งคาถาม ใหผ้ เู้ รยี นตอบ 2. ข้ันระบุมโนทัศน์พ้ืนฐานท่ีผู้เรียนขาด ผู้สอนจะต้องระบุมโนทัศน์พื้นฐานที่ผู้เรียนยังขาดให้ ชัดเจน 3. ขน้ั เสริมมโนทศั น์พนื้ ฐานใหผ้ ้เู รียน ในกรณที ี่ผู้เรียนยังขาดมโนทศั น์พื้นฐานผู้สอนจะต้องเสริมให้ ผ้เู รยี น ซ่ึงจะใชว้ ธิ ีการอธิบายโดยใช้สือ่ ตา่ งๆประกอบกไ็ ด้ 4. ขน้ั เรยี นรู้ เพ่อื ให้ผเู้ รยี นเกิดมโนทัศน์ การจัดการเรียนรคู้ วรประกอบไปด้วยขั้นตอนย่อยๆ ดงั นี้ 4.1 ให้ผู้เรียนศึกษาเนื้อหาและระบุมโนทัศน์ที่สาคัญจากบทเรียนที่กาลังเรียนโดยผู้สอนช่วย อธบิ ายความหมายของแตล่ ะมโนทัศน์ให้ผเู้ รียนเข้าใจ 4.2 ให้ผู้เรียนจัดลาดับมโนทัศน์ท่ีผู้เรียนเลือกมาจากมโนทัศน์ที่กว้าง ไปยังมโนทัศน์ท่ีรองลงมา ตามลาดับจนกระท่ังถงึ มโนทศั น์ท่เี ฉพาะเจาจง 4.3 ให้ผู้เรยี นจดั มโนทัศน์ทมี่ ีความสัมพนั ธเ์ กยี่ วขอ้ งกัน 4.4 ให้ผเู้ รยี นหาคาเชอ่ื มและทาการเชื่อมโยงมโนทัศนต์ า่ งๆ เข้าดว้ ยกนั โดยให้เส้นโยงทกุ เสน้ ทีโ่ ยงมคี าเชื่อมบอกความหมายไว้ 5. ขั้นสรุปด้วยกรอบมโนทศั น์ ประกอบด้วย 5.1 ผสู้ อนคัดเลอื กตัวอยา่ งกรอบมโนทัศนท์ ่ีผู้เรยี นสรา้ งขนึ้ 5.2 ใหผ้ ูเ้ รยี นทไ่ี ด้รบั การคดั เลอื กนาเสนอใหเ้ พอ่ื นฟงั 5.3 ผู้เรยี นชว่ ยกนั วิจารณ์ใหข้ อ้ เสนอแนะ 5.4 ผสู้ อนและผเู้ รยี นรว่ มกันให้คะแนนสรุปเนือ้ หาจากกรอบมโนทัศน์

5.5 ผ้สู อนเสนอกรอบมโนทัศน์ท่ีผู้สอนเตรยี มมา 5.6 ผสู้ อนและผเู้ รียนชว่ ยกันสรปุ 6. ขนั้ การประเมินผล ผเู้ รียนแบะผสู้ อนร่วมกันประเมินผลการเรยี นรูข้ องผู้เรยี น เช่น อาจพิจารณา ใหค้ ะแนนกรอบกรอบมโนทัศน์ทีผ่ ้เู รียนสรา้ งขนึ้ การทดสอบ การซกั ถามเป็นต้น 1.5 ประโยชนข์ องผังมโนทัศน์ โนแวคและโกวิน ได้กลา่ วถงึ ประโยชนข์ องผังมโนทศั นไ์ ว้ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ใช้ช่วยในการสารวจพ้ืนความรู้ของนักเรียน เพื่อประโยชน์ในเตรียมการสอนและจัดกิจกรรมให้ เหมาะสมกับนกั เรยี น 2. ใช้ในการประเมินความคิดของนักเรียนได้ว่ากาลังคิดอะไร กาลังทาอะไรเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายท่ี วางไว้ คล้ายกับการเดินทางโดยแผนท่ี 3. ใช้ช่วยในการสรุปเนื้อจากตารา ซ่ึงจะช่วยประหยัดเวลาในการอ่านครั้งต่อไปและไม่ทาให้เบ่ือ หน่ายในการอ่านด้วย 4. ใช้เป็นเคร่ืองมอื ในการจดบันทึก เพื่อสรปุ ความท่ีไดจ้ ากการทดลองในห้องปฏิบัติการหรือจากการ ปฏบิ ตั ิภายในภาคสนาม 5. ช่วยในการวางแผนการเขยี นรายงานหรอื การบรรยาย 1.6 ข้อดขี องผังมโนทศั น์ 1. เกดิ มโนทัศน์ในเรื่องทีเ่ รียนอย่างถกู ต้อง 2. ปรบั เปลีย่ นมโนทศั น์ที่คลาดเคลื่อนให้ถกู ตอ้ ง 3. นาความรู้เรือ่ งมโนทัศน์ ไปอธบิ ายปรากฏการณ์ตา่ งๆ ทเ่ี กิดข้นึ ได้ 4. นาความคดิ ในการจัดกรอบมโนทัศน์ ไปศึกษาหาความรู้ หรือสรุปบทเรียนตา่ งๆด้วยตนเอง 5. ใชไ้ ดก้ บั ทกุ เพศ ทุกวัย และทกุ วิชา 6. ใช้ไดด้ ี กับลักษณะการเรยี นรู้ทมี่ กี ารอา่ นตารา ฟังคาบรรยาย การสังเกต การสาธิต 2. การพัฒนาการเรียนรู้ 2.1 ความหมายของการเรียนรู้ การเรยี นรู้ คอื การเปลย่ี นพฤตกิ รรมใดๆ ก็ตามซึ่งเป็นผลมาจากประสบการณ์ ทั้งการเรยี นรู้ ดา้ นวิชาการ รวมถึงการเรียนรใู้ นดา้ นค่านยิ ม บทบาทท่ีเหมาะสม เรียนรู้ท่ีจะรัก เกลียด กลัว และสร้างความ เช่ือม่ันในตนเอง ฯลฯ จึงกล่าวได้ว่าบุคคลจะมีพฤติกรรมอย่างไรนั้นขึ้นอยู่กับทุกส่ิงทุกอย่างที่เขาเรียนรู้มา (กรองกาญจน์ อรุณรัตน์,2546) (อ้างใน อารี พนั ธ์มณ,ี 2534,หน้า 85-86) คิมเบิลและการ์เมอซ่ี ได้ให้คาจากัดความว่า เป็นการเปล่ียนแปลงพฤติกรรม หรือแนมโน้มของ พฤติกรรมอย่างถาวร ซ่ึงเป็นผลมาจากการปฏิบัติท่ีได้รับการเสริมแรง มิใช่เป็นผลจากการตอบสนองตาม ธรรมชาติที่เรียกวา่ ปฏิกริ ิยาสะท้อนกลับ ฮิลการ์ดและเบาเวอร์ กล่าวว่า การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่ทาให้พฤติกรรมเปล่ียนแปลงไปจากเดิม อันเป็นผลจากการฝกึ ฝนและประสบการณ์ แตม่ ิใชผ่ ลจากการตอบสนองทเี่ กิดข้นึ ตามธรรมชาติ

เมดนคิ ได้ให้ความหมายของการเรยี นรูไ้ ว้ดงั น้ี 1) การเรยี นรูท้ าใหเ้ กดิ การเปล่ยี นแปลงพฤตกิ รรม 2) การเรยี นรูเ้ ปน็ ผลจากากรฝึกฝน 3) การเรียนรู้เป็นการเปล่ียนแปลง พฤติกรรมท่ีค่อนข้างถาวรจนเกิดเป็นนิสัย มิใช่การเปลี่ยนแปลง พฤตกิ รรมซอื่ ตรง 4) การเรียนรู้ไม่อาจสงั เกตได้โดยตรง แต่ทราบจากการกระทาที่เป็นผลจากการเรยี นรู้ ชวนันท์ ชาญศิลป์ (2552)ให้ความหมายว่า การเปลี่ยนพฤติกรรมของบุคคลอันเนื่องมาจาก การ เผชญิ สถานการณ์ โดยเฉพาะสถานการณซ์ า้ ๆ โดยท่ีไม่ได้เป็นสัญชาติญาณ หรือเป็นส่วนของพัฒนาการโดย ปกติ จากความหมายของการเรียนรู้ข้างต้นอาจสรุปได้ว่า การเรียนรู้ หมายถึง การเปล่ียนแปลง พฤติกรรมอันเป็นผลจากการท่ีบุคคลทากิจกรรมใดๆ ทาให้เกิดประสบการณ์และเกิดทักษะต่างๆ ขึ้นยังผลให้ เกดิ การเปล่ียนแปลงพฤติกรรมคอ่ นขา้ งถาวร 2.2 ทฤษฎีการเรยี นรู้ (แหลง่ การเรยี นรู้ออนไลน์: วิกพิ เี ดยี สารานกุ รมเสรี) ทฤษฎีการเรยี นรู้ (learning theory) การเรยี นร้คู ือกระบวนการที่ทาใหค้ นเปลี่ยนแปลง พฤติกรรม ความคดิ คนสามารถเรียนได้จากการไดย้ นิ การสัมผสั การอ่าน การใช้เทคโนโลยี การเรียนรู้ของเด็ก และผู้ใหญ่จะต่างกัน เด็กจะเรียนรู้ด้วยการเรียนในห้อง การซักถาม ผู้ใหญ่มักเรียนรู้ด้วยประสบการณ์ที่มีอยู่ แต่การเรยี นร้จู ะเกดิ ขึ้นจากประสบการณท์ ผ่ี ู้สอนนาเสนอ โดยการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ผู้สอน จะเป็นผู้ท่สี ร้างบรรยากาศทางจิตวิทยาที่เอ้ืออานวยต่อการเรียนรู้ ท่ีจะให้เกิดขึ้นเป็นรูปแบบใดก็ได้เช่น ความ เป็นกันเอง ความเข้มงวดกวดขัน หรือความไม่มีระเบียบวินัย ส่ิงเหล่านี้ผู้สอนจะเป็นผู้สร้างเงื่อนไข และ สถานการณ์เรียนรู้ให้กับผู้เรียน ดังน้ัน ผู้สอนจะต้องพิจารณาเลือกรูปแบบการสอน รวมทั้งการส ร้าง ปฏสิ ัมพันธก์ ับผเู้ รยี น Bloom ได้แบง่ การเรยี นรู้เป็น 6 ระดบั  ความร้ทู ่ีเกดิ จากความจา (knowledge) ซ่งึ เปน็ ระดับล่างสุด  ความเขา้ ใจ (Comprehend)  การประยกุ ต์ (Application)  การวิเคราะห์ ( Analysis) สามารถแก้ปญั หา ตรวจสอบได้  การสังเคราะห์ ( Synthesis) สามารถนาส่วนต่างๆ มาประกอบเป็นรูปแบบใหม่ได้ให้แตกต่างจากรูป เดมิ เนน้ โครงสร้างใหม่  การประเมินค่า ( Evaluation) วัดได้ และตัดสินได้ว่าอะไรถูกหรือผิด ประกอบการตัดสินใจบน พ้นื ฐานของเหตผุ ลและเกณฑ์ที่แน่ชัด เมเยอร์ (Mayor) ในการออกแบบสื่อการเรียนการสอน การวิเคราะห์ความจาเป็นเป็นส่ิงสาคัญ และตามด้วย จดุ ประสงคข์ องการเรยี น โดยแบง่ ออกเปน็ ยอ่ ยๆ 3 สว่ นด้วยกนั  พฤตกิ รรม ควรชชี้ ัดและสังเกตได้  เงอื่ นไข พฤติกรรมสาเรจ็ ไดค้ วรมีเง่ือนไขในการชว่ ยเหลือ  มาตรฐาน พฤติกรรมทไ่ี ด้นั้นสามารถอยูใ่ นเกณฑ์ท่ีกาหนด

บรูเนอร์ (Bruner)  ความรถู้ ูกสร้างหรือหล่อหลอมโดยประสบการณ์  ผ้เู รยี นมบี ทบาทรบั ผดิ ชอบในการเรียน  ผเู้ รยี นเป็นผูส้ รา้ งความหมายข้นึ มาจากแงม่ มุ ต่างๆ  ผู้เรียนอยใู่ นสภาพแวดลอ้ มทเ่ี ปน็ จริง  ผู้เรียนเลอื กเนื้อหาและกิจกรรมเอง  เน้อื หาควรถูกสร้างในภาพรวม กาเย(่ Gagne) ทฤษฎีการเรยี นรู้ 8 ข้ัน ของ  การจูงใจ (Motivation Phase)  การรับรูต้ ามเปา้ หมายท่ีตงั้ ไว้ (Apprehending Phase) ผเู้ รยี นจะรับรสู้ ่ิงที่สอดคล้องกบั ความต้ังใจ  การปรุงแต่งส่ิงที่รบั ร้ไู ว้เปน็ ความจา (Acquisition Phase) เพือ่ ใหเ้ กดิ ความจาระยะสน้ั และ ระยะยาว 2.3 ธรรมชาตขิ องการเรียนรู้ ธนศักดิ์ อัศวจุฬามณี (2551) ได้แบง่ ธรรมชาติของการเรยี นรู้ 4 ขั้นตอน คอื 1. ความต้องการของผู้เรียน (Want) คือ ผู้เรียนอยากทราบอะไร เมื่อผู้เรียนมีความต้องการอยากรู้ อยากเห็นในส่งิ ใดกต็ าม จะเป็นสง่ิ ที่ยั่วยใุ หผ้ เู้ รียนเกดิ การเรยี นรูไ้ ด้ 2. ส่ิงเร้าท่ีน่าสนใจ (Stimulus) ก่อน ท่ีจะเรียนรู้ได้ จะต้องมีสิ่งเร้าท่ีน่าสนใจ และน่าสัมผัสสาหรับ มนุษย์ ทาใหม้ นุษยด์ ้ินรนขวนขวาย และใฝ่ใจท่จี ะเรียนรใู้ นสิง่ ที่น่าสนใจน้นั ๆ 3. การตอบสนอง (Response) เมื่อ มีส่ิงเร้าที่น่าสนใจและน่าสัมผัส มนุษย์จะทาการสัมผัสโดยใช้ ประสาทสมั ผัสต่าง ๆ เชน่ ตาดู หูฟัง ลิ้นชิม จมูกดม ผิวหนังสัมผัส และสัมผัสด้วยใจ เป็นต้น ทาให้มีการแปล ความหมายจากการสัมผัสสิ่งเร้า เป็นการรับรู้ จาได้ ประสานความรู้เข้าด้วยกัน มีการเปรียบเทียบ และคิด อยา่ งมีเหตผุ ล 4. การได้รับรางวัล (Reward) ภาย หลังจากการตอบสนอง มนุษย์อาจเกิดความพึงพอใจ ซึ่งเป็น กาไรชีวิตอย่างหน่ึง จะได้นาไปพัฒนาคุณภาพชีวิต เช่น การได้เรียนรู้ ในวิชาชีพชั้นสูง จนสามารถออกไป ประกอบอาชีพช้ันสูง (Professional) ได้ นอกจากจะได้รับรางวัลทางเศรษฐกิจเป็นเงินตราแล้ว ยังจะได้รับ เกียรติยศจากสงั คมเป็นศกั ดิ์ศรี และความภาคภูมใิ จทางสังคมไดป้ ระการหนงึ่ ด้วย กันยา สุวรรณแสง (2538, หน้า 244) กล่าวว่า ธรรมชาติของการเรียนรู้โดยทั่วไปมนุษย์จะมีการ เรียนรู้ได้ก็ต่อเมื่อมนุษย์ได้ทากิจกรรมใดๆ แล้วเกิดประสบการณ์ ประสบการณ์ที่สะสมมามากๆ และหลายๆ คร้ังทาให้มนุษย์เกิดการเรียนรู้ข้ึนและเกิดการพัฒนาสิ่งที่เรียนรู้จนเกิด เป็นทักษะ และเกิดเป็นความชานาญ ดังน้ันการเรียนรู้ของมนุษย์ก็จะอยู่กับตัวของมนุษย์เรียกว่าการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมท่ีค่อนข้างถาวร ดังนน้ั ธรรมชาติของการเรียนรูข้ องมนษุ ยม์ อี ะไรบ้าง คอื 1. การเรยี นรู้คอื การเปลยี่ นแปลงพฤติกรรมค่อนข้างถาวร 2. การเรียนรู้ย่อมมีการแก้ไข ปรับปรุงและเปล่ียนแปลง โดยการเปลี่ยนแปลงน้ันๆ จะต้อง เนอื่ งมาจากประสบการณ์ 3. การเปลีย่ นแปลงช่ัวครง้ั ชัว่ คราวไมน่ บั วา่ เป็นการเรยี นรู้ 4. การเรียนรู้ในสิง่ ใดส่ิงหน่งึ ยอ่ มต้องอาศยั การสงั เกตพฤตกิ รรม

5. การ เรียนรู้เป็นกระบวนการท่ีทาให้เกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรม และกระบวนการ เรียนรู้ เกดิ ข้นึ ตลอดเวลาท่บี คุ คลมชี วี ิตอยู่ โดยอาศยั ประสบการณ์ในชวี ติ 6. การ เรียนรู้ไม่ใช่วุฒิภาวะแต่อาศัยวุฒิภาวะ วุฒิภาวะคือระดับความเจริญเติบโต สูงสุดของ พัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาของบุคคลในแต่ละช่วงวัยท่ีเป็นไปตามธรรมชาติ แต่ การเรียน รไู้ มใ่ ช่วฒุ ิภาวะแตต่ อ้ งอาศัยวุฒภิ าวะประกอบกนั 7. การเรียนร้เู กดิ ได้ง่ายถา้ สิ่งท่เี รยี นเป็นสิง่ ทม่ี ีความหมายต่อผเู้ รียน 8. การเรยี นรขู้ องแตล่ ะคนแตกตา่ งกนั 9. การเรยี นร้ยู ่อมเป็นผลให้เกดิ การสรา้ งแบบแผนของพฤตกิ รรมใหม่ 10. การเรยี นรอู้ าจจะเกดิ ขน้ึ โดยการตัง้ ใจหรอื เกดิ โดยบังเอญิ ก็ได้ ครอนบัค (อ้างใน อารี พันธ์มณี ,2546,หน้า 177) ได้อธิบายถึงธรรมชาติของการเรียนรู้ ว่าเป็น กระบวนการชนดิ หนง่ึ ประกอบด้วย 1. จุดมุ่งหมายของผเู้ รยี น (Goal) หมายถึง สง่ิ ทีผ่ ูเ้ รยี นตอ้ งการหรือสิง่ ที่ผู้เรยี นมุ่งหวัง 2. ความพร้อม (Readiness) เป็นลักษณะเฉพาะตัวของนกั เรียนหรือผู้เรียนแต่ละคน หมายถึง วุฒิ ภาวะของผู้เรียนด้วย คนท่ีมคี วามพรอ้ มจะเรียนได้ดีกว่าท้ังๆที่อยู่ในสถาบันเดียวกัน จึงควรสร้างแรงจูงใจให้ เกิดข้นึ กบั นกั เรียนเพอื่ ใหพ้ ร้อมท่จี ะเรยี น 3. สถานการณ์ (Situation) หมายถึงส่ิงแวดล้อมหรือส่ิงเร้าต่างๆที่มากระทาต่อผู้เรียน เช่น วิธีการสอน สถานการณ์ต่างๆ เป็นต้น คนหรือสัตว์จะเรียนรู้ได้ดีเมื่อเข้าไปมีประสบการณ์ในสถานการณ์ ตา่ งๆ อย่างแทจ้ รงิ 4. การแปลความหมาย (Interpretation) เป็นการศึกษาหาลู่ทางในสถานการณ์ที่กาลังเผชิญอยู่ เพ่ือเข้าไปสู่จุดหมาย หรือวางแผนการกระทาเพ่ือให้บรรลุจุดมุ่งหมาย โดยพิจารณานาส่ิงแวดล้อมหรือ สถานการณ์มาใช้ให้เป็นประโยชน์ การบรรลจุ ดุ มุ่งหมายน้ันอาจมหี ลายวิธีและอาจจะมีวิธีหน่ึงที่ดีท่ีสุด การท่ี คนจะเลือกวีใดน้นั ขึน้ อยู่กบั ความสารถในการแปลความหมายเปน็ สาคัญ 5. ลงมอื กระทา (Action) เม่ือแปลสถานการณ์แล้ว ผู้เรียนจะลงมือตอบสนองสถานการณ์หรือส่ิง เรา้ ในทันที การกระทานั้นผู้เรียนย่อมคาดหวังวา่ จะเปน็ วธิ ีที่ดีทสี่ ุดทจี่ ะบรรลจุ ุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้ 6. ผลท่ีตามมา (Consequence) หลังจากตอบสนองส่ิงเร้าหรือสถานการณ์แล้ว ผลท่ีตามมา คือ อาจจะประสบผลสาเร็จตามจุดมุ่งหมาย จะเกิดความพอใจ ถ้าไม่ประสบผลสาเร็จย่อมไม่พอใจ ผิดหวัง ถ้า ประสบผลสาเรจ็ ก็จะเปน็ แรงจูงใจให้ทากิจกรรมอยา่ งเดมิ อีก ถ้าไมบ่ รรลุจดุ ม่งุ หมายอาจหมดกาลังใจ ท้อแท้ 7. ปฏิกิริยาต่อความผิดหวัง (Contradict) ซ่ึงกระทาใน 2 ลักษณะ คือ ปรับปรุงการกระทาของ ตนใหม่เพ่ือให้บรรลุจุดมุ่งหมาย โดยย้อนไปพิจารณาหรือแปลสถานการณ์หรือส่ิงเร้าใหม่ แล้วหาวีกระทา พฤติกรรมท่ีเหมาะสมเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายปลายทางให้ได้ อีกประการหนึ่งอาจเลิกไม่ทากิจกรรมน้ันอีก หรอื อาจกระทาซา้ ๆ อยา่ งเดิมโดยไมเ่ กดิ ผลอะไรก็ได้

2.4 ชนิดของการเรยี นรู้ (มาลี จฑุ า,2544,หนา้ 68-69) การเรียนรู้มีหลายชนดิ ได้แก่ 1. การเรียนร้โู ดยการวางเงื่อนไข บุคคลจะเรียนรู้ในสิ่งต่างๆ โดยการวางเงื่อนไข จาแนกเป็น 2 วิธี คือ 1.1 การเรียนรู้โดยการวางเง่ือนไขแบบคลาสสิค เช่น แม่ยิ้มหรือชมว่าลูกเก่ง เป็นการให้ กาลังใจลูก ขณะท่ีลูกหกล้ม ปรากฏว่าลูกได้มีการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมจากที่เคย รอ้ งไหม้ าเปน็ ไมร่ ้องไห้ 1.2 การเรียนรู้โดยการวางเงือ่ นไขแบบการกระทา เชน่ นักเรียนที่ทารายงานดี ครูจะชมเชย เป็นตวั อยา่ ง นกั เรียนจะเรยี นรูว้ า่ ถ้าทาดแี ลว้ จะได้รับผลตอบแทน 2. การเรียนรู้ทางวัจนะภาษา เป็นการเรียนรู้ทางภาษา จากการฟัง คิด ถาม และเขียน(สุ จิ ปุ ล)ิ 3. การเรียนรู้ทางมอเตอร์ เป็นการเรียนรู้ทางทักษะต่างๆ โดยใช้อวัยวะต่างๆของร่างกาย เช่น การเรยี นรูท้ างทักษะทางดา้ นกฬี า ทกั ษะดา้ นดนตรี ทักษะศลิ ปะการแสดง เปน็ ตน้ 4. การเรียนรู้โดยการรับรู้ เป็นการเรียนรู้โดยการรับรู้ในส่ิงเร้าและประสบการณ์โดยใช้อวัยวะ รับสัมผัส เช่น เด็กๆเรียนรู้สิ่งต่างๆจากการดูโทรทัศน์ วีดิทัศน์ เล่นคอมพิวเตอร์ และการ อา่ นหนงั สือ เปน็ ต้น 5. การเรียนรู้โดยการแกป้ ญั หา บุคคลจะเรยี นรสู้ ่งิ ตา่ งๆโดยการแกป้ ญั หา จาแนกเปน็ 2 วธิ ี คอื 5.1 การเรียนรู้โดยการแกป้ ัญหาแบบลองผิดลองถกู เป็นการเรียนรู้ในลักษณะการแก้ปัญหา ในการดาเนินชวี ติ เชน่ นักเรียนจะเรียนรู้การแก้ปัญหาโจทย์ทางคณิตศาสตร์ โดยใช้วิธี ลองผดิ ลองถกู เป็นต้น 5.2 การเรียนรู้โดยการแก้ปัญหาแบบความคิดความเข้าใจอย่างแจ่มแจ้ง เช่น เด็กอยากจะ กินขนมหวานที่วางอยู่บนช้ันวางของหยิบไม่ถึง ก็จะพิจารณาถึงความสัมพันธ์ระหว่าง ชั้นที่วางขนม เก้าอี้ที่วางอยู่ใกล้ๆ จนเกิดความคิดท่ีจะแก้ปัญหาน้ี โดยนาเก้าอี้มาวาง และปีนขนึ้ ไปหยบิ ขนมมากนิ ได้ 6. การเรียนรู้ทางสังคม บุคคลจะเรียนรู้พฤติกรรมทางสังคมในด้านวัฒนธรรม ประเพณี และ ปทัสถานทางสังคม เช่น การท่ีบุคคลได้รับสิ่งของท่ีดีหรือได้รับอภัยจากผู้อื่นแล้ว จะเกิดความ สบายใจขึน้ ต่อไปอยากจะแสดงน้าใจตอ่ ผู้อ่ืน เช่นเดียวกันดว้ ย 7. การเรยี นรู้ระยะเวลา บุคคลจะเรียนรู้ระยะเวลาต่างๆจากประสบการณ์และสิ่งแวดล้อมที่ประสบ มา บุคคลจะเรียนรู้ว่าเวลาเป็นของมีค่า ฉะนั้นถ้าจะพัฒนาคุณภาพชีวิตจะต้องเรียนรู้วิธีการ บริหารเวลาใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ 8. การเรียนรู้โดยการสังเกต บุคคลจะเรียนรู้เพื่อดาเนินชีวิตของตน โดยเฝ้าสังเกตพฤติกรรมหรือ การกระทาของผอู้ น่ื และอาจเลียนแบบตาม 9. การเรียนรู้การคัดค้าน เป็นการเรียนรู้ถึงวิธีการท่ีจะไม่ยอมรับสิ่งเร้าและประสบการณ์ท่ีอาจ เกดิ ขนึ้ แก่บุคคลจาแนกเป็น 3 ลักษณะคือ 9.1 การเรียนร้เู พ่อื หลบหนีการถูกลงโทษ 9.2 การเรยี นรเู้ พื่อหลบหนี 9.3 การเรียนรู้เพื่อหลีกเลยี่ งจากสง่ิ ทไี่ ม่พงึ ปรารถนา

2.5 รปู แบบการเรยี นรู้ มานพ ศรีดลุ ยโชติ(อ้างใน มาลี จุฑา,2544,หน้า 70) บุคคลมีวิธีการเรียนรู้และแก้ปัญหาในรูปแบบท่ี แตกต่างกับ สรุปได้ 4 รปู แบบ คอื 1. สร้างประสบการณ์ให้แน่นแฟ้น เป็นวิธีการเรียนรู้ในลักษณะให้รู้จริง ซึ่งความรู้ท้ังมวลจะติดตรา ตรึงใจในบุคคลนัน้ ไปตลอดกาล 2. สังเกตปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น การเรียนรู้ด้วยวิธีการสังเกตปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึน แล้วสรุปเป็น ความรตู้ อ่ ไป 3. เกดิ ความคดิ ในเชงิ นามธรรม การเรียนรู้ท่ีใช้ความคิดในการพินิจพิจารณาปรากฏการณ์ความรู้ท้ัง ปวง แลว้ สร้างเป็นหลักการโดยใช้หลกั เหตุผลและผล 4. ชอบการทดลอง เป็นวธิ ีการเรียนทีเ่ กิดจากการทดลอง 2.6 องคป์ ระกอบของการเรียนรู้ (อารี พันธ์มณี,2534 หน้า 88) 1. สิ่งเร้า (Stimulus) เป็นตัวการที่ทาให้บุคคลมีปฏิกิริยาโต้ตอบออกมาและเป็นตัวกาหนด พฤติกรรมว่าจะแสดงออกมาในลักษณะใด ส่ิงเร้าอาจเป็นเหตุการณ์หรือวัตถุและอาจเกิดภายใน หรอื ภายนอกรา่ งกายก็ได้ เช่น เสียงนาฬิกาปลกุ ใหเ้ ราตน่ื กาหนดวนั สอบเร้าให้เราเตรยี มสอบ 2. แรงขับ(Drive) มี 2 ประเภท คือ แรงขับปฐมภูมิ(Primary Drive) เป็นเรื่องของความกระหาย การต้องการพักผ่อน เป็นต้น และแรงขับทุติยภูมิ (Secondary Drive) เป็นเรื่องของความ ต้องการทางจิตและทางสังคม เช่น ความวิตกกังวล ความต้องการความรัก ความปลอดภัย เป็น ตน้ แรงขบั ทงั้ สองประเภทเปน็ ผลใหเ้ กดิ ปฏิกิริยาอนั จะนาไปสู่การเรียนรู้ 3. การตอบสนอง (Response) เป็นพฤติกรรมต่างๆ ที่บุคคลแสดงออกมาเม่ือได้รับการกระตุ้นจาก สิ่งเร้าต่างๆ เช่น คน สัตว์ ส่ิงของ หรือสถานการณ์ อาจกล่าวได้ว่าเป็นสิ่งแวดล้อมท่ีรอบตัว น่นั เอง 4. แรงเสริม (Reinforcement) สิง่ ที่มาเพม่ิ กาลังให้เกิดการเช่อื มโยงระหวา่ งสงิ่ เร้ากบั การตอบสนอง เช่น รางวัล การตาหนิ การลงโทษ การชมเชย เงิน ของขวัญ เปน็ ตน้ 2.7 กระบวนการของการเรยี นรู้ มุลลี (Mouley G.J.) ได้จัดลาดับขั้นของกระบวนการเรียนรู้เป็น 7 ขั้นด้วยกันดังน้ี (อ้างใน อารี พันธ์ มณ,ี 2534, หน้า 88) 1. แรงจูงใจ หมายถึง สภาพอินทรีย์ท่ีเกิดความต้องการ หรืออยู่ในภาวะขาดสมดุลก็จะทาให้เกิด แรงขับหรือแรงจูงใจ เพ่ือผลักดันให้เกิดพฤติกรรมมาเพ่ือทดแทนสภาวการณ์ขาด หรือทาให้ อินทรีย์อยู่ในภาวะสมดุล แรงจูงใจ จึงเป็นส่ิงจาเป็นเบื้องต้น ในการเรียนรู้และเป็นสิ่งท่ีกาหนด ทิศทาง และความเข้มของพฤติกรรมให้เกิดขึน้ 2. เป้าหมาย หมายถงึ สภาพตอ่ จากการทบี่ คุ คลเกิดแรงจูงใจแล้ว บุคคลก็จะกาหนดเป้าหมายจึงจะ ก่อให้เกิดความพึงพอใจ เป้าหมายจึงเป็นส่วนผลักดันให้บุคคลแสดงพฤติกรรมและนาไปสู่การ เรียนรู้ได้ ลักษณะเป้าหมายอาจแตกต่างกัน บางคนอาจเป็นเป้าหมายเพื่อตอบสนองความ ต้องการทางสรีระ แต่บางคนอาจกาหนดเป้าหมายเพ่ือตอบสนองความต้องการทางสังคมก็อาจ เปน็ ไปได้

3. ความพร้อม หมายถึง สภาพความพร้อมของอนิ ทรีย์ทางรา่ งกาย จติ ใจ อวัยวะต่างๆ ในการเรียนรู้ รวมท้ังการเจริญเติบโตของร่างกาย แรงจูงใจ ความสนใจ ประสบการณ์เดิม เป็นต้น ซึ่งความ พรอ้ มดงั กล่าวเป็นองค์ประกอบสาคัญในการเรียนรู้จะช่วยให้บุคคลสามารถเรียนรู้ได้แตกต่างกัน บุคคลทม่ี คี วามพร้อมก็อาจเรียนรไู้ ด้ดี เป็นตน้ 4. อุปสรรค หมายถงึ การเผชญิ กับส่งิ ขวางกนั้ หรอื ส่งิ สกดั ก้ัน ระหวา่ งพฤติกรรมกบั เป้าหมาย ทาให้ ไม่บรรลุเป้าหมาย บุคคลจึงเกิดความเครียด ก็จะพยายามหาทางลดความเครียดลงหรือวิธี แก้ปัญหา ลักษณะเช่นน้ีจงึ ทาใหเ้ กดิ การเรยี นรขู้ ้ึนได้ 5. การตอบสนอง หมายถึง การแสดงพฤติกรรมตอบสนองต่อแรงจูงใจ เป้าหมาย ความพร้อมหรือ อุปสรรค ซ่ึงอาจเริ่มด้วยการเลือกตอบสนองที่เหมาะสมหรือแก้ปัญหาได้ดีท่ีสุด และการ ตอบสนองจะเปน็ แนวทางไปสู่เป้าหมาย 6. การเสรมิ แรง หมายถึง เมื่อบุคคลมีพฤติกรรมตอบสนองแล้วได้รับผลย้อนกลับในทางที่ดีอาจเป็น รางวัลหรือการเสริมแรงในรูปแบบต่างๆ เช่น คาชมเชย ความพอใจ ความสาเร็จ ความก้าวหน้า หรืออื่นๆ ก็จะทาให้อินทรีย์แสดงพฤติกรรมบ่อยคร้ัง และมีความคงทนในการแสดงพฤติกรรม ดังน้ัน การเสริมแรงจึงเป็นการให้ภายหลังจากแสดงพฤติกรรมที่พึงปรารถนา และทาให้ พฤตกิ รรมดังกล่าวเกดิ ขึน้ บอ่ ยและคงทน 7. การสรุปความเหมือน หมายถึง หลังจากผู้เรียนได้บรรลุเป้าหมายแล้ว เขาสามารถสรุปกฎเกณฑ์ หรือสถานการณก์ ารเรยี นรู้ทีป่ ระสบมา แล้วนาไปใช้ในสถานการณ์หรือประสบการณ์ใหม่ได้ เป็น การขยายขอบเขตความร้ใู ห้กว้างขวางขึน้ 3. นกั เรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 นักเรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 5 หมายถงึ นกั เรียนระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 ที่กาลังศึกษาในภาคเรียน ท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563 จานวน 117 คน 4. โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 หมายถงึ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 เลขที่ 99 หมู่ 10 ต.ช่างเคงิ่ อ.แม่แจม่ จ.เชียงใหม่ 50270 เรม่ิ ดาเนินการสอนในปี พ.ศ. 2541 จนถงึ ปัจจบุ นั เปดิ สอนต้งั แต่ ระดับชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 1 ถึง ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 มจี านวนห้องเรียนทงั้ หมด 32 หอ้ ง แล้วยงั มีนักเรยี น มีจานวนนักเรยี นในปกี ารศกึ ษา 2563 ท้ังส้นิ 817 คน บุคลากรจานวน 110 คน

5. งานวิจยั ทีเ่ กย่ี วขอ้ ง ฐานิตา สุวรรณกฏู (2548,ออนไลน)์ ศกึ ษาผลการใชผ้ งั มโนทัศนแ์ ละแผนท่ีความคดิ ต่อ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นวิชาชวี ิตและวัฒนธรรมไทยของนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูงวิทยาลัยเทคนิค ชัยนาท พบว่า นักศึกษาที่เรียนโดยใช้ผังมโนทัศน์และแผนที่ความคิดมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่า นักศึกษาที่เรียนด้วยวิธีปกติ อย่างมีนัยสาคัญที่ระดับ 0.012 นักศึกษามีความคิดเห็นต่อการจัดกิจกรรมการ เรียนการสอนโดยใชผ้ ังมโนทัศนแ์ ละแผนทคี่ วามคิดอยใู่ นระดับเหน็ ด้วยมากทงั้ ในภาพรวมและรายข้อ ทิวาวรรณ ภาสุคา (2542) ได้ศึกษาผลการใช้ผังมโนทัศน์ เรื่องปัญหาทรัพยากรธรรมชาติต่อระดับ การคิดของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนสันทรายวิทยาคม จังหวัดเชียงใหม่ พบว่า ระดับการ คิดก่อนการเรียนและหลังการเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .001 โดยระดับการคิดหลัง เรียนสูงกว่าก่อนการเรียนและมีค่าเฉลี่ยของคะแนนระดับการคิดอยู่ที่ระดับการนาไปใช้วิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินคา่ ซง่ึ เป็นระดบั การคิดขนั้ สูง ปัญญา มีจารัส (2550,ออนไลน์) ได้ศึกษารายงานการใช้ชุดการเรียนรู้โดยใช้แผนผังมโนทัศน์ เร่ือง วัสดุและสมบัติของวัสดุ สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 พบว่า ผลการเรียนรู้เร่ืองวัสดุและสมบัติของ วัสดุของนักเรียนก่อนและหลังเรียนด้วยชุดการเรียนรู้แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 โดย หลงั จากการเรยี นด้วยชุดการเรยี นรมู้ คี ะแนนสูงกว่าก่อนเรียนด้วยชุดการเรียนรู้ ทั้งน้ีเป็นเพราะชุดการเรียนรู้ ช่วยให้นักเรียนสรุปและเข้าใจบทเรียนได้ง่ายข้ึน เกิดความสนุกสนานในการเรียนรู้ และนักเรียนมี ความสามารถในการสรา้ งแผนผงั มโนทศั นห์ ลกั แผนผงั มโนทัศน์รอง และแผนผงั มโนทัศน์ย่อยได้ถูกตอ้ ง ประนอม นกุ ูลกิจ (2548,ออนไลน์) ได้วิจัยเร่ือง การใช้ผังมโนทัศน์เพ่ือพัฒนาทักษะการสรุปบทเรียน วชิ าวิทยาศาสตร์ ช้นั ม. 2 โรงเรยี นราษฎรน์ ยิ มและพบวา่ นักเรยี นมีการพฒั นาการเขยี นผังมโนทัศน์ตามลาดับ ระบายสีได้สวยงาม มีความสุข สนุกกับการเขียนผังมโนทัศน์ทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์สูงขึ้น เกิดองค์ความรู้แบบถาวร และนักเรียนสามารถนาการเขียนผังมโนทัศน์ไปประยุกต์ใช้ในการสรุปสาระสาคัญ จากบทเรียนในรายวิชาอืน่ ๆ ได้ เอมอร มีสุนทร (2550,ออนไลน์) ได้ศึกษาผลการสอนโดยใช้แบบฝึกการเขียนสรุปความโดยใช้ผัง มโนทัศน์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จังหวัดฉะเชิงเทรา ผลคือ การสอนโดยใช้แบบฝึกการเขียนสรุป ความโดยใช้ผังมโนทัศน์ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ 88.47/87.03 สูงกว่า เกณฑ์มาตรฐานท่ีกาหนด 80/80 ผลสัมฤทธิ์การเขียนสรุปความ สูงกว่าการสอนโดยใช้แบบฝึกการเขียนสรุป ความโดยใช้ผังมโนทัศนม์ ีประวิทธิภาพ ชว่ ยใหน้ กั เรียนสามารถเขยี นสรุปความไดส้ ูงข้นึ

บทที่ 3 วิธกี ารดาเนนิ การวจิ ัย การวจิ ัยเรือ่ งการใชผ้ งั มโนทศั นเ์ พ่อื พัฒนาการเรียนรู้ของนักเรยี นระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 ซึ่งผวู้ จิ ยั ไดด้ าเนนิ การวจิ ัยดังต่อไปนี้ 1. กลุ่มประชากร 2. เคร่อื งมือท่ใี ช้ในการวจิ ัย 3. ข้ันตอนของการสร้างเคร่ืองมอื 4. การเก็บรวบรวมข้อมูล 5. การวิเคราะห์ข้อมูล กลมุ่ ประชากร กลุ่มประชากรท่ีศึกษาในคร้ังน้ีคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 จานวน 117 คน เคร่อื งมอื ทใ่ี ช้ในการวจิ ัย เครือ่ งมอื ทีใ่ ชใ้ นการวิจัยมีรายละเอยี ด ดังนี้ 1. แผนการสอนสาระวิชาประวตั ศิ าสตร์ จานวน 18 แผนการสอน จานวน 18 คาบ 2. แบบทดสอบกอ่ นเรียน-หลงั เรียน ขน้ั ตอนในการสร้างเคร่อื งมอื 1. แผนการจดั การเรยี นรู้ วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม สาระประวตั ิศาสตร์ 1.1 ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 พร้อมท้ังศึกษา ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตาม หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 1.2 ศึกษาเกี่ยวกับวิธีการและขั้นตอนของการวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน ท้ังเอกสาร ตารา บทความ ผลงานวิจัย ที่เก่ยี วข้องการใช้ผังมโนทัศนเ์ พ่ือพฒั นาการเรยี นรู้ 1.3 สร้างแผนการจัดการเรียนรู้ จานวน 18 แผน เวลาที่ใช้ 18 คาบ เวลา 60 นาที โดยแผนมี ส่วนประกอบ ดงั นี้ 1) มาตรฐาน 2) สาระสาคัญ 3) ผลการเรยี นร้ทู ่ีคาดหวงั 4) จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 5) ตัวชี้วัด 6) สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง 7) กจิ กรรมการเรียนรู้ 8) สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้

9) การวัดและประเมินผล 1.4 นาแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีผู้ศึกษาได้สร้างข้ึนให้ผู้เช่ียวชาญ ตรวจสอบความถูกต้อง แล้ว แกไ้ ขปรบั ปรุงตามข้อเสนอแนะนา 1.5 ปรับปรงุ แผนการจัดการเรยี นรู้ตามทผ่ี เู้ ช่ียวชาญเสนอแนะ 1.6 จัดทาแผนการจดั การเรียนรู้ ฉบบั จริง เพอื่ นาไปใชส้ อนกับนกั เรยี นที่เป็นกลมุ่ ประชากร 2. แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน ขัน้ ตอนการสร้างแบบทดสอบ 2.1 ศกึ ษาเอกสารและงานวิจยั ทเ่ี ก่ียวข้องกบั การสร้างแบบทดสอบ 2.2 วิเคราะหจ์ ดุ ประสงคแ์ ละเนอ้ื หาท่กี าหนดไว้ตามแผนการจัดการเรียนร้ทู ี่สรา้ งขึน้ เพือ่ สร้างแบบทดสอบ 2.3 แบบทดสอบ 1 ฉบบั ซงึ่ เปน็ แบบทดสอบแบบอัตนยั 30 ขอ้ 7.5 คะแนน 2.4 นาแบบทดสอบท่สี รา้ งขน้ึ ไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบเพอ่ื หาคา่ ความเชื่อมนั่ ความเที่ยงตรง ความยากง่าย 2.5 ปรับปรุงแบทดสอบตามคาแนะนาของผูเ้ ชยี่ วชาญ การเก็บรวบรวมขอ้ มูล ในการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ผ้ศู กึ ษามขี นั้ ตอนดาเนินการ ดงั นี้ 1. ทดสอบก่อนเรียน ให้นกั เรยี นทาแบบทดสอบเพอ่ื วัดความรู้ 1 ฉบบั จานวน 30 ขอ้ 2. ดาเนนิ การสอนตามแผนการจดั การเรียนรทู้ ีผ่ ู้ศึกษาสร้างข้ึนจานวน 18 แผน เวลา 18 คาบเรยี น โดยใหน้ ักเรียนพฒั นาการเรียนรู้ ตามกิจกรรมในแผนการจัดการเรียนรู้ 3. ทดสอบหลังเรียน โดยให้นักเรียนทาแบบทดสอบวัดความรู้ความเข้าใจ หลังจากเรียนครบทุกแผน โดยใชแ้ บบทดสอบชุดเดิมท่ที าก่อนเรยี น 4. นาผลคะแนนจากการทาแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนมาเปรียบเทียบผลความแตกต่างของ คะแนนเฉลย่ี ก่อนและหลังเรียนของนักเรยี น การวิเคราะหข์ ้อมลู ผู้วิจัยรวบรวมข้อมูลท่ีได้จากการวิจัยด้วยตนเองโดยใช้ค่าร้อยละในการวิเคราะห์แล้วนาเสนอใน รปู แบบของตารางประกอบการพรรณนาแบบบรรยาย โดยมีลาดบั ดงั นี้ 1. ขอ้ มูลท่ัวไปของนักเรยี น ประชากรที่ใช้ในการศกึ ษา คอื นักเรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 อาเภอแม่แจม่ จังหวัดเชียงใหม่ ท่กี าลงั ศึกษาในภาคเรียนที่ 5 ปกี ารศกึ ษา 2563 จานวน 117 คน แบ่งเปน็ นักเรียนชาย 16 คน นกั เรียนหญิง 101 คน

2. ข้อมูลด้านการใชผ้ ังมโนทัศนเ์ พอ่ื พัฒนาการเรยี นรู้ ของนักเรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 โรงเรยี น ราชประชานุเคราะห์ 31 โดยการเปรยี บเทยี บคะแนนความสามารถในการพฒั นาการเรยี นรู้หลังเรียนและก่อน เรยี นโดยการหาผลต่าง สถติ ิทีใ่ ช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 1. ร้อยละ (Percentage) (ชูศรี วงศ์รตั นะ, หน้า 100) สูตร P  f 100 N เมอื่ P แทน ค่ารอ้ ยละ แทน จานวนหรือความถี่ที่ตอ้ งการแปลงให้เป็นร้อยละ N แทน จานวนข้อมูลทง้ั หมด 2. ค่าเฉลย่ี (Arithmetic Mean) (ชูศรี วงศร์ ตั นะ, หน้า 98) สตู ร X =  N เมื่อ X แทน คะแนนเฉลยี่  แทน ผลรวมทง้ั หมดของคะแนน N แทน จานวนคนท้ังหมด การแปลผล มกี ารพัฒนาการเรียนรใู้ นเกณฑ์ ดีมาก การแปลผลดงั นี้ มีการพฒั นาการเรียนรู้อยใู่ นเกณฑ์ ดี ร้อยละ 80 ข้ึนไป มกี ารพฒั นาการเรยี นรู้อยใู่ นเกณฑ์ ปานกลาง ร้อยละ 70 – 79 มีการพัฒนาการเรียนรู้อยู่ในเกณฑ์ พอใช้ ร้อยละ 60 – 69 มกี ารพฒั นาการเรียนรู้อยู่ในเกณฑ์ ควรปรับปรุง ร้อยละ 50 – 59 ตา่ กวา่ ร้อยละ 50 สถานทท่ี าการวจิ ยั โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 ระยะเวลาในการวิจัย : ภาคการศึกษาที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 ( 4 พฤศจิกายน 2563 – 5 มนี าคม 2564)

2556 ข้นั ตอน พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. หมายเหตุ 1. เตรียม/เสนอโครงการ 2. สรา้ งและพัฒนาเคร่ืองมือ 3. ใชน้ วตั กรรม 4. เกบ็ รวบรวมข้อมลู 5. วเิ คราะหข์ ้อมลู สรปุ และอภิปรายผล 6. เขียนรายงาน

บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้ผังมโนทัศน์ เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนช้ัน มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 ผลการวิเคราะห์นาเสนอเปน็ 2 ตอน ดังนี้ ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลทวั่ ไปของนักเรียนทีเ่ ปน็ ประชากร ตอนที่ 2 ผลการประเมินผลสัมฤทธิท์ างการเรียนวชิ าสังคมศึกษา ก่อนเรยี นและหลังเรียน ตอนที่ 1 ขอ้ มูลทว่ั ไปของนักเรยี นท่เี ปน็ ประชากร นักเรยี นชาย 16 คน นกั เรียนหญงิ 101 คน ตอนที่ 2 ผลการประเมินผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นวิชาสังคมศึกษา กอ่ นเรยี นและหลังเรยี น ตารางที่ 1 คะแนนทดสอบกอ่ นเรยี นจากแบบทดสอบ วชิ าสงั คมศกึ ษา สาระประวตั ศิ าสตร์ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 เลขที่ ขอ้ สอบ ร้อยละ ผ่านเกณฑ์ ไมผ่ ่านเกณฑ์ การแปลความหมาย (10 ข้อ) 50% 50% 17 70 / - ดี 25 50 / - พอใช้ 36 60 / - ปานกลาง 46 60 / - ปานกลาง 56 60 / - ปานกลาง 66 60 / - ปานกลาง 76 60 / - ปานกลาง 84 40 - / ควรปรบั ปรงุ 95 50 / - พอใช้ 10 5 50 / - พอใช้ 11 4 40 - / ควรปรับปรุง 12 4 40 - / ควรปรับปรงุ 13 6 60 / - ปานกลาง 14 6 60 / - ปานกลาง 15 6 60 / - ปานกลาง 16 5 50 / - พอใช้ 17 3 30 - / ควรปรับปรงุ 18 6 60 / - ปานกลาง 19 6 60 / - ปานกลาง 20 6 60 / - ปานกลาง 21 7 70 / - ดี 22 5 50 / - พอใช้

23 5 50 / - พอใช้ 24 6 60 / - ปานกลาง 25 7 70 / - ดี 26 6 60 / - ปานกลาง 27 3 30 - / ควรปรับปรุง 28 6 60 / - ปานกลาง 29 5 50 / - พอใช้ 30 5 50 / - พอใช้ 31 6 60 / - ปานกลาง 32 7 70 / - ดี 33 6 60 / - ปานกลาง 34 5 50 / - พอใช้ 35 5 50 / - พอใช้ 36 6 60 / - ปานกลาง 37 7 70 / - ดี 38 5 50 / - พอใช้ 39 7 70 / - ดี 40 3 30 / - ควรปรับปรุง 41 6 60 / - ปานกลาง 42 6 60 / - ปานกลาง 43 7 70 / - ดี 44 5 50 / - พอใช้ 45 6 60 / - ปานกลาง 46 6 60 / - ปานกลาง 47 6 60 / - ปานกลาง 48 6 60 / - ปานกลาง 49 6 60 / - ปานกลาง 50 4 40 - / ควรปรบั ปรงุ 51 5 50 / - พอใช้ 52 5 50 / - พอใช้ 53 4 40 - / ควรปรับปรงุ 54 4 40 - / ควรปรบั ปรุง 55 6 60 / - ปานกลาง 56 6 60 / - ปานกลาง 57 6 60 / - ปานกลาง 58 5 50 / - พอใช้ 59 3 30 - / ควรปรบั ปรุง 60 6 60 / - ปานกลาง

61 6 60 / - ปานกลาง 62 6 60 / - ปานกลาง 63 7 70 / - ดี 64 5 50 / - พอใช้ 65 5 50 / - พอใช้ 66 6 60 / - ปานกลาง 67 7 70 / - ดี 68 6 60 / - ปานกลาง 69 3 30 - / ควรปรบั ปรงุ 70 6 60 / - ปานกลาง 71 5 50 / - พอใช้ 72 5 50 / - พอใช้ 73 6 60 / - ปานกลาง 74 7 70 / - ดี 75 6 60 / - ปานกลาง 76 5 50 / - พอใช้ 77 5 50 / - พอใช้ 78 6 60 / - ปานกลาง 79 7 70 / - ดี 80 5 50 / - พอใช้ 81 7 70 / - ดี 82 3 30 / - ควรปรับปรุง 83 6 60 / - ปานกลาง 84 6 60 / - ปานกลาง 85 7 70 / - ดี 86 5 50 / - พอใช้ 87 6 60 / - ปานกลาง 88 6 60 / - ปานกลาง 89 6 60 / - ปานกลาง 90 6 60 / - ปานกลาง 91 6 60 / - ปานกลาง 92 4 40 - / ควรปรบั ปรงุ 93 5 50 / - พอใช้ 94 5 50 / - พอใช้ 95 4 40 - / ควรปรับปรงุ 96 4 40 - / ควรปรับปรุง 97 6 60 / - ปานกลาง 98 6 60 / - ปานกลาง

99 6 60 / - ปานกลาง 100 5 50 / - พอใช้ 101 3 30 - / ควรปรับปรงุ 102 6 60 / - ปานกลาง 103 6 60 / - ปานกลาง 104 7 70 / - ดี 105 6 60 / - ปานกลาง 106 7 70 / - ดี 107 5 50 / - พอใช้ 108 5 50 / - พอใช้ 109 4 40 - / ควรปรบั ปรงุ 110 4 40 - / ควรปรบั ปรงุ 111 5 50 / - พอใช้ 112 4 40 - / ควรปรบั ปรงุ 113 6 60 / - ปานกลาง 114 7 70 / - ดี 115 6 60 / - ปานกลาง 116 6 60 / - ปานกลาง 117 7 70 / - ดี รวม 729 7290 X 6.23 62.30 ปานกลาง จากตารางที่ 1 โดยรวมนักเรียนไดค้ ะแนนเฉล่ยี 6.23 จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน ซ่ึงเม่ือคิดเป็นร้อย ละเท่ากับ 62.30 ซึ่งถือว่าผ่านเกณฑ์ร้อยละ 50 ซึ่งอยู่ในระดับ ปานกลาง และเม่ือพิจารณาจากจานวน นกั เรียนก็พบวา่ ภาพรวมมีนักเรียนผ่านเกณฑ์ 98 คน ไมผ่ ่านเกณฑ์ 19 คน ตารางที่ 2 คะแนนสอบหลังเรียนจากข้อสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาสังคมศึกษา สาระประวัติศาสตร์ ครงั้ ที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 เลขที่ ขอ้ สอบ รอ้ ยละ ผ่านเกณฑ์ ไม่ผา่ นเกณฑ์ การแปลความหมาย (10 ขอ้ ) 50% 50% 19 90 / - ดมี าก 27 70 / - ดี 3 10 100 / - ดมี าก 4 10 100 / - ดีมาก 57 70 / - ดี 6 10 100 / - ดีมาก 7 10 100 / - ดีมาก

88 80 / - ดีมาก 97 70 / - ดี 10 10 100 / - 11 10 100 / - ดมี าก 12 10 100 / - ดีมาก 13 10 100 / - ดมี าก 14 8 80 / - ดมี าก 15 10 100 / - ดมี าก 16 10 100 / - ดมี าก 17 6 60 / - ดีมาก 18 10 100 / - ปานกลาง 19 10 100 / - ดีมาก 20 10 100 / - ดีมาก 21 8 80 / - ดีมาก 22 10 100 / - ดีมาก 23 10 100 / - ดมี าก 24 10 100 / - ดีมาก 25 10 100 / - ดีมาก 26 10 100 / - ดีมาก 27 9 90 / - ดีมาก 28 10 100 / - ดีมาก 29 10 100 / - ดมี าก 30 9 90 / - ดมี าก 31 10 100 / - ดมี าก 32 9 90 / - ดมี าก 33 9 90 / - ดมี าก 34 10 100 / - ดมี าก 35 7 70 / - ดมี าก 36 10 100 / - 37 10 100 / - ดี 38 9 90 / - ดีมาก 39 8 80 / - ดีมาก 40 7 70 / - ดีมาก 41 8 80 / - ดีมาก 42 10 100 / - 47 9 90 / - ดี 48 7 70 / - ดมี าก 49 10 100 / - ดมี าก ดมี าก ดี ดมี าก

50 10 100 / - ดีมาก 51 7 70 / - ดี 52 10 100 / - 53 10 100 / - ดีมาก 54 8 80 / - ดีมาก 55 7 70 / - ดมี าก 56 10 100 / - 57 10 100 / - ดี 58 10 100 / - ดมี าก 59 10 100 / - ดมี าก 60 8 80 / - ดมี าก 61 10 100 / - ดีมาก 62 10 100 / - ดีมาก 63 6 60 / - ดีมาก 64 10 100 / - ดีมาก 65 10 100 / - ปานกลาง 66 10 100 / - ดีมาก 67 8 80 / - ดีมาก 68 10 100 / - ดีมาก 69 10 100 / - ดีมาก 70 10 100 / - ดีมาก 71 10 100 / - ดีมาก 72 10 100 / - ดีมาก 73 9 90 / - ดมี าก 74 10 100 / - ดมี าก 75 10 100 / - ดมี าก 76 9 90 / - ดมี าก 77 10 100 / - ดมี าก 78 9 90 / - ดมี าก 79 9 90 / - ดมี าก 80 10 100 / - ดมี าก 81 7 70 / - ดมี าก 82 10 100 / - ดมี าก 83 10 100 / - 84 9 90 / - ดี 85 8 80 / - ดมี าก 86 7 70 / - ดมี าก 87 8 80 / - ดมี าก ดมี าก ดี ดมี าก

88 10 100 / - ดมี าก 89 9 90 / - ดมี าก 90 7 70 / - 91 10 100 / - ดี 92 10 100 / - ดีมาก 93 7 70 / - ดีมาก 94 10 100 / - 95 10 100 / - ดี 96 8 80 / - ดีมาก 97 7 70 / - ดีมาก 98 10 100 / - ดมี าก 99 10 100 / - 100 10 100 / - ดี 101 10 100 / - ดมี าก 102 8 80 / - ดมี าก 103 7 70 / - ดมี าก 104 8 80 / - ดมี าก 105 9 90 / - ดมี าก 106 9 90 / - 107 10 100 / - ดี 108 8 80 / - ดมี าก 109 9 90 / - ดีมาก 110 10 100 / - ดีมาก 111 10 100 / - ดีมาก 112 8 80 / - ดีมาก 113 8 80 / - ดีมาก 114 7 70 / - ดีมาก 115 7 70 / - ดีมาก 116 8 80 / - ดีมาก 117 9 90 / - ดีมาก รวม 1,059 10,590 ดี X 9.05 90.51 ดี ดีมาก ดีมาก ดีมาก จากตารางที่ 2 โดยรวมนกั เรียนไดค้ ะแนนเฉลย่ี 9.05 จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน ซ่ึงเมื่อคิดเป็นร้อย ละเท่ากับ 90.51 ซ่ึงถือว่าผ่านเกณฑ์ร้อยละ 50 ซ่ึงอยู่ในระดับ ดีมาก และเม่ือพิจารณาจากจานวนนักเรียนก็ พบว่า ภาพรวมมนี กั เรยี นผา่ นเกณฑ์ 1117 คน

บทที่ 5 สรปุ อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ การวิจัยในครั้งน้ี มีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อศึกษาการใช้ผังมโนทัศน์เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 5 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 ประชากรท่ีใช้ในการศึกษา เป็นนักเรียนระดับช้ัน มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 จานวน 117 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วยแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ เร่ือง เวลาและยุค สมยั ทางประวตั ิศาสตร์ ครั้งท่ี 2 จานวน 4 แผน 4 คาบ และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ผู้วิจัยได้ ทาการเก็บรวบรวมข้อมูลต้ังแต่วันที่ 4 พฤศจิกายน 2563 - 4 มีนาคม 2564 พร้อมกับนาข้อมูลท่ีได้มา วิเคราะห์โดยการหาค่าร้อยละ แล้วนาเสนอในรูปแบบของตารางประกอบการพรรณนาแบบความเรียง ได้ ผลการวจิ ัยสรุปได้ดังน้ี สรปุ ผลการวิจยั ผลการใช้ผังมโนทัศน์เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนราชประชานุ- เคราะห์ 31 วิชาประวตั ิศาสตร์ ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังจากท่ีเรียนเน้ือหา เร่ือง เวลาและยุคสมัย ทางประวตั ิศาสตร์ คดิ เป็นร้อยละ 85.23 อยู่ในเกณฑด์ ีมาก อภิปรายผล จากผลการวิจัย เรื่อง การใช้ผังมโนทัศน์เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 พบว่า ค่าเฉล่ียโดยรวมอยู่ในระดับดีมาก ซ่ึงผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลัง เรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยก่อนเรียนนักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิอยู่ในเกณฑ์ดี และหลังจากการเรียนนักเรียนมี ผลสมั ฤทธอ์ิ ย่ใู นเกณฑ์ดมี าก แสดงให้เห็นว่าการเรียนโดยใช้ผังมโนทัศน์สามารถพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน ได้ การเรียนโดยใช้ผังมโนทัศน์ทาให้ระดับการเรียนสูงขึ้นน้ัน อาจเป็นเพราะนักเรียนสามารถพัฒนาการ เรียนรู้ ได้ฝึกเช่ือมโยงความคิดระหว่างมโนทัศน์หลักและมโนทัศน์รอง มีการเรียนรู้และจดจาอย่างเป็นระบบ ทวิ าวรรณ ภาสุคา (2543,หน้า 57) กล่าวไว้ว่า การใช้ผังมโนทัศน์เป็นกิจกรรมท่ีฝึกให้นักเรียนได้คิดอย่างเป็น ระบบ เมื่อนักเรียนสามารถจัดลาดับการคิดได้แล้ว นักเรียนจะสามารถจดจาความรู้เดิมที่เคยเรียนมาพร้อมที่ จะพฒั นาสรู่ ะดับการคดิ ในขนั้ ที่สงู ขน้ึ คือระดับความเขา้ ใจ เอมอร มสี ุนทร(2550,หนา้ 59) กล่าวว่า การใช้ผัง มโนทัศนช์ ่วยให้นกั เรียนสามารถเขยี นสรุปความได้ดีข้ึนเพราะนักเรียนได้รับการฝึกฝนอย่างต่อเน่ืองตามลาดับ ความยากงา่ ย จากผลวิจัย สามารถสรุปไดว่าผังมโนทศั น์เปน็ เครอื่ งมือที่สามารถชว่ ยพัฒนาการเรยี นรู้ของนักเรียนให้ รจู้ กั การสรุปใจความสาคญั และจดจาอยา่ งเปน็ ระบบ

ขอ้ เสนอแนะ ขอ้ เสนอแนะสาหรับครผู สู้ อน 1. ครูผู้สอนควรให้นักเรียนเข้าใจเกี่ยวกับผังมโนทัศน์แบบต่างๆ ที่สอดคล้องกับเนื้อหา จะช่วยให้ นกั เรียนสรุปความไดด้ ีข้นึ 2. ครผู สู้ อนควรใหก้ ารดูแล แนะนานกั เรียนที่เรยี นชา้ หรอื ไมเ่ ขา้ ใจเปน็ พเิ ศษ และส่งเสริมนักเรียนที่เรียน ดใี ห้ช่วยเหลอื เพอ่ื น 3. เนือ้ หาทใี่ ช้ในการฝึกสร้างผังมโนทัศนไ์ ม่ควรยากเกินไป ดังนน้ั ครูควรจัดเนื้อหาให้มีความเหมาะสมกับ ระดบั ความสามารถของผู้เรียน ข้อเสนอแนะเพื่อการศึกษาต่อไป 1. ควรมีการศึกษาการใช้ผังมโนทัศน์ ในสาระอ่ืนๆ ของวิชาสังคมศึกษา เช่น สาระศาสนา สาระ ประวัตศิ าสตร์ เป็นตน้ 2. ควรมีการศึกษาการใช้ผงั มโนทศั นเ์ พื่อพัฒนาการเรยี นรู้ การพฒั นาความคดิ รอบยอดของนกั เรยี น 3. ควรมกี ารจดั ให้มกี ล่มุ ทดลองและกลมุ่ ควบคมุ เพ่ือเปรยี บเทยี บผลการวจิ ัยใหช้ ดั เจนมากยิ่งขึน้

บรรณานกุ รม เอกสารอา้ งอิง กรองกาญจน์ อรุณรัตน์.บทเรียนโปรแกรม.เชียงใหม่ : ภาควิชาเทคโนโลยที างการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร,์ 2546. ชูศรี วงศร์ ตั นะและคณะ. การวจิ ยั เพ่ือพัฒนาการเรยี นร.ู้ กรุงเทพฯ : บรษิ ทั จากัด ก.พล, 2539 ทิวาวรรณ ภาสคุ า. ผลการใช้ผงั มโนทศั น์ เรื่องปัญหาทรัพยากรธรรมชาตติ อ่ ระดับการคิดของนักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 โรงเรียนสันทรายวิทยาคม จงั หวัดเชียงใหม่ . เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2543. เพ็ญพิไล ฤทธาคณานนท.์ จติ วทิ ยาการเรียนรูข้ องเด็ก. กรุงเทพฯ : สานกั พมิ พโ์ อเดยี นสโตร์, 2536. มาลี จฑุ า. การประยกุ ตจ์ ิตวิทยาเพื่อการเรยี นรู้. กรุงเทพฯ : หา้ งห้นุ สว่ นจากดั ทิพย์วสิ ทุ ธ์ิ, 2544. สวุ ทิ ย์ มลู คาและอรทัย มูลคา. 21 วธิ จี ดั การเรยี นรู้: เพอ่ื พัฒนากระบวนการคิด. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพภ์ าพพิมพ์, 2551. อารี พันธ์มณี. จติ วิทยาการเรยี นการสอน. กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั ต้นอ้อ, 2534. ออนไลน์ ชวนนั ท์ ชาญศิลป์.(2552).ทฤษฎีการเรียนร.ู้ [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก : http://blog.buu.ac.th/blog/learning/31 (วนั ทค่ี ้นข้อมูล: 17 กุมภาพนั ธ์ 2554). ฐานติ า สวุ รรณกฎู .(2548).ผลการใชผ้ งั มโนทศั น์และแผนที่ความคิดต่อ ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนวิชาชีวติ และวัฒนธรรมไทยของนกั ศกึ ษาประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชน้ั สงู วทิ ยาลัยเทคนคิ ชัยนาท.[ออนไลน์] .เข้าถงึ ไดจ้ าก : http://www.thailis.or.th/tdc (วันทคี่ น้ ข้อมลู : 15 กุมภาพันธ์ 2554) ปญั ญา มีจารสั .(2550).รายงานการใชช้ ดุ การเรยี นรูโ้ ดยใชแ้ ผนผงั มโนทศั น์ เรื่องวัสดุและสมบัติของ วสั ดุ สาหรบั นกั เรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 5.[ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก : http://kroopanya.site90.net/ (วนั ทคี่ ้นข้อมลู : 24 กุมภาพันธ์ 2554) ประนอม นุกลู กิจ, การใช้ผงั มโนทัศนเ์ พอ่ื พฒั นาทกั ษะการสรุปบทเรยี นวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชั้น ม. 2 โรงเรยี นราษฎรน์ ิยม.[ออนไลน์].เข้าถงึ ได้จาก : http://edchem.multiply.com/journal/item.27/27 (วันทีค่ น้ ข้อมูล :28 มกราคม 2554) วกิ พิ เี ดีย สารานกุ รมเสร.ี ทฤษฎกี ารเรียนรู้.[ออนไลน์].เขา้ ถึงไดจ้ าก: http://th.wikipedia.org/wiki (วนั ท่ีค้นข้อมุล : 15 กมุ ภาพนั ธ์ 2554) เอมอร มสี ุนทร.ผลการสอนโดยใช้แบบฝกึ การเขียนสรปุ ความโดยใช้ผังมโนทัศนข์ องนักเรียนช้ัน ประถมศึกษาปที ี่ 6 จังหวดั ฉะเชงิ เทรา.[ออนไลน์].เข้าถงึ ไดจ้ าก http://202.28.82.171/arit/ethesis/thesis.php?id=320 (วนั ทคี่ น้ ข้อมลู : 15 กุมภาพันธ์ 2554)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook