Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี(วิทยาการคำนวณ) ม.5

คู่มือรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี(วิทยาการคำนวณ) ม.5

Published by s61131114020, 2020-04-25 15:31:44

Description: คู่มือรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี(วิทยาการคำนวณ) ม.5
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Keywords: วิทยาการคำนวณ,คู่มือรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์

Search

Read the Text Version

เทคโนโลยีคูม่ อื รายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี (วิทยาการคานวณ) ตามมาตรฐานการเรียนร้แู ละตวั ช้ีวดั กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางทางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551

สารบญั กิจก1รรมที่ ขอ้ มลู อใดกลต้ ัว หน้า 5 กิจก2รรมที่ กิจก3รรมที่ ร้จู กั กบั วทิ ยาการข้อมูล กิจก41รรมที่ กจิ ก5รรมที่ หน้า 11 แนวคดิ เชิงออกแบบ หน้า 17 การรวบรวมขอ้ มลู หนา้ 22 การสารวจขอ้ มูล หน้า 25

สารบัญ กิจก6รรมที่ การวเิอคด ราะหเ์ ชิงพรรณนา กิจก7รรมท่ี หนา้ 34 กจิ ก8รรมที่ กจิ ก91รรมที่ การทานายเชิงตัวเลข กิจ1ก0รรมที่ หนา้ 40 การทานายเชงิ หมวดหมู่ หน้า 46 การทาข้อมลู ให้เปน็ ภาพ หน้า 51 โครงงานวิทยาการขอ้ มูล หน้า 58

สมาชกิ นายธีรวฒั น์ พรมดี 61131114010 นางสาวสุพิณยา เสนกระจาย 61131114020 นางสาวดสุ ิตา ศรีสขุ 61131114024 นางสาวธัญญรตั น์ สร้อยสวุ รรณ 61131114030 นางสาวธนั ยาภรณ์ เบา้ ลี 61131114031 นางสาวกรวรรณ สุขแสวง 61131114032

1กิจกรรมท่ี ขอ้ มูลใกลต้ วั คาบเรยี นที่ 1-2 เวลา 2 ชั่วโมง 1 5 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 รายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5

กจิ กรรมที่ 1 รายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี(วทิ ยาการคานวณ) คาบเรยี นท่ี 1-2 เวลา 2 ช่ัวโมง 1. ตวั ช้วี ัด รวบรวมวิเคราะห์ขอ้ มูลและใชค้ วามรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ สื่อดิจิทัล เทคโนโลยสี ารสนเทศ ในการแก้ปัญหาหรือเพมิ่ มูลคา่ ให้กับบริการหรอื ผลิตภัณฑ์ท่ีใช้ใน ชีวิตจรงิ อยา่ งสร้างสรรค์ 2. สาระการเรยี นรู้ 2.1 ยคุ ของขอ้ มูลและสารสนเทศ 2.2 ประโยชนห์ รือคณุ ค่าของขอ้ มูล 3. จุดประสงค์ ใหผ้ ู้เรียนสามารถ 3.1 ใช้ประโยชนจ์ ากข้อมูลทีอ่ ยรู่ อบตัว 3.2 คน้ หา และรวบรวมขอ้ มลู จากแหลง่ ข้อมูลบนเว็บไซต์เพ่อื แกป้ ญั หา 3.2 ส่ือสารและนํา เสนอขอ้ มลู ผลลัพธใ์ นรปู แบบของตนเอง 4. ทักษะและกระบวนการ 4.1 ทักษะการสืบขอ้ มูล 4.2 ทกั ษะการแกป้ ญั หา 4.3 ทกั ษะการสื่อสารและร่วมมอื 6

กจิ กรรมที่ 1 รายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี(วิทยาการคานวณ) คาบเรยี นท่ี 1-2 เวลา 2 ชวั่ โมง 5. ความรู้เดิมท่นี ักเรยี นต้องมี - 6. สาระสาคัญ ยคุ ของขอ้ มูลและสารสนเทศ เปน็ ยุคของการใชข้ อ้ มูล ท่ีมอี ยู่จํานวนมหาศาล มา สรา้ งมูลค่าใหเ้ กดิ ประโยชน์กับบุคคล หรือองคก์ ร การจะใช้ประโยชน์จากข้อมูลเพ่ือเพ่ิม ประสิทธภิ าพการทาํ งาน หรอื การใช้ชีวิตของตนเอง จะต้องนํา ขอ้ มูลท่เี กบ็ รวบรวมด้วย ตนเอง หรืออาจนาํ ขอ้ มลู ทุติยภูมิที่มีผู้รวบรวมหรือสรุปไว้แล้วมาผ่านกระบวนการ ประมวลผลขอ้ มลู ใหเ้ ป็นสารสนเทศนอกจากนกี้ ารนาํ เสนอข้อมูลดว้ ยภาพ และเรื่องราว บนพื้นฐานของขอ้ มลู จะทําใหผ้ ูอ้ ืน่ เขา้ ใจ เห็นความสําคญั และคุณคา่ ของข้อมลู 7. สอ่ื และอปุ กรณ์ เร่ือง เวลา(นาที) ขอ้ มูลใกล้ตวั 45 7.1 ใบกจิ กรรม ใบกิจกรรมที่ 1.1 7.2 ใบความรู้ - 7

กิจกรรมท่ี 1 รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี(วิทยาการคานวณ) คาบเรยี นที่ 1-2 เวลา 2 ช่วั โมง 7. สอ่ื และอปุ กรณ์ 7.3 อืน่ ๆ หนังสอื เรียนรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคํานวณ) ชั้น มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 ของสถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 8. แนวทางการจัดการเรียนรู้ การจัดเตรยี ม • จัดเตรียมใบกจิ กรรม 1.1 ในหัวข้อเรือ่ ง “ขอ้ มลู ใกล้ตวั ” ตามจํานวนกลุ่มที่ได้ แบง่ ไว้ในชัน้ เรียน ขนั้ ตอนการดาเนนิ การ 1. ผู้สอนนําเข้าสบู่ ทเรียนโดยให้ผู้เรยี นพิจารณาภาพจากคาํ ถามชวนคดิ “รายได้ เฉลยี่ ต่อครัวเรอื น” ในหนังสอื เรยี น แลว้ ถามผเู้ รยี นวา่ “นักเรียนดูภาพน้ีแล้ว สามารถ อธิบายสภาพเศรษฐกิจของประเทศไทยไดอ้ ยา่ งไรบ้างและหากเปน็ ผูบ้ ริหารประเทศจะวาง นโยบายในการพัฒนาประเทศอย่างไร” และชีใ้ ห้นกั เรียนเห็นประโยชนข์ องผลลพั ธ์ขอ้ มลู 2. ใหผ้ ู้เรยี นศึกษาหัวข้อ ยุคของขอ้ มูลสาระสนเทศ แล้วผู้สอนจะตัง้ คาํ ถามเพอ่ื น ตรวจสอบความเขา้ ใจ เช่น • การทีเ่ ราแชรข์ อ้ มูลสว่ นตวั เช่น อีเมล ภาพส่วนตัว จะมีคนนําข้อมูลของ เราไปใชป้ ระโยชนต์ อ่ อยา่ งไรบา้ ง 8

กจิ กรรมท่ี 1 รายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี(วทิ ยาการคานวณ) คาบเรยี นที่ 1-2 เวลา 2 ชว่ั โมง 8. แนวทางการจัดการเรียนรู้ 3. แบ่งกลุ่มผูเ้ รยี นออกเปน็ กลมุ่ ละ 3-4 คน แลว้ ให้ผู้เรียนทาํ ใบกิจกรรมในหวั ข้อ เร่ือง “ข้อมูลใกล้ตัว” 4. ใหผ้ ู้เรียนออกมานําเสนอข้อมลู แตล่ ะกลุ่ม และแลกเปลย่ี นความคดิ เห็นกนั 5. ผ้สู อนให้ผู้เรยี นชว่ ยกนั ยกตวั อย่างเพ่มิ เตมิ เกยี่ วกบั แนวทางการใช้ข้อมูลเพ่ือ เพ่ิมประสทิ ธภิ าพในการทํางานหรอื การใชช้ ีวติ ประจําวัน 6. ผู้สอนและผ้เู รยี นร่วมกนั สรปุ ความรจู้ ากการทํากจิ กรรม 9. การวัดประเมนิ ผล 9.1 ประเมินจากใบกจิ กรรม 9.2 แบบประเมนิ การเรียนรู้ของตนเอง 10. สอ่ื และแหลง่ ข้อมลู 10.1 http://www.dms.moph.go.th/dmsweb/cpgcorner/heartex.pdf 10.2 http://oorrunningblog.blogspot.com/2014/09/how-long-should-i-run-10k.html 10.3 http://www.lokehoon.com/app.php?q_id=calculate_bmr_tdee 9

กจิ กรรมที่ 1 รายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี(วทิ ยาการคานวณ) คาบเรยี นที่ 1-2 เวลา 2 ชว่ั โมง 11. ขอ้ เสนอแนะ 11.1 ผู้สอนอาจใชก้ ระดานแสดงความคดิ เหน็ ออนไลน์ เช่น Padlet เพื่อเกิดการ แลกเปลี่ยนเรยี นรู้และกระตุ้นความสนใจผเู้ รียนผา่ นสือ่ การสอนในรปู แบบตา่ ง ๆ 11.2 กจิ กรรมนตี้ ้องการให้นักเรยี นเขา้ ใจหลักการเบ้ืองต้นของการใช้ประโยชน์ จากข้อมลู และนําเสนอผลลัพธข์ องขอ้ มูลจากความรเู้ ดมิ ของผเู้ รียน จากนน้ั จงึ เชื่อมโยง ผเู้ รยี นใหเ้ ข้าใจหลกั การของวทิ ยาการข้อมูลในการเรียนรูค้ รัง้ ต่อไป 10

ก2จิ กรรมรที่ จู้ กั กับวทิ ยาการขอ้ มลู คาบเรยี นท่ี 3-4 เวลา 2 ชัว่ โมง 1 11 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 รายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5

กจิ กรรมท่ี 2 รายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี(วทิ ยาการคานวณ) คาบเรยี นที่ 3-4 เวลา 2 ชวั่ โมง 1. ตัวชีว้ ดั รวบรวมวิเคราะหข์ อ้ มลู และใชค้ วามรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ ส่ือดิจิทัล เทคโนโลยสี ารสนเทศ ในการแกป้ ัญหาหรือเพม่ิ มลู ค่าใหก้ บั บริการหรือผลิตภัณฑ์ท่ีใช้ใน ชวี ติ จริงอย่างสร้างสรรค์ 2. สาระการเรียนรู้ 2.1 ความหมายและบทบาทของวทิ ยาการข้อมลู 2.2 หลักการและกระบวนการวทิ ยาการข้อมลู 3. จุดประสงค์ ใหผ้ ้เู รยี นสามารถ 3.1 สาํ รวจและเหน็ ตวั อยา่ งของการใช้วิทยาการข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้หรือ เวบ็ ไซต์ต่าง ๆ 3.2 อธบิ ายความหมายและความสาํ คญั ของวทิ ยาการข้อมลู 3.3 อธบิ ายกระบวนการวทิ ยาการข้อมลู 4. ทกั ษะและกระบวนการ 4.1 ทกั ษะการรสู้ าระสนเทศ 4.2 ทักษะการแก้ปญั หา 4.3 ทักษะการสื่อสารและร่วมมอื 12

กจิ กรรมที่ 2 รายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี(วทิ ยาการคานวณ) คาบเรียนที่ 3-4 เวลา 2 ช่วั โมง 5. ความรูเ้ ดมิ ทีน่ ักเรียนต้องมี - 6. สาระสาคัญ “วิทยาการขอ้ มลู ” เป็นการศึกษาถึงกระบวนการ วิธีการหรอื เทคนิคที่นําข้อมูล จํานวนมหาศาลมาประมวลผล เพ่ือให้ได้องค์ความรู้ เข้าใจปรากฏการณ์สามารถ ตคี วาม ทํานายหรือพยากรณ์ ค้นหารปู แบบหรือแนวโน้มจากขอ้ มูลเพ่ือนํามาวิเคราะห์ ตอ่ ยอดและแนะนําทางเลือกทเี่ หมาะสมในการตัดสินใจกระบวนการวิทยาการข้อมูล ประกอบดว้ ยการตัง้ คาํ ถาม การเกบ็ รวบรวมข้อมูลการสาํ รวจขอ้ มูล การวิเคราะห์ข้อมลู การสอ่ื สารและการทาํ ผลลพั ธใ์ หเ้ ป็นภาพ เพอื่ เผยแพร่ขอ้ มลู สผู่ ใู้ ช้กลุ่มเป้าหมาย 7. สื่อและอปุ กรณ์ 7.1 ใบกจิ กรรม ใบกิจกรรมท่ี เร่อื ง เวลา(นาที) 25 2.1 ขอ้ มูลเปลย่ี นมุมมอง 15 2.2 ข้อมลู มีผลต่อโลกใน 15 2.3 (ก) ยคุ ปัจจุบันอยา่ งไร 20 2.3 (ข) กิจวัตรประจาวัน 2.3 (ค) ของฉัน 2.3 (ง) Surprise!!! ฝน สัตว์โลก 13

กจิ กรรมท่ี 2 รายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี(วทิ ยาการคานวณ) คาบเรียนที่ 3-4 เวลา 2 ชั่วโมง 7. ส่ือและอปุ กรณ์ 7.2 ใบความรู้ - 7.3 อืน่ ๆ • หนงั สือเรียนรายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 ของสถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และ เทคโนโลยี • วดี ิทัศนอ์ าชพี นักวิทยาศาสตร์ขอ้ มลู โดยKenan Institute Asia https://www.youtube.com/watch?v=Au65nEnQEZA • วดี ิทศั น์อาชีพนักวิทยาศาสตรข์ อ้ มลู โดย สสวท.https://www.facebook.com/ipst.thai/videos/48365733 5467347/ • แหล่งเรยี นรูอ้ อนไลนเ์ กย่ี วกบั วทิ ยาการข้อมูล https://tuvalabs.com 8. แนวทางการจัดการเรยี นรู้ การจัดเตรียม • จัดเตรยี มใบกจิ กรรม 2.1 ในหัวขอ้ เรอื่ ง “ข้อมลู เปล่ยี นมุมมอง” • จดั เตรียมใบกจิ กรรม 2.2 ในหวั ข้อเรอื่ ง “ข้อมูลมผี ลตอ่ โลกในยุคปัจจุบัน อย่างไร” • จดั เตรยี มใบกจิ กรรม 2.3 (ก) ในหวั ขอ้ เร่ือง “กิจวตั รประจําวันของฉนั ” 2.3 (ข) ในหัวข้อเร่ือง “Surprise!!!” 14

กจิ กรรมที่ 2 รายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี(วิทยาการคานวณ) คาบเรียนท่ี 3-4 เวลา 2 ช่วั โมง 8. แนวทางการจดั การเรยี นรู้ 2.3 (ค) ในหวั ข้อเร่ือง “ฝน” 2.3 (ง) ในหวั ขอ้ เรอ่ื ง “สตั วโ์ ลก” ข้ันตอนการดาเนนิ การ 1. ผ้สู อนนําเข้าสู่บทเรียนโดยเปิดวีดทิ ศั น์ “นักวิทยาศาสตรข์ อ้ มลู ” เพือ่ สรา้ ง แรงบนั ดาลใจในการเรียนรเู้ กี่ยวกบั วทิ ยาการข้อมูลให้กับผู้เรียนและต้ัง คําถามว่า นักวทิ ยาศาสตร์ข้อมูลคือใครทําหน้าที่เก่ียวกับอะไร รู้อะไร เกี่ยวกับนักวิทยาศาสตรข์ ้อมูลบ้าง 2. แบง่ ผู้เรียนให้เหมาะสมตามจํานวนผูเ้ รียนศึกษาหัวข้อที่ 1.2 วิทยาการ ข้อมูลในหนงั สือเรยี นและให้แต่ละคนในกลุ่มศึกษากรณีศึกษาคนละ 1 ตัวอย่าง จากนัน้ ใหผ้ ลัดกนั เลา่ ใหเ้ พ่ือนในกลุ่มฟงั 3. ผเู้ รียนในแต่ละกลมุ่ ชว่ ยกนั ทําใบกิจกรรมท่ี 2.1 ขอ้ มลู เปล่ยี นมมุ มอง และ ใบกิจกรรมที่ 2.2 ขอ้ มลู มผี ลตอ่ โลกในยุคปจั จบุ นั อยา่ งไร 4. ผสู้ อนสมุ่ ผู้เรยี นนําเสนอคาํ ตอบของใบกิจกรรมท่ี 2.1 และ 2.2 จากน้ัน รว่ มกนั สรปุ ความหมายบทบาท และความสาํ คญั ของวิทยาการขอ้ มลู 5. ผู้เรยี นศกึ ษาหัวขอ้ ที่ 1.3 กระบวนการวทิ ยาการข้อมลู ในหนงั สือเรยี น 6. ผู้สอนให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันทํากิจกรรมเก่ียวกับ แนวคิดของ วทิ ยาการขอ้ มูลโดยเลอื กทาํ เรอื่ งใดเร่ืองหนงึ่ จากใบกิจกรรมท่ี 2.3 7. ผูส้ อนสมุ่ ผเู้ รยี นนําเสนอใบกิจกรรมให้ครบทุกกิจกรรมและสรุปแนวคิด กระบวนการวิทยาการขอ้ มลู รว่ มกับผเู้ รยี น 15

กิจกรรมที่ 2 รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี(วิทยาการคานวณ) คาบเรียนท่ี 3-4 เวลา 2 ชัว่ โมง 9. การวดั ประเมินผล 9.1 ประเมนิ จากใบกจิ กรรม 9.2 สงั เกตพฤติกรรมจากการทาํ งานกล่มุ 10. ส่ือและแหล่งข้อมูล 10.1 https://www.amstat.org 10.2 https://tuvalabs.com 10.3 https://www.kaggle.com/grubenm/austinweather#austin_weather.csv 11. ข้อเสนอแนะ 11.1 กจิ กรรมนีม้ จี าํ นวนใบกจิ กรรมและใชเ้ วลาในการดาํ เนินการคอ่ นข้างมากจึง ควรควบคุมเวลาในการทํากจิ กรรม 11.2 สําหรับเปา้ หมายของใบกจิ กรรมที่ 2.3 ต้องการให้นกั เรยี นเข้าใจหลักการ เบ้ืองตน้ ของกระบวนการวิทยาการขอ้ มูล โดยการฝึกปฏิบัติจากกิจกรรม 16

ก3จิ กรรมทแ่ี นวคดิ เชิงออกแบบ คาบเรียนท่ี 5-6 เวลา 2 ชว่ั โมง 1 17 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 รายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 5

กิจกรรมที่ 3 รายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี(วทิ ยาการคานวณ) คาบเรียนท่ี 5-6 เวลา 2 ช่วั โมง 1. ตัวชีว้ ัด รวบรวมวิเคราะหข์ อ้ มลู และใชค้ วามรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ สื่อดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการแก้ปัญหาหรอื เพิ่มมลู ค่าใหก้ บั บรกิ ารหรือผลิตภัณฑ์ที่ใช้ใน ชวี ติ จรงิ อย่างสร้างสรรค์ 2. สาระการเรียนรู้ 2.1 แนวคิดเชงิ ออกแบบ 2.2 การนําแนวคิดเชิงออกแบบมาใช้กับกระบวนการวทิ ยาการข้อมลู 3. จุดประสงค์ ใหผ้ ้เู รียนสามารถ 3.1 อธบิ ายหลกั การของแนวคดิ เชงิ ออกแบบ 3.2 ประยุกตก์ ารคิดเชงิ ออกแบบกับวทิ ยากรข้อมูลในการแก้ปัญหา 4. ทักษะและกระบวนการ 4.1 ทักษะการคดิ เชงิ ออกแบบ 4.2 ทกั ษะการคิดสร้างสรรค์ 4.3 ทกั ษะการแก้ปัญหา 4.4 ทักษะการสอื่ สารและร่วมมอื 18

กจิ กรรมท่ี 3 รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี(วทิ ยาการคานวณ) คาบเรียนที่ 5-6 เวลา 2 ช่ัวโมง 5. ความรเู้ ดมิ ท่นี ักเรยี นต้องมี - 6. สาระสาคัญ การใชว้ ทิ ยาการขอ้ มลู ใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุดตอ่ ผู้ใช้งานน้ัน ตอ้ งอาศัยแนวคิดเชิง ออกแบบ (design thinking) หลักการพืน้ ฐานของแนวคิดเชิงออกแบบ ได้แก่ การมอง ในมมุ ของผู้ใช้ การลองผิดลองถูกการเรียนรู้ผา่ นการทดลองกบั กลุ่มผใู้ ชจ้ รงิ การทําซํ้า และปรับปรงุ 7. สอื่ และอปุ กรณ์ 7.1 ใบกิจกรรม เร่อื ง เวลา(นาที) ใบกิจกรรมท่ี ทายสิอะไรเอ่ย 45 3.1 โครงงาน 45 ส่งิ ประดษิ ฐ์พ้นื บา้ น 3.1 7.2 ใบความรู้ ใบความรู้ 3.1 เรอื่ งการทายปญั หาโดยจะมีรูปร่าง ลักษณะของวัตถุ ต่างๆ ใบความรู้ 3.2 เร่อื งตัวอย่างการเขียนโครงงาน 19

กจิ กรรมที่ 3 รายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี(วทิ ยาการคานวณ) คาบเรยี นที่ 5-6 เวลา 2 ชัว่ โมง 8. แนวทางการจัดการเรียนรู้ การจดั เตรยี ม • จัดเตรยี มใบกิจกรรม 3.1 ในหัวขอ้ เรือ่ ง “ทายสอิ ะไร่เอ่ย” • จัดเตรียมใบกจิ กรรม 3.2 ในหัวขอ้ เรอ่ื ง “โครงงานส่งิ ประดษิ ฐ์พ้นื บา้ น” • จัดเตรียมใบความรู้ 3.1 เรือ่ ง “เรอื่ งการทายปญั หาโดยจะมรี ปู รา่ ง ลักษณะ ของวัตถตุ า่ งๆ” • จดั เตรยี มใบความรู้ 3.2 เร่ือง “เรื่องตวั อยา่ งการเขยี นโครงงาน” ข้นั ตอนการดาเนนิ การ ชวั่ โมงท่ี 1 1. สอนเก่ยี วกบั เน้อื หาการออกแบบ รปู ร่าง ลักษณะของวัสดุ ต่างๆให้กับ นกั เรียนใหร้ ถู้ ึงคณุ สมบัติ 2. ใหน้ ักเรยี นแบง่ กลุ่มในการทาํ ใบกิจกรรม3.1ทายสิอะไรเอ่ย ประมาณ 2-3 คน/กลม่ึ 3. แจกใบความรู้ 3.1 เร่อื งการทายปัญหาให้กับนกั เรยี นแต่ละกล่มุ 4. ให้นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ชว่ ยกนั ทําใบกิจกรรม 3.1 ช่ัวโมงที่ 2 1. สอนเกี่ยวกับส่ิงประดิษฐ์ิต่างๆของแต่ละพ้ืนที่ว่ามีจุดเด่นและความ แตกตา่ งกันอยา่ งไร 2. อธิบายรปู แบบการทําโครงงานให้แก่นกั เรียน 3. แจกใบความรู้ 3.2 ตวั อย่างรปู แบบการทาํ โครงงาน 4. ใหน้ กั เรียนแบ่งกลมุ่ เพ่อื ทจี่ ะทาํ โครงงานส่ิงประดษิ ฐ์ิพื้นบ้านประมาณ 5-6 คน/กลุม่ 20

กจิ กรรมที่ 3 รายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี(วทิ ยาการคานวณ) คาบเรยี นท่ี 5-6 เวลา 2 ช่ัวโมง 9. การวดั ประเมินผล 9.1 ประเมนิ จากใบกิจกรรม 9.2 สังเกตพฤติกรรมจาการทํางานรว่ มกัน 9.3 ประเมินจากการนําเสนอโครงงานของแตล่ ะกลุ่ม 10. ส่ือและแหล่งข้อมลู 10.1 https://uparadigm.blogspot.com/2017/04/english-for-industrial- technology_5.html 10.2 http://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=21&chap=6&page=t21-6- infodetail02.html 11. ขอ้ เสนอแนะ 11.1 ผู้สอนอาจให้นักศึกษาศึกษาค้นควา้ เพ่ิมเติ่มเก่ียวกับรูปร่างและลักษณะ ตา่ งๆของส่งิ ของหรืออาหาร 11.2 เน่อื งจากผู้เรยี นอาจยงั ไม่สามารถเลือกหัวข้อโครงงานสิ่งประดษิ ฐ์พื้นบ้านที่ ตนเองสนใจได้ ผสู้ อนอาจจะสามารถกําหนดหวั ขอ้ โครงงานให้กับผ้เู รียนเองได้ 21

ก4ิจกรรมทกี่ ารรวบรวมข้อมลู คาบเรยี นท่ี 7-12 เวลา 6 ชว่ั โมง 1 22 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 รายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5

กจิ กรรมที่ 4 รายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี(วทิ ยาการคานวณ) คาบเรยี นท่ี 7-12 เวลา 6 ช่ัวโมง 1. ตัวช้ีวัด รวบรวมวเิ คราะหข์ อ้ มลู และใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ สื่อดิจิทัล เทคโนโลยสี ารสนเทศ ในการแกป้ ัญหาหรือเพม่ิ มลู คา่ ใหก้ บั บรกิ ารหรอื ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ใน ชีวติ จริงอยา่ งสรา้ งสรรค์ 2. สาระการเรียนรู้ 2.1 การรวบรวมขอ้ มูล 2.2 การจัดเตรยี มขอ้ มูล 3. จุดประสงค์ ให้ผูเ้ รียนสามารถ 3.1 รวบรวมข้อมูลทตุ ิยภูมติ ามวตั ถปุ ระสงค์ 3.2 เลือกแหล่งข้อมลู สาธารณะทเี่ ชือ่ ถอื ได้ 3.3 จดั เตรยี มข้อมลู ก่อนการประมวลผล 4. ทกั ษะและกระบวนการ 4.1 ทักษะการคิดวิเคราะห์ 4.2 ทกั ษะการรสู้ ารสนนเทศ 4.3 ทักษะการแก้ปัญหา 23

กิจกรรมท่ี 4 รายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี(วิทยาการคานวณ) คาบเรยี นที่ 7-12 เวลา 6 ชวั่ โมง 5. ความรเู้ ดมิ ทนี่ ักเรียนต้องมี 5.1 ข้อมลู ปฐมภูมิ และการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ปฐมภมู ิ 5.2 การใชโ้ ปรแกรมสําเร็จรูป เช่น โปรแกรมตารางทํางาน หรือการเขียน โปรแกรมภาษา เช่นโปรแกรมภาษา Rโปรแกรมภาษาไพทอน เพ่อื ใชใ้ นการจัดการข้อมูล สร้างกราฟ และแผนภมู ิ 6. สาระสาคญั ขอ้ มลู ทตุ ิยภมู ทิ ่ีเผยแพรบ่ นอินเทอร์เน็ต มีอยหู่ ลากหลายรูปแบบ เช่น xls, xlsx, odp, csv หรอื อย่ใู นรปู แบบรายงานหรอื ตารางบนเว็บไซต์ แหล่งข้อมูลทุติยภูมิ เช่น เว็บไซต์ใหบ้ รกิ ารข้อมลู ของสํา นกั งานพฒั นารัฐบาลดจิ ทิ ัล data.go.th สํานักงานสถิติ แห่งชาติ www.nso.go.th การพจิ ารณาความเหมาะสมของแหลง่ ข้อมูล สามารถใช้มุมมองทั้ง 5 ด้าน ไดแ้ ก่ ความทนั สมยั ของข้อมูล ความสอดคล้องกับการใช้งาน ความน่าเชื่อถือของ แหล่งข้อมูล ความถกู ต้องแมน่ ยาํ และจุดมงุ่ หมายของแหล่งข้อมูล การจัดเตรียมข้อมูล (data preparation) เพ่ือเตรียมพร้อมสํา หรับการ ประมวลผล ประกอบดว้ ย การทํา ความสะอาดข้อมูล (data cleansing) การแปลง ขอ้ มลู (data transformation) และการเชื่อมโยงข้อมูล(combining data) 24

กิจกรรมท่ี 4 รายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี(วิทยาการคานวณ) คาบเรยี นท่ี 7-12 เวลา 6 ชั่วโมง 7. ส่ือและอุปกรณ์ 7.1 ใบกิจกรรม ใบกจิ กรรมที่ เรอ่ื ง เวลา(นาที) 4.1 รายรับ - รายจา่ ย 30 4.2 100 นกั บญั ชี 7.2 ใบความรู้ - 7.3 อืน่ ๆ • หนังสือเรียนรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคํา นวณ) ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 ของสถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี • วดิ โี อ เรอื่ ง Big data คอื อะไร จํา เปน็ ตอ่ องคก์ รหรือไม่ https://www.youtube.com/watch?v=QuGlZrXPjiI • ชดุ ขอ้ มลู จาก data.programming.in.th 8. แนวทางการจดั การเรียนรู้ การจดั เตรียม • จัดเตรียมใบกจิ กรรม 4.1 ในหัวขอ้ เรื่อง รายรบั - รายจา่ ย • จัดเตรียมใบกจิ กรรม 4.2 ในหวั ขอ้ เรื่อง นกั บัญชี 25

กจิ กรรมท่ี 4 รายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี(วิทยาการคานวณ) คาบเรียนท่ี 7-12 เวลา 6 ชวั่ โมง 8. แนวทางการจัดการเรยี นรู้ ขั้นตอนการดาเนินการ ชว่ั โมงที่ 1-2 1. ผสู้ อนนาํ เขา้ สู่บทเรยี นโดยอธิบายเรอื่ งขอ้ มูลขนาดใหญ่ หรอื Big Data 2. ผสู้ อนสอนอธิบายเรอื่ งของขอ้ มูลทตุ ยิ ภมู ิ และให้ผเุ้ รยี นยกตัวอย่างข้อมูล ทตุ ิยภมู ิ ช่ัวโมงท่ี 3-4 1. ผูส้ อนทบทวนบทเรียนจากชัว่ โมงท่ีผ่านมา 2. ผสู้ อนต้งั ปประเดน็ คาํ ถาม “รายรับ – รายจา่ ย” ของนกั เรยี น 3. ผู้ใหน้ ักเรียนทาํ ใบกจิ กรรม “รายรบั – รายจา่ ย” ของนักเรียน ชัว่ โมงที่ 5-6 1. ใหน้ ักเรียนคน้ หาขอ้ มลู ทตุ ยิ ภมู ิของรายรับรายจ่ายของนักเรียนผู้เรียน เพิ่มเตมิ วา่ ควรจะหาข้อมลู ที่มคี า่ เปน็ ตวั เลข เพอื่ ให้สามารถนํา มาใช้ใน การวเิ คราะห์ข้อมูลต่อได้ พร้อมท้ังบันทึกไฟล์ท่ีสืบค้นได้ไว้ในเคร่ือง คอมพิวเตอรข์ องตนเอง 2. ใหน้ กั เรยี นทําใบกจิ กรรมท่ี 4.2 นักบัญชี โดยนาํ ใหน้ ักเรียนจับคู่กับเพื่อน และแรกเปลี่ยนขอ้ มลู “รายรบั -รายจา่ ย” และจดั ทําบัญชีรายรบั รายจ่าย พร้อมทาํ ข้อมูลทุติยภูมิ 26

กิจกรรมท่ี 4 รายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี(วทิ ยาการคานวณ) คาบเรียนที่ 7-12 เวลา 6 ชว่ั โมง 9. การวดั ประเมนิ ผล 9.1 ประเมนิ จากใบกจิ กรรม 9.2 สงั เกตพฤติกรรมจากการทาํ งานรว่ มกนั 9.3 ประเมินจากความถูกต้องและเรยี บร้อยของชิ้นงาน 10. ส่อื และแหล่งข้อมูล 10.1 https://www.nstda.or.th/th/nstda-knowledge/142knowledges/2864 10.2 https://flowaccount.com/blog/ 11. ข้อเสนอแนะ 11.1ในการค้นหาข้อมลู ทุตยิ ภูมิ เพ่ือนาํ มาใช้ในกจิ กรรม ควรแนะนํา ให้ผู้เรียน ค้นหาข้อมลู ท่เี ปน็ ตวั เลข เพ่อื สามารถนํา มาใชใ้ นการวเิ คราะห์เชิงตวั เลขตอ่ ไป 11.2 ข้อมูลทตุ ยิ ภูมใิ นประเทศไทย สว่ นมากเปน็ ข้อมลู ท่ีสรุปมาแล้ว อาจจะไม่ สามารถใช้ในการฝกึ เรอื่ งการทาํ ความสะอาดข้อมลู และยากต่อการนํา มาใช้ในการ วเิ คราะห์เชิงทาํ นายในบทท่ี 3สว่ นใหญ่จะใชไ้ ด้ในการวิเคราะห์เชิงพรรณนาเพ่ือศึกษา ภาพรวมของข้อมลู เทา่ น้นั นอกจากน้ีในการจัดเตรยี มขอ้ มลู ทุติยภูมิ ทํา ได้ยาก เพราะ ข้อมลู ทีจ่ ะสามารถนาํ มาใชไ้ ด้ อาจมาจากหลายแหลง่ ซง่ึ มีรูปแบบทแ่ี ตกตา่ งกัน ดังนั้น ผ้สู อนควรใหค้ ํา แนะนํา เปน็ ระยะ ๆ และให้เวลาผ้เู รยี นในการจัดเตรยี มขอ้ มูลเพอื่ ตอบคํา ถามที่ตนเองสนใจ 27

กิจกรรมท่ี 4 รายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี(วทิ ยาการคานวณ) คาบเรียนที่ 7-12 เวลา 6 ช่วั โมง 11. ขอ้ เสนอแนะ 11.3 โดยทั่วไปข้อมลู ทุติยภูมขิ องตา่ งประเทศจะสามารถนาํ มาใช้ในการวิเคราะห์ ขอ้ มูลได้ดีกว่าผ้สู อนอาจแนะนํา ใหน้ กั เรยี นใช้ข้อมูลทุติยภูมิจากต่างประเทศ เพื่อฝึก ขน้ั ตอนของการทาํ ความสะอาดและข้นั ตอนอ่ืน ๆ รวมทงั้ อาจเลอื กเป็นหัวข้อโครงงาน ของตนเอง แตโ่ ดยทั่วไปขอ้ มูลทตุ ิยภมู ิของต่างประเทศจะเปน็ ข้อมูลขนาดใหญ่ ทํา ใหก้ าร ดูขอ้ มูลผดิ ปกติดว้ ยตาจะทํา ไดย้ ากดังนน้ั ในการทํา กิจกรรม ผู้สอนควรแนะนํา ให้ นกั เรยี นสํา รวจข้อมูลโดยใช้ฮสิ โทแกรม แผนภาพการกระจาย หรอื แผนภาพกล่อง 28

5กจิ กรรมที่ การสารวจขอ้ มลู คาบเรียนท่ี 13-14 เวลา 2 ช่วั โมง 1 29 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 รายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 5

กจิ กรรมที่ 5 รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี(วทิ ยาการคานวณ) คาบเรียนที่ 13-14 เวลา 2 ช่วั โมง 1. ตัวช้วี ดั รวบรวมวเิ คราะห์ข้อมลู และใชค้ วามรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ ส่ือดิจิทัล เทคโนโลยสี ารสนเทศ ในการแก้ปญั หาหรอื เพ่ิมมูลค่าให้กับบริการหรอื ผลิตภัณฑ์ท่ีใช้ใน ชีวิตจริงอย่างสร้างสรรค์ 2. สาระการเรยี นรู้ 2.1 การสาํ รวจขอ้ มูลโดยใชก้ ารวาดแผนภาพ แผนภูมิ กราฟ 2.2 เครื่องมอื ทใี่ ชใ้ นการสํารวจข้อมลู เชน่ โปรแกรมตารางทํางาน โปรแกรม ภาษา และโปรแกรมเฉพาะสําหรับงานดา้ นวิทยาการขอ้ มลู 3. จุดประสงค์ ให้ผู้เรยี นสามารถ 3.1 สํารวจข้อมูลเพ่ือทาํ ความเข้าใจ รูปแบบ ความสัมพันธ์ และผลลัพธ์เชิง พรรณนาเบอ้ื งตน้ เก่ียวกบั ขอ้ มลู 3.2 เลือกใช้เครื่องมอื ในการสํารวจข้อมลู ตามความถนัด 4. ทกั ษะและกระบวนการ 4.1 ทกั ษะการคิดวิเคราะห์ 4.2 ทกั ษะการรสู้ ารสนเทศ 4.3 ทกั ษะการแกป้ ัญหา 30

กจิ กรรมท่ี 15 รายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี(วิทยาการคานวณ) คาคบาเบรเยี รนียทน่ีท1่ี31--124 เเววลลาา22ชช่วั ่ัวโโมมงง 5. ความรู้เดมิ ทีน่ ักเรียนตอ้ งมี การจัดการขอ้ มูล การสรา้ งกราฟและแผนภมู ิ การใช้โปรแกรมสําเร็จรูป เช่น โปรแกรมตารางทํางานและการเขียนโปรแกรมภาษา เช่น ภาษา R หรอื ภาษาไพทอน 6. สาระสาคญั การสํารวจขอ้ มลู (data exploration) เปน็ การทาํ ความเข้าใจเพ่ือพิจารณา ภาพรวมของข้อมูล โดยอาจใชแ้ ผนภาพ หรอื กราฟของขอ้ มลู ในรูปแบบต่าง ๆ ระหว่าง การสาํ รวจ อาจจะพบข้อผิดพลาดหรือปัญหาอ่ืน ๆ จากการต้ังคําถาม หรือการ รวบรวมขอ้ มูล ซึ่งทาํ ใหต้ ้องกลบั ไปดาํ เนินการแกไ้ ขใหถ้ กู ตอ้ ง เคร่อื งมือทีใ่ ช้ในการสาํ รวจ ขอ้ มูลอาจใช้โปรแกรมสาํ เรจ็ รปู หรอื การเขยี นโปรแกรมภาษา 7. สื่อและอุปกรณ์ 7.1 ใบกิจกรรม ใบกจิ กรรมท่ี เรอ่ื ง เวลา(นาที) 5.1 40 นักสารวจ ตรวจสอบขอ้ มลู 7.2 ใบความรู้ - 31

กิจกรรมท่ี 5 รายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี(วทิ ยาการคานวณ) คาบเรยี นท่ี 13-14 เวลา 2 ช่วั โมง 7. สือ่ และอุปกรณ์ 7.3 อื่นๆ • หนงั สือเรียนรายวชิ าพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคํานวณ) ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 ของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี • เวบ็ ไซต์ data.programming.in.th • แบบทดสอบประเมินความเขา้ ใจ 8. แนวทางการจัดการเรยี นรู้ การจัดเตรียม • จดั เตรียมใบกิจกรรม 5.1 ในหัวข้อเร่ือง นักสํารวจตรวจสอบข้อมูล ตาม จํานวนผู้เรยี น • เวบ็ ไซต์ data.programming.in.th • แบบทดสอบบทที่ 2 การเกบ็ รวบรวมและสาํ รวจข้อมลู แบบออนไลน์ ขนั้ ตอนการดาเนนิ การ 1. ผสู้ อนทบทวนกระบวนการในการจดั เตรยี มข้อมูลจากกิจกรรมท่ผี ่านมา และตรวจสอบผ้เู รียนในการจดั เตรยี มชดุ ข้อมูล income-expense.xls และ income-expense.csv 2. ผูเ้ รยี นศึกษาหวั ข้อที่ 2.3 การสํารวจข้อมูล ในหนังสอื เรียน 3. ให้เรยี นฝึกการสาํ รวจขอ้ มลู จากชุดขอ้ มลู อื่นเพ่มิ เติม เช่น ชดุ ข้อมูลสนิ ค้า อุปโภคบรโิ ภคของไทย 32

กจิ กรรมท่ี 5 รายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี(วิทยาการคานวณ) คาบเรยี นท่ี 13-14 เวลา 2 ช่ัวโมง 8. แนวทางการจัดการเรียนรู้ 4. ผเู้ รียนแต่ละคนทําใบกิจกรรมท่ี 5.1 ระหว่างทํากิจกรรมให้ศึกษาการ สํารวจข้อมูลเพ่มิ เติมจากเวบ็ ไซต์ data.programming.in.th 5. ผู้สอนให้ผู้เรยี นโพสต์ผลลัพธ์ของข้อมลู จากการสาํ รวจของตนเองลงบน Padlet หรอื อาจ ใช้โปรแกรมอน่ื ตามความเหมาะสม 6. ผู้เรยี นทําแบบทดสอบบทที่ 2 ประเมนิ ความเข้าใจ 9. การวดั ประเมนิ ผล 9.1 ประเมินจากใบกจิ กรรม 9.2 สังเกตพฤติกรรมจากการทํางานกลมุ่ 9.3 แบบทดสอบบทที่ 2 การเก็บรวบรวมและสํารวจขอ้ มลู 10. สอ่ื และแหล่งขอ้ มูล - 11. ขอ้ เสนอแนะ 11.1 ผู้สอนอาจเตรียมชดุ ขอ้ มูลในการทาํ กิจกรรมไว้ ในกรณีที่ผู้เรียนบางคน จดั เตรียมข้อมลู ไม่เรยี บร้อย โดยดาวน์โหลดจาก data.programming.in.th 33

ก6จิ กรรกมทาี่ รวเิ คราะหเ์ ชิงพรรณนา คาบเรียนที่ 15-18 เวลา 4 ชว่ั โมง 1 34 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 รายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 5

กจิ กรรมที่ 6 รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี(วทิ ยาการคานวณ) คาบเรยี นที่ 15-18 เวลา 4 ช่วั โมง 1. ตวั ชว้ี ดั รวบรวมวเิ คราะห์ขอ้ มลู และใชค้ วามรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ ส่ือดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการแกป้ ัญหาหรอื เพมิ่ มลู ค่าใหก้ บั บรกิ ารหรอื ผลิตภัณฑ์ท่ีใช้ใน ชวี ิตจริงอยา่ งสรา้ งสรรค์ 2. สาระการเรียนรู้ 2.1 การวเิ คราะหข์ อ้ มลู เชงิ พรรณนา 2.2 สถติ สิ าํ หรับวเิ คราะหข์ อ้ มูล เชน่ ค่ากลาง ค่าต่ําสดุ สูงสุด เพอื่ อธบิ ายขอ้ มลู เชงิ พรรณนา 2.3 การหาความสมั พนั ธข์ องขอ้ มูลโดยใช้แผนภาพการกระจาย 3. จุดประสงค์ ใหผ้ ู้เรยี นสามารถ 3.1 อธบิ ายหลักการวเิ คราะหข์ ้อมลู เชงิ พรรณนา 3.2 เลอื กใช้คา่ สถติ ิทีเ่ หมาะสมในการวเิ คราะห์ข้อมลู เชงิ พรรณนา 3.3 ใช้โปรแกรมสําเรจ็ รปู หรือโปรแกรมภาษาเพื่อวเิ คราะหข์ ้อมลู เชิงพรรณนา 3.4 อธบิ ายผลการวิเคราะหข์ ้อมูลเชิงพรรณนา 4. ทักษะและกระบวนการ 4.1 ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์ 4.2 ทักษะการแก้ปัญหา 4.3 ทักษะการสอื่ สารและรว่ มมือ 35

กิจกรรมที่ 6 รายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี(วิทยาการคานวณ) คาบเรยี นท่ี 15-18 เวลา 4 ช่วั โมง 5. ความรเู้ ดมิ ทีน่ ักเรียนตอ้ งมี สถติ พิ น้ื ฐาน เช่น การวัดแนวโนม้ เข้าสูส่ ่วนกลาง ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน 6. สาระสาคัญ การวิเคราะห์เชิงพรรณนา (descriptive analytics) เป็นการวิเคราะห์ข้ัน พืน้ ฐาน ท่ที าํ ใหเ้ ห็นภาพรวมของขอ้ มูล และความสัมพันธร์ ะหว่างข้อมูล ช่วยอธิบายว่า เกิดอะไรข้ึนบ้างในช่วงทผี่ า่ นมา และอาจนํามาช่วยในการตดั สินใจ โดยอาจใช้สถิติ เช่น การหาสดั ส่วนหรือรอ้ ยละ การวัดค่ากลางของข้อมูล (centraltendency) การหา ความสมั พนั ธข์ องชดุ ขอ้ มลู (correlation) 7. สอื่ และอุปกรณ์ เรื่อง เวลา(นาที) วเิ คราะห์ขอ้ มูล 100 7.1 ใบกจิ กรรม คดิ วา่ อย่างไร 100 ใบกจิ กรรมที่ 6.1 6.2 7.2 ใบความรู้ - 36

กิจกรรมท่ี 6 รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี(วทิ ยาการคานวณ) คาบเรียนที่ 15-18 เวลา 4 ชัว่ โมง 7. สื่อและอปุ กรณ์ 7.3 อ่ืนๆ หนงั สอื เรยี นรายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคํานวณ) ช้ัน มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 ของสถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 8. แนวทางการจัดการเรียนรู้ การจัดเตรยี ม • จัดเตรียมใบกจิ กรรม 6.1 ในหวั ข้อเรอื่ ง วิเคราะห์ข้อมูล ตามจํานวนผู้เรียน • จดั เตรยี มใบกจิ กรรม 6.2 ในหัวข้อเรอ่ื ง คิดว่าอยา่ งไร ตามจาํ นวนกลุ่ม ขั้นตอนการดาเนินการ 1. ผู้สอนนาํ เข้าสู่บทเรยี นโดยทบทวนเร่อื งการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลและสํารวจ ข้อมูล และชี้แจงการเรียนในบทนี้จากหนังสือเรียนและเช่ือมโยงการ วิเคราะห์ขอ้ มลู 3 ประเภท 2. ผู้เรยี นศึกษาการวเิ คราะห์เชงิ พรรณนา หัวข้อย่อย 3.1.1 และ 3.1.2 ใน หนงั สือเรยี น 3. ให้ผ้เู รยี นอธิบายหลักการวเิ คราะห์ข้อมูลเชงิ พรรณนาและโพสต์คําตอบไว้ บน Padlet 4. ผู้สอนแนะนาํ ใหผ้ ู้เรยี นเลอื กใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์ข้อมูลตามความ ถนดั ของผเู้ รยี น โดยผเู้ รยี นอาจเลอื กใชโ้ ปรแกรมสาํ เรจ็ รปู หรอื โปรแกรม ภาษา 37

กจิ กรรมที่ 6 รายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี(วิทยาการคานวณ) คาบเรยี นท่ี 15-18 เวลา 4 ชวั่ โมง 8. แนวทางการจดั การเรียนรู้ 5. ผู้เรยี นทาํ ใบกิจกรรมท่ี 6.1 โดยใหโ้ พสต์ภาพคาํ ตอบไว้บน Padlet และให้ รางวัลสําหรบั คนที่ทาํ เสร็จได้เร็วที่สุด 6. ผูเ้ รยี นพจิ ารณาคาํ ตอบของคนอื่น และรว่ มกันโหวตว่าการแสดงผลลัพธ์ ของคาํ ตอบของคนใดแสดงผลการวิเคราะห์ไดช้ ัดเจนทสี่ ดุ 7. ผสู้ อนและผเู้ รยี นร่วมกันสรปุ และเปรียบเทียบความเหมาะสมของผลของ การวิเคราะหข์ ้อมลู เชิงพรรณนา 8. ผูเ้ รียนศกึ ษาหวั ข้อท่ี 3.1.3 ในหนงั สอื เรียน 9. แบ่งผเู้ รียนออกเป็นกล่มุ กลมุ่ ละ 3 คน ช่วยกนั ทาํ ใบกจิ กรรมท่ี 6.2 10. ให้แตล่ ะกลุ่มเลือกโพสตค์ าํ ตอบทีต่ นเองพบเจอความสัมพันธ์ของชดุ ข้อมูล ทศี่ ึกษา และอธบิ ายไวบ้ น Padlet 11. ผู้เรยี นรว่ มกันโหวตว่าคาํ ตอบของกลุม่ ใดน่าสนใจมากท่สี ดุ 12. ผู้สอนและผ้เู รยี นร่วมกนั สรปุ การวเิ คราะหเ์ ชงิ พรรณนา 9. การวัดประเมนิ ผล 9.1 ประเมินจากใบกิจกรรม 9.2 สังเกตพฤติกรรมจากการทํางานกลมุ่ 38

กจิ กรรมที่ 6 รายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี(วิทยาการคานวณ) คาบเรยี นท่ี 15-18 เวลา 4 ชว่ั โมง 10. สอื่ และแหล่งข้อมลู 10.1 วิดีโอสอนการใช้ Pivot Table ในการสรา้ งกราฟ 10.2 วิดีโอสอนการใช้ Tableau ในการสร้างกราฟ 10.3 วดิ ีโอสอนการเขียนโปรแกรมภาษา R ในการสร้างกราฟ และหาค่า ความสมั พันธ์ 10.4 วดิ ีโอสอนการเขยี นโปรแกรมภาษาไพทอนในการสร้างกราฟและหาค่า ความสมั พนั ธ์ 11. ข้อเสนอแนะ 11.1 สาํ หรบั ขอ้ 4 ในใบกจิ กรรมท่ี 6.1 ให้ผู้เรียนที่สนใจศึกษาวิธีการทําจาก เวบ็ ไซต์ data.programming.in.th 39

ก7จิ กรรมกที่ ารทานายเชงิ ตัวเลข คาบเรียนท่ี 19-22 เวลา 4 ชวั่ โมง 1 40 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 รายวชิ าพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 5

กิจกรรมท่ี 7 รายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี(วทิ ยาการคานวณ) คาบเรยี นท่ี 19-22 เวลา 4 ช่ัวโมง 1. ตัวช้ีวัด รวบรวมวเิ คราะห์ข้อมูลและใชค้ วามรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ ส่ือดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการแกป้ ญั หาหรือเพิม่ มลู คา่ ใหก้ บั บริการหรอื ผลิตภัณฑ์ท่ีใช้ใน ชวี ติ จรงิ อยา่ งสรา้ งสรรค์ 2. สาระการเรยี นรู้ 2.1 ความหมายของการทํานายเชิงตวั เลข 2.2 การทํานายค่าจากเสน้ แนวโน้มโดยใชก้ ราฟและใช้สมการเชิงเส้น 2.3 การหาค่าความคลาดเคล่ือนในการทาํ นาย 2.4 การสร้างเสน้ แนวโนม้ และสมการเชิงเส้นโดยใชโ้ ปรแกรมสาํ เร็จรูป หรือการ เขียนโปรแกรม 3. จุดประสงค์ ให้ผเู้ รยี นสามารถ 3.1 อธบิ ายหลักการวเิ คราะห์ขอ้ มลู เชงิ ทํานายโดยใช้ตวั เลข 3.2 ทาํ นายคา่ โดยใชส้ มการเชงิ เสน้ และคาํ นวณค่าความคลาดเคลื่อนในการ ทํานาย 3.3 ใชโ้ ปรแกรมสําเรจ็ รูป หรือโปรแกรมภาษาในการทํานายเชงิ ตวั เลข 3.4 อธบิ ายผลการทาํ นายเชิงตวั เลข 41

กจิ กรรมที่ 7 รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี(วทิ ยาการคานวณ) คาบเรยี นท่ี 19-22 เวลา 4 ช่ัวโมง 4. ทักษะและกระบวนการ 4.1 ทักษะการคิดวเิ คราะห์ 4.2 ทกั ษะการแก้ปญั หา 4.3 ทกั ษะการสือ่ สารและร่วมมือ 5. ความรู้เดมิ ที่นกั เรียนต้องมี ระบบสมการเชิงเสน้ 6. สาระสาคัญ การวเิ คราะหเ์ ชิงทํานาย (predictive analysis) เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลใน อดีตเพอ่ื หารปู แบบความสมั พนั ธใ์ นชดุ ขอ้ มลู ท่ีสามารถนํามาเปน็ ต้นแบบในการทํานาย การคาดการณ์ผลหรือส่ิงที่น่าจะเกิดข้ึนในอนาคต ซึ่งจะช่วยให้บุคคลหรือองค์กร สามารถตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพการทํานายข้อมูลเชิงตัวเลข (numeric prediction) เป็นการใชข้ ้อมลู ในอดตี มาวเิ คราะหห์ าความสัมพันธ์ระหว่างชุดข้อมูลและ สรา้ งแบบจําลองในการทํานายทใี่ ห้ผลลัพธเ์ ปน็ ตัวเลข โดยท่วั ไปมีวธิ กี ารทํานาย2 วิธีคือ การทํานายโดยใชก้ ราฟและการทํานายโดยใช้สมการเชงิ เส้น 42

กิจกรรมท่ี 7 รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี(วิทยาการคานวณ) คาบเรียนที่ 19-22 เวลา 4 ช่วั โมง 7. สือ่ และอปุ กรณ์ 7.1 ใบกิจกรรม ใบกิจกรรมท่ี เร่อื ง เวลา(นาที) 7.1 50 7.1 การวางแผน 50 การเพาะปลูก การพยากรณ์ 7.2 ใบความรู้ - 7.3 อ่นื ๆ หนังสอื เรยี นรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี(วิทยาการคํานวณ) ช้ัน มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 ของสถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 8. แนวทางการจัดการเรียนรู้ การจดั เตรียม • จดั เตรียมใบกิจกรรม 7.1 ในหัวข้อเรื่อง การวางแผนการเพาะปลูก ตาม จาํ นวนผเู้ รยี น • จดั เตรยี มใบกจิ กรรม 7.2 ในหวั ขอ้ เรอื่ งการพยากรณ์ ตามจาํ นวนผ้เู รียน • ไฟลต์ ารางคาํ นวณค่าความคลาดเคลอ่ื น 43

กจิ กรรมที่ 7 รายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี(วทิ ยาการคานวณ) คาบเรียนท่ี 19-22 เวลา 4 ชว่ั โมง 8. แนวทางการจดั การเรยี นรู้ ข้นั ตอนการดาเนนิ การ 1. ผ้สู อนนาํ เข้าสูบ่ ทเรยี นโดยทบทวนเรอ่ื งการต้ังคําถาม สําหรับการวิเคราะห์เชิง ทํานายโดยใชส้ ถานการณ์เกษตรกรตอ้ งคาดการณ์ปริมาณนํ้าฝนล่วงหน้า โดยใช้ ข้อมูลปริมาณนํา้ ฝนในอดตี เพือ่ ใชใ้ นการวางแผนการเพาะปลูก จากในหนังสือ เรยี นและเพ่ิมเตมิ สถานการณ์อนื่ ๆ เพอ่ื ยกตัวอย่างการทาํ นายเชิงตัวเลข เชน่ • ถ้านกั เรียนไปเทย่ี วต่างประเทศ นกั เรยี นควรตรวจสอบอณุ หภูมขิ องประเทศ ท่ีจะไปในชว่ งเวลาเดียวกนั ในอดีตเพอ่ื คาดการณอ์ ณุ หภมู ิจะได้จัดเตรยี มเสอืํ้ ผา้ ได้ถูกต้อง • เกษตรกรต้องคาดการณ์ปริมาณนํ้าฝนล่วงหน้า โดยใชข้ อ้ มลู ปริมาณนํ้าฝน ในอดตี เพือ่ ใช้ในการวางแผนการเพาะปลูก • ประธานนักเรียนต้องการพยากรณ์จํานวนนักเรียนท่ีจะฝากเงินในธนาคาร โรงเรียน เพอ่ื วางแผนการใหบ้ รกิ ารทเี่ หมาะสม 2. ผูเ้ รยี นศึกษาหวั ข้อที่ 3.2 การวิเคราะห์เชิงทํานาย และ หัวข้อย่อย 3.2.1 การ ทํานายเชงิ ตัวเลข ในหนังสอื เรียน 3. ผู้เรยี นจบั ค่กู ันทาํ ใบกิจกรรมที่ 7.1 การวางแผนการเพาะปลกู 4. สุ่มผ้เู รยี นนําเสนอคาํ ตอบ และใหเ้ ปรียบเทยี บกับคําตอบกับคู่อ่ืนว่าเหมือนหรือ ตา่ งกนั อยา่ งไร 5. ผู้เรียนค่เู ดิมทําใบกิจกรรมท่ี 7.2 การพยากรณ์ 6. ผู้สอนและผ้เู รยี นรว่ มกนั อภปิ รายข้อดขี ้อเสียของการทํานายค่าจากเส้นแนวโน้ม โดยใช้ กราฟ สมการเชงิ เส้น โปรแกรมสาํ เรจ็ รูป หรอื การเขยี นโปรแกรมภาษา 44

กจิ กรรมที่ 7 รายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี(วิทยาการคานวณ) คาบเรียนท่ี 19-22 เวลา 4 ช่ัวโมง 8. แนวทางการจดั การเรียนรู้ 7. ผู้สอนเปดิ ไฟล์การพยากรณอ์ ากาศของแต่ละวันและร่วมกนั อภปิ รายกับผู้เรียนว่า เราจะจดั เตรียม ไฟลส์ รปุ แตล่ ะวันของการพยากรณว์ ่าอากาศแตล่ ะวันเป็นอย่างไร ถึงจะสามารถทํานายไดว้ ่า เดือนทป่ี ระเทศเรามีฝนตกไปก่ีครั้งและวันต่อไปจะมี โอกาศฝนตกอกี วนั ไหนบ้าง 8. ผู้เรียนร่วมกนั อ่านเรอื่ งราวของเพอื่ นและแสดงความคดิ เห็นในเชงิ บวก 9. ผู้สอนและผเู้ รียนร่วมกนั สรุปการวิเคราะห์การทาํ นายเชงิ ตัวเลข 9. การวัดประเมินผล 9.1 ประเมนิ จากใบกจิ กรรม 9.2 สังเกตพฤตกิ รรมจากการทํางานกลุ่ม 10. สื่อและแหลง่ ขอ้ มูล 10.1 เวบ็ ไซต์data.programming.in.th 11. ข้อเสนอแนะ 11.1 ผ้สู อนแนะนําใหผ้ ู้เรียนเลอื กใช้เครอื่ งมือการวเิ คราะห์ขอ้ มูลตามความถนัด โดยอาจเลอื กใชโ้ ปรแกรมสําเรจ็ รูปหรอื การเขียนโปรแกรมภาษา 11.2 กิจกรรมนป้ี ระกอบด้วยใบกิจกรรม 2 ใบ ใช้เวลา 4 ชั่วโมง ให้ผู้สอน พจิ ารณาตามความเหมาะสมในการแบ่งการทํากิจกรรมในแต่ละสัปดาห์ 45

ก8ิจกรรกมที่ารทานายเชงิ หมวดหมู่ คาบเรียนที่ 23-26 เวลา 4 ชว่ั โมง 1 46 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 รายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 5

กจิ กรรมท่ี 8 รายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี(วทิ ยาการคานวณ) คาบเรยี นท่ี 23-26 เวลา 4 ช่ัวโมง 1. ตวั ชี้วัด รวบรวมวิเคราะหข์ ้อมลู และใชค้ วามรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ สื่อดิจิทัล เทคโนโลยสี ารสนเทศ ในการแกป้ ญั หาหรือเพมิ่ มูลคา่ ใหก้ บั บรกิ ารหรอื ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ใน ชวี ติ จรงิ อยา่ งสร้างสรรค์ 2. สาระการเรียนรู้ 2.1 ความหมายของการทาํ นายเชิงหมวดหมู่ 2.2 การทาํ นายโดยใช้K-NN เพอ่ื จาํ แนกข้อมลู 2.3 การประเมนิ ความถูกตอ้ งในการจาํ แนกข้อมูล 3. จุดประสงค์ ใหผ้ ้เู รยี นสามารถ 3.1 อธิบายหลักการทํานายเชงิ หมวดหมดู่ ้วยวธิ ีK-NN 3.2 ประเมนิ ความถูกตอ้ งในการจัดกลมุ่ ข้อมลู 4. ทักษะและกระบวนการ 4.1 ทักษะการคิดวิเคราะห์ 4.2 ทักษะการแกป้ ัญหา 4.3 ทกั ษะการสอ่ื สารและรว่ มมือ 47

กิจกรรมที่ 8 รายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี(วทิ ยาการคานวณ) คาบเรยี นที่ 23-26 เวลา 4 ชัว่ โมง 5. ความรเู้ ดมิ ทีน่ ักเรียนต้องมี - 6. สาระสาคัญ การทาํ นายเชิงหมวดหมเู่ ป็นการทาํ นายขอ้ มลู ทสี่ นใจท่ีไมใ่ ชข่ ้อมูลตวั เลข ซึ่งจะใช้ ขอ้ มูลในอดีตท่ีมกี ารระบุหมวดหมมู่ าแล้ว มาวเิ คราะหเ์ พอื่ ทํานายข้อมูลชุดใหม่ที่ยังไม่ ทราบหมวดหมู่ หนึ่งในเทคนิคที่ใช้ในการจัดหมวดหม่ทู ี่เป็นที่รู้จักกันดีคือวิธีการค้นหา เพอื่ นบา้ นใกล้เคยี งทีส่ ดุ K ตวั (K-Nearest Neighbors:K-NN) 7. สอ่ื และอุปกรณ์ 7.1 ใบกิจกรรม เรอื่ ง เวลา(นาที) ชวี ิตฉันคล้ายใคร 50 ใบกิจกรรมที่ ตวั น้พี วกไหนดี 50 8.1 8.2 7.2 ใบความรู้ • ใบความรูท้ ่ี 8.1 เร่อื ง การสร้างกราฟเรดารใ์ น Google Sheets 7.3 อื่นๆ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการ คาํ นวณ) ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 5 ของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี 48

กจิ กรรมท่ี 8 รายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี(วิทยาการคานวณ) คาบเรยี นท่ี 23-26 เวลา 4 ช่ัวโมง 8. แนวทางการจัดการเรยี นรู้ การจัดเตรียม • จัดเตรยี มใบกจิ กรรม 8.1 ในหัวขอ้ เรือ่ ง ชวี ิตฉนั คลา้ ยใคร ตามจํานวนผู้เรียน • จดั เตรียมใบกิจกรรม 8.2 ในหวั ข้อเรือ่ ง ตัวนพี้ วกไหนดี ตามจาํ นวนผ้เู รียน ขน้ั ตอนการดาเนนิ การ 1. นักเรียนอ่านคาํ ชแ้ี จง ขอ้ ควรปฏิบัติ จุดประสงค์การเรียนรใู้ ห้เขา้ ใจ หากมี ข้อสงสยั โปรดถามครูผสู้ อน 2. ผสู้ อนนําเขา้ สู่บทเรยี นด้วยการถามคําถามชวนคิด “นักเรียนชอบกิน อาหารชนดิ นห้ี รอื ไมห่ รอื ไม่ และชอบกินอาหารชนิดไหนมากที่สุด ” ให้ ผ้เู รียนแสดงความคดิ เห็นตามอสิ ระ 3. ให้ผู้เรียนแบง่ กลุม่ กลุ่มละ 8 คน แลว้ ทําใบกิจกรรมที่ 8.1 ชวี ติ ฉันคล้าย ใคร หลงั จากนั้นผสู้ อนสุ่มผ้เู รียนนําเสนอกราฟเรดาร์ของตัวเอง และให้ เปรียบเทยี บกับเพอ่ื นคนอนื่ ๆว่าเหมือนหรือต่างกันอยา่ งไร 4. ผเู้ รยี นศกึ ษาหัวขอ้ ย่อยท่ี 3.2 การทํานายเชงิ หมวดหมู่ ในหนงั สอื เรียน 5. ผ้สู อนและผเู้ รียนรว่ มกนั สรปุ การวิเคราะห์การทาํ นายเชิงหมวดหมู่ 9. การวดั ประเมินผล 9.1 ประเมนิ จากใบกจิ กรรม 9.2 สงั เกตพฤติกรรมจากการทํางานกลุ่ม 49

กจิ กรรมท่ี 8 รายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี(วทิ ยาการคานวณ) คาบเรียนท่ี 23-26 เวลา 4 ชั่วโมง 10. สื่อและแหล่งข้อมลู 10.1 เว็บไซตd์ ata.programming.in.th 10.2 เว็บไซตh์ ttps://www.babelcoder.com/blog/posts/k-nearest-neighbors 11. ข้อเสนอแนะ 11.1 กจิ กรรมนี้เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงทํานาย โดยใช้การวิเคราะห์เชิง หมวดหมู่ ซงึ่ ขอ้ มูลทีไ่ ด้หรือผลลพั ธ์จากการทาํ นาย จะไมใ่ ช่ตัวเลข แต่จะได้เป็นข้อมูลที่ บอกวา่ ข้อมลู นนั้ อยใู่ นกลมุ่ ใด 50