Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Ketkaew Sirijon

Ketkaew Sirijon

Published by Ketkaew.sir, 2018-12-26 23:24:53

Description: Ketkaew Sirijon

Search

Read the Text Version

ความเปนมา อองซานซจู ี (พมา่ : Aung San Suu Kyi (Burmese).svg, เกดิ มิถุนายน ) เป็นนกั การเมืองชาวพมา่ และประธานพรรคสนั นิบาตแหง่ ชาติเพอื ประชาธิปไตย (NLD) ผู้ดาํ รงตาํ แหนง่ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการตา่ งประเทศ และรัฐมนตรีประจําทาํ เนียบประธานาธิบดีในการเลือกตงั ทวั ไปปี NLD ไดค้ ะแนนเสียงทงั ประเทศ % และทีนงั % ( จาก ทีนงั ) ในรัฐสภา ทวา่ เธอถูกควบคมุ ตวั ในบา้ นกอ่ นการเลือกตงั เธอยงั อยภู่ ายใตก้ ารควบคมุ ตวั ในบา้ นในประเทศพมา่ เป็นเวลาเกอื บ จาก ปี ตงั แตว่ นั ที กรกฎาคม จนการปลอ่ ยตวั ครังลา่ สุดเมือวนั ที พฤศจิ กายน ทาํ ใหเ้ ธอเป็นนกั โทษการเมืองทีขึนชือทีสุดคนหนึงของโลก

ซจู ีไดร้ ับรางวลั ราฟโต (Rafto Prize) และรางวลั ซาฮารอฟสาํ หรับเสรีภาพทางความคิด (Sakharov Prize for Freedom of Thought) ในปีและรางวลั โนเบลสาขาสนั ติภาพในปี ในปี เธอไดร้ ับรางวลั ชวาหระลาล เนห์รูเพือความเขา้ ใจระหวา่ งประเทศ (JawaharlalNehru Award for International Understanding) โดยรัฐบาลอินเดีย และรางวลั ซีมอง โบลีวาร์ระหวา่ งประเทศ (International Simón BolívarPrize) จากรัฐบาลเวเนซเุ อลา ในปี รัฐบาลปากสี ถานมอบรางวลั ชาฮิด เบนาซีร์ บุตโตเพอื ประชาธิปไตย (Shaheed Benazir BhuttoAward For Democracy) ในปี รัฐบาลแคนาดาประกาศใหเ้ ธอเป็นพลเมืองกติ ติมศกั ดิของประเทศ เป็นคนทีสีทีไดร้ ับเกยี รตินี ในปี เธอไดร้ ับเหรียญวลั เลนเบิร์ก (Wallenberg Medal) วนั ที กนั ยายน อองซานซจู ีไดร้ ับเหรียญทองรัฐสภา ซึงรว่ มกบั เหรียญเสรีภาพประธานาธิบดี เป็นเกยี รติยศพลเรือนสูงสุดในสหรัฐอเมริกา

ประวตั ิ อองซาน ซูจีเกดิ เมือวนั ที มิถุนายน พ.ศ. ทียา่ งกงุ้ บิดาชอื นายพลอองซาน (ถกู สงั หารในางซจู ีจึงไดเ้ ขา้ เรียนที Convert of Jesus School ในกรุงนิวเดลี และจบปริญญาตรีสาขาปรัชญาที Lady Shriram College พ.ศ. - ไปศึกษาตอ่ ที St.Hugh’s College ของมหาวทิ ยาลยั ออ็ กซฟอร์ด องั กฤษ สาขาปรัชญาการเมืองและเศรษฐศาสตร์ และไดพ้ บกบั ไมเคิล อริส (Michael Aris) นกั ศึกษาวชิ าอารยธรรมทิเบตพ.ศ. - นางเขา้ ทาํ งานดา้ นการเงินทีองคก์ ารสหประชาชาตินิวยอร์ก (ชนื ชอบมาร์ติน ลเู ธอร์คิง) เป็นเวลา ปี ในชว่ งทีเลขาธิการองคก์ ารสหประชาชาติคือ นายอถู นั ชาวพมา่นปี ขณะซจู ีมีอายุ ขวบ) มารดาชอื ซินจี (Khin Kyi) เป็นลูกสาวคนสุดทอ้ งในจาํ นวนพีนอ้ ง คน พีชายคนโตชอื อองซานอู ไมช่ อบการเมือง อาศยั อยใู่ นเมืองศานดิเอโก ประเทศสหรัฐอเมริกา พชี ายคนรองชอื องซานลิน (จมนา้ ตายตงั แตอ่ ายุ ขวบ) ในปี นางติดตามมารดาไปอยอู่ ินเดีย ในตาํ แหนง่ เอกอคั รราชทตู พมา่ คนแรกประจาํ อินเดีย-เนปาล

พ.ศ. แตง่ งานกบั ดร.ไมเคิล อริส ไปอยใู่ นภูฏานชว่ งหนึง กอ่ นยา้ ยมาอยลู่ อนดอน มีบุตรชาย คนคืออเลก็ ซานเดอร์กบั คิม และไดเ้ ขียนหนงั สือชีวประวตั ิของบิดาของนายพลอองซาน นางไดศ้ ึกษาตอ่ ในระดบั ปริญญาโท และจบปริญญาเอกจาก University of London ในปี เคยเป็นอาจารยพ์ ิเศษมหาวทิ ยาลยั เกยี วโต ญีป่ ุน (ซจู ี แตง่ กายแบบสตรีพมา่ เสมอ) พ.ศ. นางซจู ี เดินทางกลบั มาพมา่ เพือเยยี มมารดาทีป่ วยอยู่โดยพาลกู ชายทงั คนมาดว้ ย และไดบ้ วชเป็นสามเณรในพมา่ ทงั คู่ (เขียนหนงั สือประวตั ิของพอ่ และสหายคนในปี ) สิงหาคม พ.ศ. เกดิ เหตุการณ์ใหญท่ ีเรียกกนั วา่ “จลาจล ” ประชาชนพมา่ ประทว้ งรัฐบาลทหารของนายพลซอหมอ่ ง จนถูกปราบปรามอยา่ งหนกั มีผเู้ สียชีวติ ถกู จับและหนีออกนอกประเทศหลายหมืนคน นางซจู ี เป็นหนึงในผนู้ าํ ครังนีดว้ ย สิงหาคม พ.ศ. ขึนปราศรัยในทีสาธารณะเป็นครังแรกใกลเ้ จดียช์ เวดากอง กนั ยายน พ.ศ. นายพลซอหมอ่ งไดก้ อ่ ตงั คณะทหารสลอร์ค ออกกฎหมายหา้ มชมุ นุมทางการเมืองเกนิ กวา่ คน

กรกฏาคม พ.ศ. ไดร้ ับการปลอ่ ยตวั จากการกกั บริเวณ หลงั ถกู กกั เป็นเวลา ปี พ.ศ. ระหวา่ งการเดินทางไปปราศรัยในยา่ งกงุ้ นางถกู ชายฉรรจ์ กวา่ คนพร้อมอาวธุ เขา้ ลอ้ มรถ แตก่ ร็ อดพน้ มาได้ จึ งทาํ ใหร้ ัฐบาลทหารสงั กกั บริเวณอีกครังดว้ ยเหตุผลทีวา่ เพอื ความปลอดภยั ของนางซจู ี เอง พ.ศ. ดร.ไมเคิล อริสเป็นมะเร็ง รัฐบาลสหรัฐอเมริกา เลขาธิการสหประชาติและสนั ตะปาปาของหรัฐบาลออกวซี า่ ใหเ้ ขาเดินทางมาพบนางซจู ี แตร่ ัฐบาลปฏิเสธและแนะนาํ ใหน้ างซจู ี เดินทางไปองั กฤษแทน นางปฏิเสธ เพราะรู้ดีวา่ ถา้ นางเดินทางไปจะไมส่ ามารถกลบั เขา้ มาพมา่ ไดอ้ ีก ถือเป็นการตดั สินใจทีเสียสละใหญม่ าก เป็นทียอมรับจนขนานนามกนั วา่ “หญิงเหลก็ ” ปราศรัยเกง่ สาํ นวนคมคาย มีนาคม พ.ศ. ดร.ไมเคิล อิสเสียชีวติ ดว้ ยโรคมะเร็ง อายุ ปี นางซจู ี ไมไ่ ดไ้ ปรว่ มงานศพ (เพราะจะกลบั เขา้ พมา่ อีกไมไ่ ด)้ พ.ศ. - ถูกกบั ริเวณในบา้ นและปลอ่ ยตวั ชวั คราวอยหู่ ลายครัง

พฤศจิ กายน พ.ศ. นางไดร้ ับการปลอ่ ยตวั เป็นอิสรภาพ บุตรชายชือคิมไดร้ ับวซี า่ และเดินทางมาพบแมเ่ ป็นครังแรก สิงหาคม พ.ศ. นายพลเตง็ เสง่ ประธานาธิบดีคนใหมแ่ ละเป็นคนแรกหลงั จากมีการยกเลิกตาํ แหนง่ นายกรัฐมนตรี ไดเ้ ชิญนางซจู ี ใหเ้ ขา้ พบ เมษายน พ.ศ. ผลการเลือกตงั สมาชิกสภาผแู้ ทนตาํ แหนง่ ทีวา่ ง พรรคเอน็ แอลดีของนางซจู ี ไดร้ ับเลือกมากถึง ทีนงั จาก ทีนงั พฤษภาคม พ.ศ. นางซจู ี เดินทางไปสาบานตนเป็นสมาชิกสภาผแู้ ทนราษฏรเป็นครังแรก พฤษภาคม พ.ศ. เดินทางออกนอกประเทศเป็นครังแรก โดยเลือกมาประเทศไทย เพอื เขา้ รว่ มประชมุ อีโคโนมิกฟอรัมทีกรุงเทพฯซึงผเู้ ขียนบทความนีคือ คณุ จิระรัสมิ มนตรีมนสั (ไพรัตน์ สูงกจิ บลู ย)์ ไดม้ ีโอกาสพเิ ศษสุด ภาคภูมิใจมาก คือไดเ้ ป็นผนู้ าํ บรรยายชมสองฝังแมน่ า้ เจ้าพระยาใหน้ างซจู ี และผนู้ าํ อาเซียนในชว่ งการเดินทางไปรว่ มรับประทานอาหารคา่ ทีราชนาวกิ สโมสร ซึงนายกฯ ยงิ ลกั ษณ์ ชินวตั รและรัฐบาลไทยเป็นเจ้าภาพ

มิถุนายน พ.ศ. เดินทางไปองั กฤษตามคาํ เชิญ และขึนกลา่ วสุนทรพจนใ์ นรัฐสภาองั กฤษดว้ ย จากนนั เดินทางไปทางยงั นอร์เวย์ เพอื เขา้ พบ คณะกรรมการรางวลั โนเบล ตุลาคม พ.ศ. ประกาศตวั พร้อมรับตาํ แหนง่ ประธานาธิบดี ทีจะมีการเลือกตงั ในปี หลงั จากเขา้ รว่ มประชมุ ใหญป่ ระจําปี ของสหประชาชาติทีกรุงนิวยอร์กประเทศสหรัฐอเมริกา นางพลเตง็ เสง่ ยอมรับได้ แตร่ ัฐธรมนูญของพมา่ ระบุวา่ บุคคลทีแตง่ งานกบั ชาวตา่ งชาติไมส่ ามารถเขา้ รับตาํ แหนง่ สาํ คญั ระดบั ประเทศได้ มกราคม พ.ศ. นางซจู ี ผนู้ าํ ฝ่ ายคา้ นและ สส.พมา่ แสดงความมนั ใจวา่ กองทพั พมา่ จะสนบั สนุนการแกร้ ัฐธรรมนูญ อนั จะทาํ ใหน้ างมีโอกาสไดเ้ ป็นประธานาธิบดีในอนาคต มิถุนายน พ.ศ. กลา่ วสุนทรพจนใ์ นทีประชมุ เวลิ ดอ์ ีโคโนมิคส์ ฟอรัม (WEF) เอเชียตะวนั ออก ทีกรุงเนปิ ดอว์ เมืองหลวงของพมา่ ความวา่ เธอเรียกร้องใหร้ ัฐบาลแกไ้ ขรัฐธรรมนูญ ซึงมีเนือหาขดั ขวางเสน้ ทางการเป็นผนู้ าํ ประเทศของเธอคือ หา้ มบุคคลทีมีคสู่ มรสหรือบตั รเป็นชาวตา่ งชาติลงสมคั รเลือกตงั ชิงตาํ แหนง่ ประธานาธิบดี ซึงเป็นการยากมากก ตอ้ งไดร้ ับเสียบสนบั สนุนจากสมาชิกรัฐสภามากกวา่ % และนางขอเรียกร้องตอ่ ชาวพมา่ ทุกคนใหเ้ ขา้ มามีสว่ นรว่ มในกระบวนการปฏิรูปใหม้ ากขึน เพอื พฒั นาประเทศใหก้ า้ วหนา้ กวา่ ในปัจจุบนั

ตุลาคม พ.ศ. ประธานาธิบดีเตง็ เสง่ ประกาศจะแกไ้ ขรัฐธรรมนูญ บทมาตราทีกดี ดนั นางซจู ี เป็นผนู้ าํ ประเทศ บทสรุปจะสง่ ใหร้ ัฐสภาพิจารณาภายในวนั ที พฤศจิ กายนตาํ แหนง่ ประธานาธิบดีของเมียนมาร์มาจากการเลือกตงั ทางออ้ ม คือประชาชนเลือกผแู้ ทนเขา้ ไปในรัฐสภาสมาชิกรัฐสภาจะโหวตเลือกตงั ประธานาธืบดีอีกที ซึงจะทาํ ใหน้ างพบอุปสรรคยงิ ใหญ่ เพราะมีโควตาของกองทพั แตง่ ตงั มาเป็น ส.ส. และส.ว. ถึง % ของทีนงั ทงั หมดในรัฐสภา ซึงมีทงั หมด ทีนนั เป็นวฒุ ิสภา ทีนงั (แตง่ ตงั จากกองทพัทีนงั เป็นสภาผแู้ ทนราษฏร ทีนงั (แตง่ ตงั จากกองทพั ทีนงั ) รวมทงั สภามี คน ( % ของทงั หมด) การแกไ้ ขรัฐธรรมนูญของพมา่ ตอ้ งไดร้ ับเสียงสนบั สนุนจากสมาชิกรัฐสภา %ขึนไป ผทู้ ีประกาศตวั ลงแขง่ ขนั ชิงตาํ แหนง่ ประธานาธิบดีคือ นายพลฉ่วยมาน ประธานสภาผแู้ ทนราษฏรคนปัจจุบนั และหวั หนา้ พรคยเู อสดีพี เขาไดก้ ลา่ ววา่ หลงั การเลือกตงั ปี มีความเป็นไปไดว้ า่ เมียนมาร์ จะมีการเลือกตงั รัฐบาลผสม โดยจะดึงเอาฝ่ ายคา้ นเขา้ มารว่ มบริหารประเทศดว้ ย ถา้ เป็นไปตามทีฉ่วยมาน พดู นางอองซาน ซจู ี คงจะไดร้ ับตาํ แหนง่ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการตา่ งประเทศ และการเลือกตงั ครังตอ่ ไปในปี ทงั นางซจู ี และฉ่วยมานหรือเตง็ เสง่ คงจะวางมือกนั หมด เพราะวยั สงั ขารจะมีอายุ ปี แลว้

ตุลาคม ไดเ้ ขา้ เฝ้ าสนั ตะปาปาทีรัฐวาติกนั (ในหอ้ งสมดุ สว่ นพระองค)์ ไดเ้ ขา้ พบประธานาธิบดีและนายกรัฐมนตรีอิตาลี นางซจู ี ไดร้ ับเกยี รติใหเ้ ป็นพลเมืองกติ ติมาศกั ดิของอิตาลีจากผวู้ า่ การกรุงโรม ปี มีการลงนามสญั ญาสงบศึก ยตุ ิสงครามทียดึ เยอื มา ปี ในตอนเหนือของพมา่ กบั พวกจี นฮอ่ และองคก์ ารเอกราชกะฉิน (Kachin Independence Organization-KIO)และยงั มีขอ้ ตกลงกบั กลุม่ อืนๆ อีก กลุม่ ตามมาอีกดว้ ย จนถึงปี มีเพียงกองกาํ ลงั ของขนุ สา่ และกระเหรียงเคเอน็ ยทู ียงั ไมไ่ ดล้ งนามสญั ญาสงบศึก ขณะเดียวกนั กลุม่ กอ่ การร้ายสว่ นใหญก่ ลายมาเป็นกลุม่ ทีถูกตอ้ งตามกฏหมายชาติตะวนั ตกตา่ งๆ มีการควา่ บาตรพมา่ และพมา่ ถูกกดี กนั จากการขอกยู้ มื เงินจากธนาคารโลก และไมไ่ ดร้ ับการชว่ ยเหลือจากกองทุนการเงินระหวา่ งประเทศ (InternationalMonetary Fund-IMF) แตร่ ัฐบาลพมา่ กด็ ึงดูดใหป้ ระเทศในอาเซียน จี น ฝรังเศส และสหรัฐอเมริกา เขา้ มาลงทุนทาํ ใหอ้ ตั ราการเจริญผลผลิตภายในประเทศ (GDP) เพิมขึน . % แม้วา่ รายไดต้ อ่ หวั ของประชากรจะยงั คงเป็น เหรียญสหรัฐฯ (ประมาณ , บาทตอ่ ปี ) ซึงเป็นอตั ราทีตา่ มาก เทา่ กบั ครึงหนึงของอินเดียเทา่ นนัจากนนั ไดม้ ีการขยายวซี า่ ใหก้ บั นกั ทอ่ งเทียว จากเดิม ชวั โมงเป็น เดือน และมีการออกธนบตั รใหม่ FEC (ธนบตั รทีใชไ้ ดเ้ ฉพาะนกั ทอ่ งเทียว) ซึงมีคา่ เทา่ กบั อตั ราของตลาดมืดแตส่ หรัฐอเมริกากย็ งั กดดนั พมา่ ใหม้ ีรัฐบาลในระบบประชาธิปไตย ขณะเดียวกนั พมา่ ไดจ้ ัดตงั รัฐบาลผสมแหง่ ชาติของสหภาพพมา่ และเป็นตวั แทนของประเทศอยา่ งถูกตอ้ ง ตามกฎหมาย โดยตงั สาํ นกั งานพลดั ถินของตนขึนทีกรุงวอชิงตนั ดีซี

เสน ทางการเมืองของ อองซาน ซจู ี ออง ซาน ซจู ี เริมกา้ วเขา้ สูเ่ สน้ ทางการเมืองในปี เมือ ออง ซาน ซจู ี เดินทางกลบั บา้ นเกดิ ทีกรุงยา่ งกงุ้ ประเทศเมียนมา เพอื มาดูแลนางดอวข์ ินจี มารดาซึงกาํ ลงั ป่ วยหนกั โดยขณะนนั กาํ ลงั เกดิ ความวนุ่ วายในประเทศเมียนมา ทงั ปัญหาเศรษฐกจิ ตกตา่ และปัญหาการเมือง ทาํ ใหป้ ระชาชนออกมากดดนั จนนายพล เนวนิ ตอ้ งลาออกจากตาํ แหนง่ ประธานพรรคโครงการสงั คมนิยมพมา่ (The Burma Socialist Programme Party-BSPP) ทียดึ อาํ นาจการปกครอง ประเทศเมียนมา มานานถึง ปีหลงั จากนนั ไมน่ าน กไ็ ดเ้ กดิ การนองเลือดในวนั ที สิงหาคม (ค.ศ. ) หรือทีรู้จักกนั ในชือเหตุการณ์ ซึงประชาชนนบั ลา้ นรวมตวั กนั ในกรุงยา่ งกงุ้ เพอื เรียกร้องประชาธิปไตย จนทาํ ใหผ้ นู้ าํ ทหารสงั ปราบปรามประชาชน ผปู้ ระทว้ งราว , คนเสียชีวติจากนนั กเ็ กดิ เหตุการณ์ปราบปรามประชาชน ในวนั ที สิงหาคม ออง ซาน ซจู ี กไ็ ดเ้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมทางการเมืองเป็นครังแรก โดยสง่ หนงั สือเปิ ดผนึกถึงรัฐบาลเรียกร้องใหม้ ีการจัดตงั คณะกรรมการอิสระเพอื เตรียมการเลือกตงั ทวั ไป และในวนั ที กนั ยายน ออง ซาน ซจู ี ไดร้ ว่ มจัดตงั \"พรรคสนั นิบาตแหง่ ชาติเพอื ประชาธิปไตย\" หรือเอน็ แอลดี(National League for Democracy: NLD) ขึนมา และไดร้ ับเลือกใหด้ าํ รงตาํ แหนง่ เลขาธิการพรรค ตอ่ จากนนั ออง ซาน ซจู ี ไดเ้ ดินหนา้ ปราศยั ทางการเมืองเรือยมา จนกระทงั เมือวนัที เมษายน ไดเ้ กดิ เหตุการณ์ทีดินดอนสามเหลียมอิรวดี ซึงในตอนนนั ออง ซาน ซจู ี ไดเ้ ดินเขา้ หาเหลา่ ทหารทีถือปื นไรเฟิ ลเลง็ เขา้ หาตนเอง

เมือ่ วนั ที่ 20 กรกฎาคม 2532 รฐั บาลทหารเมียนมา ไดใชอาํ นาจตามกฎอยั การศึกสัง่กักบริเวณ ออง ซาน ซูจี ใหอยแู ตใ นบา นพักเปน ครัง้ แรก เปน เวลา 3 ป โดยไมมขี อ หา ทั้งยังไดจบั กมุ สมาชกิ พรรค NLD จํานวนมากไปคุมขังไวท เ่ี รือนจําอินเสง โดย ออง ซาน ซูจี ไดอดอาหารเพอ่ื ประทว ง และเรยี กรองใหน ําตนเองไปขงั รวมกับสมาชกิ พรรคคนอ่นื ๆ ตอ มา ออง ซาน ซจู ี ยุตกิ ารอดอาหารประทวงเมอื่ รัฐบาลเผดจ็ การทหารใหสญั ญาวา จะปฏบิ ัตติ อสมาชกิ พรรค NLD ซึ่งถูกคมุ ขงั ไวใ นเรือนจําเปน อยางดี



ขอบคณุ คะ

ประวัติผูจัดทํานางสาว เกศแกว ศิรจิ รปวส 1/6 เลขที่ 9รหัสนักเรยี น 15421เบอร 061-670-1938


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook