MeuangPathumthani Guidance for Learning and Mind Care System Centre
คำนำ ตามที่กระทรวงศึกษาธิการ ได้มอบหมายให้สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย จดั ตัง้ ศนู ยแ์ นะแนวและให้คำปรึกษากศน. ในทกุ อำเภอ/เขต เพือ่ ใหบ้ รกิ ารกลุม่ เป้าหมายท่ีมาขอรับ บริการการให้คำปรึกษา แนะแนวในด้านการศึกษาและด้านสวัสดิการเพื่อให้ประชาชนทุกคนได้เข้าถึงโอกาส ทางการศึกษาอย่างเท่าเทียมและเข้าถึงโอกาสไดร้ ับบริการ ด้านสวัสดิการตามสิทธิ ตามนโยบายของรัฐบาล และ กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงาน กศน. จึงได้จัดทำ แนวทางการดำเนินงานศูนย์แนะแนวและให้คำปรึกษากศน. อำเภอเมอื งปทมุ ธานี เพ่อื ใหห้ นว่ ยงาน สถานศกึ ษา ตลอดจนบคุ ลากรในหน่วยงาน สถานศกึ ษา มแี นวทางในการ ดำเนินงานศูนย์แนะแนวและให้คำปรึกษากศน.อำเภอเมืองปทุมธานี มีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะในการให้ คำปรึกษา แนะนำและการประสานส่งต่อทางการศึกษาหรือการบริการดา้ นสวัสดิการ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่มา ขอรบั บรกิ าร ไดร้ บั โอกาสและเข้าถงึ บรกิ ารทางการศึกษาหรือบรกิ ารด้านสวสั ดกิ ารได้อย่างเท่าเทียม และเป็นการ เผยแพร่ความรู้ ข้อมูลข่าวสารให้กับหน่วยงาน เครือข่ายทราบสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย หวังเป็นอย่างยิ่งว่า แนวทางการดำเนินงานศูนย์แนะแนวและให้คำปรึกษากศน.อำเภอ เมอื งปทมุ ธานี จะเป็นประโยชน์ตอ่ ผู้บรหิ าร ตลอดจนบคุ ลากรในหนว่ ยงาน สถานศกึ ษา ผปู้ ฏบิ ัตงิ านท่ีเก่ยี วข้องใช้ เป็นแนวทางในการดำเนินงานของศูนย์แนะแนวและใหค้ ำปรึกษากศน.อำเภอเมืองปทุมธานี ให้เกิดประสิทธิภาพ อย่างสูงสุด กศน.อำเภอเมืองปทุมธานี ขอขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่านที่มีส่วนร่วมในการจัดทำแผนการ ดำเนินงานกศน.อำเภอเมืองปทุมธานี ให้สำเรจ็ ลลุ ว่ งดว้ ยดี
บทท่ี 1 บทนำ 1. ความเป็นมาและความสำคัญระบบราชการไทยมีการปรับเปลี่ยนและพัฒนาการบริหารจัดการของ ภาครัฐมุ่งไปสู่องค์กรสมัยใหม่ โดยยึดหลักธรรมาภิบาล เพื่อให้การบริหารจัดการในการท างานภาครัฐเกิด ประโยชน์สูงสุดและมีความคุ้มค่าในการปฏิบัติงาน จึงได้นำการบริหารงานภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management) ซึ่ง เป็นการนำเอาแนวทางหรือวิธีการบริหารงานของภาคเอกชนในการเพิ่มประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล ในการปฏิบัติงานที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศมาปรับใช้กับการบริหารงานภาครัฐ ทั้งการบริหารงานแบบ มงุ่ เนน้ ผลสัมฤทธิ์ การบริหารงานแบบมอื อาชีพ การคำนงึ ถงึ หลกั ความคุ้มคา่ การจดั การโครงสรา้ งท่ีกะทัดรัดและ แนวราบ การให้บริการสาธารณะ การให้ความสำคัญต่อค่านิยม จรรยาบรรณวิชาชีพ คุณธรรมและจริยธรรม ตลอดทั้งการมงุ่ เน้นการให้บริการแก่ประชาชนโดยคำนึงถึงคุณภาพเป็นสำคัญ โดยมีประเดน็ ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนา ระบบราชการไทย ประกอบดว้ ย 7 ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ดังน้ี ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : การสร้างความเป็นเลิศในการให้บริการประชาชนมีเป้าหมายเพื่อพัฒนางาน บริการของส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐสู่ความเป็นเลิศ เพื่อให้ประชาชนมีความพึงพอใจต่อคุณภาพการ ให้บริการ โดยออกแบบการบริการที่ยดึ ประชาชนเป็นศูนย์กลาง มีการนำเทคโนโลยสี ารสนเทศที่เหมาะสมมาใช้ เพื่อให้ประชาชนสามารถใช้บริการได้ง่ายและหลากหลายรูปแบบ เน้นการบริการเชิงรุกที่มีปฏิสัมพันธ์โดยตรง ระหว่างภาครัฐและประชาชน การให้บรกิ ารแบบเบด็ เสร็จอยา่ งแท้จรงิ พัฒนาระบบการจัดการ ข้อร้องเรียนใหม้ ี ประสิทธิภาพ รวมทง้ั เสรมิ สร้างวัฒนธรรมการบรกิ ารท่เี ป็นเลศิ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 : การพัฒนาองค์การให้มีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย บุคลากรมีความเป็นมือ อาชีพมีเป้าหมายเพื่อพัฒนาส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐสู่องค์การแห่งความเป็นเลิศ โดยเน้นการจัด โครงสร้างองค์การที่มีความทันสมัย กะทัดรัด มีรูปแบบเรียบง่าย (Simplicity) มีระบบการทำงาน ที่คล่องตัว รวดเรว็ ปรับเปลี่ยนกระบวนทศั น์ในการทำงาน เนน้ การคิดรเิ รมิ่ สร้างสรรค์ (Creativity) พฒั นาขดี สมรรถนะของ บคุ ลากรในองคก์ าร เนน้ การทำงานท่ีมีประสิทธิภาพ สรา้ งคณุ ค่าในการปฏิบัติภารกิจของรัฐประหยัดค่าใช้จ่ายใน การดำเนินงานตา่ ง ๆ และสรา้ งความรับผิดชอบต่อสังคม อนุรกั ษ์ส่งิ แวดลอ้ มท่ยี ่งั ยืน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 : การเพิ่มประสทิ ธภิ าพการบริหารสินทรัพย์ของภาครัฐให้เกิดประโยชนส์ ูงสุดมี เป้าหมายเพื่อวางระบบการบริหารจัดการสินทรัพย์ของราชการอย่างครบวงจร โดยคำนึงถึงค่าใช้จ่ายที่ผูกมัด/ ผกู พันติดตามมา (Ownership Cost) เพ่อื ใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุดหรือสร้างมลู ค่าเพิ่ม สร้างโอกาส และสร้างความ มั่นคงตามฐานะเศรษฐกิจของประเทศ ลดความสูญเสียสิ้นเปลืองและ เปล่าประโยชน์ รวมทั้งวางระบบและ มาตรการที่จะมุ่งเน้นการบริหารสินทรัพย์เพื่อให้เกิดผลตอบแทนคุ้มค่า สามารถลดต้นทุนค่าใช้จ่ายโดยรวม มตี น้ ทุนท่ีต่ำลงและลดความตอ้ งการของสินทรัพย์ใหม่ท่ีไมจ่ ำเป็น เช่น สง่ เสรมิ ใหม้ ีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศใน การบริหารสนิ ทรพั ยแ์ ละบูรณาการเขา้ กับระบบบรหิ ารจดั การ
ทรัพยากรขององค์การ (Enterprise Resource Planning: ERP) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร สินทรัพย์และการบริหารจัดการองค์การโดยรวม และการลดต้นทุน โดยจัดให้มีระบบและข้อมูลเพื่อให้หน่วย ราชการใช้ประกอบการวัดและวิเคราะห์การใช้สินทรัพย์เพื่อให้เกิดผลิตภาพ (Asset Productivity) และเกิด ประโยชน์สงู สดุ (Asset Utilization) เปน็ ตน้ ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 : การวางระบบการบริหารงานราชการแบบบรู ณาการมีเป้าหมายเพอ่ื สง่ เสริมการ ทำงานร่วมกันภายในระบบราชการด้วยกันเองเพื่อแก้ปัญหา การแยกส่วนในการปฏิบัติงานระหว่างหน่วยงาน รวมถึงการวางระบบความสัมพนั ธ์และประสาน ความร่วมมือระหว่างราชการบริหารส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และ ส่วนท้องถิ่นในรูปแบบของการประสานความร่วมมือที่หลากหลายภายใต้วัตถุประสงค์เดียวกัน คือ นำศักยภาพ เฉพาะของแต่ละหนว่ ยงานมาสรา้ งคุณค่าใหก้ ับงานตามเป้าหมายที่กำหนด เพอื่ ขับเคลอื่ นนโยบาย/ยุทธศาสตร์ของ ประเทศและการใช้ประโยชนท์ รพั ยากรอย่างคุ้มคา่ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 : การส่งเสริมระบบการบริหารกิจการบ้านเมอื งแบบร่วมมือกันระหว่างภาครฐั ภาคเอกชนและภาคประชาชนมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมให้หน่วยงานราชการทบทวนบทบาทและภารกิจของตน ให้มีความเหมาะสม โดยให้ความสำคัญต่อการมีส่วนร่วมของประชาชน มุ่งเน้นการพัฒนารูปแบบความสัมพันธ์ ระหว่างภาครัฐกับภาคส่วนอ่ืน การถ่ายโอนภารกจิ บางอยา่ งที่ภาครัฐไม่จำเป็นตอ้ งดำเนินงานเอง ให้ภาคส่วนอนื่ รวมทั้งการสร้างความรว่ มมือหรือความเป็นภาคีหุ้นสว่ น (Partnership) ระหวา่ งภาครฐั และภาคส่วนอ่นื ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 : การยกระดบั ความโปรง่ ใสและสรา้ งความเชอื่ ม่นั ศรัทธา ในการบริหารราชการ แผ่นดินมีเป้าหมายเพื่อส่งเสรมิ และวางกลไกให้สว่ นราชการและหน่วยงานของรฐั เปิดเผยข้อมูลข่าวสารและสร้าง ความโปร่งใสในการปฏบิ ัติราชการ รวมทั้งส่งเสริมให้ภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการตรวจสอบการทำงาน ของทางราชการ ตลอดจนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และมาตรการในการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่นให้บรรลุ ผลสมั ฤทธิ์อย่างเปน็ รปู ธรรม ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 7: การสรา้ งความพร้อมของระบบราชการไทยเพ่อื เข้าส่กู ารเป็นประชาคมอาเซียน มีเป้าหมายเพื่อเตรียมความพร้อมของระบบราชการไทยเพื่อรองรับการก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน รวมท้ัง ประสานพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือกันในการส่งเสริมและยกระดับธรรมาภิบาลในภาครัฐของประเทศสมาชิก อาเซยี น อนั จะนำไปสคู่ วามมง่ั คั่งทางเศรษฐกจิ ความมน่ั คงทางการเมอื ง และความเจรญิ ผาสกุ ของสงั คมร่วมกัน จากประเด็นยุทธศาสตร์ทั้ง 7 ยุทธศาสตร์ ส่งเสริมให้หน่วยงานราชการยกระดับการทำงาน ที่เน้นการ บูรณาการสร้างความเป็นเลิศในการให้บริการประชาชน พัฒนาขีดความสามารถในการทำงาน ที่ทันสมัยเป็นมือ อาชีพ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารจึงได้มอบหมายให้สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จัดตั้งศูนยแ์ นะแนวและประสานงานการศึกษาพิเศษอำเภอ/ เขต ในทุกอำเภอ/เขต เพื่อให้บริการกลุ่มเป้าหมาย ที่มาขอรับบรกิ ารการให้คำปรึกษา แนะแนวในด้านการศึกษาและด้านสวัสดกิ ารเพื่อให้ประชาชนทุกคนได้เข้าถึง โอกาสทางการศึกษาอย่างเท่าเทียมและได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพสอดคล้องกับเจตนารมณ์ของ พระราชบัญญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ พทุ ธศักราช 2542 และท่แี ก้ไขเพิ่มเตมิ (ฉบับท่ี 2) พุทธศกั ราช 2545 และท่ีแก้ไขเพ่มิ เติม (ฉบบั ที่ 3) พทุ ธศกั ราช 2553 พระราชบัญญัติการ จัดการศึกษาสำหรับคนพิการ พุทธศักราช 2551 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2556
พระราชบัญญัติการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พุทธศักราช 2551 พระราชบัญญัติ การศึกษาภาคบังคับ พุทธศักราช 2545 พร้อมทั้งได้รับการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการคุ้มครองตาม พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พุทธศักราช 2550 พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พทุ ธศักราช 2546 และกฎหมาย ระเบยี บ ประกาศอนื่ ๆ ท่เี กยี่ วขอ้ ง 2. วตั ถุประสงค์ 2.1 เพอ่ื ใหห้ นว่ ยงาน สถานศกึ ษา มีแนวทางในการดำเนินงานกศน.อำเภอเมอื งปทุมธานี 2.2 เพื่อให้บุคลากรในหน่วยงาน สถานศึกษา มีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะในการให้คำปรึกษา แนะนำและการประสานสง่ ต่อทางการศกึ ษาหรือการบรกิ ารด้านสวัสดกิ าร 2.3 เพอ่ื ให้กลมุ่ เป้าหมายท่มี าขอรับบริการ ไดร้ บั โอกาสและเข้าถึงบริการทางการศกึ ษาหรือบริการด้าน สวัสดกิ ารไดอ้ ยา่ งเทา่ เทียม 3. กลุม่ เป้าหมาย 3.1 กลมุ่ ผู้ใหบ้ ริการ 3.1.1 ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดปทุมธานี และบุคลากรที่เกี่ยวข้องในการส่งเสรมิ สนับสนุนการดำเนินงานของศูนย์แนะแนวและให้คำปรึกษากศน.อำเภอ เมืองปทมุ ธานี 3.1.2 ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองปทุมธานี และ บคุ ลากรทร่ี ับผิดชอบการดำเนินงานของศนู ย์แนะแนวและใหค้ ำปรึกษากศน.อำเภอเมืองปทมุ ธานี 3.2 กลุ่มผู้รับบริการ 3.2.1 กลุ่มบุคคลทั่วไป หมายถึง บุคคลที่มีอายุเกิน 15 ปี และมีความต้องการสนใจเข้า รับบริการ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยและการบริการดา้ นสวัสดกิ าร 3.2.2 กลมุ่ ผปู้ กครอง หมายถึง พอ่ แม่ ผู้ดแู ลผู้ดอ้ ยโอกาส ผูพ้ ลาดโอกาส และผูข้ าดโอกาสทางการศึกษา ที่มีความต้องการสนใจเข้ารับบริการทางการศึกษา ทั้งในระบบ นอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยและการ บรกิ ารด้านสวัสดกิ าร 3.2.3 กลุ่มที่มีเงื่อนไขข้อจำกัดในการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาหรือการบริการ ด้านสวัสดิการ ประกอบด้วย 1) กลุ่มผู้ด้อยโอกาส หมายถึง ผู้ประสบปัญหาความเดือดร้อน และได้รับผลกระทบในด้านเศรษฐกิจ สังคม การศกึ ษา สาธารณสขุ การเมือง กฎหมาย วัฒนธรรม ภัยธรรมชาติ และภัยสงคราม ซง่ึ จากการท่ปี ระสบปัญหาดังกล่าวทำใหม้ ีชีวิตความเปน็ อยู่ดอ้ ยกว่าคนทั่วไป จงึ ทำใหข้ าดโอกาสหรือไม่มีโอกาสท่ี จะเข้ารับบริการทางการศึกษา ทางด้านสวัสดิการ ทำให้ไม่ได้รับการพัฒนาทั้งทางร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และจิตใจ จำเป็นต้องไดร้ บั ความช่วยเหลือเป็นกรณีพิเศษ เพื่อให้มีชีวิตความเป็นอยู่ทีด่ ีขึ้น มีพัฒนาการที่ ถูกต้องเหมาะสมกับวัยและสามารถบรรลุถึงศักยภาพขั้นสูงสุด ซึ่งกลุ่มผู้ด้อยโอกาส ได้แก่ กลุ่มคนพิการ กลุ่มผู้ ประกอบอาชีพแรงงานนอกระบบ กลุ่มชาติพันธุ์ (ชนกลุ่มน้อย) และให้หมายรวมถึงเด็กยากจน (มากเป็นพิเศษ)
เด็กท่ีมปี ญั หาเกี่ยวกับยาเสพติด เด็กทถี่ กู ทอดทงิ้ เดก็ ท่ถี ูกทำร้ายทารุณ และเด็กที่อยใู่ นธุรกิจทางเพศหรือโสเภณี เดก็ 2) กล่มุ ผ้พู ลาดโอกาส หมายถงึ กล่มุ เด็ก/เยาวชนท่ีออกกลางคันจากระดับการศึกษาภาคบงั คบั กลุ่มผู้จบ การศึกษาภาคบังคับแต่ไม่ไดเ้ รียนตอ่ กลุ่มทหารกองประจำการท่ียังไม่จบการศกึ ษาภาคบังคบั กลุ่มเด็ก/เยาวชน เรร่ ่อน/ไรบ้ ้าน กลุ่มเดก็ /เยาวชน/ลกู กรรมกรกอ่ สร้าง กล่มุ เด็ก/เยาวชนท่มี ีความพร้อมแตไ่ มต่ อ้ งการรับการศึกษา ในระบบปกติ และกลมุ่ ผ้สู ูงอายุ 3) กลุ่มผขู้ าดโอกาส หมายถงึ ผทู้ ขี่ าดโอกาสที่จะเข้าถึงบรกิ ารข้นั พน้ื ฐานของรัฐตลอดจนผู้ประสบปัญหา ที่ยังไม่มีองค์กรหลักรบั ผิดชอบ อันจะส่งผลให้ไม่สามารถดำเนินชีวิตได้เท่าเทียมกับผู้อื่น ได้แก่ กลุ่มประชาชนใน พนื้ ทเ่ี สยี่ งภัยจากการก่อการร้าย การก่อความไมส่ งบในบรเิ วณชายแดน กล่มุ ประชาชนในพืน้ ทช่ี นบทห่างไกลหรือ ยากลำบากในการคมนาคมติดต่อสอื่ สาร กลุ่มคนไทย ในตา่ งประเทศ กลุ่มผู้ต้องขัง กลมุ่ เดก็ /เยาวชนในสถานพินิจ กลุ่มแรงงานตา่ งด้าวหรือแรงงานข้ามชาติ และกลมุ่ บคุ คลทไี่ ม่มที ะเบียนราษฎร์ และใหห้ มายรวมถึงคนยากจน ผู้ พ้นโทษ ผู้ตดิ เชือ้ HIV ผ้ปู ว่ ยเอดส์ และผูท้ ี่ไดร้ บั ผลกระทบจากเอดส์ 4. ประโยชนข์ องการจัดตัง้ ศูนยแ์ นะแนวและให้คำปรึกษากศน.อำเภอเมอื งปทมุ ธานี 4.1 กลุม่ เป้าหมายผูร้ ับบรกิ าร และผู้ปกครองได้รับคำปรกึ ษา แนะแนว การประสานส่งต่อการให้บริการ ด้านการศกึ ษาและด้านสวัสดกิ าร 4.2 กลุ่มเป้าหมายผูร้ ับบรกิ ารไดร้ ับโอกาสและเข้าถึงบรกิ ารทางการศึกษาหรือบริการ ด้านสวัสดิการได้ อยา่ งเท่าเทยี ม 4.3 เป็นศนู ยบ์ ริการขอ้ มลู สารสนเทศเกย่ี วกบั การใหบ้ รกิ ารด้านการศกึ ษาและดา้ นสวสั ดกิ าร 5. นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ ศูนย์แนะแนวและให้คำปรึกษากศน.อำเภอเมืองปทุมธานี หมายถึง ศูนย์แนะแนวและประสานงาน การศกึ ษาอำเภอ/เขต ทใี่ ห้คำปรึกษา แนะแนว และประสานส่งตอ่ พร้อมทงั้ ให้บริการข้อมลู ข่าวสารด้านการศึกษา และด้านสวัสดิการการบริการด้านสวัสดิการ หมายถึง สวัสดิการที่รัฐจัดให้ประชาชนทั่วไปในรูปของ การประชาสงเคราะห์หรือบริการสงั คม รฐั มไิ ดห้ วงั ผลตอบแทน หวังเพยี งการกนิ ดี อยดู่ ขี องคนในชาติ ไม่มีการคิด ต้นทุนกำไร
บทที่ 2 ความรพู้ ้ืนฐานทเ่ี กย่ี วข้อง การดำเนินงานศนู ย์แนะแนวและใหค้ ำปรึกษากศน.อำเภอเมืองปทุมธานี ผู้ที่เกี่ยวข้อง ต้องศึกษาความรู้ พนื้ ฐานทีเ่ กย่ี วข้องกบั การดำเนินงานท้ัง 4 กลุ่ม ดงั นี้ 1. กลุม่ ผดู้ ้อยโอกาส ประกอบด้วยบุคคล 8 ประเภท ไดแ้ ก่ 1.1 คนพกิ าร “คนพิการ”ตามมาตรา 3 แห่งพระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ พุทธศักราช 2551 หมายความว่า บคุ คลซ่งึ มขี อ้ จำกัดในการปฏบิ ัติกจิ กรรมในชวี ติ ประจ าวนั หรือเขา้ ไปมสี ่วนร่วมทางสังคม เน่อื งจาก มคี วามบกพร่องทางการเหน็ การไดย้ ิน การเคล่ือนไหว การส่ือสาร จติ ใจ อารมณ์พฤตกิ รรม สตปิ ัญญา การเรียนรู้ หรือความบกพร่องอื่นใดประกอบกับมีอุปสรรคในด้านต่าง ๆ และมีความต้องการจำเป็นพิเศษทางการศึกษาที่ จะต้องไดร้ บั ความชว่ ยเหลือด้านหนึ่งด้านใด เพอ่ื ใหส้ ามารถปฏบิ ัติกจิ กรรมในชีวิตประจำวันหรือเข้าไปมีส่วนร่วม ทางสังคมได้อย่างบุคคลทั่วไปทั้งน้ีตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรื่องกำหนดประเภทและหลักเกณฑ์ของคน พกิ ารทางการศกึ ษา พุทธศักราช 2552 ลงวันท่ี 6 พฤษภาคม 2552 ดงั นี้ ประเภทของคนพกิ าร มดี ังตอ่ ไปน้ี 1. บคุ คลที่มีความบกพรอ่ งทางการเหน็ 2. บุคคลที่มคี วามบกพรอ่ งทางการไดย้ ิน 3. บุคคลทม่ี คี วามบกพรอ่ งทางสตปิ ญั ญา 4. บคุ คลทม่ี ีความบกพร่องทางร่างกาย หรอื การเคล่อื นไหว หรือสขุ ภาพ 5. บุคคลทม่ี คี วามบกพร่องทางการเรียนรู้ 6. บุคคลท่มี ีความบกพรอ่ งทางการพูดและภาษา 7. บคุ คลทมี่ ีความบกพรอ่ งทางพฤติกรรม หรืออารมณ์ 8. บคุ คลออทสิ ตกิ 9. บคุ คลพิการซ้อน หลักเกณฑ์ในการพจิ ารณาบคุ คลทีม่ ีความบกพร่อง เพ่อื จดั ประเภทของคนพิการ รายละเอียดดังต่อไปน้ี 1. บุคคลทม่ี คี วามบกพร่องทางการเหน็ ได้แก่ บคุ คลที่สญู เสยี การเห็นต้ังแต่ระดับเลก็ นอ้ ยจนถึงตาบอด สนทิ ซงึ่ แบง่ เป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1.1 คนตาบอด หมายถึง บุคคลที่สญู เสียการเหน็ มาก จนตอ้ งใช้ส่ือสัมผัสและ ส่อื เสียง หากตรวจวดั ความ ชัดของสายตาข้างดีเมื่อแก้ไขแล้วอยู่ในระดับ 6 ส่วน 60 (6/60) หรือ 20 ส่วน 200 (20/200) จนถึงไม่ สามารถรับรเู้ รือ่ งแสง 1.2 คนเหน็ เลอื นราง หมายถงึ บคุ คลทีส่ ญู เสียการเห็น แตย่ งั สามารถอ่านอกั ษร ตวั พิมพ์ขยายใหญ่ด้วย อุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ หรือเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวก หากวัด ความชัดเจนของสายตาข้างดีเม่ือ แกไ้ ขแล้วอยใู่ นระดบั 6 สว่ น 18 (6/18) หรอื 20 สว่ น 70 (20/70)
2. บคุ คลที่มีความบกพรอ่ งทางการได้ยนิ ไดแ้ ก่ บุคคลท่สี ูญเสียการไดย้ นิ ตัง้ แตร่ ะดบั หตู ึงน้อยจนถึงหู หนวก ซึง่ แบ่งเปน็ 2 ประเภท ดงั นี้ 2.1 คนหหู นวก หมายถึง บคุ คลที่สญู เสยี การได้ยินมากจนไม่สามารถเขา้ ใจการพูดผา่ นทางการได้ยนิ ไมว่ า่ จะใสห่ รือไม่ใสเ่ คร่อื งช่วยฟัง ซ่ึงโดยทั่วไปหากตรวจการไดย้ นิ จะมีการสญู เสยี การได้ยิน 90 เดซิเบลข้ึนไป 2.2 คนหูตงึ หมายถึง บุคคลท่ีมกี ารไดย้ ินเหลอื อยูเ่ พียงพอทจ่ี ะไดย้ ินการพูด ผา่ นทางการไดย้ นิ โดยทั่วไป จะใส่เคร่ืองช่วยฟัง ซ่งึ หากตรวจวัดการได้ยนิ จะมกี ารสญู เสยี การไดย้ นิ น้อยกว่า 90 เดซิเบลลงมาถึง 26 เดซิเบล 3. บุคคลทมี่ ีความบกพรอ่ งทางสตปิ ญั ญา ไดแ้ ก่ บุคคลทมี่ ีความจำกัดอย่างชดั เจน ในการปฏิบัตติ น (Functioning) ในปจั จบุ นั ซ่งึ มีลักษณะเฉพาะ คือ ความสามารถทางสติปัญญาต่ำกวา่ เกณฑ์เฉลยี่ อย่างมีนัยสำคัญ รว่ มกับความจำกัดของทักษะการปรบั ตวั อีกอย่างน้อย 2 ทกั ษะจาก 10 ทกั ษะ ไดแ้ ก่ การสื่อความหมาย การดแู ล ตนเอง การดำรงชวี ติ ภายในบ้านทักษะทางสังคม/การมีปฏสิ มั พันธก์ บั ผอู้ ื่น การรู้จกั ใช้ทรพั ยากรในชุมชน การรจู้ กั ดแู ลควบคมุ ตนเอง การนำความรู้มาใชใ้ นชีวิตประจำวนั การทำงาน การใช้เวลาวา่ ง การรักษาสุขภาพอนามยั และ ความปลอดภยั ทั้งน้ี ได้แสดงอาการดังกล่าวกอ่ นอายุ 18 ปี 4. บคุ คลท่ีมีความบกพร่องทางร่างกาย หรอื การเคล่อื นไหว หรอื สขุ ภาพ ซึง่ แบง่ เปน็ 2 ประเภท ดังนี้ 4.1 บคุ คลทีม่ ีความบกพร่องทางร่างกาย หรอื การเคลือ่ นไหว ได้แก่ บุคคลทม่ี ีอวยั วะไม่สมส่วนหรือขาด หายไป กระดูกหรือกล้ามเนื้อผิดปกติ มีอุปสรรคในการเคลื่อนไหว ความบกพร่องดังกล่าวอาจเกิดจากโรคทาง ระบบประสาท โรคของระบบกล้ามเนือ้ และกระดูก การไม่สมประกอบมาแต่กำเนิด อุบตั ิเหตุและโรคติดตอ่ 4.2 บุคคลที่มีความบกพร่องทางสุขภาพ ได้แก่ บุคคลที่มีความเจ็บป่วยเรื้อรังหรือมีโรคประจำตัวซ่ึง จำเป็นต้องได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง และเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา ซึ่งมีผลทำให้เกิดความจำเป็นต้องได้รบั การศึกษาพิเศษ 5. บุคคลที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ได้แก่ บุคคลที่มีความผิดปกติ ในการทำงานของสมอง บางสว่ นทีแ่ สดงถงึ ความบกพร่องในกระบวนการเรียนรทู้ อี่ าจเกิดข้ึนเฉพาะความสามารถดา้ นใดด้านหน่ึงหรือหลาย ดา้ น คือ การอ่าน การเขียน การคดิ คำนวณ ซ่ึงไม่สามารถเรียนรู้ ในดา้ นทบ่ี กพรอ่ งได้ ท้งั ที่มีระดบั สตปิ ญั ญาปกติ 6. บุคคลที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษา ได้แก่ บุคคลที่มีความบกพร่อง ในการเปล่งเสียงพูด เชน่ เสยี งผิดปกติ อัตราความเรว็ และจงั หวะการพูดผิดปกติ หรือบคุ คลท่ีมี ความบกพรอ่ งในเรือ่ งความเข้าใจหรือ การใช้ภาษาพูด การเขียนหรือระบบสัญลักษณ์อื่นที่ใช้ ในการติดต่อสื่อสาร ซึ่งอาจเกี่ยวกับรูปแบบ เนื้อหาและ หน้าท่ขี องภาษา 7. บคุ คลทม่ี คี วามบกพร่องทางพฤตกิ รรม หรืออารมณ์ได้แก่ บคุ คลที่มพี ฤติกรรมเบย่ี งเบนไปจากปกติ เป็นอย่างมาก และปัญหาทางพฤติกรรมน้ันเปน็ ไปอยา่ งต่อเน่ือง ซึ่งเป็นผลจาก ความบกพร่องหรือความผิดปกติ ทางจติ ใจหรอื สมองในส่วนของการรบั รู้ อารมณห์ รือความคดิ เชน่ โรคจติ เภท โรคซมึ เศร้า โรคสมองเสอ่ื ม เปน็ ตน้ 8. บคุ คลออทิสตกิ ได้แก่ บุคคลที่มีความผิดปกตขิ องระบบการทำงานของสมองบางสว่ นซง่ึ ส่งผลต่อความ บกพร่องทางพัฒนาการดา้ นภาษา ดา้ นสังคมและการปฏิสมั พนั ธท์ างสงั คม และมขี ้อจำกดั ด้านพฤตกิ รรม หรือมี ความสนใจจำกดั เฉพาะเรือ่ งใดเรือ่ งหน่งึ โดยความผดิ ปกตินั้นคน้ พบไดก้ ่อนอายุ 30 เดือน
9. บุคคลพกิ ารซอ้ น ได้แก่ บคุ คลทมี่ ีสภาพความบกพรอ่ งหรือความพกิ ารมากกว่า หน่งึ ประเภทในบคุ คล เดียวกนั 1.2 กลมุ่ ผ้ปู ระกอบอาชีพแรงงานนอกระบบ หมายถงึ แรงงานทท่ี ำงานอสิ ระ หรือเป็นแรงงานท่ไี มไ่ ดร้ ับ การคุ้มครองในระบบการประกนั สังคม ได้แก่ คนงานทีร่ ับงานไปทำทีบ่ า้ น (Home - Base Worker) เช่น คนใช้ใน บา้ นของคนรวย คนขับรถ คนทำสวน และคนงานทท่ี ำงานแบบเหมาช่วง (Sub - Contract Worker) เชน่ คนงาน กอ่ สรา้ ง คนงานทำถนน โดยสามารถที่จะจำแนกประเภทของแรงงานนอกระบบได้ 2 กลุม่ ดงั นี้ 1.2.1 กลุ่มทที่ ำงานรับจ้าง และมีเงินเดือนประจำ ไดแ้ ก่ แรงงานที่รบั จ้างเอางานไปทำที่บ้าน แรงงาน รับจา้ งทำการเกษตรตามฤดกู าล แรงงานประมง คนรบั ใช้ และคนทำงานบ้าน คนขบั รถ (ส่วนตัวตามบา้ น) เป็นตน้ 1.2.2 กลุ่มที่ทำอาชีพอิสระทั่วไป ได้แก่ คนขับรถรับจ้าง เกษตรกร ชาวนา ชาวสวน แม่ค้าหาบเร่ แผงลอย ช่างเสรมิ สวย ชา่ งตัดผม เจา้ ของรา้ นขายของชำขนาดเลก็ เป็นตน้ 1.3 กลุ่มชาติพันธ์ุ (ชนกลุ่มน้อย) หมายถงึ เด็กท่ีเปน็ บุตรหลานของบคุ คลที่มวี ฒั นธรรมแตกต่างไปจาก ประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ มีปัญหาเกี่ยวกับการถือสัญชาติไทย จนเป็นสาเหตุให้ไม่มีโอกาสได้รับการศึกษา หรอื บริการอ่นื ๆ สว่ นใหญอ่ พยพเขา้ มาตง้ั หลักแหลง่ อยตู่ ามบรเิ วณแนวส่วนชายแดนของประเทศไทย 1.4 เดก็ ยากจน (มากเป็นพิเศษ) หมายถึง เด็กซึ่งเปน็ บตุ รหลานของคนยากจนที่มรี ายได้ไม่เพียงพอต่อ การเลี้ยงชีพ (ครอบครัวมีรายได้เฉลี่ยไม่เกิน 20,000 บาทต่อปี) ครอบครัวอยู่รวมกันหลายคน ขาดแคลน ปจั จยั พืน้ ฐาน มชี ีวิตอยูอ่ ยา่ งยากลำบาก รวมถงึ เด็กในแหลง่ ชุมชนแออัดหรอื บตุ รของกรรมกรก่อสร้างหรอื เด็กจาก ครอบครัวท่อี ยู่ในถนิ่ ทุรกนั ดารหา่ งไกลทขี่ าดโอกาสท่ีจะไดร้ บั การศกึ ษาและบรกิ ารอนื่ ๆ 1.5 เด็กที่มีปัญหาเกี่ยวกับยาเสพติด หมายถึง เด็กที่ติดสารระเหยหรือยาเสพติดให้โทษหรือเด็กกลุ่ม เสี่ยงต่อการถูกชักนำให้ประพฤติตนไม่เหมาะสมเกี่ยวข้องผูกพันอยู่กับกลุ่มมิจฉาชีพผู้มีอิ ทธิพลหรือบุคคลท่ี แสวงหาผลประโยชน์จากการประกอบอาชีพผิดกฎหมายเป็นเด็กด้อยโอกาสที่มีแนวโน้มสูง ต่อการก่อปัญหาใน สังคม 1.6 เด็กทีถ่ ูกทอดทิ้ง หมายถึง เด็กท่ีมารดาคลอดท้ิงไว้ในโรงพยาบาล หรือตามสถานที่ตา่ ง ๆ รวมไปถึง เดก็ ที่พ่อแม่ปล่อยท้ิงไวใ้ ห้มชี ีวิตอยู่ลำพงั หรือกบั บุคคลอืน่ โดยไมไ่ ด้รับการเลี้ยงดจู าก พอ่ แม่ ทั้งนี้ อาจมีสาเหตุมา จากปัญหาการหย่าร้าง หรือครอบครัวแตกแยก มีสภาพชีวิตอยู่ท่ามกลาง ความสับสนขาดความรัก ความอบอุน่ ตลอดถงึ เดก็ ที่ขาดผูอ้ ุปการะเลีย้ งดูอนั เนือ่ งมาจากสาเหตอุ น่ื 1.7 เด็กที่ถูกทำร้ายทารุณ หมายถึง เด็กที่ถูกล่วงละเมิดทางร่างกาย ทางเพศ หรือทางจิตใจ มีชีวิตอยู่ อยา่ งไมเ่ ปน็ สุข ระแวง หวาดกลวั เนอ่ื งจากถูกทำร้ายทารณุ ถูกบบี คั้นกดดนั จากพ่อแม่ หรือผู้ปกครองซ่ึงมีสภาพ จติ ใจหรอื อารมณไ์ ม่เป็นปกติ หรือถูกล่วงละเมิดทางเพศในลกั ษณะตา่ งจากบุคคลท่ีอยู่ใกลต้ วั 1.8 เด็กท่ีอย่ใู นธรุ กิจทางเพศหรอื โสเภณเี ดก็ หมายถงึ เด็กท่ีมคี วามสมคั รใจหรอื ถกู บงั คบั ล่อลวงให้ขาย บริการทางเพศ หรอื ถกู ชกั จูงใหต้ อ้ งตกอยูใ่ นสภาพเสยี่ งต่อการประกอบอาชีพขายบริการทางเพศ
2. กลุม่ ผ้พู ลาดโอกาส ประกอบด้วยบุคคล 7 ประเภท ดังนี้ 2.1 กลมุ่ เด็ก/เยาวชนที่ออกกลางคนั จากระดับการศึกษาภาคบงั คับ หมายถงึ เด็กนักเรยี นท่ีเคยเข้าเรียน ในสถานศกึ ษาแลว้ แตอ่ อกจากสถานศกึ ษา และไม่สามารถกลับเขา้ มาเรยี นตามปกติได้ กอ่ นท่ีจะจบการศึกษาภาค บงั คบั 9 ปี 2.2 กลุ่มผู้จบการศึกษาภาคบังคับแต่ไม่ได้เรียนต่อ หมายถึง ผู้ที่จบการศึกษาภาคบังคับแล้วไม่ได้เข้า เรียนตอ่ เนือ่ งจากมคี วามจำเป็นในดา้ นต่าง ๆ 2.3 กลุ่มทหารกองประจำการที่ยังไม่จบการศึกษาภาคบังคับ หมายถึง ชายไทยที่ได้เข้ารับการเกณฑ์ ทหารแลว้ ยังไมจ่ บการศึกษาภาคบงั คับ 2.4 เด็กเร่รอน หมายถึง เด็กที่ไม่มีที่อยู่เป็นหลักแหล่งแน่นอน ดำรงชีวิตอยู่อย่างไร้ทิศทางขาด ปจั จยั พื้นฐานในการดำรงชีวติ เสีย่ งต่อการประสบอันตรายและเปน็ ปญั หาสงั คม 2.5 กล่มุ เด็ก/เยาวชน/ลกู กรรมกรก่อสร้าง หมายถึง เด็ก/เยาวชนทีเ่ ปน็ ลกู กรรมกรก่อสร้างและได้ติดตาม พ่อ แมผ่ ู้ปกครองมาอยู่ในไซดง์ านก่อสรา้ ง 2.6 กลมุ่ เด็ก/เยาวชนท่ีมีความพร้อมแตไ่ มต่ ้องการรบั การศกึ ษาในระบบปกติ หมายถงึ กลุม่ เด็ก/เยาวชน ทม่ี ีอาชีพ หรือตอ้ งการความเป็นอสิ ระ 2.7 กล่มุ ผู้สงู อายุ หมายถงึ บุคคลซง่ึ มอี ายุเกินกวา่ หกสบิ ปีบริบรู ณ์ข้ึนไป 3. กลุ่มผูข้ าดโอกาส ประกอบดว้ ยบคุ คล 12 ประเภท ดงั นี้ 3.1 กลุ่มประชาชนในพืน้ ทีเ่ ส่ียงภยั จากการกอ่ การรา้ ย การก่อความไมส่ งบในบรเิ วณชายแดนหมายถงึ กล่มุ ประชาชนที่อาศยั อยูใ่ นพื้นท่กี อ่ การรา้ ย การก่อความไม่สงบในบรเิ วณชายแดน 3.2 กลุ่มประชาชนในพื้นที่ชนบทห่างไกลหรือยากลำบากในการคมนาคมตดิ ตอ่ ส่อื สารหมายถึง กลุ่ม ประชาชนท่อี าศัยอยู่ในพน้ื ท่ีชนบทหา่ งไกลหรือยากลำบากในการคมนาคมและไมม่ สี าธารณูปโภคเก่ียวกบั การ ตดิ ตอ่ ส่ือสาร 3.3 กลุ่มคนไทยในต่างประเทศ หมายถึงคนไทยทีไ่ ปอาศัยหรือประกอบอาชพี ในต่างประเทศ 3.4 กลุ่มผู้ต้องขงั หมายถงึ บุคคลทถี่ กู ขังอยใู่ นเรือนจำ 3.5 เดก็ ในสถานพินจิ และคมุ้ ครองเด็กและเยาวชน หมายถงึ เด็กทกี่ ระทำผดิ และถกู ควบคมุ อยู่ในสถาน พินจิ และคมุ้ ครองเดก็ และเยาวชนตามกฎหมาย ตลอดถงึ เด็กท่ีตัง้ ครรภน์ อกสมรส ซึง่ มแี นวโน้มท่ีจะกอ่ ให้เกดิ ปัญหาต่าง ๆ เช่น การทำแท้ง การฆา่ ตัวตาย การทอดทิง้ ทารก 3.6 กลุ่มแรงงานต่างดา้ วหรือแรงงานขา้ มชาตหิ มายถึง บคุ คลทย่ี ้ายถิน่ จากประเทศหน่ึงไปยังอกี ประเทศ หนง่ึ เพอ่ื ทจี่ ะไปทำงานมากกวา่ ท่ีจะไปใชจ้ า่ ยเงนิ ของตนเอง และรวมถึงบคุ คลใดๆ ท่ีโดยปกติแล้วได้รบั การยอมรบั ว่าเปน็ ผู้อพยพเพื่อทำงาน แตไ่ ม่รวมถงึ คนทีท่ ำงานตามบรเิ วณชายแดน จิตรกร หรือสมาชิกของกลุ่มผูช้ ำนาญการ ทเ่ี ข้าเมืองระยะสน้ั ชาวเรอื และลกู เรอื เดินทะเลต่างชาติ และในอนสุ ญั ญาองค์การแรงงานระหวา่ งประเทศฉบบั ท่ี 143 ยังไม่รวมถงึ บคุ คลที่เข้ามาเพ่ือการศกึ ษาหรือ การฝึกอบรมและบุคคลท่ีเข้ามาทำงานชวั่ คราวเฉพาะดา้ นอนั เนอ่ื งมาจากการรอ้ งขอของนายจ้าง ในประเทศไทย และตอ้ งออกไปเมื่อเสรจ็ สน้ิ การทำงานนั้นแล้ว
3.7 กล่มุ บคุ คลทไ่ี ม่มีทะเบยี นราษฏร์ หมายถงึ บุคคลทีร่ ฐั ไทยรบั ฟงั วา่ ยังพิสจู นส์ ถานะทางกฎหมายว่า ด้วยสิทธใิ นสัญชาติไม่ได้ หรอื พิสูจน์ได้แลว้ ว่าเปน็ คนต่างดา้ วก็ยังส่งกลบั ประเทศตน้ ทางไมไ่ ดบ้ ตั รประเภทนจ้ี งึ ถูก ออกใหบ้ คุ คลในสถานการณด์ ังกลา่ วหลงั จากการจัดทำทะเบยี นประวัติ ตามกฎหมายทะเบยี นราษฎร เพื่อให้บคุ คล ดังกลา่ วได้ใช้เป็นเอกสารรบั รองตวั บคุ คลในระหว่าง รอการกำหนดสถานะบุคคลตามกฎหมายใหม่ หรือรอการ สง่ กลับออกนอกประเทศไทย 3.8 คนยากจน หมายถงึ คนทมี่ ีความเปน็ อยู่ต่ำกว่ามาตรฐาน หรือไม่มีรายไดเ้ พียงพอท่ีจะใช้จ่ายในการ ซื้อสิง่ จำเปน็ ข้ันพ้ืนฐานในการครองชีพ เช่น อาหาร เครอื่ งนุ่งหม่ ทีอ่ ยูอ่ าศัย ความยากจนอาจวัดได้ใน 2 ลักษณะ คอื ความยากจนสมั บูรณ์กับความยากจนสมั พัทธ์ ความยากจนสัมบูรณ์คือสภาพท่ีประชาชนไม่มรี ายไดเ้ พยี งพอทจ่ี ะ มีชวี ติ อยไู่ ด้ ซงึ่ อาจแกไ้ ขไดด้ ว้ ยการพัฒนาเศรษฐกิจ หรอื มีเทคโนโลยี ทด่ี ขี ึ้น ก็จะชว่ ยขจัดความยากจนนนั้ ได้ ส่วน ความยากจนสัมพัทธ์เป็นการเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มของประชาชนที่มีรายได้แตกต่างกัน ดังนั้นความยากจน สัมพทั ธจ์ งึ มอี ยู่ตลอดเวลา แม้วา่ กลมุ่ ประชาชนทีย่ ากจนท่สี ุดมรี ายไดเ้ พยี งพอทจ่ี ะใชจ้ ่ายในการครองชีพไดก้ ต็ าม 3.9 ผูพ้ น้ โทษ หมายถงึ บุคคลทอ่ี อกจากเรือนจำ 3.10 ผตู้ ดิ เชอื้ HIV ผปู้ ่วยเอดส์ หมายถงึ ผทู้ ีต่ ิดเชือ้ Human Immunodeficiency Virus (hiv) เป็นเช้ือ ไวรัสที่ทำให้เกิดโรคเอดส์ เมื่อเชื้อเข้าสู่ร่างกายเชื้อจะแบ่งตัวอย่างมากและมีการเกิดโรค ที่อวัยวะต่าง ๆ เช่น สมอง หัวใจ ไตและที่สำคัญคือจะทำลายระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย ระบบภูมิคุ้มกันนี้จะทำหน้าที่สร้างภูมเิ พือ่ ต่อต้านการติดเชื้อและมะเร็งบางชนิด ในการสร้างภูมิจะต้องอาศัยเซลล์หลายช นิดที่สำคัญได้แก่ เซลล์CD4+lymphocytes ซึ่งเป็นเซลล์ทีเ่ ชื้อ HIV ชอบ เมื่อเซลล์CD4 + lymphocytes ถูกทำลายโดยเชื้อมาก จะทำให้ภมู ิของรา่ งกายออ่ นแอ 3.11 เด็กที่ได้รับผลกระทบจากโรคเอดส์หรือโรคติดต่อร้ายแรงที่สังคมรังเกียจ หมายถึงเด็กที่ติดเชื้อ เอดส์หรือมีพ่อแม่เจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ เป็นเด็กที่มักจะถูกมองอย่างรังเกียจไม่สามารถเข้ารับการศึกษาหรือ บรกิ ารอื่น ๆ ร่วมกับเด็กปกติทั่วไปได้ 3.12 เด็กถกู บงั คับใหข้ ายแรงงาน หรือแรงงานเด็ก หมายถงึ เดก็ ท่ีต้องทำงานหรอื ถกู บังคับให้ใช้แรงงาน หรือหารายได้ด้วยการขายแรงงานก่อนถึงวัยอันสมควร ถูกเอารัดเอาเปรียบจากนายจ้างจนไม่มีโอกาสได้รบั การ พฒั นาให้เป็นไปตามหลักพัฒนาการอันเหมาะสมกับวัย 4. กลุ่มผู้มีความสามารถพิเศษ หมายถึง บุคคลที่มีความสามารถพิเศษด้านใดด้านหนึ่งซึ่งจะต้องจัด การศึกษาดว้ ยรปู แบบที่เหมาะสม โดยคำนงึ ถึงความสามารถของบคุ คลน้นั บคุ คลทม่ี คี วามสามารถพเิ ศษด้านต่างๆ 9 ประเภท จะมีลักษณะ ดงั ต่อไปน้ี 4.1 ด้านสตปิ ญั ญา (การคดิ ) มีลักษณะ ดงั นี้ 4.1.1 มคี วามรู้สึกไวต่อการเปล่ยี นแปลงของส่งิ ตา่ งๆ รอบตวั 4.1.2 ช่างสังเกต สามารถมองเห็นรายละเอียดของส่ิงต่าง ๆ ไดด้ ี (มกั มองเหน็ อะไรได้มากกว่าคนอื่น) 4.1.3 รับรสู้ ่งิ ตา่ ง ๆ ไดอ้ ย่างรวดเร็ว 4.1.4 ไม่ตอ้ งการใหใ้ ครมาขดั จังหวะในขณะจดจอ่ กับกิจกรรมบางอย่าง 4.1.5 มีสมาธใิ นการทำส่งิ ต่าง ๆ ไดน้ าน โดยเฉพาะเวลาสนใจอะไรจะลมื เวลา 4.1.6 จดจำส่ิงต่าง ๆ ได้รวดเร็ว (จำเร็ว) 4.1.7 ระลึกข้อมูลได้รวดเร็วและถูกตอ้ งแมน่ ยำ (จำแมน่ )
4.1.8 เบอ่ื หนา่ ยง่ายกับกจิ กรรมทเี่ ป็นกิจวัตรประจำวนั ของโรงเรียนชอบคบคนท่มี อี ายุมากกวา่ 4.1.9 ชอบทำอะไรด้วยตวั เอง (ไมอ่ ยากใหผ้ ้อู น่ื ช่วยเหลอื หรอื ถา้ ช่วย ก็เพียงเล็กน้อย) 4.1.10 ชอบทำงานคนเดียวหรอื งานเดี่ยวมากกวา่ งานกลุ่ม 4.1.11 ชอบทำกิจกรรมที่ยาก ทา้ ทายความสามารถ 4.1.12 สนใจอ่านหนังสือที่ยากเกินวัย (เช่น หนังสือของผู้ใหญ่ หนังสือ เกี่ยวกับชีวประวัติของบุคคล สำคญั และสารานกุ รม เปน็ ต้น) 4.1.13 รหู้ รอื สนใจในส่ิงทผี่ ใู้ หญเ่ องก็ตอ้ งประหลาดใจ (เพราะคาดไมถ่ งึ วา่ วัยแคน่ ้จี ะรู้หรือสนใจ) 4.1.14 ทำงานที่ชอบได้ดเี กินคำสงั่ หรือความคาดหมาย 4.1.15 เรียนรสู้ ง่ิ ใหม่ ๆ ไดอ้ ย่างรวดเร็ว 4.1.16 ใช้ภาษา (เช่น ศัพทห์ รอื โครงสรา้ งประโยค) ทสี่ งู เกนิ วัย 4.1.17 เม่ือเข้าไปรว่ มกิจกรรมใด ๆ ก็มแี นวโน้มจะทำได้ดี 4.1.18 ชอบตงั้ คำถามที่กระต้นุ ความคิด 4.1.19 สนใจเปน็ พเิ ศษกับกิจกรรมทีต่ อ้ งใชค้ วามคดิ 4.1.20 ชอบจัดระบบระเบยี บหรอื โครงสรา้ งให้กับเหตกุ ารณ์หรอื สงิ่ ต่าง ๆ 4.1.21 สามารถ คิดเกี่ยวกับสิ่งที่เป็นนามธรรม เช่น สัญลักษณ์ ตัวเลข รวมทั้งนามธรรม (เช่น ประชาธิปไตย วินัย ความซอ่ื สัตย์ เป็นตน้ ) ไดอ้ ย่างลกึ ซง้ึ กว่าเดก็ วยั เดยี วกนั 4.1.22 อยากรู้อยากเหน็ เปน็ พเิ ศษ (ชา่ งซกั ถาม โดยเฉพาะเรอ่ื งเหตุผล หรือถาม ในลักษณะถา้ …แล้ว) 4.1.23 ชอบคาดคะเนสง่ิ ทีอ่ าจเกิดขึน้ จากความคิด การกระทำ หรอื การทดลองของตน 4.1.24 มองเหน็ ความสัมพนั ธ์ของเหตผุ ลไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว 4.1.25 บอกความแตกตา่ งและความคล้ายคลงึ กนั ของสงิ่ ตา่ ง ๆ ได้ดี 4.1.26 ชอบจบั ประเดน็ สำคัญหรอื หลกั การทแ่ี อบแฝงอยไู่ ดอ้ ย่างรวดเร็ว 4.1.27 สามารถแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความคิดต่าง ๆ ท่ดี ูภายนอก คล้ายวา่ จะไม่เก่ียวข้องกันได้ 4.1.28 สามารถสรุปภาพรวมของสิง่ ต่าง ๆ หรือเรอ่ื งราวได้ดี 4.1.29 ไมด่ ่วนสรปุ ความรหู้ รือขอ้ มลู ต่าง ๆ โดยไมว่ ิเคราะห์หรอื ตรวจสอบ 4.1.30 สามารถวางแผนไดอ้ ย่างสลับซับซอ้ น 4.1.31 นักเรยี นเป็นคนมอี ารมณข์ นั 4.1.32 สามารถใช้สามญั สำนกึ ประกอบการคิดหาคำตอบหรอื แก้ปญั หาต่าง ๆ ไดเ้ ป็นอยา่ งดี 4.1.33 สามารถผสมผสานความรคู้ วามคิด เกี่ยวกับสิ่งตา่ ง ๆ มาแกป้ ญั หาได้ดี 4.1.34 นักเรียนมีมาตรฐานสำหรับตัวเองสูง จงึ ไมค่ ่อยพอใจกบั ผลงานของ ตัวเองง่ายนัก(นักเรียนชอบ ทำงานให้ดีทีส่ ุด และไมช่ อบท่จี ะเห็น ผลงานแบบธรรมดาเหมือนกับทีค่ นอ่ืนเขาทำ) 4.1.35 นกั เรียนมกั มีความรู้สกึ รนุ แรงเก่ยี วกับความถกู - ผิด - ดี- ชวั่ - ยตุ ิธรรม - ไมย่ ุตธิ รรม ฯลฯ 4.2 ด้านความคดิ สรา้ งสรรค์ มีลกั ษณะดังน้ี 4.2.1 ไม่ยอมให้ความร่วมมือถ้าไม่เหน็ ด้วย 4.2.2 ไม่รว่ มกจิ กรรมที่ไม่ชอบ 4.2.3 ชอบทำงานคนเดียวเป็นเวลานาน ๆ
4.2.4 มคี วามสนใจอย่างกวา้ งขวางในเรอ่ื งต่าง ๆ 4.2.5 ชอบซักถาม 4.2.6 ชอบพูดเก่ียวกบั สง่ิ ประดษิ ฐ์หรือวิธกี ารคิดแบบใหม่ ๆ 4.2.7 เบือ่ หน่ายกบั ความซ้ำซาก จำเจ 4.2.8 กล้าทดลองทำเพอื่ พสิ ูจนค์ วามคิดของตนเอง ถึงแม้จะไมแ่ นใ่ จในผล ทเ่ี กิดขน้ึ 4.2.9 มอี ารมณ์ขนั เปน็ เนอื งนิตย์ 4.2.10 มีอารมณอ์ ่อนไหวง่าย 4.2.11 ซาบซง้ึ กบั สุนทรยี ภาพ เชน่ ซาบซ้งึ ในดนตรแี ละศลิ ปะตา่ ง ๆ เปน็ ต้น 4.2.12 ไม่หงดุ หงดิ กบั ความไร้ระเบยี บหรือความยงุ่ เหยงิ ทคี่ นอ่ืนทนไมไ่ ด้ 4.2.13 ไมส่ นใจว่าตนเองจะแปลกกว่าคนอ่นื 4.2.14 มีปฏิกริ ยิ าโต้แยง้ เม่ือไม่เห็นด้วย 4.2.15 ช่างจำรายละเอียดสง่ิ ตา่ ง ๆ เป็นอย่างดี 4.2.16 ไม่ชอบการบงั คบั กำหนดกฎเกณฑ์ ตกี รอบความคิดหรือใหท้ ำตาม กตกิ าต่าง ๆ 4.2.17 ถา้ เปน็ สิง่ ทต่ี นไมส่ นใจหรือไม่เห็นดว้ ย จะหมดความสนใจงา่ ย ๆ 4.2.18 ชอบเหมอ่ ลอย สรา้ งจินตนาการ 4.2.19 ยอมรับความคดิ เห็นของผ้อู ื่นได้ ถา้ อธิบายเหตุผล 4.2.20 มคี วามคิดทเี่ ปน็ อสิ ระ ไมช่ อบทำตามคนอ่ืน 4.2.21 มีความคดิ ยืดหยุ่น คดิ ไดห้ ลายทศิ ทาง เชน่ สามารถคดิ แกป้ ัญหา เดียวกันได้ หลายวิธี เป็นต้น 4.2.22 สามารถคดิ หรือทำงานได้หลาย ๆ อย่างในเวลาเดยี วกนั 4.2.23 แสดงความคดิ ไดห้ ลากหลายในเร่ืองใดเร่อื งหน่งึ 4.2.24 ชอบสร้างแล้วรือ้ ร้อื แลว้ สร้างใหมเ่ พือ่ ความแปลกใหม่ 4.2.25 ชอบมีคำถามแปลก ๆ ทา้ ทายให้คิด 4.2.26 ชอบคิดหรอื รเิ ริม่ สร้างสรรค์ส่งิ ใหม่ ๆ มากกวา่ คนอนื่ 4.2.27 ชอบเป็นคนแรกท่คี ิดหรือทำเรอื่ งใหม่ ๆ 4.2.28 มคี วามร้สู กึ รุนแรงเกย่ี วกับอิสรภาพและความเปน็ อิสระทางความคดิ 4.2.29 ชอบหมกมุน่ กับความคดิ 4.2.30 ในสายตาของคนท่ัวไปดวู ่าเปน็ คน \"แปลก\" กวา่ คนอ่ืน 4.2.31 เปน็ คนไวต่อความคิดความรู้สกึ ของผูอ้ น่ื 4.2.32 เหน็ ความเช่อื มโยงหรือความสมั พนั ธร์ ะหว่างสิง่ ต่าง ๆ ทค่ี นทั่วไป มองไมเ่ ห็น 4.2.33 มคี วามวิจิตรพิสดารในการทำส่งิ ตา่ ง ๆ 4.2.34 ชา่ งสงั เกต สามารถเหน็ รายละเอียดของสง่ิ ตา่ ง ๆ ทผี่ ู้อืน่ ไมเ่ ห็น 4.2.35 สามารถผสมผสานความคิดหรือสง่ิ ทแี่ ตกตา่ งเข้าด้วยกนั โดยไม่มี ใครคดิ และทำมาก่อน 4.3 ด้านคณิตศาสตร์ มีลกั ษณะดงั น้ี 4.3.1 ชอบอ่านประวตั แิ ละผลงานของนกั คณติ ศาสตร์ทม่ี ชี อ่ื เสยี ง 4.3.2 สนใจศึกษาเรอื่ งราวท่ีเกยี่ วข้องกับตวั เลข เช่น ปฏทิ นิ เวลา แผนภูมิ เปน็ ต้น
4.3.3 รักและหลงใหลในตวั เลข เช่น เลอื กข้าวของเครอ่ื งใช้ท่มี ตี ัวเลขเปน็ สว่ นประกอบเป็นตน้ 4.3.4 ชอบและคบหาพูดคยุ กบั คนทมี่ ีความสนใจทางคณิตศาสตร์ (อาจเปน็ คนวยั เดยี วกนั หรือตา่ งวยั ได)้ 4.3.5 ชอบเลน่ ตัวต่อยาก ๆ หรอื ของเลน่ ทเ่ี กีย่ วกบั การสร้างรูปทรง 4.3.6 หมกมุ่น ครุน่ คดิ และฝึกฝนโจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตรอ์ ยา่ งตอ่ เนื่อง 4.3.7 เบอ่ื โจทย์เลขหรอื บทเรยี นท่ีไม่ทา้ ทาย ซ้ำซาก หรือง่ายเกินไป 4.3.8 มีวิธีแปลกใหม่ในการแก้ปญั หาโจทย์ทางคณิตศาสตรเ์ อง ไมช่ อบ ทำตามวิธคี นอนื่ ท่ีเคยทำมา 4.3.9 ลัดขน้ั ตอนการแก้โจทย์ปญั หาทางคณิตศาสตร์ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง 4.3.10 คดิ โจทย์ปัญหาได้อยา่ งพลิกแพลง ซับซ้อน และมองเหน็ แง่มมุ ทคี่ นอื่นคิดไม่ถึง 4.3.11 เปน็ คนมีจนิ ตนาการดี สามารถมองเหน็ สิง่ ตา่ ง ๆ ไดห้ ลายมติ ิ 4.3.12 เป็นคนชา่ งคิด มวี ิธคี ดิ ทดี่ ี มไี หวพรบิ 4.3.13 เขา้ ใจความหมายของจำนวนและตัวเลขอย่างรวดเร็ว 4.3.14 มีเหตผุ ลเปน็ หลกั ในการตัดสนิ ใจ 4.3.15 ชอบตง้ั คำถามที่เปน็ เหตตุ ่อกัน เชน่ ถา้ ...แลว้ ….ดังน้ัน… เพราะวา่ …...ถ้าไม่…แล้ว…… 4.3.16 ชอบวิเคราะห์ วิพากษ์ วจิ ารณเ์ รอื่ งตา่ ง ๆ อย่างมเี หตผุ ล 4.3.17 สนใจเรอื่ งนามธรรมที่เกีย่ วกบั เวลา อากาศ และมติ ิของเวลา 4.3.18 มองเห็นความสมั พนั ธเ์ ชอ่ื มโยงโครงสรา้ งและความสมดุลของสิง่ ตา่ ง ๆ 4.3.19 เรียนรู้เกย่ี วกบั จำนวน ตัวเลข และสญั ลักษณ์ทางคณิตศาสตรไ์ ดอ้ ย่างรวดเรว็ 4.3.20 ชอบเรียนวชิ าคณติ ศาสตร์ 4.3.21 ชอบชง่ั ตวง วดั นบั 4.3.22 ชอบจดั ลำดับหมวดหมู่ ส่งิ ของ หรอื วาดรูปในลกั ษณะที่เรียงจากขนาดใหญ่ ไปหาเล็กหรอื เล็กไปหาใหญ่ 4.3.23 ไดค้ ะแนนทดสอบทางคณิตศาสตร์สูง 4.3.24 สรปุ ความคดิ ในเชิงคณิตศาสตร์ไดอ้ ย่างรวดเร็ว 4.3.25 เชื่อมโยงประเด็นปญั หากบั เรอื่ งอน่ื ๆ ได้อยา่ งสมเหตสุ มผล 4.3.26 จดจำความสัมพันธ์ตา่ ง ๆ ของปัญหาและหลักการของคำตอบ ทีผ่ ่านมาไดด้ ี 4.3.27 เชื่อม่นั ในคำตอบหรอื หลกั เกณฑ์การคิดทางคณิตศาสตรข์ องตนเอง 4.3.28 มีความสามารถในการแกโ้ จทยป์ ญั หาเดยี วกันได้หลายรูปแบบ 4.3.29 ชอบโจทย์คณติ ศาสตรท์ ีย่ าก 4.3.30 มองเหน็ ความสมั พันธเ์ ชอื่ มโยงของโครงสรา้ งและความสมดุลของสิง่ ตา่ ง ๆ 4.3.31 มีแนวโนม้ ที่จะมองอะไร ๆ โยงมาเกี่ยวพันกับคณติ ศาสตรไ์ ด้หมด 4.4 ด้านวิทยาศาสตรม์ ีลกั ษณะดงั นี้ 4.4.1 กระหายใครร่ ู้วา่ สง่ิ ตา่ ง ๆ ทำงานได้อยา่ งไร 4.4.2 ชอบอา่ นหนังสอื เกีย่ วกับสง่ิ ประดษิ ฐห์ รือการผลติ สิ่งตา่ ง ๆ หรอื หนงั สือเก่ยี วกบั ธรรมชาตมิ ากกวา่ หนังสือนยิ าย 4.4.3 ชอบอา่ นประวตั นิ กั วทิ ยาศาสตร์และชื่นชมอยากเปน็ เหมอื นนกั วทิ ยาศาสตร์ทีต่ นชอบ
4.4.4 มีความสุขกบั การทำงานในกลุ่มเล็ก ๆ หรือทำงานคนเดียว 4.4.5 มีความเช่อื มน่ั ในตนเอง 4.4.6 ชอบอ่านหนงั สือประเภทสืบสวนและแก้เกมปญั หาตา่ ง ๆ 4.4.7 ชอบวิชาวทิ ยาศาสตร์ 4.4.8 มผี ลการเรยี นวิชาวทิ ยาศาสตรด์ ีกวา่ วิชาอื่น 4.4.9 อยากทำงานทางด้านวิทยาศาสตร์ 4.4.10 ใช้เวลาว่างทำสิ่งท่ีเก่ยี วข้องกับวิทยาศาสตร์ 4.4.11 ชอบคบหาพดู คยุ กบั ผู้ที่มีความสนใจทางวทิ ยาศาสตร์ (อาจเป็น คนวัยเดยี วกับหรอื ตา่ งวยั กไ็ ด้) 4.4.12 เป็นคนมีความอดทนสูง 4.4.13 มองเหน็ ปญั หาท่คี นอืน่ มองไม่เห็น 4.4.14 มองเห็นรูปแบบของสงิ่ ตา่ งๆ ในลกั ษณะของความสมดุลหรอื ไมส่ มดลุ 4.4.15 มองเหน็ โครงสรา้ งของส่ิงต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งง่ายดาย 4.4.16 เห็นความเชื่อมโยงของปรากฏการณ์ต่าง ๆ ทีเ่ กิดข้ึน 4.4.17 ชอบต้ังคำถามท่ตี อบไดย้ าก เช่น โลกเกดิ ได้อย่างไร ฯลฯ 4.4.18 อยากเรยี น อยากรู้ มคี ำถามมากมายตลอดเวลา 4.4.19 ชอบถอดของเลน่ ออกมาพสิ จู น์เป็นชิ้นๆ (บางทีอาจใสก่ ลบั เขา้ ไปอย่างเดิมไมไ่ ด)้ 4.4.20 มักคิดแล้วทดลองทำเพื่อดวู ่าอะไรจะเกิดขึ้น จะเป็นอย่างไรต่อไป หรือ 4.5.17 สามารถเข้าใจ ความหมายลึกซง้ึ ทแี่ ฝงอยใู่ นเรื่องทีอ่ ่านหรือฟงั ได้ 4.5.18 จักใชค้ ำเปรยี บเทียบเพอ่ื อธิบายใหเ้ ขา้ ใจความหมายได้แจม่ ชัด 4.5.19 มีความสามารถในการเล่าเรอื่ งไดอ้ ย่างสนกุ สนาน ชวนติดตาม 4.5.20 สามารถเรยี นภาษาตา่ ง ๆ ไดอ้ ย่างรวดเร็วและงา่ ยดาย 4.5.21 สามารถวิจารณเ์ ชงิ สรา้ งสรรคจ์ ากเร่ืองท่อี ่านหรอื ฟังได้ 4.5.22 สามารถแสดงแนวความคดิ ใหม่ ๆ จากเรอ่ื งทอ่ี า่ นหรอื ฟังได้ 4.5.23 ใชภ้ าษาที่ทำใหเ้ กิดจนิ ตนาการได้อยา่ งแจ่มชัดและมีสีสัน 4.5.24 ใชค้ ำบรรยายใหเ้ ห็นความงามและแสดงถึงอารมณ์ที่ละเอียดอ่อนได้ 4.5.25 ใช้ภาษาที่สละสลวย ลกึ ซงึ้ งดงาม และกา้ วหน้าเกนิ วยั 4.5.26 สามารถ เขยี นหรือแต่งเรื่องราวจากความคดิ ของตนเองหรือจากการ เชอ่ื มโยงสิ่งทอ่ี า่ นหรอื ฟังมา ได้อยา่ งสร้างสรรค์ สลับซับซอ้ น พิสดาร และเต็มไปดว้ ยจินตนาการ 4.5.27 ประสบความสำเร็จในการพูดทมี่ แี บบแผน เช่น การโต้วาที กลอนสด พูดชักชวน เป็นตน้ 4.5.28 สนใจและชอบศึกษาท่ีมาของคำศัพท์ต่าง ๆ 4.5.29 ชอบแสดงความคดิ เห็นเกยี่ วกับภาษาที่ตนเองใช้หรือภาษาทีไ่ ด้ ผา่ นพบ เช่น ภาษาในสื่อมวลชน 4.5.30 ชอบเลน่ เกมหรือทำกิจกรรมทางภาษา เชน่ ปรศิ นาอักษรไขว้ 4.5.31 ชอบสรา้ งศพั ท์หรอื สำนวนแปลก ๆ ขึน้ ใช้เอง 4.6 ดา้ นผู้นำ มลี ักษณะดังน้ี 4.6.1 มีความสนใจใฝร่ อู้ ยา่ งกวา้ งขวาง
4.6.2 ชอบเป็นผูน้ ำกล่มุ 4.6.3 เป็นคนมีอารมณ์ขนั 4.6.4 ชอบอาสาเป็นคนจดั การในทกุ เรื่อง 4.6.5 ชอบเล่นหรืออย่กู บั คนหม่มู าก 4.6.6 ไวตอ่ ความรสู้ ึกของผู้อน่ื 4.6.7 มีวธิ ีการสอ่ื สารและปฏบิ ตั กิ บั บคุ คลตา่ ง ๆ ได้อยา่ งเหมาะสมกับ สถานการณ์ 4.6.8 สามารถจับประเด็นปัญหาและเขา้ ถงึ ต้นเหตทุ แี่ ท้จรงิ ของปญั หาได้ อยา่ งรวดเรว็ 4.6.9 มกั ถกู เรยี กร้องจากกลุ่มให้เป็นผู้น าในการเลน่ เกมหรอื ท ากจิ กรรม ต่าง ๆ 4.6.10 เพื่อน ๆ ชอบที่จะเลน่ ด้วย 4.6.11 มีความสามารถในการตดั สนิ ใจ 4.6.12 สามารถวางแผนและจดั การเรื่องตา่ ง ๆ ไดด้ ี 4.6.13 มีความรับผิดชอบสงู เอาใจใสใ่ นงานและตัง้ ใจทำให้ดที สี่ ุด 4.6.14 สรา้ งศรัทธา ความเชื่อ และสามารถชกั จงู คนอ่ืนให้คลอ้ ยตามได้ 4.6.15 มมี นษุ ยสัมพันธท์ ด่ี ีกับทุกเพศ ทุกวัย ชอบทำความรจู้ กั กบั ผู้คน 4.6.16 เปน็ คนกว้างขวาง เปน็ ที่รจู้ ักและไดร้ ับการยอมรบั ในกล่มุ 4.6.17 ทำงานร่วมกบั ผู้อนื่ ได้ดี 4.6.18 ชอบทำงานหลายอย่างและทำอยา่ งทุ่มเทพรอ้ มท่จี ะรบั ความคิดใหม่ ๆ และคำวพิ ากษ์ วจิ ารณ์ 4.6.19 กล้าคิด กลา้ พูด กลา้ ทำ กลา้ รบั ผดิ ชอบ 4.6.20 กล้าแสดงความคดิ เห็นในชมุ ชน 4.6.21 สามารถควบคมุ การดำเนินงานในกล่มุ ให้บรรลุเป้าหมายได้ 4.6.22 มีความเชือ่ มน่ั ในตนเองสงู ไมว่ ่าจะอย่ใู นกลุ่มเพอ่ื นหรืออยใู่ นกล่มุ ผ้ใู หญ่ 4.6.23 ปรับ ตัวต่อสถานการณ์ใหม่ได้ดี (มีความคิดและการกระทำที่ยืดหยุ่น ควบคุมอารมณ์และ ความรู้สึกได้ หนักแน่นไม่หวั่นไหวง่าย เช่น ไม่รู้สึกรำคาญหรืออารมณ์เสียเม่ือมีอะไรเปลี่ยนแปลงไปจากกิจวัตร ประจำวนั ) 4.6.24 มคี วามเข้าใจลกึ ซ้ึงและวอ่ งไวในเร่อื งเหตผุ ลและผลท่เี กยี่ วข้องกบั พฤตกิ รรมของคน 4.6.25 ชอบคบคดิ ปัญหายาก ๆ เก่ยี วกบั สังคม (อาจเป็นสงั คมในบา้ น โรงเรียน หรือชมุ ชนกไ็ ด)้ 4.6.26 ไมย่ อมจำนนต่อปัญหาหรืออปุ สรรคใด ๆ 4.6.27 รู้จกั ใชห้ ลักการหรอื แนวคิดใหม่ ๆ ในการแกป้ ัญหา 4.6.28 มีความ คิดริเรม่ิ สรา้ งสรรค์ทางการจัดระบบทางสังคม (เช่น เมื่อเหน็ ความไม่ยุตธรรมอาจริเร่ิม นำกลุม่ เพ่อื หาทางแกไ้ ข โดยไม่ปล่อยให้ ผา่ นไป ฯลฯ) 4.6.29 แกป้ ัญหาเฉพาะหนา้ ไดด้ ี 4.6.30 กล้าเสี่ยง 4.6.31 สนุกกับงานท่ตี อ้ งตดั สินใจ 4.6.32 รู้จกั ใช้ขอ้ มูลจากแหล่งต่าง ๆ ใหเ้ ป็นประโยชน์ 4.6.33 รักความยตุ ธิ รรม
4.7 ดา้ นศิลปะ มีลักษณะดงั น้ี 4.7.1 ชอบหาเวลาว่างขีดเขียน วาดภาพ แกะสลักหรือท ากิจกรรมเกี่ยวกับ ศิลปะสนใจเร่ืองสี ความ งดงามของภาพวาดหรืองานทางศลิ ปะ 4.7.2 ชอบและสนใจรว่ มกิจกรรมทางศลิ ปะ 4.7.3 มสี มาธนิ านถา้ ทำงานศลิ ปะ 4.7.4 หมกมุน่ กับงานศลิ ปะอยา่ งจรงิ จังและมคี วามสุขทไ่ี ด้ทำงานศลิ ปะ 4.7.5 สนใจงานทางศิลปะ 4.7.6 ชอบอ่านประวัติและผลงานของศลิ ปินทีม่ ชี ่ือเสียงแขนงต่าง ๆ 4.7.7 ชอบแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับงานศลิ ปะ 4.7.8 ชอบสะสมผลงานด้านศิลปะ 4.7.9 อยากจะประกอบอาชพี ทางศิลปะ เช่น เปน็ นักแสดง จติ รกร เป็นต้น 4.7.10 มีจนิ ตนาการดี สามารถมองเหน็ ส่ิงตา่ ง ๆ ไดห้ ลายมิติ 4.7.11 มีประสาทสัมผสั มือ - ตา ดีเยยี่ มตงั้ แตเ่ ยาว์วัย 4.7.12 มีทกั ษะการวาดหรอื ขีดเขียนเส้นก้าวหน้ากว่าเพอื่ น ๆ 4.7.13 มคี วามคดิ และความรูส้ ึกท่เี ป็นอิสระ 4.7.14 มีความสามารถในการสร้างผลงานด้านศลิ ปะ (เช่น ภาพวาด งานปั้น งานแกะสลัก เป็นต้น) ได้ อยา่ งสรา้ งสรรคก์ วา่ ผอู้ ื่น 4.7.15 สามารถใชก้ ิริยาทา่ ทางเพื่อสือ่ อารมณค์ วามรสู้ ึกนกึ คดิ ของตน ให้ผู้อ่นื เขา้ ใจไดเ้ ปน็ อย่างดี 4.7.16 แสดงออกถึงความสามารถในการจติ นาการอยา่ งโดดเด่น 4.7.17 สามารถดัดแปลงวัสดุให้เปน็ งานศลิ ปะได้ 4.7.18 สามารถผสมผสานความคิด จนิ ตนาการ และอารมณอ์ อกมาเปน็ งานศลิ ปะ ทกี่ ระต้นุ ความรู้สกึ และอารมณข์ องผพู้ บเหน็ ได้ 4.7.19 ออกแบบท่ารำ ท่าเต้น ไดเ้ หมาะกับเพลง 4.7.20 มรี สนิยมกบั งานศลิ ปะ 4.7.21 มีความเชื่อมัน่ ตัวเองสงู เมื่อท างานศิลปะ 4.7.22 มคี วามสามารถท่จี ะทำเร่ืองธรรมดาให้เปน็ งานศิลปะทีพ่ เิ ศษขน้ึ ได้ 4.7.23 มลี กั ษณะงานเฉพาะตวั และมีวิธีสรา้ งงานทางศิลปะอยา่ งไมซ่ ้ำแบบ ซึ่งอาจ แตกต่างจากประเพณนี ยิ มหรือทป่ี ฏิบตั มิ า 4.7.24 มคี วามรสู้ กึ ไวเป็นพเิ ศษต่อส่ิงแวดล้อม เปน็ นกั สังเกตทีเ่ ฉียบแหลม มองเห็น ความผิดปรกตใิ นเรอื่ งที่คนอื่นมองข้ามไป 4.7.25 มีอารมณ์ออ่ นไหว 4.8 ดา้ นดนตรี มลี ักษณะดงั นี้ 4.8.1 ชอบดนตรีเปน็ ชวี ิตจติ ใจ 4.8.2 กระตอื รือรน้ ทีจ่ ะเขา้ รว่ มกิจกรรมทางดนตรี 4.8.3 ชอบศกึ ษา ตดิ ตามประวตั ิและผลงานของนักดนตรีทมี่ ีชือ่ เสยี ง
4.8.4 ชอบใช้เวลาวา่ งใหก้ ับดนตรี (อาจเปน็ การรอ้ งการเลน่ ดนตรี หรือ แตง่ เพลง) 4.8.5 อยากแสดงดนตรีไมว่ ่าจะเป็นการรอ้ งเพลงหรือเล่นเคร่อื งดนตรี 4.8.6 ติดตามรายการแสดงดนตรีและเข้ารว่ มฟังทุกครั้งทม่ี โี อกาส 4.8.7 ชอบคบหาพูดคุยกบั คนท่ีมคี วามสนใจทางดนตรี 4.8.8 สนใจที่จะศึกษาค้นคว้าหาความรเู้ กย่ี วกับดนตรีเพมิ่ ขน้ึ ดว้ ยตนเอง 4.8.9 ฝกึ ซ้อมเล่นดนตรีหรอื รอ้ งเพลงเปน็ ประจำ 4.8.10 สมัครประกวดเล่นดนตรีหรือรอ้ งเพลงทุกคร้งั ทีม่ ีโอกาส 4.8.11 อยากเปน็ นกั ดนตรหี รือนกั รอ้ งทมี่ ีชื่อเสยี ง 4.8.12 สะสมเพลงและข่าวในวงการเพลง 4.8.13 ชอบสะสมของทีร่ ะลึกหรือของใชเ้ ก่ยี วกับดนตรี เชน่ เข็มกลดั รูป ตวั โนต้ ฯลฯ 4.8.14 สนใจอยากจะมีอาชพี ทางดนตรี เช่น เปน็ นักรอ้ ง นักดนตรี นักแตง่ เพลง ฯลฯ 4.8.15 สามารถเรยี นร้ทู ี่จะเลน่ เครื่องดนตรีชนดิ ต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ 4.8.16 สามารถรบั ร้แู ละเลยี นเสียงตา่ ง ๆ ได้อยา่ งรวดเร็ว แม่นยำ 4.8.17 สามารถเล่นดนตรตี ามเสียงเพลงท่ไี ด้ยินได้ 4.8.18 มคี วามเขา้ ใจและสามารถทจ่ี ะใช้เสียงตา่ ง ๆ ใหบ้ ังเกดิ ตอ่ ความรสู้ กึ ของคนอนื่ 4.8.19 เตน้ เคล่ือนไหว โยกหวั หรอื ปรบมือสอดคล้องกบั จงั หวะเสยี งเพลง ได้เปน็ อยา่ งดี 4.8.20 สามารถแยกแยะเพลงทมี่ ีท่วงทำนองคล้ายกนั ได้อย่างแม่นยำ 4.8.21 สามารถบอกไดว้ า่ เพลงท่ีได้ยนิ เล่นด้วยเครื่องดนตรชี นิดใด 4.8.22 มีความมน่ั ใจในการวเิ คราะหเ์ พลงทีฟ่ งั ได้วา่ เพลงใด \"ดี\" หรือ \"ไม่ดี\" 4.8.23 รบั รู้ความแตกต่างของเสยี งดนตรไี ดอ้ ย่างละเอียดทั้งระดบั เสยี ง ความดงั และจังหวะ 4.8.24 สามารถสนองตอบตอ่ จงั หวะดนตรีดว้ ยการเคล่อื นไหวรา่ งกาย 4.8.25 มคี วามเช่อื มั่นที่จะเลน่ ดนตรหี รอื รอ้ งเพลง 4.8.26 สามารถริเรม่ิ สรา้ งทว่ งทำนองได้ 4.8.27 ปรบั ท่วงทำนอง เนื้อรอ้ งให้เป็นไปตามตอ้ งการได้ 4.8.28 ดัดแปลงวัสดุเหลือใชใ้ ห้เป็นเคร่ืองดนตรีงา่ ย ๆ ได้ 4.8.29 จำเน้ือเพลงไดแ้ ม่นยำ 4.8.30 คดิ ริเร่ิมแตง่ เพลงใหม่ ๆ 4.8.31 รู้วา่ ตนเองมีความสามารถทางดนตรดี า้ นใดเปน็ พเิ ศษ 4.9 ด้านกีฬา มีลกั ษณะดังน้ี 4.9.1 สนุกสนานกบั การเคลอ่ื นไหว ออกกำลัง เชน่ การวิ่ง การกระโดด การปีนปา่ ย ฯลฯ 4.9.2 สนใจอา่ นและติดตามขา่ วกฬี าหรือนักกฬี าทีต่ นเองชอบ 4.9.3 กระตือรือร้นที่จะเข้าร่วมกิจกรรมกีฬา 4.9.4 ชอบใช้เวลาวา่ งในการเล่นกฬี า 4.9.5 เป็นผู้มีสุขภาพรา่ งกายแข็งแรง 4.9.6 มีสมาธใิ นการเลน่ กฬี าได้ แมจ้ ะมเี สียงรบกวน เช่น เสียงเชยี รห์ รอื เสยี งโห่ ฮาของผ้ชู ม
4.9.7 สนใจหาความรูเ้ ร่ืองการออกกำลังกาย 4.9.8 แสดงความสนใจทีจ่ ะมีอาชพี ทางการกฬี า 4.9.9 มคี วามสามารถในการเลน่ ท่าพ้นื ฐานของกีฬาประเภทตา่ ง ๆ ได้ 4.9.10 ชอบคดิ วิธีใหม่ ๆ มาใชก้ ับการเลน่ กีฬา 4.9.11 เรยี นรู้การใชเ้ ครอ่ื งมอื ทางกีฬาได้เร็วกว่าเด็กวัยเดียวกนั 4.9.12 มีความสามารถในการควบคุมความสมดุลของร่างกายได้อย่าง โดดเด่น เช่นกระโดดยอง ๆ ขาเดยี ว เดินบนเสน้ ตรง 4.9.13 มีความสามารถในการกำหนดทศิ ทาง ระยะทาง และเวลาได้ดี 4.9.14 มคี วามอดทนในการซอ้ มกีฬา 4.9.15 สามารถเลน่ กฬี าประเภทใดประเภทหนึ่งไดเ้ ป็นอย่างดี 4.9.16 มลี กั ษณะการเล่นกฬี าที่เป็นเอกลักษณเ์ ฉพาะตัว 4.9.17 ชอบเล่นกีฬา 4.9.18 ชอบทำงานหรอื กจิ กรรมท่ีใช้การเคลอ่ื นไหวร่างกายมากกวา่ งานหรอื กจิ กรรมท่ีใชท้ ักษะดา้ นอน่ื 4.9.19 สามารถแก้ปญั หาเฉพาะหน้าในการเลน่ กฬี าได้เปน็ อย่างดี 4.9.20 มคี วามเชอ่ื มนั่ ในตนเองเมื่อเล่นกฬี า 4.9.21 ได้รับเลือกเปน็ ตัวแทนแข่งขันกีฬา 4.9.22 มีลักษณะพเิ ศษทางร่างกายที่เปน็ ศักยภาพพ้ืนฐานทางกฬี าได้อย่างดี (เช่น มีกล้ามเนื้อแขง็ แรง ช่วงขาท่ยี าวเหมาะท่จี ะเป็นนกั วงิ่ หรอื มรี ่างกายยดื หยุ่นเหมาะสมท่จี ะเป็นนักยมิ นาสติก เปน็ ต้น) 4.9.23 มคี วามสามารถทจี่ ะควบคมุ รา่ งกายใหเ้ คลื่อนไหวได้อย่างคล่องแคลว่ วอ่ งไว 4.9.24 มคี วามสามารถเรยี นร้แู ละจดจำส่งิ ตา่ ง ๆ ดว้ ยการเคล่อื นไหวร่างกายได้ดีกวา่ การใชว้ ธิ อี ื่น สรปุ ผรู้ ับบรกิ ารศูนย์แนะแนวและประสานงานการศึกษาพเิ ศษอำเภอ/เขต มผี ้รู บั บรกิ าร 4 กลมุ่ ประกอบด้วย 1) กลุม่ ผดู้ ้อยโอกาส 2) กลมุ่ ผู้พลาดโอกาส 3) กล่มุ ผ้ขู าดโอกาส และ 4) กลุ่มผมู้ ี ความสามารถพิเศษ ซ่ึงผูบ้ รหิ ารและบุคลากรทเี่ กี่ยวขอ้ ง ต้องศึกษาความร้พู ้ืนฐานท่เี ก่ยี วข้องกบั กล่มุ ผู้รับบริการทั้ง 4 กลุ่ม เพื่อสามารถให้คำปรึกษา แนะแนว และการประสานงานส่งต่อ เป็นผลให้ ผู้รบั บรกิ าร ได้เขา้ ถึงโอกาสทางการศกึ ษาและด้านสวสั ดกิ ารอยา่ งเท่าเทียมและมปี ระสิทธิภาพ ตอ่ ไป
บทท่ี 3 แนวทางและบทบาทหนา้ ที่การดำเนินงาน ศนู ย์แนะแนวและประสานงานการศกึ ษาพิเศษอำเภอเมอื งปทมุ ธานี การดำเนนิ งานศนู ยแ์ นะแนวและให้คำปรกึ ษาอำเภอเมอื งปทมุ ธานี มีรายละเอยี ดดังน้ี 1. แนวทางการจัดตั้งศูนย์แนะแนวและใหค้ ำปรึกษาอำเภอเมืองปทมุ ธานี 1.1 สถานศกึ ษาจดั ใหม้ ี “ศูนยแ์ นะแนวและให้คำปรกึ ษาอำเภอเมืองปทมุ ธานี” 1.2 การจัดตั้งศูนย์แนะแนวและให้คำปรึกษาอำเภอเมืองปทุมธานี เป็นอำนาจของสำนักงานส่งเสริม การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จังหวัดปทุมธานี โดยออกเป็นประกาศสำนักงานสง่ เสรมิ การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จงั หวดั /กรุงเทพมหานคร 13 การจัดตั้งศูนย์แนะแนวและให้คำปรึกษาอำเภอเมืองปทุมธานีพิจารณาสถานที่จัดตั้งที่เหมาะสม โดยมเี กณฑพ์ ิจารณาเบ้อื งต้น ดงั ต่อไปน้ี 1) เป็นสถานท่ี ทีส่ ะดวกในการรบั บรกิ าร 2) จัดให้มมี มุ ใหค้ ำปรกึ ษา แนะแนวในสถานศกึ ษา หรือสว่ นใดส่วนหนึง่ ของสถานศกึ ษา 3) จัดใหม้ ีป้ายศนู ยแ์ นะแนวและให้คำปรกึ ษาอำเภอเมืองปทมุ ธานี ตามความเหมาะสมสามารถ มองเหน็ ไดช้ ดั เจน 4) ศนู ยแ์ นะแนวและใหค้ ำปรกึ ษาอำเภอเมืองปทมุ ธานี อาจมมี ากกวา่ 1 แหง่ ตามความ พร้อมของสถานศึกษา 2. แนวทางการดำเนินงานศูนย์แนะแนวและให้คำปรึกษาอำเภอเมืองปทุมธานี แนวทางการดำเนนิ งานศูนยแ์ นะ แนวและให้คำปรกึ ษาอำเภอเมืองปทมุ ธานี มรี ายละเอียดในการดำเนนิ งาน ดังนี้ 2.1 ประชุม ชแี้ จงทำความเขา้ ใจแนวทางในการให้บริการของศนู ยแ์ นะแนวและใหค้ ำปรกึ ษาอำเภอเมือง ปทมุ ธานี ให้กับบคุ ลากรทุกคน 2.2 สถานศกึ ษามอบหมายบคุ ลากรรับผดิ ชอบอย่างชัดเจน 2.3 การประชาสัมพันธ์ ให้หน่วยงาน สถานศึกษาประชาสัมพันธ์ศูนย์แนะแนวและให้คำปรึกษาอำเภอ เมอื งปทุมธานี อย่างหลากหลาย เชน่ แผน่ พบั วิทยชุ มุ ชน หอกระจายขา่ ว การประชุมกำนนั /ผูใ้ หญ่บา้ น ฯลฯ 2.4 จดั ระบบข้อมูลสารสนเทศเพ่อื การใหบ้ รกิ าร 2.5 การใหค้ ำปรึกษา แนะแนว และประสานการสง่ ตอ่ ตามขนั้ ตอน 2.6 จดั ทำสรุปรายงานผลการดำเนนิ งาน 3.1 หนว่ ยงาน/สถานศึกษา ในสงั กดั สำนกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 3.1.1 สำนักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มีหนา้ ทีด่ งั นี้ 1) ส่งเสริม สนับสนุนทรัพยากรการดำเนินงานศูนย์แนะแนวและให้คำปรึกษาอำเภอเมือง ปทมุ ธานี 2) จดั ทำแนวทางการดำเนินงาน 3) ประชุมชแี้ จงมอบนโยบาย 4) ประสานภาคเี ครือขา่ ย 5) จดั ทำระบบขอ้ มูลสารสนเทศ
6) กำกบั ตดิ ตามการดำเนนิ งาน 7) ประเมนิ ผลการดำเนินงาน 3.1.2 สำนักงานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจงั หวัดปทมุ ธานี มหี นา้ ท่ีดังนี้ 1) ชี้แจงแนวทางการดำเนินงานศูนย์แนะแนวและให้คำปรึกษาอำเภอเมืองปทุมธานี ให้กับ สถานศกึ ษาและภาคีเครอื ขา่ ย 2) สนับสนนุ ทรัพยากรในการดำเนินงาน 3) พัฒนาบคุ ลากรทเ่ี กยี่ วข้องกับการดำเนนิ งาน 4) ประสานภาคีเครือขา่ ย 5) จัดทำระบบขอ้ มูลสารสนเทศ 6) ประชาสัมพนั ธ์ 7) สรา้ งขวญั กำลงั ใจ 8) กำกับ ตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการดำเนนิ งาน 3.1.3 ศูนยแ์ นะแนวและให้คำปรึกษาอำเภอเมืองปทุมธานี มหี น้าทด่ี งั น้ี 1) ประชุม ชแ้ี จง สรา้ งความเขา้ ใจแนวทางการดำเนนิ งาน 2) จัดหาสถานที่ วสั ดุ อปุ กรณ์ในการดำเนนิ งาน 3) แต่งตง้ั มอบหมายบุคลากรผรู้ ับผดิ ชอบ 4) ส่งเสรมิ สนบั สนนุ บคุ ลากรให้ได้รบั การพัฒนาอยา่ งตอ่ เน่ือง 5) จดั ทำระบบข้อมูลสารสนเทศ 6) ประสานงานภาคเี ครือข่าย 7) สรา้ งขวัญกำลังใจ 8) ติดตาม สรปุ และรายงานผลการดำเนนิ งาน 3.2 หน่วยงาน/สถานศึกษา/ภาคีเครือขา่ ยท่เี ก่ียวขอ้ งกบั การจดั การศึกษา 3.2.1 สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน มหี น้าที่ ส่งเสรมิ สนับสนุน เผยแพร่ประชาสัมพันธ์การดำเนินงานของศูนย์แนะแนวและให้คำปรึกษาอำเภอเมืองปทุมธานี โดยมีหน่วยงาน / สถานศกึ ษาในสังกัด ดังน้ี 1) สำนักบรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ มีหน้าที่ สง่ เสริมสนบั สนนุ เผยแพร่ ประชาสมั พันธ์ การดำเนนิ งานของศูนยแ์ นะแนวและให้คำปรกึ ษาอำเภอเมอื งปทุมธานี โดยมีสถานศึกษาในสังกัดสำนกั บรหิ ารงาน การศึกษาพเิ ศษ ทจ่ี ัดการศึกษาให้กับเดก็ พิการและเดก็ ด้อยโอกาส จำแนกไดเ้ ป็น 4 กล่มุ ดงั นี้ 1.1) โรงเรียนเฉพาะความพิการ เปน็ โรงเรียนทีจ่ ัดการศกึ ษาให้กบั คนพิการประเภทน้ัน ๆ รายละเอยี ด ดังน้ี 1.1.1) ประเภทบคุ คลทีม่ ีความบกพร่องทางสติปัญญา (โรงเรียนปญั ญานกุ ูล) รบั นักเรียนทม่ี ี ความบกพร่องทางสตปิ ญั ญา แบบอยู่ประจำ 1.1.2) ประเภทบุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยนิ (โรงเรยี นโสตศกึ ษา) 1.1.3) ประเภทบุคคลทีม่ ีความบกพร่องทางการเหน็ (โรงเรียนสอน คนตาบอด) รับนักเรียนที่มี ความบกพรอ่ งทางการเห็น
1.1.4) ประเภทบกพรอ่ งทางร่างกายและการเคลือ่ นไหว รับนักเรียนท่ีมีความบกพรอ่ งทางการ เคลอื่ นไหว แบบอยูป่ ระจำ 1.2) โรงเรยี นศึกษาสงเคราะห์ รับนักเรียนประเภทเด็กยากจน (มากเป็นพิเศษ) เด็กที่มีปัญหา เกี่ยวกับยาเสพตดิ เดก็ ท่ถี กู ทอดทิง้ และกำพร้า เด็กท่ถี กู ทำร้ายอย่างทารณุ เดก็ ทไ่ี ด้รบั ผลกระทบจากโรค เอดสห์ รอื โรคตดิ ต่อร้ายแรงฯ เด็กในชนกลมุ่ นอ้ ย เด็กเรร่ อ่ น เปดิ ทำการสอนต้ังแต่ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ถงึ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 เป็นโรงเรยี นประเภทอยปู่ ระจำ และไป-กลบั 1.3) โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ รับนักเรียนประเภทเป็นเด็กด้อยโอกาส ทางการศึกษาที่ กระทรวงศึกษาธิการก าหนด คอื เดก็ ยากจน (มากเป็นพเิ ศษ) เด็กท่มี ีปัญหาเก่ยี วกับ ยาเสพติดเด็กท่ีถูก ทอดทิ้ง เด็กที่ถูกทำร้ายอย่างทารุณ เด็กที่ได้รับผลกระทบจากโรคเอดส์หรือโรคติดต่อร้ายแรง ที่สังคม รังเกียจ เด็กในชนกลุ่มน้อย เด็กเร่ร่อน เด็กถูกบังคับให้ขายแรงงานหรือแรงงานเด็ก เด็กที่อยู่ในธุรกิจ บริการทางเพศหรือโสเภณี เด็กในสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน เด็กที่อยู่ในธุรกิจบริการทาง เพศหรอื โสเภณีเดก็ ในสถานพินิจและคมุ้ ครองเดก็ 1.4) ศูนย์การศึกษาพเิ ศษ เปน็ สถานศึกษาทจ่ี ัดการศึกษานอกระบบหรอื การศึกษาตามอัธยาศัย แก่คนพิการ ต้ังแตแ่ รกเกิดหรือแรกพบความพกิ ารจนตลอดชีวติ และจัดการศึกษาอบรมแกผ่ ูด้ แู ลคนพิการ ครู บคุ ลากรและชุมชน รวมทั้งการจัดสอ่ื เทคโนโลยี สิ่งอ านวยความสะดวก บรกิ ารและความช่วยเหลือ อื่นใดทางการศึกษา และยังมีโรงเรยี นศึกษาสงเคราะหแ์ ละโรงเรียนราชประชานุเคราะห์สังกัดสำนักงาน เขตพน้ื ท่กี ารประถมศึกษา มธั ยมศึกษา 2) โรงเรียนส่งเสริมความสามารถพเิ ศษ 2.1 โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลัย ในพระบรมราชปู ถัมภ์ จงั หวดั นครปฐม โรงเรียนสิรินธรราช วิทยาลัย จังหวัดนครปฐม โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยากรุงเทพมหานคร จังหวัดปทุมธานี โรงเรียนบรม ราชินีนาถราชวิทยาลัย จังหวัดราชบุรี โรงเรียนมกุฎเมืองราชวิทยาลัย จังหวัดระยอง โรงเรียนกาญจนา ภิเษกวิทยาลยั (จำนวน 9 แห่ง) โรงเรียนเฉลิมพระเกยี รติสมเด็จพระศรีนครินทร์ (จำนวน 12 แห่ง) ซึ่ง เป็นโรงเรียนที่มีวัตถุประสงค์พิเศษให้รับนักเรียนตามวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งโรงเรียน โดยพิจารณา คดั เลอื กนกั เรยี นจากการสอบและใชแ้ บบทดสอบวัดความสามารถทางวชิ าการของโรงเรยี น 2.2 โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย (จำนวน 12 แห่ง) ซึ่งเป็นโรงเรียนที่มีวัตถุประสงค์พิเศษ เปน็ โรงเรียนสอนดา้ นวทิ ยาศาสตร์ 3) โรงเรียนเรียนรวม ที่จัดการเรียนการสอนนักเรียนพิการ ด้อยโอกาส และนักเรียนที่มี ความสามารถพิเศษ เข้ามาเรียนรวม (ข้อมูลการเรียนรวมสามารถติดต่อได้ที่สำนักงานเขตพื้นที่การ ประถมศกึ ษา/มธั ยมศกึ ษา) 3.2.2 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน มีหน้าที่ ส่งเสริม สนับสนุน เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์การดำเนินงานของศูนย์แนะแนวและประสานงานการศึกษาพิเศษอำเภอ/เขต โดยมี หน่วยงาน/สถานศกึ ษาในสังกัด 2 ประเภท ดงั น้ี 1) โรงเรียนในระบบ มี 2 ประเภท ได้แก่ ประเภทสามัญศึกษา และนานาชาติเช่น โรงเรียน กำเนิดวิทย์สำหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย
2) โรงเรียนนอกระบบ มี 7 ประเภท ได้แก่ ประเภทสอนศาสนา ศิลปะและกฬี า วิชาชีพ สร้างเสริมทักษะชีวิต กวดวิชา สถานศึกษาปอเนาะ และศูนย์การศึกษาอิสลามประจำ มสั ยิด (ตาดกี า) 3.2.3 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาอาชีวศึกษา มีหน้าที่ ส่งเสริม สนับสนุนเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์การดำเนินงานของศูนย์แนะแนวและประสานงานการศึกษาพิเศษอำเภอ/เขต มี สถาบันการศึกษา/สถานศึกษาในสังกดั ท่ีเน้นการจัดการศึกษาเพ่ือการประกอบอาชีพ การมงี านท า เช่น วิทยาลัยการอาชีพ วิทยาลัยอาชีวศึกษา วิทยาลัยเทคนิค วิทยาลัยสารพัดช่าง วิทยาลัยเกษตร และเทคโนโลยี วิทยาลยั เทคโนโลยีและอุตสาหกรรมการต่อเรอื วทิ ยาลัยเทคโนโลยแี ละการจดั การการไฟฟ้าฝ่าย ผลติ แม่เมาะ ฯลฯ นอกจากน้นั ยังมสี ถาบันอาชีวศึกษาทดี่ ำเนินการโดยสถาบนั /สถานศึกษาเอกชน 3.2.4 กระทรวงมหาดไทย มีหน้าที่ ส่งเสริม สนับสนุน เผยแพร่ ประชาสัมพนั ธ์การดำเนินงาน ของศนู ยแ์ นะแนวและประสานงานการศกึ ษาพเิ ศษอำเภอ/เขต โดยมีหนว่ ยงาน/สถานศกึ ษาในสงั กดั เช่น โรงเรยี นเทศบาล โรงเรยี นสังกดั องค์การบรหิ ารส่วนจังหวดั โรงเรยี นกีฬา ฯลฯ 3.2.5กระทรวงการทอ่ งเท่ยี วและกีฬา มหี นา้ ที่ ส่งเสรมิ สนบั สนุน เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์การ ดำเนินงานของศูนย์แนะแนวและให้คำปรึกษาอำเภอเมืองปทุมธานี เขต โดยมีสถาบันการพลศึกษาใน สงั กดั ทจี่ ดั การเรียนการสอน 3.2.6 กรงุ เทพมหานคร มหี น้าที่ สง่ เสริม สนับสนุน เผยแพร่ ประชาสมั พันธ์ การดำเนินงานของศูนย์แนะแนวและให้คำปรึกษาอำเภอเมืองปทุมธานี โดยมีสถานศึกษาใน สังกดั จัดการเรยี นการสอน 3..2.7 โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์องค์การมหาชน จัดการเรียนการสอนสำหรับนักเรียนที่มี ความสามารถพิเศษด้านวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 3.3 หนว่ ยงานภาคเี ครือขา่ ยทเี่ กี่ยวข้องกับการใหบ้ ริการทางดา้ นสวัสดกิ าร 3.3.1 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์มหี น้าที่ส่งเสรมิ สนับสนุน เผยแพร่ ประชาสัมพนั ธ์การดำเนนิ งานของศนู ย์แนะแนวและให้คำปรกึ ษาอำเภอเมอื งปทมุ ธานี โดยมีหนว่ ยงานใน สงั กัดดังนี้ 1) กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพกิ าร มหี น้าทใี่ นการทำบัตรประจำตวั คนพิการ การบริการผู้ช่วยคนพิการ การรับคนพิการเข้าสถานคุ้มครอง การฝึกอาชีพ บริการล่ามภาษามือ เครื่อง ช่วยเหลอื ความพิการ เงินสงเคราะห์ และให้บรกิ ารกยู้ มื เงินจากกองทนุ สง่ เสรมิ และพัฒนาคุณภาพชีวิตคน พกิ าร 2) กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ มีหน้าที่ให้ความช่วยเหลือและคุ้มครองสวัสดิภาพแก่ ผดู้ ้อยโอกาส ผพู้ ลาดโอกาสและผขู้ าดโอกาส 3) กรมกจิ การเดก็ และเยาวชน มหี น้าทีส่ ง่ เสรมิ และพัฒนาศกั ยภาพของเด็กและเยาวชน การคมุ้ ครองและพทิ ักษส์ ทิ ธิเด็กและเยาวชน การสง่ เสริมสวสั ดิการเด็ก เยาวชนและครอบครวั 4) กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว มีหน้าที่เสรมิ สร้างความเสมอภาคและความเท่าเทยี ม ระหว่างเพศ การคุ้มครองและพทิ ักษส์ ิทธิสตรีและผู้แสดงออกที่แตกต่างจากเพศโดยกำเนิด การป้องกัน
การคา้ ประเวณีและคมุ้ ครองผูป้ ระสบปัญหาจากการค้าประเวณี การคุ้มครองสวสั ดิการบุคคลในครอบครัว การสรา้ งความเขม้ แข็งให้สถาบนั ครอบครวั 5) กรมกจิ การผูส้ งู อายุ มีหน้าที่ดแู ลผูส้ งู อายุดา้ นสวสั ดกิ าร เชน่ สิทธทิ างการแพทย์ ดา้ นการศึกษา การศาสนา การประกอบอาชีพ การพฒั นาตนเองและการมีส่วนรว่ มทางสังคม การอำนวย ความสะดวกและความปลอดภัย ค่าพาหนะในการเดินทาง และการสงเคราะห์เบี้ยยังชีพ ฯลฯทั้งนี้ผู้ ให้บริการสามารถติดต่อประสานงานขอข้อมูลได้ที่สำนักงานพฒั นาสงั คมและความมัน่ คงของมนุษย์ในแต่ ละจงั หวัด 3.3.2 กระทรวงสาธารณสขุ มีหนา้ ที่สง่ เสรมิ สนบั สนุน เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ การดำเนินงาน ของศูนยแ์ นะแนวและใหค้ ำปรกึ ษาอำเภอเมืองปทมุ ธานี โดยมหี นว่ ยงานที่ใหบ้ ริการเกยี่ วกับ 1) ด้านสุขภาพจิต เก่ียวกับปัญหายาเสพตดิ บ าบัดรกั ษาและฟ้ืนฟสู มรรถภาพ รวมทัง้ ใหบ้ รกิ าร ด้านสุขภาพจิตและผู้มีปัญหาสุขภาพจิต โดยมีสถาบันที่ให้บริการ คือ สถาบันกัลป์ยาณ์ ราชนครินทร์ สถาบนั จติ เวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา สถาบันราชานกุ ูล โรงพยาบาลศรีธญั ญา โรงพยาบาลยุวประสาท ไวทโยปถัมภ์ สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์ สถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ และมี โรงพยาบาลจิตเวช ได้แก่ โรงพยาบาลสวนปรุง จังหวัดเชียงใหม่ โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ จังหวัด อุบลราชธานี โรงพยาบาลสวนสราญรมย์ จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี โรงพยาบาลจติ เวชขอนแก่นราชนครินทร์ จงั หวดั ขอนแก่น โรงพยาบาลจติ เวชนครราชสมี าราชนครนิ ทร์ จังหวดั นครราชสมี า โรงพยาบาลจิตเวช นครสวรรค์ราชนครินทร์ จังหวัดนครสวรรค์โรงพยาบาลจิตเวชสระแก้วราชนครินทร์ จังหวัด สระแก้ว โรงพยาบาลจิตเวชนครพนมราชนครินทร์ จังหวัดนครพนม โรงพยาบาลจิตเวชสงขลาราช นครนิ ทร์ จงั หวดั สงขลา และโรงพยาบาลจิตเวชเลยราชนครนิ ทร์ จงั หวดั เลย 2) ด้านสขุ ภาพร่างกาย สามารถเขา้ รับบรกิ ารไดท้ โ่ี รงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบล โรงพยาบาล ประจำอำเภอ โรงพยาบาลประจำจังหวัด โรงพยาบาลที่ให้บริการและรักษาเฉพาะโรคแนวทางการ ดำเนินงานศนู ยแ์ นะแนวและให้คำปรึกษาอำเภอเมืองปทุมธานีผู้ให้บริการสามารถติดตอ่ ประสานงานขอ ขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ ได้ท่สี ำนกั งานสาธารณสขุ อำเภอ และสำนักงานสาธารณสขุ จงั หวัดทกุ แห่ง 3.3.3 กระทรวงมหาดไทย มีหน้าที่ส่งเสริม สนับสนุน เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์การดำเนินงาน ของศูนย์แนะแนวและใหค้ ำปรึกษาอำเภอเมอื งปทุมธานี มีหน่วยงานที่ให้บริการเกี่ยวกับการบำบัดทกุ ข์ บำรุงสุข การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน การทะเบียนราษฎร ความมั่นคงภายใน กิจการ สาธารณภัย การอำนวยความเป็นธรรมของสงั คม โดยมหี น่วยงานท่ีใหบ้ ริการ ไดแ้ ก่ สำนักงานจังหวัด ปกครองจังหวัด ที่ว่าการอำเภอ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่ทำการกำนนั / ผ้ใู หญ่บา้ น 3.3.4 กระทรวงแรงงาน มหี นา้ ทีส่ ่งเสริม สนับสนนุ เผยแพร่ ประชาสมั พันธ์การดำเนินงาน ของศูนย์แนะแนวและให้คำปรกึ ษาอำเภอเมอื งปทุมธานี มีหนว่ ยงานท่ใี หบ้ ริการเกี่ยวกบั สวสั ดกิ ารและ ค้มุ ครองแรงงาน พฒั นาฝีมือแรงงาน สง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชนมงี านท า โดยมีหน่วยงานให้บรกิ าร ได้แก่ สำนักงานสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงานจงั หวดั สำนักงานจดั หางานจังหวัด สถาบันพัฒนาฝมี อื แรงงาน สำนกั งานประกนั สงั คมจงั หวดั เป็นตน้ 3.3.5 กรงุ เทพมหานคร มหี นา้ ทส่ี ่งเสริม สนบั สนนุ เผยแพร่ ประชาสมั พนั ธก์ ารดำเนนิ งาน
ของศนู ยแ์ นะแนวและประสานงานการศึกษาพิเศษอำเภอ/เขต โดยมหี น่วยงานท่ีใหบ้ รกิ าร ได้แก่ ที่ว่าการกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขต จำนวน 50 เขต ให้บริการเกี่ยวกับการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข การรกั ษา ความสงบเรียบร้อยของประชาชน การทะเบยี นราษฎร ความมัน่ คงภายใน กจิ การสาธารณภัย การอำนวยความเปน็ ธรรมของสังคม และสวสั ดกิ ารดา้ นการรักษาพยาบาล สรปุ กระทรวงศกึ ษาธิการ ได้มอบหมายให้สำนักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย จัดตั้งศูนย์แนะแนวและให้คำปรกึ ษาอำเภอเมืองปทุมธานี ซึ่งประกาศจัดตั้งโดยสำนักงาน ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดปทุมธานี ซึ่งศูนย์แนะแนวและให้ คำปรึกษาอำเภอเมืองปทุมธานี มีหน้าที่ให้คำปรึกษาแนะแนวและประสานส่งต่อไปยังหน่วยงานท่ี เกี่ยวขอ้ งด้านการศึกษา เช่น สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ข้นั พ้นื ฐาน สำนกั งานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน กระทรวงมหาดไทย กระทรวงการท่องเท่ียวและ กีฬา กรงุ เทพมหานคร และโรงเรียนมหดิ ลวิทยานสุ รณ์ (องคก์ ารมหาชน) ฯลฯ นอกจากน้ยี ังมหี นว่ ยงานท่ี เก่ียวข้องกับการใหบ้ ริการด้านสวสั ดิการ เชน่ กระทรวงพฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนษุ ย์ กระทรวง สาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย กระทรวงแรงงาน และกรงุ เทพมหานคร เป็นตน้ ผูบ้ รหิ ารและบุคลากรท่ี เกย่ี วข้อง ต้องศึกษาข้อมูลเพ่ิมเติมโดยเฉพาะหนว่ ยงาน ในระดบั ภมู ภิ าค และหน่วยงานอื่นๆ ท่ีให้บริการ เก่ยี วกบั ดา้ นการศกึ ษาและดา้ นสวสั ดิการ ซง่ึ ข้อมูลดังกลา่ วจะเป็นประโยชนต์ อ่ การให้คำปรกึ ษา แนะแนว และประสานงานสง่ ตอ่ ไดต้ รงกบั ความตอ้ งการของผรู้ บั บริการ
3. บทบาทหนา้ ท่ีหน่วยงาน/สถานศกึ ษาที่เกยี่ วข้อง แผนผงั แสดงบทบาทหน้าทีห่ นว่ ยงาน/สถานศกึ ษาทเี่ ก่ยี วขอ้ งกับศูนย์แนะแนวฯ บทบาทหนา้ ท่ีหน่วยงาน/สถานศึกษาทเ่ี กกศีย่ นวข. อ้ งกับการดำเนินงาน ศนู ย์แนะแนวฯ หนว่ ยงาน/สถานศกึ ษาในสงั กดั หน่วยงาน/สถานศกึ ษา/ภาคี หน่วยงาน/ภาคเี ครือขา่ ยที่เกี่ยวขอ้ ง สำนกั งาน กศน. เครือข่ายทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั การจดั กบั การให้บริการดา้ นสวสั ดกิ าร สำนกั งาน กศน. การศึกษา กระทรวงพฒั นาสังคมและความ สำนักงาน กศน.จังหวดั ปทมุ ธานี มั่นคงของมนุษย์ กศน.อำเภอเมอื งปทมุ ธานี สำนกั งานคณะกรรมการ การศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงสาธารณสุข หนว่ ยงานอืน่ ๆ ทใี่ หบ้ รกิ ารด้าน การศกึ ษา สำนักงานคณะกรรมการ กระทรวงมหาดไทย การศกึ ษาเอกชน กระทรวงแรงงาน สำนกั งานคณะกรรมการ การศึกษาอาชวี ศึกษา กรงุ เทพมหานคร กระทรวงมหาดไทย หนว่ ยงานอนื่ ๆ ทใ่ี ห้บริการด้าน สวสั ดิการ กระทรวงการทอ่ งเทย่ี วและกฬี า กรุงเทพมหานคร โรงเรยี นมหดิ ลวทิ ยานสุ รณ์ องค์การมหาชน
บทที่ 4 การให้คำปรกึ ษาและการประสานงาน การให้คำปรกึ ษาและการประสานงานของศูนยแ์ นะแนวและให้คำปรกึ ษาอำเภอเมอื งปทมุ ธานีมีข้นั ตอน ดงั นี้ 1. การใหค้ ำปรกึ ษา การใหค้ ำปรึกษา เปน็ กระบวนการช่วยเหลอื ให้บุคคลได้สำรวจตนเอง จนเกิดความ เข้าใจตนเอง และลงมือปฏิบัติได้อย่างเหมาะสม เพื่อการแก้ปัญหา การปรับตัว การเปลี่ยนแปลง พฤตกิ รรมทีพ่ ึงปรารถนา การบรหิ ารจัดการชีวิตที่เหมาะสม จนนำไปส่กู ารพฒั นาตนเองเพื่อให้มีคุณภาพ ชีวติ ท่ดี ีขนึ้ โดย การให้คำปรึกษาจะประกอบด้วย 1.1 องคป์ ระกอบของการใหค้ ำปรกึ ษา 1) ผู้ใหค้ ำปรึกษา (ผใู้ หบ้ รกิ าร) 2) ผู้รบั คำปรกึ ษา (ผู้รับบริการ) 3) ทักษะพน้ื ฐานในการส่อื สาร เชน่ การพดู การฟังการทวนความ การสะท้อนความรสู้ ึกฯลฯ 4) ข้ันตอนการให้คำปรึกษา 5) แนวทางการใหค้ ำปรึกษาของแตล่ ะสถานศกึ ษา/หน่วยงาน 1.2 หลกั การให้คำปรกึ ษา การให้คำปรึกษา เป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับบุคคลที่เป็นผู้ให้คำปรึกษา (ผู้ให้บริการ)และผู้รับ คำปรึกษา (ผู้รับบริการ) จะต้องมีระบบ ระเบียบ เทคนิควิธีในการเข้าใจ การสร้างมนุษย์สัมพันธ์ การ ช่วยเหลือ การวางแผน การตัดสินใจ การเปลี่ยนแปลงในหลายด้านของตัวผู้รับคำปรึกษา ดังนั้น การให้ คำปรกึ ษาจงึ จำเป็นตอ้ งมีหลักการทสี่ ำคญั ดังนี้ 1) การให้คำปรึกษาต้งั อยู่บนพื้นฐานทีว่ ่าผู้รับคำปรกึ ษา (ผรู้ ับบรกิ าร) ต้องการท่จี ะเปลย่ี นแปลง 2) การให้คำปรึกษาตั้งอยู่บนพื้นฐานที่ว่าผู้ให้คำปรึกษา (ผู้ให้บริการ) ต้องได้รับการฝึกฝนเพื่อความ ชำนาญงานมากอ่ น 3) การใหค้ ำปรึกษาเปน็ การช่วยใหผ้ ู้รับคำปรกึ ษา (ผรู้ ับบรกิ าร) สามารถพิจารณาตนเองไดด้ ีเชน่ เดียวกับ ความสามารถในการพจิ ารณาสิ่งแวดล้อมของตน จนเกดิ การตดั สนิ ใจได้ในท่ีสดุ 4) การใหค้ ำปรกึ ษา ยึดหลกั ความแตกต่างระหวา่ งบุคคล 5) การใหค้ ำปรกึ ษาเปน็ ท้งั ศาสตร์ และศิลปะ เป็นทงั้ งานวิชาการ และวิชาชีพทต่ี อ้ งอาศัย การฝึกฝนจนชำนาญมากกวา่ การใช้สามญั สำนกึ 6) การให้คำปรึกษา เป็นความร่วมมืออันดีสำหรับผู้ให้คำปรึกษา (ผู้ให้บริการ)และผู้รับคำปรึกษา (ผรู้ ับบรกิ าร) ในอันที่จะช่วยกนั ค้นหาปัญหาหรอื ทางออกที่เหมาะสมแทจ้ ริง 7) การใหค้ ำปรกึ ษาเนน้ ถึงจรรยาบรรณ และบรรยากาศท่ีปกปิดหรือความเป็นสว่ นตัว เพอื่ สนับสนุนการ ได้มาซึ่งข้อเท็จจรงิ สำหรับให้การช่วยเหลอื และรักษาผลประโยชน์ของผู้รับคำปรึกษา(ผู้รับบริการ) เป็น สำคญั 8) การให้คำปรกึ ษาจะเกิดขน้ึ ต่อเมื่อสมั พันธภาพระหว่างผู้ให้คำปรกึ ษา (ผู้ใหบ้ รกิ าร)และผู้รับคำปรึกษา (ผู้รบั บรกิ าร) มีระดับสงู มากพอท่ีผูร้ ับคำปรึกษา (ผใู้ ห้บริการ) เตม็ ใจทจี่ ะเปิดเผย ความรู้สึกที่แท้จริงของ ตน โดยไม่ปกปิดหรอื ซอ่ นเร้น
1.3 ขนั้ ตอนการให้คำปรกึ ษา มี 5 ขัน้ ตอน ดงั นี้ ขั้นตอนที่ 1 การสร้างบรรยากาศที่เป็นกันเอง เพื่อให้มีสัมพันธภาพที่ดีทำให้เกิดความอบอุ่น สบายใจ และไวว้ างใจท้ังผใู้ ห้และผรู้ ับบริการโดยการทักทาย พดู คุยเรื่องท่วั ไป การใส่ใจในภาษาพูดและภาษาท่าทาง รวมถึง การเปดิ ประเดน็ (ทา่ น่ังควรนงั่ เป็นมมุ ฉาก) ขัน้ ตอนที่ 2 สำรวจปัญหา สาเหตุและความตอ้ งการ ของผูร้ บั บรกิ ารโดยศึกษาภมู ิหลงั ความเป็นมาเท่าท่ี จำเปน็ และองคป์ ระกอบของปัญหาของผ้รู ับบริการ ข้นั ตอนที่ 3 ทำความเขา้ ใจปญั หา สาเหตุและความต้องการโดยการทบทวนสรุปขอ้ มูล จัดเรยี งลำดับและ เช่อื มโยงและนำมาพจิ ารณาให้คำปรกึ ษา ขั้นตอนที่ 4 ให้คำปรึกษา เพื่อแนะนำและให้บริการข้อมูลของหน่วยงานที่ให้บรกิ ารทางการศึกษาหรอื บริการดา้ นสวสั ดกิ าร ผู้ให้คำปรึกษาช่วยให้ผูร้ ับคำปรกึ ษาพจิ ารณาวิธีแก้ปญั หาและตัดสินใจเลอื กสถานศึกษาหรือ หนว่ ยงานที่จะเขา้ รบั บริการด้วยตนเอง ขั้นตอนที่ 5 ผลการให้คำปรึกษา 1. ผู้รบั บริการพงึ พอใจ ยุติ 2. ผรู้ บั บรกิ ารพงึ พอใจ ประสานส่งตอ่ 3. ผูร้ บั บริการทบทวน ยตุ ิ 4. ผรู้ บั บรกิ ารทบทวน สำรวจปญั หา/ความตอ้ งการ 5. ผู้รับบริการ ทบทวน ประสานส่งตอ่ 2. การประสานการส่งต่อ การประสานการสง่ ต่อ เปน็ การตดิ ต่อสื่อสาร เพ่อื สง่ ตอ่ ให้การชว่ ยเหลือในกรณีท่ีผรู้ บั บริการตอ้ งการให้ ประสาน ติดต่อกบั หน่วยงานหรือสถานศกึ ษาท่ีจัดบรกิ ารทางการศึกษา หรือบรกิ ารดา้ นสวัสดิการ การประสานส่ง ต่อ ไดแ้ ก่ 1) การประสานสง่ ตอ่ ด้านการศึกษา เพอ่ื การเรยี นรูแ้ ละเสริมสร้างทกั ษะเฉพาะทางหรอื การประกอบ อาชีพ ไดแ้ ก่ หน่วยงาน/สถานศกึ ษา/ภาคีเครือขา่ ย ทีไ่ ด้กลา่ วไว้ในบทที่ 3 แล้ว 2) การประสานสง่ ต่อด้านสวัสดกิ าร เพ่อื ให้การช่วยเหลือด้านสวัสดิการ ไดแ้ ก่ หนว่ ยงาน/ภาคีเครือข่าย ทไ่ี ดก้ ล่าวไวใ้ นบทท่ี 3 แล้ว 3. การจดั ทำระบบข้อมลู สารสนเทศ 3.1 การจัดทำระบบขอ้ มูลสารสนเทศเพือ่ ให้บรกิ าร เปน็ การดำเนนิ การที่เกี่ยวกบั การ นำขอ้ มูลการใหบ้ ริการมา จดั ระบบขอ้ มูลสารสนเทศ มุ่งเน้นเกบ็ รวบรวม ประมวลผล และเผยแพร่ขอ้ มลู มี 3 ขั้นตอน ประกอบด้วย 1) เก็บรวบรวมและตรวจสอบขอ้ มูลการให้บรกิ าร 2) การประมวลผลขอ้ มูล 3) การดแู ลรักษาข้อมูล 3.2 การรวบรวม จัดเก็บ และรายงานผลการดำเนินงาน ใหห้ นว่ ยงาน สถานศกึ ษารวบรวม จัดเกบ็ และรายงาน ผลการดำเนินงานตาม แบบฟอร์มท่ีกำหนด
สรุป ศูนย์แนะแนวและให้คำปรึกษาอำเภอเมืองปทุมธานี จำเป็นต้องจัดทำข้อมูลสารสนเทศการให้บริการ คำปรึกษา การประสานการส่งต่อ และการรายงานผลการดำเนินงาน เพื่อเป็นหลักฐานในการให้บริการหรือ ทบทวน ปรับปรงุ ตอ่ ไป ข้นั ตอนการใหค้ ำปรึกษาและประสานงาน ศูนยแ์ นะแนวและใหค้ ำปรกึ ษาอำเภอเมอื งปทมุ ธานี ผ้รู ับบริการ ผู้ใหบ้ รกิ าร สรา้ งบรรยากาศความเปน็ กันเอง สำรวจปัญหา/สาเหต/ุ ความต้องการ ทำความเข้าใจปญั หา/สาเหต/ุ ความตอ้ งการ ให้คำปรกึ ษา ผรู้ บั บรกิ ารทบทวนการให้ ผลการให้คำปรึกษา ผู้รบั บรกิ ารพงึ พอใจ คำปรึกษา ผรู้ ับบริการต้องการขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ ยุตใิ ห้คำปรึกษา ยตุ ใิ หค้ ำปรึกษา ประสานส่งตอ่ หนว่ ยงาน/สถานศกึ ษาอื่น บนั ทึกข้อมลู สารสนเทศการให้บรกิ าร
บทท่ี 5 การกำกบั ตดิ ตาม และรายงานผลการดำเนินงาน การกำกับ ติดตามและรายงานผลการดำเนินงาน เป็นกระบวนการดำเนินงานเพือ่ ให้ผู้รับผิดชอบและผู้ที่ เกี่ยวข้องกับกิจกรรมนั้นๆ มีข้อมูลความก้าวหน้าผลการด าเนินงาน รวมทั้งปัญหาอุปสรรคของการดำเนินงาน เพื่อให้ความช่วยเหลือ ปรับปรุงแก้ไข และพัฒนาการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพบรรลุตามวัตถุประสงค์หรือ เป้าหมายของการด าเนนิ งานทกี่ ำหนด และคุ้มคา่ กับการดำเนินงาน ซงึ่ สำนักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศัย ได้กำหนดใหก้ ารกำกบั ติดตามและรายงานผลการดำเนินงาน เป็นกลไกหนึง่ ของการกำกับ ติดตาม โดยมกี ารกำกับ ตดิ ตามและรายงานผล ดังนี้ 1. หนว่ ยงาน/สถานศึกษา กำกับ ตดิ ตามและรายงานผลการดำเนนิ งาน 1.1 สำนักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ดำเนินการโดยศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยกลุม่ เป้าหมายพิเศษ มหี น้าท่ี กำกบั ติดตามผล การดำเนนิ งาน รวมทั้งให้ข้อเสนอแนะ และหาแนวทางในการพัฒนาปรบั ปรงุ 1.2 สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดปทุมธานี ดำเนินการโดย ผบู้ ริหาร หรอื คณะนเิ ทศ ตดิ ตามและรายงานผล มีหนา้ ที่ กำกบั ตดิ ตามและรายงานผลการดำเนนิ งาน รวมท้ังให้ แนวทางในการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ข้อเสนอแนะหาแนวทางเพื่อนำไปปรับปรุงและรายงานผลการ ปฏิบัติงานให้สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 1.3 ศนู ย์แนะแนวและให้คำปรกึ ษาอำเภอเมืองปทมุ ธานี ดำเนินการ โดยผู้บริหารสถานศึกษา หรือคณะนิเทศติดตามและรายงานผลการดำเนินงานของสถานศึกษา มี หน้าที่กำกับ ติดตามผลการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามแผนการดำเนินงานที่กำหนดไว้ รวมทั้งหาแนวทางในการ แก้ไขปัญหาและอุปสรรคต่างๆ และรายงานผลการปฏิบัติงานให้สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด/กรุงเทพมหานคร ทราบ 2. วิธีการกำกับติดตาม การกำกบั ติดตามผลการดำเนินงาน ดำเนินการโดยใชว้ ธิ ีการท่ีหลากหลาย เช่น การสอบถามผลการดำเนินงานใน การประชมุ ประจำเดอื น รายงานผลการดำเนนิ งานเป็นลายลกั ษณอ์ ักษร การนิเทศ ตรวจเย่ยี ม เป็นตน้ 3. ระยะเวลาการรายงาน การรายงานผลการดำเนินงานศูนย์แนะแนวและให้คำปรึกษาอำเภอเมืองปทุมธานี ให้รายงานสำนักงานส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ตามแบบรายงานในภาคผนวกโดยครงั้ ท่ี 1 สน้ิ สุดไตรมาส 2 และ ครั้งท่ี 2 สิน้ สุดไตรมาส 4 ของทุกปแี นวทางการดำเนนิ งานศูนยแ์ นะแนวและใหค้ ำปรกึ ษาอำเภอเมืองปทุมธานี 4. ขัน้ ตอนการรายงานผลการดำเนินงาน 4.1 ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองปทมุ ธานี จดั ทำรายงานผลตามแบบรายงาน ปีละ 2 คร้งั สง่ สำนกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จังหวดั /กรุงเทพมหานคร 4.2 สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดปทุมธานี จัดทำสรุปผลการ ดำเนินงานศูนยแ์ นะแนวและประสานงานการศึกษาพิเศษอำเภอ/เขต ปลี ะ 2 ครัง้ สง่ สำนักงานส่งเสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
แบบรายงานผลการดำเนินงาน ศนู ย์แนะแนวและให้คำปรึกษาอำเภอเมืองปทมุ ธานี คร้ังที่ 1 ส้ินไตรมาส 2 ( ต.ค.- ม.ี ค.) ครง้ั ที่ 2 สิน้ ไตรมาส 4 ( เม.ย.- ก.ย.) 1. สถานที่ ทีใ่ หบ้ ริการของศูนยแ์ นะแนวและประสานงานการศึกษาพิเศษอำเภอ/เขต เปน็ อย่างไร เปน็ มมุ หนึง่ ใน กศน.อำเภอ/เขต เปน็ มมุ หน่งึ ใน กศน.ตำบล/แขวง เป็นมมุ หน่งึ ในหอ้ งสมุดประชาชน อนื่ ๆ ระบ.ุ ........................................................... 2. ศูนยแ์ นะแนวและให้คำปรึกษาอำเภอเมอื งปทุมธานี (ตอบได้มากกวา่ 1 รายการ) สะดวก สะอาด รม่ รืน่ เป็นสัดส่วน มคี วามเป็นกนั เอง อ่ืนๆ ระบุ............................................................................................................. 3. แหล่งทมี่ าของงบประมาณ (1).................................................จำนวน................บาท ใช้ไปแลว้ จำนวน................บาท (2).................................................จำนวน................บาท ใช้ไปแลว้ จำนวน................บาท (3).................................................จำนวน................บาท ใช้ไปแล้ว จำนวน................บาท 4. ข้อมูลสารสนเทศของศนู ยแ์ นะแนวและใหค้ ำปรกึ ษาอำเภอเมืองปทมุ ธานี มีเพียงพอสำหรบั การให้ คำปรกึ ษาหรอื ไม่ อย่างไร มเี พียงพอ ได้แก่ (อะไร และจำนวนเท่าไร)...................................................................... ไม่เพยี งพอ ยงั ขาดข้อมลู สารสนเทศ (ระบ)ุ .................................................................... 5. ผู้รับผดิ ชอบ จำนวน...... คน ชื่อ นามสกลุ .......................................................... ตำแหนง่ ............................................................ ชอื่ นามสกลุ .......................................................... ตำแหนง่ ............................................................ ช่ือ นามสกุล.......................................................... ตำแหนง่ ............................................................ 6. การประชาสมั พนั ธโ์ ดยวิธใี ด (ระบุ) 1................................................................................................................................................................. 2................................................................................................................................................................. 3................................................................................................................................................................. 7. กลุม่ เปา้ หมายท่ีเขา้ มารบั บรกิ าร จำนวน............ คน ได้แก่ 7.1 กลมุ่ บคุ คลท่วั ไป จำนวน........... คน 7.2 กลุม่ ผู้ปกครอง จำนวน........... คน 7.3 กลุ่มทมี่ ีเง่ือนไขขอ้ จำกดั ในการเข้าถึงโอกาสทางการศกึ ษาหรือการบรกิ ารด้านสวัสดิการ 1) ผดู้ ้อยโอกาส จำนวน.......คน - กลุม่ คนพิการ จำนวน.......คน - กล่มุ ผู้ประกอบอาชพี แรงงานนอกระบบ จำนวน.......คน - กลมุ่ ชาตพิ ันธ์ุ (ชนกล่มุ นอ้ ย) จำนวน.......คน - เดก็ ยากจน (มากเปน็ พเิ ศษ) จำนวน.......คน
- เด็กท่มี ีปญั หาเกย่ี วกับยาเสพยต์ ดิ จำนวน.......คน - เด็กท่ีถกู ทอดทงิ้ จำนวน.......คน - เดก็ ท่ีถกู ทำรา้ ยทารณุ จำนวน.......คน - เด็กทอี่ ยู่ในธุรกิจทางเพศหรือโสเภณีเด็ก จำนวน.......คน 2) ผขู้ าดโอกาส จำนวน.......คน - กลมุ่ ประชาชนในพื้นที่เส่ียงภยั จากการกอ่ การร้าย การก่อความไม่สงบในบริเวณชายแดนจำนวน.......คน - กลุ่มประชาชนในพืน้ ทช่ี นบทห่างไกลหรือยากลำบากในการคมนาคมติดตอ่ สื่อสาร จำนวน.......คน - กลุ่มคนไทยในตา่ งประเทศ จำนวน.......คน - กลมุ่ ผู้ตอ้ งขงั จำนวน.......คน - กลุ่มเดก็ /เยาวชนในสถานพนิ ิจ จำนวน.......คน - กลุ่มแรงงานตา่ งด้าวหรอื แรงงานขา้ มชาติ จำนวน.......คน - กลมุ่ บุคคลทไ่ี มม่ ีทะเบียนราษฎร์ จำนวน.......คน - คนยากจน จำนวน.......คน - ผพู้ น้ โทษ จำนวน.......คน - ผู้ติดเชอ้ื HIV ผู้ปว่ ยเอดส์ และผู้ทไ่ี ด้รับ ผลกระทบจากเอดส์ จำนวน.......คน 3) ผู้พลาดโอกาส จำนวน.......คน - กล่มุ เด็ก/เยาวชนทีอ่ อกกลางคนั จากระดบั การศึกษาภาคบังคับ จำนวน.......คน - กลุ่มผู้จบการศึกษาภาคบังคับแตไ่ ม่ได้เรียนต่อ จำนวน.......คน - กลุม่ ทหารกองประจ าการทีย่ ังไม่จบการศึกษาภาคบังคบั จำนวน.......คน - กล่มุ เดก็ /เยาวชนเรร่ ่อน/ไรบ้ ้าน จำนวน.......คน - กลมุ่ เด็ก/เยาวชน/ลกู กรรมกรกอ่ สรา้ ง จำนวน.......คน - กลมุ่ เดก็ /เยาวชนท่ีมคี วามพรอ้ มแต่ไมต่ ้องการรับ จำนวน.......คน - การศกึ ษาในระบบปกติ และกลุ่มผสู้ ูงอายุ จำนวน.......คน 4) ผมู้ คี วามสามารถพเิ ศษ จำนวน .......คน - ดา้ นสติปัญญา (การคดิ ) จำนวน .......คน - ดา้ นความคดิ สร้างสรรค์ จำนวน .......คน - ด้านคณิตศาสตร์ จำนวน .......คน - ด้านวทิ ยาศาสตร์ จำนวน .......คน - ด้านภาษา จำนวน .......คน - ดา้ นผู้นำ จำนวน .......คน - ดา้ นศิลปะ จำนวน .......คน - ด้านดนตรี จำนวน .......คน - ดา้ นกฬี า จำนวน .......คน - อืน่ ๆ ระบ.ุ .......................................................................... จำนวน .......คน
8. ผลการให้คำปรึกษา 8.1 ผู้รับบรกิ ารพงึ พอใจ ยตุ ิ จำนวน .......คน 8.2 ผู้รับบริการพึงพอใจ ประสานสง่ ต่อ จำนวน .......คน 8.3 ผ้รู บั บริการทบทวน ยตุ ิ จำนวน .......คน 8.4 ผูร้ บั บริการทบทวน สำรวจปญั หา/ความตอ้ งการ จำนวน .......คน 8.5 ผู้รบั บริการ ทบทวน ประสานส่งตอ่ จำนวน .......คน 9. การประสานสง่ ตอ่ 1……………………………………………………………………………….. จำนวน...........คน 2……………………………………………………………..………………… จำนวน...........คน 3………………………………………………………………………………… จำนวน...........คน 10. ปญั หาอุปสรรคในการดำเนนิ งาน ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... 11. ข้อคิดเหน็ /ขอ้ เสนอแนะอ่นื ๆ ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... …………………...…..………………………ผรู้ ายงาน (......................................................) ตำแหนง่ …………………….....……….……………… ................/................./.............
แบบบนั ทกึ ข้อม ของศูนยแ์ นะแนวและใหค้ ำปรกึ ษาอำเภอเมือ กลมุ่ ประเภท ผ เป้าหมาย พงึ พอใจ คร้งั ท่ี วัน เดอื น ปี ช่อื - ทีอ่ ยู่ เรื่องท่ใี ห้ ยตุ ิ ประสานส่งต ทีใ่ หบ้ รกิ าร สกุล เบอร์ คำปรกึ ษา สถานศึกษา/ หน โทรศัพท์ ดา้ น ด้าน การศึกษา ส
มูลการใหบ้ ริการ องปทมุ ธานี สำนกั งาน กศน.จังหวัดปทุมธานี ผลการใหค้ ำปรึกษา (จำนวน) ทบทวน ผกู้ ำกับ ติดตาม ต่อ ยุติ สำรวจ ประสานส่งต่อ ชอื่ -สกุล ผู้ ให้บริการ การ นว่ ยงาน/ ปัญหา สถานศกึ ษา/ หนว่ ยงาน/ ปฏบิ ัติ ใหม่ ดา้ น งาน ด้าน ด้าน สวัสดกิ าร การศกึ ษา สวัสดิการ
แผนงานปฏบิ ัติศูนยแ์ นะแนวและใ ท่ี รายละเอียดกิจกรรม สถานทดี่ ำเนนิ การ พ. กศน.อำเภอเมืองปทุมธานี ต.ค. 1. จดั ต้งั ศูนย์แนะแนวและให้ คำปรกึ ษากศน.อำเภอเมอื งปทมุ ธานี กศน.อำเภอเมืองปทุมธานี 2. ประชาสัมพนั ธ์ภารกิจของศนู ยแ์ นะ กศน.อำเภอเมืองปทมุ ธานี แนวและให้คำปรึกษากศน.อำเภอ กศน.อำเภอเมอื งปทมุ ธานี และ เมอื งปทุมธานี 14 ตำบล ในพ้ืนทอ่ี ำเภอเมือง ปทุมธานี 3. ดำเนนิ การแนะแนวและให้คำปรกึ ษา กศน.อำเภอเมอื งปทมุ ธานี กศน.อำเภอเมืองปทมุ ธานี 4. ขยายผล การแนะแนวและให้ คำปรกึ ษากบั ครกู ศน.ตำบล ครศู รช. และครผู ู้สอนคนพกิ าร 5. การจดั ทำระบบข้อมูลสารสนเทศ 6. จัดทำรายงานผลตามแบบรายงาน
ใหค้ ำปรึกษาอำเภอเมอื งปทมุ ธานี .ศ.2564 พ.ศ.2565 พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
Search
Read the Text Version
- 1 - 39
Pages: