Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การพัฒนาแอปพลิเคชันบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ เรื่อง กลุ่มของธาตุในตารางธาตุ สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

การพัฒนาแอปพลิเคชันบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ เรื่อง กลุ่มของธาตุในตารางธาตุ สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

Published by My one day, 2022-04-07 04:01:38

Description: การพัฒนาแอปพลิเคชันบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ เรื่อง กลุ่มของธาตุในตารางธาตุ สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
The Development of an Android Application on a Group of Elements in the Periodic Table for Grade 10.

Keywords: การพัฒนาแอปพลิเคชันบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ เรื่อง กลุ่มของธาตุในตารางธาตุ สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

Search

Read the Text Version

การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติการจดั การเทคโนโลยีและนวัตกรรม ครัง้ ที่ 6 มหาวิทยาลยั ราชภฏั มหาสารคาม | จังหวัดมหาสารคาม | ประเทศไทย | 12 มนี าคม 2563 การพฒั นาแอปพลิเคชนั บนระบบปฏิบัตกิ ารแอนดรอยด เร่ือง กลุมของธาตุในตารางธาตุ สำหรบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี 4 The Development of an Android Application on a Group of Elements in the Periodic Table for Grade 10. พรรณนภิ า หนองแคน1* สวียา สุรมณี2 Pannipa Nongcan1* Saweya Suramane2 นกั ศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร1 และ อาจารย คณะศกึ ษาศาสตรแ ละนวัตกรรมการศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยกาฬสินธุ2 [email protected]*, [email protected] บทคดั ยอ การวิจัยครั้งนี้มวี ตั ถปุ ระสงคเพือ่ 1) พฒั นาแอปพลิเคชันบนระบบปฏบิ ตั ิการแอนดรอยด เรือ่ งกลุมของธาตุในตาราง ธาตุ สำหรบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปท่ี 4 ใหม ีประสทิ ธภิ าพตามเกณฑ 80/80 2) ศึกษาดัชนปี ระสทิ ธิผลของการเรยี นรูดวยแอปพลิเค ชันที่พัฒนาขึ้น และ 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอแอปพลิเคชันที่พัฒนาขึ้น กลุมตัวอยาง คือ นักเรียนชั้น มธั ยมศึกษาปท่ี 4/1 จำนวน 32 คน โรงเรียนเนนิ ยางประชาสามัคคี ไดมาจากการสมุ อยา งงา ยโดยวธิ กี ารจบั สลาก เคร่ืองมือท่ี ใชในการวจิ ัย คือ แอปพลิเคชันบนระบบปฏบิ ัติการแอนดรอยด เรื่องกลุมของธาตุในตารางธาตุ สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปท ี่ 4 แบบประเมิน ความเหมาะสม แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติที่ใชในการ วเิ คราะหขอมูล คือ คา รอยละ คาเฉลี่ย สว นเบ่ียงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบวา 1) แอปพลิเคชันบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด เรื่องกลุมของธาตุในตารางธาตุ สำหรับ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 มีประสิทธิภาพเทา กับ 80.47/80.94 2) ดชั นีประสิทธิผลของการเรียนรูดวยแอปพลิเคชันที่พัฒนาข้ึน มีคา เทา กับรอ ยละ 66 และ 3) นักเรยี นมคี วามพงึ พอใจตอ แอปพลเิ คชันทพี่ ัฒนาขน้ึ อยูใ นระดบั มากที่สุด คำสำคญั : แอปพลเิ คชัน, กลุม ของธาตุในตารางธาตุ, รปู แบบการเรยี นการสอนแบบ TCS ABSTRACT The purposes of the research were to 1 ) develop an android application on a group of elements in the periodic table for grade 10 course based on the value of the efficiency 8 0 / 8 0 , 2 ) study the effectiveness index learning of the application, and 3 ) study the learning satisfaction of the students who learned with the application. The samples were 32 grade 10 room 1 students at Nernyangprachasamukkee school selected by simple random sampling. The research instruments were the application, an application suitability evaluation form, an achievement evaluation form, and satisfaction questionnaire. The research statistics were percentage, mean and standard deviation. The research findings showed that 1) the application had efficiency of 80.47/80.94, 2) the effectiveness index of the application was 66%, and 3) The satisfaction of students was at the highest level. Keyword: Android application, a group of elements in the periodic table, TCS Model 336 | การจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม

The 6th National Conference on Technology and Innovation Management NCTIM 2020 | Rajabhat Maha Sarakham University | Maha Sarakham | Thailand | 12 March 2020 บทนำ ปจจบุ ันเทคโนโลยเี ขา มามบี ทบาทในชีวิตประจำวนั ทำใหการเรยี นการสอนมีการนำเอาเทคโนโลยเี ขา มาเกยี่ วของใน รูปแบบของสื่อตา งๆ ทั้งวิดีทัศน คอมพิวเตอรชว ยสอน รวมไปถึงแอปพลิเคชัน โดยการใชสื่อใหเหมาะสมกับผูเรียนจะชวยให ผูเรียนสามารถเรยี นรไู ดอยา ง มีประสทิ ธิภาพ ซึ่งทำใหเกิดการพัฒนาสือ่ การสอนในรูปแบบแอปพลิเคชันบนสมารทโฟน หรอื แท็บเลต็ โดยเปนอกี ชองทางทีท่ ำใหการเรียนรไู มจำกัดอยูแตภายในหองเรยี น อกี ทั้งยังสะดวกสามารถทบทวนบทเรยี นไดทกุ ท่ี ตามตองการ จึงมีความจำเปนที่จะตองใชสื่อการเรียนรูที่เหมาะสมแกบุคคลเหลานี้ (กรกนก คลังบุญครอง, 2555) ซึ่งสอดคลองกับเทคโนโลยี M-Learning เปน อกี หน่ึงทางเลอื กท่ีหลายสถาบนั การศึกษานำมาใชในการพฒั นาระบบการศึกษา ไทยและเพิ่มประสิทธิภาพการเรยี นการสอน โดยสามารถใชเครือขายอินเตอรเน็ตเปนแหลงทรัพยากร ในการสงเสริมการ เรยี นรขู องผเู รยี นได สามารถสืบคนขอ มูลจากแหลงความรอู ยา งไมจำกัดสถานท่ี และเวลา ซ่งึ เปนวธิ ีในการจูงใจใหผูเรียนเกิด ความสนใจ รสู ึกสนกุ สนานตื่นเตน โดยมเี ปาหมาย เพอ่ื สงเสริมสนบั สนุนใหเ กิดกระบวนการเรียนรูท่ีมีประสิทธิภาพตอผูเรียน (ณัฐกร สงคราม, 2557) โรงเรยี นเนนิ ยางประชาสามัคคี ตำบลเนินยาง อำเภอคำมวง จังหวัดกาฬสินธุ ไดทำการเรียนการสอนชวงชั้นที่ 3-4 มงุ เนน ใหนักเรียนมีคุณลกั ษณะอันพึงประสงค และสง เสรมิ ใหครูผสู อนจัดกจิ กรรมการเรียนรอู ยางหลากหลาย อีกท้ังโรงเรียน ยังมีหองเรียนคอมพิวเตอร และใชแท็บเล็ต เพื่อสงเสริมและขยายโอกาสในการพัฒนาองคความรูของนักเรียน ผูศึกษาได สำรวจบริบท ในการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนเปนเบ้ืองตน จากการสมั ภาษณ นายดร ศรีสวัสดิ์ (ดร ศรีสวสั ด์ิ, 2562) อาจารยผูสอนประจำรายวิชาเคมี เรื่อง กลุมของธาตใุ นตารางธาตุ สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 พบวา กลุมของธาตุในตาราง ธาตุ มีเนื้อหามาก ความรูความสัมพันธกันของแตละเรื่องยากตอการทำความเขาใจในเวลาจำกัด โอกาสที่นักเรียนจะได ทบทวนบทเรียนมีนอย แมวาจะมีการใชสื่อ e-learning ก็มีเพียงบางเนือ้ หาเทานั้น หากนักเรียนไมเชื่อมตออนิ เทอรเนต็ ก็ไม สามารถใชได ดังน้ันจึงตองการสื่อที่ทันสมัย สามารถชวยใหนกั เรียนทบทวนบทเรียนได แมจะไมเชื่อมตอ อินเทอรเน็ตก็ตาม และจากการสอบถามนักเรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปที่ 4 จำนวน 20 คน เกี่ยวกบั สอื่ ท่ีใชใ นการจัดการเรยี นการสอนในเร่ืองน้ี พบวา นักเรยี นรอยละ 60 มีความสนใจทีจ่ ะเรยี นดว ยแอปพลเิ คชัน นกั เรียนรอยละ 25 มคี วามสนใจทจ่ี ะเรียนดวยเกม และนักเรยี น รอยละ 15 มคี วามสนใจทจี่ ะเรียนดว ยอีเลิรน นงิ จากปญหาและความตองการดังกลาว ผูวิจัยจึงไดมีแนวคิดในการพัฒนาแอปพลิเคชัน ซึ่งเปนการเรียนโดยใช แท็บเลต็ ทีน่ ำเสนอเนื้อหาบนระบบปฏิบตั ิการแอนดรอยด โดยมวี ัตถปุ ระสงคหลกั เพื่อใหนกั เรียนสามารถเรียนรูไดดวยตนเอง โดยออกแบบแอปพลิเคชันตามรูปแบบการเรียนการสอนตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสตโดยอาศัยสถานการณจำลอง หรือ TCS Model ซึ่งพัฒนาโดยสวียา สุรมณี (2558) ซ่ึงรูปแบบประกอบดวยกิจกรรมการเรียนรู 5 ขั้นตอน ไดแก การนำเขาสู บทเรียน สถานการณปญหา การเรียนรู การชวยเหลือ และ การแลกเปลี่ยนเรียนรู เหมาะสมสำหรับการเรียนการสอนในยคุ ปจ จบุ นั ดังนั้น ผูศึกษาจึงไดพ ัฒนาแอปพลิเคชนั บนระบบปฏิบัตกิ ารแอนดรอยด เรื่องกลุมของธาตุในตารางธาตุ สำหรบั ชนั้ มัธยมศึกษาปที่ 4 เพื่อใหนักเรียนเกิดการเรียนรูไดงาย จดจำไดดี และเสริมสรางใหนักเรียนสามารถสรางองคความรูดวย ตนเองตอไป 1. วัตถปุ ระสงคการวจิ ยั 1. เพื่อพัฒนาแอปพลิเคชันบนระบบปฏบิ ัติการแอนดรอยด เรื่อง กลุมของธาตุในตารางธาตุ สำหรบั ช้ันมัธยมศึกษา ปท ่ี 4 ใหมีประสทิ ธิภาพตามเกณฑ 80/80 2. เพื่อศึกษาดัชนปี ระสิทธผิ ลของการเรยี นรูดว ยแอปพลิเคชนั บนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด เรอื่ ง กลมุ ของธาตุใน ตารางธาตุ สำหรับชัน้ มัธยมศึกษาปท ่ี 4 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอแอปพลิเคชันบนระบบปฏิบตั ิการแอนดรอยด เรื่อง กลุมของธาตุใน ตารางธาตุ สำหรับช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 4 Technology and Innovation Management | 337

การประชมุ วิชาการระดับชาตกิ ารจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม คร้งั ท่ี 6 มหาวิทยาลยั ราชภฏั มหาสารคาม | จังหวัดมหาสารคาม | ประเทศไทย | 12 มีนาคม 2563 2. เอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี ก่ียวขอ ง 1. แอปพลิเคชันเปน การใชเทคโนโลยีระบบ โดยแอปพลิเคชันเปนคำยอ ของคำวา application program หรือ เรียกวา โปรแกรมประยุกต ซึ่งเปน โปรแกรมที่ไดรับการออกแบบใหท ำงานดวยหนา ที่ ทีเ่ จาะจงโดยตรงสำหรับผูใช หรือใน บางกรณี สำหรับโปรแกรมประยุกตอื่นๆ ตัวอยางเชน โปรแกรมประมวลผลคำ (word processing เชน MS Word) ฐานขอมูล web browser เปนตน (สมุ น คณานติ ย, 2558) 2. กลมุ ของธาตใุ นตารางธาตุ เปน เนอ้ื หาท่ีใชใ นการเรยี นตามหลกั สูตรแกนกลางศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พ.ศ. 2551 (ฉบับ ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) กลมุ ของธาตใุ นตารางธาตุ สำหรับช้ันมัธยมศึกษาปท ่ี 4 ตวั ชวี้ ัด (ว 2.1) ตวั ช้ีวัดชว งช้นั คือ ระบุหมู คาบ ความเปนโลหะ อโลหะ และกงึ่ โลหะของธาตเุ รพรีเซนเททีฟและธาตแุ ทรนซชิ ันในตารางธาตุ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2560) 3. รูปแบบการเรียนการสอนตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสตโดยอาศัยสถานการณจำลอง หรือ TCS Model ซึ่งพัฒนาโดยสวียา สุรมณี (2558) ซึ่งเปนแบบแผนแสดงถึงความสัมพันธขององคป ระกอบของกิจกรรมการเรยี นรูโดยการนำ ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสตและการจำลองสถานการณดวยไอซีทมี าบรูณาการเพ่ือเปนพ้ืนฐานในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู รวมกันผานเครือขายคอมพิวเตอร โดยรูปแบบประกอบดวยกิจกรรมการเรียนรู 5 ขั้นตอน ไดแก การนำเขาสูบทเรียน สถานการณปญหา การเรยี นรู การชวยเหลอื และ การแลกเปล่ยี นเรียนรู 4. จากการศกึ ษางานวิจัยที่เกี่ยวขอ งกับการพฒั นาแอปพลิเคชนั กับการจัดการเรียนรูตามรูปแบบการเรียนการสอน แบบ TCS พบวา สวียา สุรมณี, ธรัช อารีราษฎร และ วรปภา อารีราษฎร (2559) ไดศึกษาวิจยั เรื่อง การพัฒนารปู แบบการ เรียนการสอนตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสตโดยอาศัยสถานการณจำลอง วิชาเครือขายคอมพิวเตอรเพื่อการศึกษา ผลการวิจยั พบวา กจิ กรรมการเรยี นรูตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคตวิ ิสตโดยอาศยั สถานการณจำลอง วิชาเครอื ขายคอมพิวเตอร เพ่อื การศึกษา ประกอบดวย 5 ขั้นตอน ไดแก 1) การนำเขาสูบ ทเรยี น 2) สถานการณปญ หา 3) การเรยี นรกู ารชว ยเหลอื และ 5) การแลกเปลี่ยนเรียนรู, รวีพร จรูญพันธเกษม, ดารณี ธัญญสิริ, พรพิมล เสมเจริญ และณัฎฐกิตติ์ เจริญสุข (2561) ได ศึกษาวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการสอนโดยอาศัยแอปพลิเคชันการอานออกเสียงดวยระบบรูจำเสียงพูด และเกมทาย คำศพั ทภาษาอังกฤษ ผลการวจิ ัยพบวา ผลการประเมนิ คุณภาพของแอปพลิเคชันท่ีพฒั นาขน้ึ ในภาพรวมมคี าเฉลีย่ อยูใ นระดับ มาก (X̅ = 4.13, S.D = 0.67), ปยะธิดา โสมศรี และสวียา สุรมณี (2561) ไดศึกษาวิจัยเรื่อง การพัฒนาแอปพลิเคชันบน ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด เรื่องการดำรงชีวิตของพืช สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ผลการวิจัยพบวา 1) แอปพลิเคชันบน ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด เรื่องการดำรงชีวิตของพืช สำหรับชั้นมัธยมศึกษา มีประสิทธิภาพเทากับ 81.33/85.33 เปนไป ตามเกณฑที่กำหนด, ธัชมาภรณ พรมดี และสวียา สุรมณี (2561) ไดศึกษาวิจัยเรื่อง การพัฒนาแอปพลิเคชันบน ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด เรื่องคำราชาศัพท สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ผลการวิจัยพบวา แอปพลิเคชันบน ระบบปฏิบัตกิ ารแอนดรอยด เรือ่ งคำราชาศพั ท สำหรับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที่ 2 สงผลตอความกาวหนาในการเรียนรสู ูง คิดเปน รอยละ 73 และนุชจิรา แดงวนั สี, ปรญิ วรรณ สุนทรกั ษ, สนธิ พลชยั ยา และกานตตะรัตน วุฒเิ สลา (2560) ไดศึกษาวิจัยเร่อื ง ผลการจัดการเรียนรูแบบรว มมือกบั แอปพลิเคชันบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยดที่มตี อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องตาราง ธาตุ สำหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปที่ 4 โดยรวมอยูใ นระดบั มากท่ีสดุ มคี า เฉลี่ยเทากับ 4.58 วิธีดำเนินการวิจัย 1. ขัน้ ตอนการดำเนินการวิจยั ประกอบดวย 5 ขนั้ ตอน ดงั น้ี 1. ขั้นการวิเคราะห (Analysis) ผูวิจัยทำการศึกษาและวิเคราะหเกี่ยวกับเนื้อหาเรื่องกลุมของธาตุในตารางธาตุ บริบทและความตองการของนักเรียน วิธกี ารสรา งแอปพลิเคชันบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด และรูปแบบการเรียนรูตาม ทฤษฎคี อนสตรัคติวสิ ตโ ดยอาศยั สถานการณจำลอง (TCS Model) 2. ขั้นการออกแบบ (Design) ผูวิจัยไดนำขอมูลที่ไดจากการศึกษาวเิ คราะหมาประกอบในการออกแบบโครงสราง เนื้อหาบทเรียน มาตรฐานจอภาพ เขียนบทดำเนินเรื่อง แลวนำเสนออาจารยที่ปรึกษาเพื่อตรวจสอบความถูกตอง และ ปรับปรงุ แกไ ขตามขอ เสนอแนะ 3. ขั้นการพัฒนา (Development) ผูวิจัยไดนำขอมูลที่ไดจากออกแบบมาพัฒนาเปนแอปพลิเคชันบน ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด โดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอร ซึ่งแอปพลิเคชันจะทำงานในลักษณะมัลติมีเดียที่เนนการ ปฏิสมั พันธกบั นักเรียน จากน้นั นำเสนอผูเช่ียวชาญเพอ่ื ประเมนิ ความเหมาะสม และปรับปรุงแกไ ขตามขอเสนอแนะ 338 | การจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม

The 6th National Conference on Technology and Innovation Management NCTIM 2020 | Rajabhat Maha Sarakham University | Maha Sarakham | Thailand | 12 March 2020 4. ข้ันการทดลองใช (Implementation) ผวู ิจยั นำแอปพลิเคชนั ทีพ่ ฒั นาข้ึนไปทดลองใชก บั กลุมตัวอยาง คือนกั เรยี น ช้นั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 4/1 โรงเรียนเนินยางประชาสามคั คี ตำบลเนนิ ยาง อำเภอคำมว ง จงั หวัดกาฬสนิ ธุ จำนวน 32 คนคัดเลือก โดยวธิ กี ารสุมอยา งงา ยโดยการจับสลาก 5. ขัน้ การประเมินผล (Evaluation) ผูว ิจยั ไดเก็บรวบรวมขอมลู พรอ มนำผลที่ไดจ ากการทดลองมาประเมนิ ผลโดยใช สถติ ิ คือ คารอยละ คา เฉล่ีย สว นเบ่ียงเบนมาตรฐาน และสรุปผลการวิจยั พรอมกบั จดั ทำ 2. เครอื่ งมือการวจิ ัย 1. แอปพลเิ คชนั บนระบบปฏบิ ตั ิการแอนดรอยด เรื่อง กลมุ ของธาตใุ นตารางธาตุ สำหรบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 4 2. แบบประเมนิ ความเหมาะสมของแอปพลเิ คชันทพ่ี ฒั นาข้นึ 3. แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น เรอ่ื ง กลุม ของธาตุในตารางธาตุ 4. แบบสอบถามความพึงพอใจของนกั เรยี นท่ีมีตอ แอปพลเิ คชนั ท่พี ัฒนาข้ึน 3. ประชากรและกลมุ ตวั อยาง 1. ประชากร คือ นักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปท ี่ 4 โรงเรียนเนินยางประชาสามคั คี ตำบลเนนิ ยาง อำเภอคำมว ง จังหวัด กาฬสินธุ ทง้ั หมด 2 หอง จำนวน 62 คน 2. กลุมตัวอยาง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4/1 โรงเรียนเนินยางประชาสามัคคี ตำบลเนินยาง อำเภอคำมวง จงั หวดั กาฬสนิ ธุ จำนวน 32 คน คัดเลือกโดยวิธกี ารสุมอยา งงายโดยการจบั สลาก 4. สถติ ิทีใ่ ชในการวจิ ยั 1. วิเคราะหระดบั ความเหมาะสมของแอปพลเิ คชัน โดยใชส ถติ ิ คา เฉลยี่ และคา สว นเบีย่ งเบนมาตรฐาน 2. วิเคราะหประสิทธิภาพของแอปพลิเคชัน โดยนำคะแนนทดสอบระหวางเรียน และทดสอบหลังเรียนมา เปรยี บเทียบ โดยใชสถติ ิ คา รอ ยละ เทียบกับเกณฑ 80/80 3. วเิ คราะหห าคา ดัชนปี ระสิทธิผล โดยนำคะแนนทดสอบกอ นเรียนและหลังเรียนมาเปรยี บเทียบ ใชส ถติ ิ คารอ ยละ 4. วิเคราะหความพึงพอใจของนกั เรียนที่มีตอ แอปพลเิ คชัน โดยใชสถติ คิ าเฉลีย่ และคา สวนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ผลการวิจยั 1. ผลการพฒั นาแอปพลิเคชันบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด เรื่อง กลุมของธาตุในตารางธาตุ สำหรบั ชั้นมัธยมศึกษา ปที่ 4 ผูวิจัยไดดำเนินการพัฒนาแอปพลิเคชันบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด ตามขั้นตอนการวิจัย 5 ขั้นตอน โดยแอปพลิเคชันบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยดจะมีคุณสมบัติครอบคลุมทางดานมัลติมีเดียและกิจกรรมการเรียนรู ตามรปู แบบการเรียนการสอนตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคตวิ ิสตโดยอาศยั สถานการณจำลอง (TCS Model) ไดผลแสดงดงั ภาพ ที่ 1-6 ภาพท่ี 1 บทนำ ภาพท่ี 2 การนำเขาสูบทเรยี น ภาพท่ี 3 สถานการณป ญ หา Technology and Innovation Management | 339

การประชุมวชิ าการระดบั ชาติการจดั การเทคโนโลยแี ละนวตั กรรม คร้ังที่ 6 มหาวิทยาลยั ราชภัฏมหาสารคาม | จงั หวัดมหาสารคาม | ประเทศไทย | 12 มีนาคม 2563 ภาพท่ี 4 แหลงเรยี นรู ภาพท่ี 5 การชว ยเหลอื ภาพที่ 6 แลกเปล่ียนเรยี นรู จากภาพท่ี 1-6 แอปพลิเคชันบนระบบปฏิบัตกิ ารแอนดรอยด เรอื่ งกลมุ ของธาตุในตารางธาตุ สำหรับชั้นมัธยมศกึ ษา ปท ี่ 4 ท่มี กี จิ กรรมการเรยี นรตู ามรปู แบบการเรยี นการสอนตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวสิ ตโ ดยอาศัยสถานการณจ ำลอง (TCS Model) คือ 1) การนำเขาสูบทเรียน 2) สถานการณปญ หา 3) การเรยี นรู 4) การชวยเหลือ และ 5) การแลกเปลย่ี นเรยี นรู ซึ่งจากการประเมินโดยผูเชี่ยวชาญ พบวา ความเหมาะสมของแอปพลิเคชันระบบปฏิบัติการแอนดรอยด เรื่อง กลุมของธาตุในตารางธาตุ สำหรับชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี 4 ไดผ ลแสดงดงั ตารางที่ 1 ตารางที่ 1 ผลการวเิ คราะหความเหมาะสมของแอปพลเิ คชัน X̅ S.D. ระดบั ความคดิ เห็น รายการ 4.52 0.54 มากทส่ี ดุ 1. เนอ้ื หาและการดำเนินเรอื่ ง 4.52 0.51 มากทส่ี ดุ 2. ภาพ ภาษา และเสยี ง 3. ตวั อักษร และสี 4.40 0.51 มากท่สี ดุ 4. แบบทดสอบ 5. การจดั การบทเรยี น 4.68 0.48 มากท่สี ดุ โดยรวม 4.90 0.31 มากท่สี ุด 4.63 0.49 มากทสี่ ดุ จากตารางที่ 1 พบวาความเหมาะสมของแอปพลิเคชันบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด เรื่องกลุมของธาตุในตาราง ธาตุ สำหรบั ชน้ั มัธยมศึกษาปท ่ี 4 โดยรวมอยใู นระดบั มาก (X̅= 4.24, S.D. = 0.64) และผลการศึกษาประสิทธภิ าพของแอปพลิเคชันบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด เรื่องกลุมของธาตุในตารางธาตุ สำหรบั ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4 ไดผ ลแสดงดังตารางท่ี 2 ตารางท่ี 2 ประสทิ ธิภาพของแอปพลิเคชนั ตามเกณฑ E1/E2 การทดสอบ จำนวนนักเรยี น คะแนนเต็ม ประสิทธภิ าพ 12 80.47 ระหวางเรยี น (E1) 32 10 80.94 หลังเรียน (E2) 32 จากตารางที่ 2 คาคะแนนท่ีไดจ ากการทำทดสอบระหวางเรยี น หรือ E1 เทา กับ 80.47 และคาคะแนนท่ไี ดจาก การทดสอบหลงั เรยี น หรือ E2 เทากบั 80.94 ซ่งึ มปี ระสทิ ธภิ าพเปน ไปตามเกณฑ 80/80 ทีก่ ำหนดไว 2. ผลการศกึ ษาดัชนีประสิทธิผลของการเรียนรูดวยแอปพลิเคชนั บนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด เรื่องกลุมของธาตุใน ตารางธาตุ สำหรบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที่ 4 ไดผลแสดงดังตารางที่ 3 ตารางท่ี 3 คา ดชั นปี ระสิทธผิ ลของการเรยี นรูดว ยแอปพลเิ คชนั จำนวนนักเรยี น คะแนนเต็ม คะแนนกอนเรียน คะแนนหลังเรยี น ดชั นปี ระสทิ ธิผล รอยละ 0.66 66 32 10 138 259 340 | การจดั การเทคโนโลยแี ละนวตั กรรม

The 6th National Conference on Technology and Innovation Management NCTIM 2020 | Rajabhat Maha Sarakham University | Maha Sarakham | Thailand | 12 March 2020 จากตารางที่ 3 ดชั นปี ระสิทธผิ ลของการเรียนรดู ว ยแอปพลเิ คชันมีคา เทากับรอ ยละ 66 หมายความวา นกั เรยี นมี ความกา วหนา ทางการเรียนอยูใ นระดบั สงู โดยพิจารณาจากเกณฑการแปลความหมายคา ดัชนปี ระสิทธิผลของเผชญิ กิจระการ (2546) คอื คาตัวเลขตั้งแต 0.60 – 0.79 หมายถงึ ความกา วหนาในการเรยี นรสู งู 3. ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอแอปพลิเคชันบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด เรื่องกลุมของธาตุใน ตารางธาตุ สำหรับชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี 4 ไดผลแสดงดังตารางที่ 4 ตารางท่ี 4 ผลการสอบถามความพึงพอใจของนักเรยี นทม่ี ตี อ แอปพลเิ คชันบนระบบปฏบิ ตั กิ ารแอนดรอยด รายการประเมนิ X̅ S.D. ระดบั ความพงึ พอใจ 1. แอปพลเิ คชันมคี วามนาสนใจ และดึงดดู ใจ 4.63 0.55 มากทส่ี ดุ 2. การแบงหวั ขอ ของเนื้อหาชัดเจนไมสบั สน 4.56 0.62 มากทีส่ ดุ 3. การนำเสนอเนื้อหางา ยตอ การทำความเขา ใจ 4.44 0.62 มาก 4. ปริมาณของเน้ือหากำลงั ดี ไมม าก ไมน อ ยเกนิ ไป 4.41 0.67 มาก 5. สวนนำเขาแอปพลิเคชัน (ไตเติล้ ) มีความเรา ใจและนาสนใจ 4.34 0.70 มาก 6. สสี นั ของแอปพลเิ คชัน และความสวยงามบนหนา จอ 4.56 0.62 มากทส่ี ุด 7. ตัวอักษรชัดเจนอา นไดงา ย 4.59 0.61 มากทสี่ ุด 8. ภาพประกอบมคี วามสวยงามคมชดั 4.56 0.62 มากท่สี ุด 9. ปมุ ตา งๆ มีการจัดวางเหมาะสม ใชง านไดง า ย 4.66 0.60 มากทีส่ ุด 10. การใชง านแอปพลิเคชนั งา ย และสะดวก ไมมีขอ ตดิ ขัด 4.44 0.72 มาก 11. เกมมีประโยชน สนกุ ไดทบทวนความรู 4.66 0.60 มากที่สดุ 12. เสียงประกอบเหมาะสม 4.53 0.76 มากที่สดุ 13. แบบทดสอบใชงาย 4.50 0.67 มาก 14. ระยะเวลาในการศึกษาแอปพลเิ คชนั 4.34 0.70 มาก 15. ทานไดความรเู พ่ิมขนึ้ หลังจากศึกษาผานแอปพลิเคชันเรอ่ื งนี้ 4.59 0.56 มากที่สดุ โดยรวมเฉลย่ี ท้งั หมด 4.52 0.64 มากที่สุด จากตารางที่ 4 ความพงึ พอใจของนกั เรยี นท่มี ตี อแอปพลิเคชันทพ่ี ัฒนาขนึ้ โดยรวมอยูในระดบั มากทส่ี ุด (X̅ = 4.52, S.D. = 0.64) อภปิ รายผลการวจิ ัย 1. แอปพลิเคชันบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด เรื่องกลุมของธาตุในตารางธาตุ สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ที่มีกิจกรรมการเรียนรูตามรูปแบบการเรียนการสอนแบบ TCS คือ 1) การนำเขาสูบทเรียน 2) สถานการณปญหา 3) การเรยี นรู 4) การชวยเหลอื และ 5) การแลกเปลย่ี นเรียนรู ซึง่ จากการประเมนิ ความเหมาะสมโดยผเู ชีย่ วชาญ 3 ทานพบวา แอปพลิเคชันที่พัฒนาขึ้น มีความเหมาะสมในระดบั มาก (X̅ = 4.24, S.D. = 0.64) และประสิทธิภาพของแอปพลิเคชันท่ี พัฒนาขึ้น เทากับ 80.47/80.94 ซึ่งเปนไปตามเกณฑ ทั้งนี้เนื่องจาก แอปพลิเคชันที่พัฒนาขึน้ ไดออกแบบตามรูปแบบการ เรยี นการสอนตามแนวทฤษฎคี อนสตรัคติวสิ ต โดยอาศยั สถานการณจ ำลองของสวยี า สรุ มณี (2558) โดยมหี ลักการสอนที่เปน วิธีการสงเสริม ใหนักเรียนรูจักคิดดวยตนเอง รูจักคนควา หาเหตุผล สามารถแกปญหา และสรางองคความรูดวยตนเองได สอดคลองกับสวยี า สรุ มณี, ธรัช อารีราษฎร และ วรปภา อารีราษฎร (2559) ไดศึกษาวิจัยเร่ือง การพัฒนารูปแบบการเรยี น การสอนตามแนวทฤษฎีคอนสตรคั ติวิสตโดยอาศัยสถานการณจำลอง วิชาเครือขายคอมพิวเตอรเพื่อการศึกษา ผลการวจิ ัย พบวา กิจกรรมการเรียนรูตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสตโดยอาศัยสถานการณจำลอง วิชาเครือขายคอมพิวเตอรเพ่ือ การศกึ ษา ประกอบดว ย 5 ข้ันตอน ไดแก 1) การนำเขา สบู ทเรยี น 2) สถานการณปญ หา 3) การเรยี นรกู ารชว ยเหลอื และ 5) การแลกเปลย่ี นเรยี นรู และสอดคลอ งกับ รวพี ร จรูญพันธเกษม, ดารณี ธัญญสริ ิ, พรพมิ ล เสมเจรญิ และณัฎฐกติ ต์ิ เจรญิ สขุ (2561) ไดศึกษาวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการสอนโดยอาศัยแอปพลิเคชันการอานออกเสยี งดวยระบบรูจำเสียงพูด และ เกมทายคำศพั ทภ าษาอังกฤษ ผลการวจิ ยั พบวา ผลการประเมนิ คณุ ภาพของแอปพลิเคชนั ทพ่ี ฒั นาข้ึนในภาพรวมมีคาเฉล่ยี อยู Technology and Innovation Management | 341

การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติการจดั การเทคโนโลยแี ละนวัตกรรม ครั้งท่ี 6 มหาวิทยาลยั ราชภฏั มหาสารคาม | จังหวดั มหาสารคาม | ประเทศไทย | 12 มีนาคม 2563 ในระดบั มาก (X̅ = 4.13, S.D = 0.67) รวมถงึ สอดคลอ งกับปยะธดิ า โสมศรี และสวยี า สุรมณี (2562) ไดศ กึ ษาวิจยั เร่ือง การ พัฒนาแอปพลเิ คชันบนระบบปฏบิ ตั กิ ารแอนดรอยด เร่ืองการดำรงชีวิตของพชื สำหรับชั้นมธั ยมศกึ ษาปที่ 1 ผลการวิจัยพบวา 1) แอปพลิเคชันบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด เร่ืองการดำรงชีวิตของพืช สำหรับชั้นมัธยมศึกษา มีประสิทธิภาพเทากับ 81.33/85.33 เปนไปตามเกณฑทก่ี าํ หนด 2. ดัชนีประสิทธิผลของการเรียนรูดวยแอปพลิเคชันที่พัฒนาขึ้น มคี า เทากับ 0.66 หรือรอยละ 66 หมายความวา หลังการเรียนดว ยแอปพลิเคชันบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยดแ ลว นักเรยี นมีอัตราความกาวหนาทางการเรียนอยูในระดบั สงู โดยพิจารณาจากเกณฑการแปลความหมายคาดัชนีประสิทธิผล คาตัวเลขตั้งแต 0.60 – 0.79 หมายถึงความกาวหนาในการ เรยี นรสู งู (เผชญิ กิจระการ, 2546) ทงั้ น้เี น่อื งจาก แอปพลิเคชันบนระบบปฏบิ ตั ิการแอนดรอยด ถกู ออกแบบใหมีกจิ กรรมการ จัดการเรียนรแู บบ TCS ทเ่ี ปน การจัดการเรยี นรูทีม่ ุงเนนประสบการณ ใหนกั เรยี นไดเรยี นรู และสรา งความรูดว ยตนเอง และมี ปฏิสัมพันธในการติดตอสื่อสารทางสังคม สามารถพฒั นาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรูใหสูงขึ้น สอดคลองกับ ธัชมาภรณ พรมดี และสวียา สุรมณี (2561) ไดศึกษาวิจัยเรื่อง การพัฒนาแอปพลิเคชันบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด เรื่องคำราชาศัพท สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ผลการวิจัยพบวา แอปพลิเคชันบนระบบปฏบิ ัติการแอนดรอยด เร่ือง คำราชาศัพท สำหรับชั้น มธั ยมศึกษา ปท ่ี 2 สงผลตอ ความกาวหนาในการเรยี นรสู งู คดิ เปน รอยละ 73 ซง่ึ อยูในระดับสงู เชนกัน 3. นกั เรียนมีความพงึ พอใจตอ การจดั การเรยี นการสอนดวยแอปพลิเคชันบนระบบปฎิบัติการแอนดรอยด โดยรวมอยูใน ระดับมากท่ีสุด (X̅ = 4.52, S.D. = 0.64) ทั้งนี้เนือ่ งจาก แอปพลิเคชันบนระบบปฎิบัติการแอนดรอยดมีจดั กิจกรรมการเรียน การสอนโดยเนน ผูเรยี นเปนสำคญั ดวยการเตรยี มความพรอ มกอ นเรยี น การเรียนรโู ดยใชโจทยป ญหาและภารกจิ ซึ่งออกแบบ โดยใชสถานการณจ ำลองดว ยภาพเคลอ่ื นไหว ขอความ ภาพ แอนิเมชัน หรอื วีดทิ ัศน และมกี ารเปลีย่ นความคดิ เหน็ ระหวา งกนั สอดคลองกับ นุชจิรา แดงวันสี, ปรญิ วรรณ สุนทรักษ, สนธิ พลชัยยา และกานตตะรัตน วุฒิเสลา (2560) ไดศึกษาวิจัยเรื่อง ผลการจัดการเรียนรูแบบรว มมือกบั แอปพลิเคชันบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยดท่ีมีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องตาราง ธาตุ สำหรับนกั เรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ่ี 4 โดยรวมอยูในระดบั มากทีส่ ุด มีคา เฉล่ียเทา กบั 4.58 เชนกัน ขอ เสนอแนะ 1. ขอ เสนอแนะเพือ่ นำผลการวิจยั ไปใช ผูสอนควรศึกษาคำแนะนำในการใชแอปพลิเคชนั กอน เพื่อจะไดทราบถึงขั้นตอนและวิธีการที่ถูกตอง ซึ่งจะชวยลด ปญหาในการใชแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษาในภายหลัง และ และควรทำการทดสอบอุปกรณท่ีใชในการจัดการเรียนรูทุกครัง้ เพ่ือการเตรียมความพรอมเก่ียวกับการทำงานของสอ่ื 2. ขอเสนอแนะเพอ่ื การวจิ ยั คร้งั ตอไป ควรมีการเพิม่ เนอื้ หาของแตละธาตุ และรปู ภาพแตล ะธาตุเพ่ือช้ีแจงใหล งลึกกวาน้ี และมกี ารวิจยั และพัฒนา แอปพลิเคชนั เพื่อใชจัดการเรียนการสอนในกลุมสาระการเรียนรูวิชาวิทยาศาสตร เน้ือหาหนวยอื่นๆ เพื่อใหมีความสมบรูณ ครบทกุ หนว ยการเรยี นรู ซง่ึ จะเปนประโยชนตอ ผูเ รียนและผสู นใจท่นี ำมาใชเรียนรูมากขนึ้ เอกสารอา งอิง กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560). กรงุ เทพมหานคร: ชมุ นุมสหกรณก ารเกษตรแหงประเทศไทย. กรกนก คลังบุญครอง. (2555). เว็บแอปพลิเคชั่นชวยแมดูแลสุขภาพและบันทึกพัฒนาการของลูก (ปริญญาวิทยาศาสตร บัณฑติ ). กรงุ เทพมหานคร: มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา ธนบรุ ี. ณัฐกร สงคราม. (2557). การออกแบบและพัฒนามัลตมิ ีเดียเพื่อการเรียนรู. กรุงเทพมหานคร:สำนักพิมพแหงจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. ธชั มาภรณ พรมดี และสวียา สุรมณี. (2561). การพัฒนาแอปพลิเคชันบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด เรื่อง คำราชาศัพท สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2. ใน การประชมุ วิชาการระดับชาติการจัดการเทคโนโลยี และนวัตกรรม ครั้งที่ 4 (น. 45). มหาสารคาม: มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏมหาสารคาม. ดร ศรสี วสั ดิ์ (2562, 29 มีนาคม). ครผู ูส อนรายวิชาเคม.ี สัมภาษณ. โรงเรียนเนนิ ยางประชาสามคั คี ตำบลเนนิ ยาง อำเภอ คำมวง จังหวดั กาฬสนิ ธ.ุ 342 | การจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม

The 6th National Conference on Technology and Innovation Management NCTIM 2020 | Rajabhat Maha Sarakham University | Maha Sarakham | Thailand | 12 March 2020 นชุ จริ า แดงวนั สี ปริญวรรณ สุนทรักษ สนธิ พลชยั ยา และกานตตะรัตน วุฒเิ สลา. (2561). ผลการจัดการเรียนรแู บบรวมมือ กบั แอปพลเิ คชนั บนระบบปฏิบตั กิ ารแอนดรอยดท่ีมีตอ ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น เรื่องตารางธาตุ สำหรบั นกั เรยี น ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4. วารสารวิทยาศาสตรและวทิ ยาศาสตรศ ึกษา, 1(1), 61. ปย ะธิดา โสมศรี และสวียา สุรมณ.ี (2562). การพัฒนาแอปพลเิ คชันบนระบบปฏิบตั กิ ารแอนดรอยด เรื่องการดำรงชวี ติ ของพชื สำหรบั ชั้นมัธยมศึกษาปท ่ี 1. ใน การประชุมวชิ าการระดบั ชาติการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม ครัง้ ท่ี 5 (น. 372). มหาสารคาม: มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั มหาสารคาม. เผชิญ กจิ ระการ. (2546). ดัชนปี ระสทิ ธิผล. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. รวพี ร จรูญพันธเกษม, ดารณี ธญั ญสิริ, พรพิมล เสมเจริญ และณฎั ฐกิตต์ิ เจริญสขุ . (2561). การพัฒนารปู แบบการสอน โดยอาศัยแอปพลิเคชันการอา นออกเสยี งดวยระบบรูจ ำเสยี งพูดและเกมทายคำศพั ทภ าษาองั กฤษ. วารสารวชิ าการมหาวิทยาลยั หัวเฉียวเฉลมิ พระเกยี รติ, 4(1), 56. สวยี า สุรมณ.ี (2558). รูปแบบการเรยี นการสอนตามแนวทฤษฎีคอนสตรคั ตวิ สิ ตโดยอาศัยสถานการณจำลอง วิชา เครอื ขายคอมพิวเตอรเพอื่ การศึกษา. (วทิ ยานพิ นธปริญญาปรชั ญาดุษฎีบัณฑติ ). มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏ มหาสารคาม. มหาสารคาม สวียา สุรมณี, ธรัช อารีราษฎร และ วรปภา อารีราษฎร. (2559). รูปแบบการเรียนการสอนตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต โดยอาศัยสถานการณจำลอง วิชาเครือขายคอมพิวเตอรเพื่อการศึกษา. วารสารศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัย มหาสารคาม, 10 (ฉบบั พเิ ศษ), 940-956. สุมน คณานิตย. (2558). การพัฒนาแอพพลิเคชั่นเพื่อการเรียนรูบนระบบปฎิบัติการแอนดรอย วิชาสุขศึกษา ระดับชั้น มัธยมศกึ ษาปที่ 1. สบื คน 1 กนั ยายน 2562, จาก https://sumon-kananit.wikispaces.com Technology and Innovation Management | 343