Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงสร้างรายวิชาสังคม ม.3 (2-63)

โครงสร้างรายวิชาสังคม ม.3 (2-63)

Published by Arpaporn Sonprasert, 2021-04-01 00:52:12

Description: โครงสร้างรายวิชาสังคม ม.3 (2-63)

Search

Read the Text Version

การจัดทาโครงสรา้ งรายวิชา รายวชิ า สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม รหัสวิชา ส 23101 ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2562 กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม จัดทาโดย นางสาวอาภาภรณ์ สอนประเสริฐ ตาแหน่ง พนกั งานราชการ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 ตาบลชา่ งเคง่ิ อาเภอแมแ่ จม่ จงั หวดั เชียงใหม่ สานักบรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ สานักงานการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

คาอธบิ ายรายวชิ า รายวิชา สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รหสั วชิ า ส 23101 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 เวลา 120 ช่ัวโมง จานวน 1.5 หนว่ ยกติ คาอธบิ ายรายวิชา สาระ: ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ศึกษาเรื่อง การเผยแผ่และการนับถือพระพุทธศาสนาของประเทศต่าง ๆ ท่ัวโลก วิเคราะห์ความสาคญั ของพระพุทธศาสนาที่มีต่อสังคมโลก การสัมมนาพระพุทธศาสนากับเศรษฐกิจพอเพียงมา ประยุกต์ใชใ้ หเ้ หมาะสมกับสภาวการณ์ในปัจจบุ นั วเิ คราะหพ์ ทุ ธประวตั จิ ากพระพุทธรูปปางต่าง ๆ การประพฤติตนตาม แบบอยา่ งการดาเนินชีวติ และขอ้ คดิ จากประวัติสาวก ชาดก ฟงั เรอื่ งเลา่ และศาสนิกชนตัวอย่าง อธิบายพุทธคุณ และ ข้อธรรมสาคัญในกรอบอริยสัจ 4 หรือหลักธรรมของศาสนา ที่ตนนับถือตามที่กาหนด เห็นคุณค่าและวิเคราะห์การ ปฏิบตั ิตนตามหลกั ธรรมในการพัฒนาตนเพอื่ เตรียมพร้อมสาหรับการทางานและการมีครอบครัว รวมถึงการเห็นคุณค่า ของการพัฒนาจิตเพื่อการเรียนรู้และดาเนินชีวิตด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ คือ วิธีคิดแบบอริยสัจ และวิธีคิดแบบ สืบสาวเหตุปัจจัย หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาท่ีตนนับถือ ฝึกสวดมนต์ แผ่เมตตา บริหารจิตและเจริญ ปัญญาด้วยอานาปานสติ หรือตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ วิเคราะห์ความแตกต่างและยอมรับวิถีการดาเนิน ชีวิตของศาสนิกชนในศาสนาอ่ืน วิเคราะห์หน้าที่และบทบาทของสาวก และปฏิบัติตนต่อสาวกตามท่ีกาหนดได้ถูกต้อง การปฏิบัติตนเป็นศิษย์ท่ีดีตามทิศเบ้ืองขวาในทิศ 6 การปฏิบัติหน้าท่ีชาวพุทธตามพุทธปณิธาน 4 ในมหาปรินิพพาน สูตร การปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรมต่าง ๆ ได้ถูกต้อง และสามารถอธิบายประวัติวันสาคัญทางพระพุทธศาสนาใน ประเทศไทย และปฏิบัติได้ถูกต้อง การแสดงตนเป็นพุทธ-มามกะหรือแสดงตนเป็นศาสนิกชนของศาสนาที่ตนนับถือ พร้อมนาเสนอแนวทางในการธารงรักษาศาสนาที่ตนนับถือได้ โดยการเช่ือมโยงประสบการณ์เดิมสู่การสร้าง ประสบการณ์ใหม่ การใช้ภาพ หรือสถานการณ์ต่าง ๆ เพ่ือให้ผู้เรียนฝึกการสังเกต ตอบคาถามเชิงวิเคราะห์และสรุป ความรู้ทไี่ ดเ้ ปน็ แผนผงั ความคิด กระต้นุ ให้แสดงความคิดเหน็ อย่างหลากหลาย เพ่ือร่วมกันหาแนวทางปฏิบัติ ที่ถูกต้อง เหมาะสม ส่งเสริมการทางานกลุ่ม เพื่อพัฒนาทักษะทางสังคม นาไปสู่การยอมรับ และเห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น สามารถเขา้ ใจและตระหนักถึงการปฏิบัติตนตามหลักศาสนาที่ตนนับถือและเคารพความแตกต่างยอมรับวิถีการดาเนิน ชีวิตของศาสนิกชนในศาสนาอ่ืน เพ่ือการอยู่ร่วมกันได้อย่างสงบสขุ สาระ : หน้าทพ่ี ลเมอื ง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสงั คม ศึกษาเร่ืองอธบิ ายระบอบการปกครองแบบ ต่าง ๆ ทใ่ี ชใ้ นยคุ ปจั จุบัน วเิ คราะห์เปรยี บเทียบระบอบการปกครองของไทยกบั ประเทศอื่น ๆ ท่มี กี ารปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตย วิเคราะห์ประเดน็ ปญั หาทเ่ี ปน็ อุปสรรคตอ่ การพฒั นาประชาธิปไตยของประเทศไทยและเสนอแนว ทางแก้ไข อธิบายความแตกต่างของการกระทาความผิดระหว่างคดีอาญาและคดแี พง่ การมีส่วนร่วมในการปกป้อง คมุ้ ครองผู้อืน่ ตามหลกั สิทธมิ นุษยชน วเิ คราะหร์ ฐั ธรรมนูญฉบับปัจจุบนั ในมาตราตา่ ง ๆ ที่เก่ียวข้องกับการเลือกตง้ั การมี สว่ นร่วมและการตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐ การอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยและเลือกรบั วัฒนธรรมสากลทีเ่ หมาะสม วเิ คราะห์ ปัจจยั ที่กอ่ ให้เกดิ ปัญหาความขัดแยง้ ในประเทศและเสนอแนวคิดในการลดความขัดแย้ง และเสนอแนวคิดในการ ดารงชีวิตอยา่ งมีความสขุ ในประเทศและสังคมโลก โดยการจดั กจิ กรรมการเรียนรเู้ นน้ การให้ประสบการณท์ ีใ่ กลต้ ัว ผู้เรยี น เพื่อให้เกดิ การเช่ือมโยงประสบการณเ์ ดิมสูก่ ารสรา้ งประสบการณ์ใหม่ โดยการใช้ภาพ ข่าวหรอื ผ้เู รยี นฝึกการสังเกต ตอบคาถามหาแนวทางปฏิบัติที่ถกู ต้องเหมาะสม ส่งเสริมการทางานกลมุ่ เพ่ือพัฒนาทักษะทาง สงั คม นาไปสู่การยอมรบั และเห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่นตระหนกั ถึงการปฏิบัติตนในฐานะพลเมืองดีตามระบอบ ประชาธิปไตย ศกึ ษากฎหมายที่เก่ียวข้องกับการใช้ชวี ติ ประจาวัน พรอ้ มท้ังอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปญั ญาไทยควบคู่ กบั การศึกษาวฒั นธรรมสากล เพ่ือสร้างสรรคส์ งั คมให้นา่ อยู่และสงบสุข

สาระ : เศรษฐศาสตร์ ศึกษาเรื่องกลไกราคาในระบบเศรษฐกิจ ศึกษาการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและ พัฒนาท้องถิ่นตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงกับระบบ สหกรณ์ อธบิ ายบทบาทหน้าท่ีของรัฐบาลในระบบเศรษฐกิจ วิเคราะห์และอภิปรายนโยบายและกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ของรัฐที่มีผลต่อบุคคล กลุ่มคน และประเทศชาติ อภิปรายผลกระทบท่ีเกิดจากภาวะเงินเฟ้อ เงินฝืด วิเคราะห์ผลเสีย จากการว่างงานและแนวทางแก้ปัญหา อภิปรายบทบาทความสาคัญของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ วิเคราะหส์ าเหตแุ ละวิธีการกีดกันทางการค้าระหว่างประเทศ โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เน้นการให้ประสบการณ์ท่ี ใกล้ตัวผู้เรียน เพ่ือให้เกิดการเชื่อมโยงประสบการณ์เดิมสู่การสร้างประสบการณ์ใหม่ โดยการใช้ภาพ ข่าว หรือ สถานการณ์ต่าง ๆ ให้ผู้เรียนฝึกการสังเกต ตอบคาถามหาแนวทางปฏิบัติที่ถูกต้อง เหมาะสม ส่งเสริมการทางานกลุ่ม เพื่อพฒั นาทกั ษะทางสังคม นาไปสู่การยอมรบั และเห็นคณุ คา่ ของตนเองและผู้อ่ืน ตระหนักถึงความเข้าใจในกลไกราคา ทางเศรษฐกิจท่ีมผี ลต่อกการกาหนดราคาสนิ ค้าและบริการ เข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงในการพัฒนาท้องถ่ินท่ี มีความสัมพันธ์กับระบบสหกรณ์ เพื่อการดารงชีพอย่างมีดุลยภาพ เข้าใจบทบาทหน้าท่ีของรัฐบาลในระบบเศรษฐกิจ และนโยบายกิจกรรมทางเศรษฐกจิ ของรฐั บาล เขา้ ใจปัญหาเศรษฐกิจในระดบั ประเทศทีมีผลกระทบทาให้เกิดปัญหาการ ว่างงาน เข้าใจถึงการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจและการกีดกันทางการค้าระหว่างประเทศที่มีความสาคัญต่อการพัฒนา เศรษฐกจิ ภายในประเทศและระหว่างประเทศตา่ ง ๆ ท่วั โลกได้ สาระ : ภูมศิ าสตร์ ศกึ ษาเรอ่ื งใชเ้ คร่ืองมือทางภมู ศิ าสตร์ในการรวบรวม วิเคราะห์และนาเสนอขอ้ มูลเก่ียวกับ ลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและทวีปอเมริกาใต้ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่าง ลักษณะทาง กายภาพและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและทวีปอเมริกาใต้ วิเคราะห์การก่อเกิดส่ิงแวดล้อมใหม่ทางสังคม อันเป็นผลมา จากการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติและทางสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและทวีปอเมริกาใต้ ระบุแนวทางการ อนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในทวีปอเมริกาเหนือและทวีปอเมริกาใต้ สารวจ อภิปรายประเด็นปัญหาเก่ียวกับ ส่ิงแวดล้อมที่เกิดข้ึนในทวีปอเมริกาเหนือและทวีปอเมริกาใต้ วิเคราะห์เหตุและผลกระทบที่ประเทศไทยได้รับจากการ เปลี่ยนแปลงของส่ิงแวดล้อมในทวีปอเมริกาเหนือและทวีปอเมริกาใต้ โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เน้นการให้ ประสบการณ์ที่ใกล้ตัวผู้เรียน เพื่อให้เกิดการเช่ือมโยงประสบการณ์เดิมสู่การสร้างประสบการณ์ใหม่ โดยการใช้ภาพ ข่าวหรอื สถานการณต์ ่าง ๆ ให้ผูเ้ รียนฝกึ การสังเกต ตอบคาถามหาแนวทางปฏบิ ัติที่ถูกต้องเหมาะสม ส่งเสริมการทางาน กลุ่มเพ่อื พฒั นาทกั ษะทางสังคม นาไปสู่การยอมรับและเห็นคุณค่าของตนเองและผู้อ่ืน ตระหนักและเข้าใจปฏิสัมพันธ์ ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อม มีจิตสานึกและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพ่ือการ พฒั นาที่ยัง่ ยนื รหสั ตัวชี้วดั ส 1.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4 , ม.3/5, ม.3/6, ม.3/7, ม.3/8, ม.3/9, ม.3/10 ส 1.2 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4 , ม.3/5, ม.3/6, ม.3/7 ส 2.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5 ส 2.2 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4 ส 3.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3 ส 3.2 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5, ม.3/6 ส 5.1 ม.3/1, ม.3/2 ส 5.2 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4 รวมทั้งหมด 35 ตัวชว้ี ัด

ผงั มโนทัศน์ รายวชิ า สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รหสั วชิ า ส 23101 ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3 ชอ่ื หนว่ ย พระพทุ ธศาสนา ชือ่ หน่วย หน้าทพี่ ลเมือง จานวน 40 ชั่วโมง : 30 คะแนน จานวน 20 ชัว่ โมง : 20 คะแนน รายวิชา สังคมศึกษาฯ ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 จานวน 120 ชั่วโมง ชื่อหนว่ ย เศรษฐศาสตร์ ชื่อหน่วย ภมู ศิ าสตร์ จานวน 20 ช่ัวโมง : 20 คะแนน จานวน 40 ชัว่ โมง : 30 คะแนน

ผังมโนทัศน์ รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รหัสวชิ า ส 23101 ระดับช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรียนที่ 2 ชือ่ หน่วย พระพทุ ธศาสนา จานวน 40 ชว่ั โมง : 60 คะแนน รายวิชา สงั คมศึกษาฯ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 จานวน 60 ชว่ั โมง ชื่อหนว่ ย หนา้ ทีพ่ ลเมอื ง จานวน 20 ชวั่ โมง : 40 คะแนน

โครงสร้าง รายวชิ า สังคมศกึ ษา ศาสนาและ ช้นั มธั ยมศึกษาปีท ท่ี ชอ่ื หน่วย รหสั มฐ.ตัวชี้วดั / สาระ ผลการเรียนรู้ 1 พระพทุ ธศาสนา ส 1.1 ม.3/1 -การเผยแผ่พระพุทธศาสนาไปยังประเทศต่าง ๆ ท่ัวโ ส 1.1 ม.3/2 เผยแผ่ของพระภิกษุและศาสนิกชนท่ีนับถือพระพุท ส 1.1 ม.3/3 หลักธรรมคาสอนรวมถึงวัฒนธรรมวิถีชีวิตชาวพุทธเข ส 1.1 ม.3/4 และเล่ือมใสศรัทธาได้นาไปนับถือ ดังน้ัน จึงทาให้พร ส 1.1 ม.3/5 มากขึ้น ส 1.1 ม.3/6 -พระพทุ ธศาสนามีความสาคญั ในฐานะที่ช่วยสรา้ งสรร ส 1.1 ม.3/7 คือ เปน็ รากฐานสาคญั ในการสรา้ งศิลปวัฒนธรรม ซ่งึ ส 1.1 ม.3/8 มนษุ ยชาติ และหลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนาน้นั มุ่ง ส 1.1 ม.3/9 ตนเองและนาไปสสู่ ันตภิ าพในสังคม ส 1.1 ม.3/10 -พระพุทธศาสนากับปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งนั้น ส 1.2 ม.3/1 ปฏบิ ัติในการดาเนนิ ชวี ติ ทั้งของตนเอง ครอบครัว และ ส 1.2 ม.3/2 อยา่ งยั่งยืนโดยการนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาแ ส 1.2 ม.3/3 ใชใ้ หเ้ หมาะสมกับสภาวการณ์ปจั จบุ นั ส 1.2 ม.3/4 -การศึกษาพุทธประวัติจากพระพทุ ธรปู ปางตา่ ง ๆ ทา ส 1.2 ม.3/5 อิรยิ าบถต่าง ๆ แสดงให้เหน็ ถงึ พทุ ธจริยาวัตรวา่ ครั้งน ส 1.2 ม.3/6 พุทธประวัติจะทาใหพ้ ทุ ธศาสนิกชนเกิดความเล่อื มใส ส 1.2 ม.3/7 ตา่ ง ๆ มาประยุกตใ์ ช้ในการพฒั นาชวี ติ และสงั คมใหเ้ -การศึกษาประวตั พิ ทุ ธสาวก พุทธสาวิกา ชาดก และพ บคุ คลเหลา่ น้นั รวมถงึ ไดเ้ รียนรคู้ ณุ ธรรมของบคุ คลดงั

งรายวชิ า ะวฒั นธรรม รหัสวิชา ส 23101 ที่ 3 ภาคเรียนท่ี 2 ะสาคัญ เวลา คะแนน (ชม.) รวม K P A โลกนั้นมีลักษณะต่าง ๆ กัน ซึ่งส่วนใหญ่จะมาจากการ 40 60 40 10 10 ทธศาสนาเข้าไปตั้งถ่ินฐานในประเทศเหล่านั้น แล้วนา ข้าไปเผยแผ่ในกลุ่มชนของตน และขยายไปสู่ผู้ท่ีสนใจ ระพุทธศาสนามีการเผยแผ่ไปยังประเทศต่าง ๆ ในโลก รค์อารยธรรมและความสงบสขุ ให้แก่โลก งเป็นบ่อเกิดอารยธรรมและภูมปิ ญั ญาตา่ ง ๆ ของ งหวงั ใหท้ ุกคนนาไปปฏบิ ตั ิเพ่อื ความสขุ ความเจรญิ แก่ นมีความสอดคล้องกันในแงก่ ารสามารถนาไป ะสงั คมประเทศ เพื่อใหม้ คี วามสงบสขุ และเกดิ การพฒั นา และปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาประยกุ ต์ าให้ทราบลักษณะ สญั ลักษณ์ของพระพุทธรูปใน นนั้ หรือสมยั น้ันพระพุทธเจ้าทรงทาอะไร และการศึกษา ส และเกดิ ศรัทธา สามารถนาพระธรรมและโอวาท เจรญิ ย่ิงขนึ้ ไปได้ พทุ ธศาสนิกชนตวั อย่าง ทาให้ได้ทราบถงึ ประวตั ขิ อง งกล่าว

2 หนา้ ที่พลเมอื ง ส 2.1 ม.3/1 -ระบอบการปกครองหลกั ทใ่ี ช้อยใู่ นโลกปจั จบุ ัน ไดแ้ ก ส 2.1 ม.3/2 ความแตกต่างกนั ในเร่ืองของการเปิดโอกาสให้ประชา ส 2.1 ม.3/3 ประเทศต่าง ๆ จะหันมาใช้การปกครองระบอบประช ส 2.1 ม.3/4 เสรภี าพในการดาเนนิ ชีวติ กอ่ ใหเ้ กดิ การพัฒนาทง้ั ทา ส 2.1 ม.3/5 -ประเทศไทยมกี ารปกครองระบอบประชาธิปไตยอันม ส 2.2 ม.3/1 ย่อมมีทงั้ ความคลา้ ยคลงึ และความแตกตา่ งกบั ประเท ส 2.2 ม.3/2 อานาจ แก่ประชาชน ซึ่งย่อมมที ัง้ ปญั หาและส่งผลกร ส 2.2 ม.3/3 การพัฒนาความเปน็ ประชาธิปไตยในประเทศไทย ดว้ ส 2.2 ม.3/4 พร้อมกับการยอมรบั และเคารพความคิดเหน็ ทแี่ ตกตา่ -กฎหมายเปน็ เคร่ืองมอื ทใี่ ชใ้ นการจัดระเบยี บและควบ สงบสุขในสงั คม -ในปัจจบุ นั ไดม้ กี ารรับวัฒนธรรมสากลมากย่ิงขน้ึ ทาใ วฒั นธรรมสากลท่เี หมาะสมเพื่อรกั ษาเอกลกั ษณ์วัฒน -ปญั หาความขัดแย้งท่ีเกิดในสงั คมไทย สง่ ผลใหเ้ กิดกา คนในสงั คม จงึ ควรเสนอแนวคดิ ในการลดความขดั แย รวมท้ังส้ิน

ก่ ระบอบประชาธิปไตย และระบอบเผดจ็ การ ซ่ึงมี 20 40 20 10 10 าชนไดม้ ีสว่ นร่วมทางการเมือง ปจั จบุ นั มีแนวโน้มวา่ ชาธิปไตยมากขนึ้ ซ่งึ ทาให้วิถีชวี ติ ของประชาชนมี างเศรษฐกิจและการเมืองไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพย่งิ ข้ึน มีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุข ซ่งึ รปู แบบลกั ษณะ ทศอน่ื ๆ ท่ปี กครองด้วยระบอบประชาธปิ ไตยเปน็ การให้ ระทบตอ่ การพฒั นาประชาธิปไตย ประเดน็ สาคญั จึงอยทู่ ี่ วยการตระหนกั ถึงความเปน็ เจ้าของอานาจประชาธปิ ไตย าง เพือ่ สันติสุขในสังคมประชาธปิ ไตยของประเทศไทย บคมุ สงั คมใหเ้ ปน็ มาตรฐานเดียวกัน และนามาซง่ึ ความ ให้ตอ้ งรจู้ กั การอนรุ ักษ์วัฒนธรรมไทยและเลอื กรบั นธรรมอันดงี ามไว้ตราบชั่วลูกหลาน ารเปลยี่ นแปลงทางสงั คมมากมาย ดงั น้นั ประชาชนทุก ยง้ เพือ่ เป็นแนวทางในการดารงชีวติ อยา่ งมคี วามสขุ 60 100 60 20 20

ที่ ช่อื หนว่ ย รหสั มฐ.ตวั ชว้ี ดั / สาระ ผลการเรียนรู้ 2 หนา้ ทีพ่ ลเมือง ส 2.1 ม.3/1 -ระบอบการปกครองหลักท่ีใช้อยใู่ นโลกปัจจบุ ัน ได้แก ส 2.1 ม.3/2 ความแตกตา่ งกนั ในเรอ่ื งของการเปดิ โอกาสใหป้ ระชา ส 2.1 ม.3/3 ประเทศตา่ ง ๆ จะหนั มาใชก้ ารปกครองระบอบประช ส 2.1 ม.3/4 เสรภี าพในการดาเนนิ ชวี ิต กอ่ ใหเ้ กดิ การพฒั นาท้งั ทา ส 2.1 ม.3/5 -ประเทศไทยมกี ารปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั ม ส 2.2 ม.3/1 ย่อมมที ัง้ ความคลา้ ยคลงึ และความแตกต่างกับประเท ส 2.2 ม.3/2 อานาจ แก่ประชาชน ซึ่งยอ่ มมีทัง้ ปัญหาและสง่ ผลกร ส 2.2 ม.3/3 การพัฒนาความเปน็ ประชาธิปไตยในประเทศไทย ดว้ ส 2.2 ม.3/4 พรอ้ มกับการยอมรบั และเคารพความคิดเหน็ ที่แตกตา่ -กฎหมายเป็นเคร่ืองมือทีใ่ ช้ในการจดั ระเบยี บและควบ สงบสขุ ในสังคม -ในปัจจุบนั ไดม้ กี ารรับวัฒนธรรมสากลมากยง่ิ ขน้ึ ทาใ วัฒนธรรมสากลทเ่ี หมาะสมเพ่อื รกั ษาเอกลักษณว์ ฒั น -ปญั หาความขดั แย้งท่เี กิดในสงั คมไทย ส่งผลให้เกิดกา คนในสังคม จงึ ควรเสนอแนวคิดในการลดความขัดแย รวมท้ังส้นิ

ะสาคัญ เวลา คะแนน (ชม.) รวม K P A ก่ ระบอบประชาธปิ ไตย และระบอบเผดจ็ การ ซง่ึ มี 20 40 20 10 10 าชนไดม้ ีสว่ นร่วมทางการเมอื ง ปัจจบุ นั มีแนวโนม้ วา่ ชาธิปไตยมากขนึ้ ซ่ึงทาให้วิถชี วี ติ ของประชาชนมี างเศรษฐกิจและการเมืองได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพยิง่ ข้ึน มพี ระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมขุ ซึง่ รปู แบบลักษณะ ทศอนื่ ๆ ทป่ี กครองดว้ ยระบอบประชาธิปไตยเปน็ การให้ ระทบตอ่ การพฒั นาประชาธปิ ไตย ประเดน็ สาคญั จึงอย่ทู ี่ วยการตระหนกั ถงึ ความเป็นเจ้าของอานาจประชาธิปไตย าง เพือ่ สนั ติสุขในสงั คมประชาธปิ ไตยของประเทศไทย บคมุ สงั คมใหเ้ ปน็ มาตรฐานเดยี วกนั และนามาซง่ึ ความ ใหต้ อ้ งรู้จกั การอนรุ ักษว์ ฒั นธรรมไทยและเลอื กรบั นธรรมอันดีงามไว้ตราบชวั่ ลกู หลาน ารเปล่ียนแปลงทางสงั คมมากมาย ดงั นั้นประชาชนทุก ย้ง เพอ่ื เปน็ แนวทางในการดารงชวี ติ อย่างมีความสุข 60 100 60 20 20

การวิเคราะหม์ าต รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ตวั ช้ีวัด/ ร้อู ะไร ทาอะไร ภาระงาน/ช ผลการเรียนรู้ รูอ้ ะไร 1.อภปิ รายเกย่ี วกับพระพุทธศาสนา ส 1.1 ม.3/1 ส 1.1 ม.3/2 1. ภายหลงั การสังคายนาครงั้ ท่ี 3 ในสมยั 2.อภิปรายเก่ยี วกบั ความสาคญั ของพ ส 1.1 ม.3/3 ส 1.1 ม.3/4 พระเจ้าอโศกมหาราช พระพุทธศาสนาได้ สรา้ งสรรคอ์ ารยธรรมและความสงบส ส 1.1 ม.3/5 ส 1.1 ม.3/6 เผยแผ่ไปยังประเทศต่าง ๆ ทว่ั โลก 3.นาเสนอพุทธประวตั จิ ากพระพทุ ธ ส 1.1 ม.3/7 ส 1.1 ม.3/8 2. พระพุทธศาสนาไม่เพียงแต่มอี ทิ ธพิ ลตอ่ 4.วเิ คราะห์ข้อคดิ จากนันทิวิสาลชา ส 1.1 ม.3/9 ส 1.1 ม. ชาวพทุ ธด้านจติ ใจเท่านั้น แตย่ งั มี 5.อภิปรายเรือ่ ง สังฆคณุ 9 3/10 ส 1.2 ม.3/1 ความสาคญั ในฐานะท่ชี ่วยสรา้ งสรรค์อารย 6.วเิ คราะห์กรณตี ัวอย่างโดยใช้หลกั ส 1.2 ม.3/2 ส 1.2 ม.3/3 ธรรมและความสงบให้แก่โลกอีกดว้ ย 7.วเิ คราะหข์ อ้ คิดหรอื คตสิ อนใจจาก ส 1.2 ม.3/4 ส 1.2 ม.3/5 3. การศึกษาพุทธประวัตจิ ากพระพุทธรูปปาง 8.ศกึ ษาและอภิปรายเก่ียวกับเรื่องน ส 1.2 ม.3/6 ส 1.2 ม.3/7 ต่าง ๆ 9.ศึกษาและอภิปรายเกี่ยวกับการป 4. การศกึ ษานันทิวสิ าลชาดกและสวุ ณั ณ การพัฒนาตนเพื่อเตรียมความพรอ้ ม หงั สชาดก ครอบครัว ทาอะไร 1. ภายหลงั การสงั คายนาครั้งที่ 3 พระพุทธศาสนาไดเ้ ผยแผไ่ ปยังประเทศต่าง ๆ ท่วั โลก 2. พระพทุ ธศาสนามคี วามสาคญั ตอ่ สังคมไทย และสงั คมโลกในฐานะท่ีชว่ ยสรา้ งสรรค์ อารยธรรมและความสงบให้แก่โลก 3. พุทธประวตั ิ ของพระพุทธศาสนา 4. ชาดก

ตรฐานและตัวชีว้ ัด ะวัฒนธรรม รหัสวิชา ส 23101 ที่ 3 ภาคเรยี นที่ 2 ช้นิ งาน สมรรถนะสาคัญ คุณลกั ษณะ คณุ ลกั ษณะ ของวชิ า อันพงึ ประสงค์ าในประเทศตา่ ง ๆ ทว่ั โลก 1.ความสามารถใน พระพุทธศาสนาในฐานะท่ชี ่วย การสอื่ สาร(การอา่ น 1.มวี ินัย 1.มวี นิ ัย สขุ ให้แก่โลก การพดู การเขยี น 2.ใฝเ่ รยี นรู้ 2.ใฝ่เรยี นรู้ ธรูปปางต่าง ๆ การฟงั ) 3.มุ่งมน่ั ในการทางาน 3.มุ่งม่นั ในการทางาน าดกและสวุ ัณณหงั สชาดก 2.ความสามารถใน 4.รกั ความเปน็ ไทย การคิด 5.มีจติ สาธารณะ กอริยสัจ 4 3.ความสามารถใน กพทุ ธศาสนสภุ าษติ ท่ีศกึ ษา การแกป้ ัญหา นา่ รจู้ ากพระไตรปฎิ ก 4.ความสามารถใน ปฏิบัติตนตามหลักธรรมใน การใชท้ ักษะชวี ิต มในการทางานและการมี 5.ความสามารถใน การใช้เทคโนโลยี

ตัวชว้ี ดั / รู้อะไร ทาอะไร ภาระงาน/ช ผลการเรียนรู้ รู้อะไร 1.อภิปรายและแสดงบทบาทสมม ส 2.1 ม.3/1 1.กฎหมายอาญาเป็นกฎหมายทกี่ าหนดวา่ 2.อภิปรายเก่ยี วกับกฎหมายแพง่ ส 2.1 ม.3/2 การกระทาใด ๆ ถือเปน็ ความผดิ และตอ้ งรับ 3.เลา่ ข่าว เขียนเรียงความและอภ ส 2.1 ม.3/3 โทษตามทีก่ าหนด ส 2.1 ม.3/4 2.กฎหมายแพ่งเปน็ กฎหมายทว่ี า่ ดว้ ย ส 2.1 ม.3/5 ความสัมพนั ธร์ ะหว่างเอกชนกบั เอกชน ส 2.2 ม.3/1 ผู้กระทาผิดจะตอ้ งถกู บงั คบั ใหช้ ดใชค้ ่า ส 2.2 ม.3/2 สินไหมทดแทน ส 2.2 ม.3/3 3.สิทธิมนุษยชนเปน็ ส่งิ ทีค่ ุ้มครองให้มนษุ ยท์ กุ ส 2.2 ม.3/4 คนมีความเทา่ เทียมกนั ทั้งดา้ นศักด์ิศรขี อง ความเป้นมนุษย์ สิทธิ เสรภี าพ และความ เสมอภาคของบุคคล ทาอะไร 1. กฎหมายอาญา เปน็ กฎหมายทก่ี าหนดว่า การกระทาใด ๆ ถอื เปน็ ความผดิ และต้องรบั โทษตามทกี่ าหนด 2.. กฎหมายแพง่ เปน็ กฎหมายทว่ี า่ ด้วย ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งเอกชนกับเอกชน โดย ผกู้ ระทาผิดจะถกู บังคับใหช้ ดใชค้ ่าสนิ ไหม ทดแทนจากการท่ตี นทาใหบ้ ุคคลอน่ื ไดร้ ับ ความเสยี หาย หรือทเ่ี รยี กว่า ความรบั ผดิ ทาง แพ่ง 3. สทิ ธิมนุษยชนเป็นสทิ ธิขนั้ พืน้ ฐานทมี่ นุษย์ ทุกคนมีอยา่ งเสมอภาคกนั เพ่ือใหส้ ามารถ ดารงชีวิตไดอ้ ยา่ งสันตสิ ุข

ชิ้นงาน สมรรถนะสาคัญ คุณลักษณะ คณุ ลกั ษณะ ของวชิ า อันพึงประสงค์ มตุ เิ กีย่ วกับกฎหมายอาญา 1.ความสามารถใน ง การส่ือสาร(การอา่ น 1.มวี ินยั 1.มวี ินัย ภปิ รายเกยี่ วกบั สิทธิมนุษยชน การพูด การเขยี น 2.ใฝ่เรียนรู้ 2.ใฝเ่ รยี นรู้ การฟงั ) 3.มงุ่ มัน่ ในการทางาน 3.มงุ่ มั่นในการทางาน 2.ความสามารถใน 4.รักความเป็นไทย การคดิ 5.มีจติ สาธารณะ 3.ความสามารถใน การแก้ปัญหา 4.ความสามารถใน การใชท้ กั ษะชวี ิต 5.ความสามารถใน การใชเ้ ทคโนโลยี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook