Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่-2

บทที่-2

Published by Natnicha Panghae, 2020-01-09 03:21:45

Description: บทที่-2

Search

Read the Text Version

บทที่ 2 หลกั เศรษฐกิจพอเพียงทฤษฎใี หม่

เกษตรทฤษฎใี หม่ เปน็ แนวพระราชดารขิ องพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู ิพล อดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร เก่ยี วกบั การจดั พื้นทีด่ นิ เพือ่ การอยู่อาศัยและมชี ีวิตอยา่ ง ยงั่ ยืน โดยมีแบ่งพน้ื ทีเ่ ปน็ สว่ น ๆ ไดแ้ ก่ พืน้ ทน่ี ้า พื้นทีด่ นิ เพอ่ื เปน็ ทน่ี าปลกู ขา้ ว พืน้ ท่ีดินสาหรบั ปลูกพืชไร่นานาพันธ์ุ และทส่ี าหรบั อยอู่ าศัยและเลย้ี งสัตว์ ในอตั ราส่วน 30:30:30:10 เป็น หลกั การในการบรหิ ารการจัดการท่ดี นิ และนา้ เพ่อื การเกษตรในที่ดนิ ขนาดเลก็ ให้เกิด ประสิทธภิ าพสงู สดุ ดังน้ี 1. มกี ารบรหิ ารและจัดแบง่ ท่ดี นิ แปลงเล็ก ออกเป็นสดั ส่วนท่ีชดั เจน เพอ่ื ประโยชน์ สงู สดุ ของเกษตรกร ซ่ึงไม่เคยมีใครคดิ มากอ่ น 2. มกี ารคานวณโดยหลักวิชาการ เกย่ี วกับปรมิ าณนา้ ทจ่ี ะกักเก็บใหพ้ อเพียง ตอ่ การ เพาะปลกู ได้ตลอดปี 3. มกี ารวางแผนทีส่ มบูรณ์แบบ สาหรบั เกษตรกรรายยอ่ ย 3 ข้ันตอน เพื่อใหพ้ อเพยี ง สาหรบั เลี้ยงตนเองและเพอ่ื เปน็ รายได้....

พ้ืนท่โี ครงการตามแนวเกษตรทฤษฎีใหม่ โครงการพฒั นาพนื้ ที่เกษตรน้าฝน บา้ นแดนสามคั คี ตาบลคุ้มเกา่ อาเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธ์ุ โครงการเกษตรทฤษฎใี หมป่ ักธงชยั หรือ ทฤษฎีใหมบ่ า้ นฉตั รมงคล ตาบลปกั ธงชยั เหนอื อาเภอปกั ธงชัย จังหวัดนครราชสมี า โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ปากท่อ, โครงการพัฒนาทดี่ ินของมลู นิธิชยั พฒั นา ตาบลวนั ดาว อาเภอปากทอ่ จังหวดั ราชบุรี โครงการเกษตรทฤษฎใี หม่หนองหมอ้ ตาบลหนองหม้อ อาเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์

ขัน้ ตอนของทฤษฎใี หม่ มี 3 ขนั้ ตอน ไดแ้ ก่ ข้นั ตอนท่ี 1 เปน็ การผลิตแบบพึง่ ตนเองด้วยวธิ งี า่ ยๆ ค่อยเป็นค่อยไปตามกาลงั พอมพี อกนิ ไมอ่ ดอยาก ขนั้ ตอนที่ 2 เกษตรกรรวมพลงั กันในรปู กลุม่ หรือสหกรณ์ รว่ มแรงในเรอ่ื งของการผลติ การตลาดการเป็นอยู่ สวสั ดิการ การศึกษา สังคม และศาสนา ขั้นตอนที่ 3 รว่ มมอื กับแหลง่ เงนิ และพลังงาน ตงั้ และบรหิ ารโรงสี ตั้งบรกิ ารร้านสหกรณ์ ช่วยกนั ลงทนุ ช่วยกนั พัฒนาคณุ ภาพชวี ิตของประชาชนในชนบท ซง่ึ มใิ ชท่ าอาชีพดา้ นการเกษตร เพียงอย่างเดยี ว

ประโยชน์ของทฤษฎใี หม่ ๑. ให้ประชาชนพออยพู่ อกินสมควรแกอ่ ตั ภาพในระดบั ทปี่ ระหยดั ไม่อดอยาก และเลีย้ งตนเองได้ ตามหลกั ปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพยี ง” ๒. ในหนา้ แล้งมนี ้าน้อย ก็สามารถเอานา้ ทเ่ี กบ็ ไวใ้ นสระมาปลกู พชื ผักต่างๆ ที่ใช้น้านอ้ ยได้ โดยไม่ ตอ้ งเบยี ดเบียนชลประทาน ๓. ในปีทฝ่ี นตกตามฤดกู าลโดยมีน้าดตี ลอดปี ทฤษฎใี หม่น้สี ามารถสรา้ งรายไดใ้ ห้แกเ่ กษตรกรได้ โดยไม่เดือดร้อนในเร่ืองคา่ ใชจ้ ่ายตา่ งๆ ๔. ในกรณีท่เี กดิ อทุ กภัย เกษตรกรสามารถที่จะฟนื้ ตวั และชว่ ยตวั เองไดใ้ นระดบั หนงึ่ โดยทาง ราชการไมต่ อ้ งชว่ ยเหลือมากนกั ซ่งึ เป็นการประหยดั งบประมาณด้วย

เศรษฐกิจพอเพยี งกบั ทฤษฎใี หม่ตามแนวพระราชดาริ เศรษฐกจิ พอเพยี งความหมายกว้างกว่าทฤษฎใี หม่ โดยท่เี ศรษฐกจิ พอเพียงเปน็ กรอบแนวคดิ ท่ชี บ้ี อกหลักการ และแนวทางปฏิบตั ิของทฤษฎีใหม่ ในขณะที่ แนวพระราชดารเิ กยี่ วกับทฤษฎใี หม่ หรือเกษตรทฤษฎีใหม่ ซึ่งเปน็ แนวทางการพัฒนาการเกษตรอย่างเป็นขนั้ ตอนนนั้ เป็นตัวอย่างการใช้ หลักเศรษฐกิจพอเพียงในทางปฏิบัติ ทเ่ี ป็นรปู ธรรม เฉพาะในพน้ื ท่ที ีเ่ หมาะสม ทฤษฎใี หมต่ ามแนว พระราชดาริ อาจเปรียบเทียบกบั หลักเศรษฐกิจพอเพยี ง ซง่ึ มอี ยู่ 2 แบบ คอื แบบพื้นฐาน กบั แบบ กา้ วหนา้ ได้ดงั นีค้ วามพอเพยี งในระดับบุคคล และครอบครวั โดยเฉพาะเกษตรกรเปน็ เศรษฐกิจ พอเพยี งแบบพื้นฐาน เทียบไดก้ บั ทฤษฎีใหม่

ทฤษฎใี หม่ขน้ั ตน้ ให้แบ่งพน้ื ที่ออกเปน็ 4 สว่ น ตามอัตราสว่ น 30:30:30:10 ซึ่งหมายถึง พ้นื ที่ส่วนท่ีหน่ึง ประมาณ 30% ใหข้ ดุ สระเกบ็ กักน้าเพอ่ื ใชเ้ ก็บกักนา้ ฝนในฤดฝู น และใชเ้ สรมิ การปลกู พชื ในฤดูแล้ง ตลอดจนการเลี้ยงสัตวแ์ ละพชื นา้ ต่างๆ พน้ื ทส่ี ่วนท่ีสอง ประมาณ 30% ให้ปลูกขา้ วในฤดูฝนเพ่ือใชเ้ ป็นอาหารประจาวัน สาหรับครอบครวั ให้เพยี งพอตลอดปี เพ่อื ตัดคา่ ใช้จา่ ยและสามารถพง่ึ ตนเองได้ พนื้ ท่ีส่วนที่สาม ประมาณ 30% ให้ปลกู ไมผ้ ล ไม้ยนื ตน้ พชื ผกั พชื ไร่ พืชสมุนไพร ฯลฯ เพือ่ ใช้เป็นอาหารประจาวัน หากเหลือบริโภคก็นาไปจาหน่าย พน้ื ทสี่ ว่ นทสี่ ี่ ประมาณ 10% เป็นที่อยู่อาศัย เลี้ยงสัตว์ ถนนหนทาง และโรงเรอื นอ่นื ๆ

ทฤษฎีใหม่ขั้นท่ีสอง เม่อื เกษตรกรเขา้ ใจในหลกั การและได้ปฏิบัติในท่ดี ินของตนจนไดผ้ ลแลว้ ก็ตอ้ งเรม่ิ ข้นั ทส่ี อง คือใหเ้ กษตรกรรวมพลงั กันในรูป กลุม่ หรือ สหกรณ์ ร่วมแรงรว่ มใจกนั ดาเนนิ การในดา้ น 1. การผลิต (พนั ธ์ุพืช เตรียมดิน ชลประทาน ฯลฯ) 2. การตลาด (ลานตากขา้ ว ยุ้ง เครอ่ื งสีขา้ ว การจาหน่าย) 3. การเปน็ อยู่ (กะปิ น้าปลา อาหาร เครอ่ื งนงุ่ หม่ ฯลฯ) 4. สวัสดิการ (สาธารณสขุ เงนิ กู้) 5. การศึกษา (โรงเรียน ทุนการศึกษา) 6. สังคมและศาสนา

ทฤษฎีใหมข่ ้นั ทสี่ าม เม่อื ดาเนนิ การผ่านพน้ ข้นั ทสี่ องแล้ว เกษตรกร หรอื กลุ่มเกษตรกรกค็ วร พัฒนาก้าวหน้าไปสูข่ น้ั ทีส่ ามตอ่ ไป คือตดิ ต่อประสานงาน เพอ่ื จดั หาทุน หรือแหล่งเงิน เชน่ ธนาคาร หรือบรษิ ทั ห้างร้านเอกชน มาชว่ ยในการลงทุนและพฒั นาคุณภาพชวี ติ ท้ังน้ี ท้ัง ฝา่ ยเกษตรกรและฝา่ ยธนาคาร หรอื บริษัทเอกชนจะไดร้ ับประโยชน์รว่ มกัน กลา่ วคือ - เกษตรกรขายข้าวไดร้ าคาสูง (ไม่ถกู กดราคา) - ธนาคารหรือบรษิ ัทเอกชนสามารถซือ้ ขา้ วบรโิ ภคในราคาต่า (ซ้อื ขา้ วเปลอื ก ตรงจากเกษตรกรและมาสเี อง) - เกษตรกรซอ้ื เครอื่ งอุปโภคบรโิ ภคไดใ้ นราคาตา่ เพราะรวมกันซื้อเป็นจานวน มาก (เปน็ รา้ นสหกรณ์ราคาขายสง่ ) - ธนาคารหรอื บรษิ ทั เอกชน จะสามารถกระจายบคุ ลากร เพื่อไปดาเนินการใน กิจกรรมต่างๆ ใหเ้ กดิ ผลดีย่งิ ขึ้น

การบรหิ ารงานโดยนาปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใช้ จะเหน็ ว่าใจความสาคัญของปรัชญาคือ ทางสายกลาง โดยตั้งบนความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล และความมี ภูมคิ ุ้มกนั โดยมเี งอื่ นไขที่ต้องมีใชท้ ง้ั ความรู้ และคณุ ธรรม รว่ มกัน เพื่อใหม้ คี วามสมดลุ ม่นั คง และยง่ั ยืน - การวางแผนการบรหิ ารงาน การวางแผนธุรกจิ เพอื่ ใหส้ อดคลอ้ งกับหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สามารถนาหลักปรชั ญาเหล่านม้ี าประยุกตใ์ ช้ ในการวางแผน คอื ต้องใชป้ ระโยชนจ์ ากการเปล่ียนแปลง และกระแสโลกาภิวัฒน์ มองหาโอกาสและผลกระทบที่ อาจจะมาจากส่วนต่างๆของโลกดว้ ย มกี ารวางแผนงานในระยะยาว เพือ่ ใหม้ องเหน็ ความเปล่ยี นแปลงท่ีอาจจะ เกิดขนึ้ ในระยะยาวและวางแผนเตรยี มไว้ ซึง่ จะทาให้ธุรกจิ มภี ูมิคมุ้ กัน และเติบโตไดอ้ ย่างย่ังยืน การบรหิ ารงานตอ้ งมขี ้อมลู ที่ทนั สมยั เพือ่ ลดความเส่ยี งในการบริหารงาน มรี ะบบเตือนภัยล่วงหน้าเพอ่ื ใหส้ ามารถ ปรบั ตัวเปลย่ี นแปลงได้ทัน ตอ้ งมธี รรมาภิบาลในการบริหารงาน สามารถชแ้ี จงต่อสงั คมได้ มีความโปร่งใส และ ความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม

- การพฒั นาบุคคลากร ในปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อาจจะมองไดว้ า่ คนเป็นศูนย์กลางของการพฒั นา เพือ่ ให้้ สามารถทางาน ดาเนินชวี ิตไปตามทางสายกลางได้ และมคี วามพรอ้ มทจี่ ะรับการเปล่ียนแปลงใน โลกาภิวัฒน์ท่จี ะเกดิ ข้นึ การพฒั นาคนจงึ เป็นสงิ่ สาคัญอยา่ งหน่งึ ทต่ี ้องสนใจ หลักการพฒั นาบคุ คลากร เพอื่ ใหส้ อดคลอ้ งกับปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง จงี ควรสนใจในสง่ิ ตา่ งๆเหล่าน้ี คอื ต้องมีการพัฒนาคน ใหม้ คี วามรู้ และมคี ุณธรรมไปพรอ้ มๆกนั เพอื่ ให้เกิดความสมดลุ ในชวี ติ เสริมสร้างรากฐานองค์กรให้ เขม้ แขง็ สร้างภาวะแวดลอ้ มการทางานใหเ้ ปน็ สงั คมแห่งการเรยี นรู้ เพื่อใหพ้ นักงานสามารถพฒั นา ตวั เอง เติบโตในสายงานไดอ้ ย่างมั่นคง พนกั งานมีโอกาส และความเสมอภาคในการพฒั นาศกั ยภาพ เท่าเทยี มกัน มีการรว่ มมือแลกเปลย่ี นความรูก้ ันให้ความสาคัญกบั การทีพ่ นกั งานมีส่วนร่วมในองคก์ ร เพ่ือสรา้ งความสมั พนั ธภ์ ายในองค์กรใหเ้ ขม้ แข็ง และพนักงานมีความรู้สึกว่าเปน็ เจ้าขององค์กรดว้ ย ไมใ่ ช่ลูกจา้ งอย่างเดยี ว ซง่ึ จะเปน็ การสร้างภมู คิ ุ้มกันไมใ่ หบ้ รษิ ทั อนื่ มาซื้อตัวพนักงานไปไดโ้ ดยงา่ ย

การพฒั นาวิสาหกิจชมุ ชนตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง การวิจยั นีเ้ ปน็ การวิจัยเชิงปฏบิ ตั ิการแบบมสี ว่ นร่วม มีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือ 1)วเิ คราะห์สภาพการดาเนินงานของ วสิ าหกิจชุมชน 2) ศึกษาปัจจยั การพฒั นาวิสาหกิจชุมชน 3) ศกึ ษาแนวทางการพฒั นาวิสาหกิจชมุ ชน การสุม่ ตวั อยา่ ง ใช้แบบแบง่ ช้ันภมู ิกับวิสาหกจิ ชมุ ชนที่มีการดาเนนิ กิจกรรม 3 ประเภท ได้แก่ การผลิตเมลด็ พันธ์ุ การบรกิ าร และการ แปรรปู แตล่ ะประเภททาการศกึ ษากบั วสิ าหกจิ ชุมชนท่ีมีระดบั แตกต่างกัน 2 ระดับ คือ กา้ วหน้า และพนื้ ฐานตามลา ดับ จากน้นั กาหนดตวั อยา่ งวสิ าหกจิ ชุมชนโดยการคดั เลอื กแบบเจาะจงไดว้ สิ าหกจิ ชุมชนทศี่ กึ ษาจานวน 6 วิสาหกิจ ชมุ ชน ตามประเภทของวิสาหกิจชุมชน และต่างระดบั ดงั น้ี วิสาหกจิ ชมุ ชนประเภทการผลติ เมล็ดพนั ธุ์ ได้แก่ วิสาหกจิ ชุมชนโนนสว่าง และหนองมะค่าแต้ วิสาหกิจชมุ ชนประเภทการบรกิ าร ได้แก่ วสิ าหกจิ ชุมชนบุไทรโฮมสเตย์และบา้ น สขุ สมบูรณ์ วสิ าหกจิ ชมุ ชนประเภทการแปรรปู ไดแ้ ก่ วสิ าหกจิ ชมุ ชนจิกสงู และเกาะกา ตามลาดับ การสมุ่ สมาชกิ วสิ าหกิจชุมชนใช้การสมุ่ แบบพบโดยบังเอญิ จานวนไมน่ ้อยกวา่ คร่งึ ของสมาชกิ ทัง้ หมด ขอ้ มูลเชงิ ปริมาณวิเคราะห์ด้วย สถติ พิ รรณนาไดแ้ ก่ รอ้ ยละ ค่าเฉลยี่ และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน ขอ้ มลู เชิงคุณภาพใชก้ ารวิเคราะหเ์ นือ้ หา การจดั หมวดหมู่ การวเิ คราะห์SWOT ผลการวจิ ัยพบวา่ วิสาหกิจชมุ ชน ที่ศกึ ษาเร่ิมจัดตั้ง ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2548 – 2551 สว่ น ใหญ่ไม่มีสานักงาน การบรหิ ารงานกลุ่มและกองทนุ สว่ นใหญ่ดาเนินการโดยคณะกรรมการกลุ่มที่มาจากการเลอื กต้ัง ประกอบดว้ ยประธานและกรรมการ 5-15 คน มกี ฎระเบียบขอ้ บังคับ แหลง่ ของเงนิ กองทนุ เริ่มตน้ มาจากการสนับสนุน ปจั จยั การผลิตจากภาครฐั การดาเนนิ กิจกรรมการผลิตของกลุ่ม และการระดมหุน้ จากสมาชกิ

การจัดการเรียนรมู้ หี ลายรูปแบบ ไดแ้ ก่ อบรมจากศูนยเ์ รียนรู้ การเรียนร้ภู ายในกลุ่ม การทดลองดว้ ยตนเอง และการศกึ ษาดงู าน การพฒั นาวิสาหกิจชมุ ชนมปี จั จัยที่เกีย่ วข้องกับการพัฒนา 2 ดา้ นคอื 1)ปจั จยั ทว่ั ไป ประกอบดว้ ย ปัจจยั ภายใน ได้แก่ สมาชกิ ประธาน/กรรมการ ระบบการบริหารงาน ศูนยเ์ รยี นรู้ การเรียนร้ขู องสมาชิก ผ้สู บื ทอดและผู้ อาวโุ ส ปจั จัยภายนอก ได้แก่ ภัยธรรมชาติ ปัจจยั การผลติ พอ่ ค้าคนกลาง หนว่ ยงานสนบั สนนุ และการแข่งขนั 2)ปัจจัย เฉพาะ ด้านการผลิตเมลด็ พันธุ์ขา้ ว ประกอบดว้ ย ระบบชลประทาน ปัจจยั การผลติ การแปรรปู ผลผลิตข้าวเพือ่ เพิม่ มลู ค่าขา้ ว การลดตน้ ทุนการผลิต การจัดตลาดกลางแลกเปลยี่ นพนั ธุข์ า้ ว และการจดั ตัง้ สวสั ดิการชาวนา ปัจจยั เฉพาะ ดา้ นการบรกิ ารการท่องเทยี่ ว ประกอบด้วย สภาพแวดล้อมและภูมิอากาศที่เอ้อื ต่อการทอ่ งเทย่ี ว การปรบั ปรุงและการ พฒั นาแหล่งทอ่ งเท่ยี ว การพัฒนาระบบสาธารณูปโภคขัน้ พ้นื ฐาน ความปลอดภยั ของนกั ทอ่ งเท่ยี ว ความสะอาดของ สถานท่ี อาหารและท่ีพัก สินคา้ ทร่ี ะลึก ของฝาก และการประชาสมั พนั ธ์ ปจั จยั เฉพาะด้านการแปรรปู ประกอบด้วย วสั ดุ อปุ กรณ์ในการแปรรูปอาหาร สขุ ลักษณะ ผลติ ภัณฑค์ ณุ ภาพดี และภาชนะบรรจุ แนวทางการพัฒนาวสิ าหกิจชุมชน ประกอบดว้ ย 1)แบบวฏั จกั รการพฒั นาวิสาหกจิ ชมุ ชนเป็นแบบการพฒั นาทไี่ ม่มีท่ีสิ้นสุด เรมิ่ จากการสารวจพนื้ ที่ การ กาหนดเป้าหมายและตัวชวี้ ดั การประเมนิ วิสาหกจิ ชมุ ชนกอ่ นเรมิ่ ดาเนนิ การพฒั นา การจัดทายทุ ธศาสตร์การพฒั นา การ แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ การจดั ทาแผนปฏบิ ัติการ การติดตามผลการดาเนนิ งาน และการประเมนิ ผลภายหลงั การพฒั นา 2) แนวทางการพฒั นาวิสาหกจิ ชมุ ชนมีความตา่ งกันตามระดับการพัฒนาและกจิ กรรมหลักในการผลติ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook