Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชุมชนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง

ชุมชนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง

Published by kim0901pakorn, 2022-01-02 13:16:31

Description: ชุมชนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง

Search

Read the Text Version

ชมุ ชนตน แบบเศรษฐกิจพอเพยี ง จัดทําโดย นายครรชิต อาบสวุ รรณ 6440304136 นักศึกษาสาขาการพัฒนาสังคม คณะมนษุ ยศาสตรแ ละสงั คมศาสตร มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

ก คํานาํ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง เปน ปรชั ญาของ พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหัวราชการท9ี่ เปนหลักการสอนเพื่อใหคนในประเทศอยอู ยา ง พอเพยี ง พอประมาณ ไมเบยี ดเบยี นผอู ่นื ชุมชนในปจจุบันนาํ หลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงมาจดั การตนเองของชุมชน และนาํ ปรัชญา ตา งๆเขามาประยกุ ตใ ชเพื่อพฒั นาชุมชนตนเอง

ข สารบัญ เรือ่ ง หนา คํานํา ก สารบัญ ข ขอมลู หมบู าน 1 ความเปนมา 2 สภาพเศรษฐกิจ 3 สภาพชุมชน 4 หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ความหมาย 5 ระดบั เศรษฐกิจพอเพียง 6 หลักการเศรษฐกจิ พอเพยี ง 7 ดา นตามหลกั เศรษกจิ พอเพียง 8 ตวั อยา งชมุ ชนตนแบบบานสันตนแหน 9 ดานการออมเงนิ ตามหลักเศรษฐกจิ พอเพยี ง 10 ปจจยั การนําไปสชู มุ ชมตามหลักเศรษฐกจิ พอเพยี ง 11 บทสรุป 12 บรรณานกุ รม 13

1 ขอ มลู หมบู าน บานสันตนแหน ต้ังอยูท ่ี ม.3 ต.แมคอื อ.ดอยสะเกด็ จ.เชยี งใหม

2 ความเปนมา กวา 200 ป ทชี่ าวลวั ะอพยพเขา มาตั้งรกรากในบานสันตนแหน ต.แมค ือ อ.ดอยสะเกด็ จ.เชยี งใหม และประกอบอาชีพอยา ง หลากหลาย ทัง้ รบั จา งทวั่ ไป ทําการเกษตร ทาํ สวน เลี้ยงวัว เลีย้ ง ควาย หรอื คา ขายบางเลก็ ๆ นอยๆ โดยอาชีพหนง่ึ ที่กลายเปน สัญลักษณของหมูบา น คือการทาํ “โครงรม” หรอื ท่ใี นทองถน่ิ เรยี กวา “โครงจอง” แสดงถงึ ความชํานาญและฝม ือของชาวบา น ใน การกลึงหวั จอง จนเปน หมูบานหลักท่ีสงโครงจองไปยงั หมูบานบอ สราง และมกี ารสืบอาชพี ตอกนั เร่ือยมาหากยุคสมัยที่เปลี่ยนไป ทาํ ใหเ ดก็ รุนใหมออกไปเรียนหนังสอื และทํางานนอกหมบู าน เหลอื คน แกก ับเด็กเลก็ ไวใ นทอ งถน่ิ อาชีพเกษตรกรรมกเ็ ริม่ สูญหาย แมก ระทง่ั พืชผกั สวนครวั ก็ตอ งซอ้ื กิน

3 สภาพเศรษฐกิจ ชาวบา นสนั ตน แหน มีการทําอาชีพที่หลากหลาย เชน ท่วั ไป ทาํ การเกษตร ทําสวน เลี้ยงสัตว หรือคา ขาย เปน หลกั

สภาพชุมชน 4 ชาวสันตนแหนมวี ิถีชวี ติ แบงปนเอ้อื อาทร และมีการอนุรักษสบื สาน วัฒนธรรม ประเพณีตา งๆของชุมชนตามรปู แบบเมืองประเพณลี านนา และมปี ระเพณีท่ีสาํ คัญคอื ปใ หม (วนั สงกรานต) ประเพณีปอยบวช ประเพณีเขา -ออกพรรษา ประเพณยี เี่ ปง (ลอยกระทง) บวชสามเณรฤดู รอน สงเสริมผสู งู อายุและเยาวชนใหเขามีกจิ กรรมรวมกนั ตาม ขนบธรรมเนียมประเพณีทีย่ ดึ ถือปฏิบัติสบื ตอ กันมา

5 หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ความหมายเศรษฐกิจพอเพยี ง เศรษฐกจิ พอเพียง เปนปรชั ญาช้ีถึงแนวการดาํ รงอยูและปฏิบตั ิตน ของประชาชนในทกุ ระดบั ตง้ั แตระดับครอบครัว ระดบั ชมุ ชนจนถึงระดับ รัฐ ทง้ั ในการพัฒนาและบริหารประเทศใหด ําเนินไปใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกจิ เพอ่ื ใหกา วทนั ตอโลกยคุ โลกาภวิ ฒั นค วาม พอเพียง หมายถงึ ความพอประมาณ ความมเี หตุผลรวมถงึ ความจําเปน ท่ี จะตอ งมรี ะบบภมู ิคุมกนั ในตัวที่ดีพอสมควรตอการมผี ลกระทบใด ๆ อัน เกดิ จากการเปลีย่ นแปลงทั้งภายนอกและภายใน ท้งั นจี้ ะตอ งอาศัยความ รอบรู ความรอบคอบ และความระมดั ระวังอยา งย่งิ ในการนําวชิ าการตา ง ๆ มาใชใ นการวางแผนและการดาํ เนินการทุกขัน้ ตอน และขณะเดียวกัน จะตองเสรมิ สรางพน้ื ฐานจิตใจของคนในชาตโิ ดยเฉพาะเจาหนาทขี่ องรฐั นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดบั ใหมีสํานกึ ในคุณธรรม ความซอ่ื สัตย สุจริต และใหมีความรอบรูที่เหมาะสม ดําเนินชวี ติ ดว ยความอดทน ความ เพยี ร มีสติ ปญญา และความรอบคอบ เพ่ือใหสมดุลและพรอมตอ การ รองรบั การเปล่ียนแปลงอยา งรวดเร็วและกวางขวางทัง้ ดานวัตถุ สงั คม ส่งิ แวดลอ ม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเ ปน อยางดี

6 หลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดบั ของเศรษฐกจิ พอเพียง เศรษฐกจิ พอเพียงในระดับทีเ่ ลี้ยงตวั เองได บนพ้ืนฐานของความ ประหยัดและลดคาใชจา ยท่ีไมจ ําเปนวา เศรษฐกจิ พอเพียงแบบพื้นฐาน สวนเศรษฐกิจพอเพียงในระดับท่ีมกี ารรวมตัวกัน เพอื่ รว มกัน ดําเนนิ งานในเรื่องตางๆ มกี ารสรา งเครอื ขา ยและการขยายกจิ กรรมทาง เศรษฐกิจในรูปแบบตางๆโดยประสานความรวมมอื กับภายนอกนั้นจะ เรียกวา เศรษฐกิจพอเพียงแบบกา วหนา ดงั น้ัน เศรษฐกจิ พอเพยี งจึง ไมใชแคเ พียงเร่ืองของการพึง่ พาตนเอง โดยที่ไมเ ก่ียวขอ งกบั ใคร และ มใิ ชแ คเรอ่ื งของการประหยดั แตยงั ครอบคลุมถึงการขอ งเกย่ี วกบั ผูอืน่ การชวยเหลอื เก้อื กลู ซ่งึ กันและกนั อีกดวย แทจ รงิ แลว เศรษฐกจิ พอเพียงเปนปรชั ญาทชี่ ถี้ งึ แนวทางการใชช ีวิต และปฏิบัตติ นของคนในทกุ ระดับ โดยสามารถจําแนกไดเปน 3 ระดบั คอื -ระดับบุคคลและครอบครัว -ระดบั ชุมชน -ระดบั ประเทศ แตละระดบั ถูกจําแนกเพอ่ื ใหม กี ารพัฒนาและบริหารประเทศในลักษณะ ดาํ เนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อใหกา ว ทนั ตอโลกยุคโลกาภิวัตน ซึง่ กอนทจี่ ะนาํ หลักเศรษฐกิจพอเพียงไปใชไ ด ไกลถงึ ในระดับประเทศน้ัน จะตองเริม่ จากระดบั ท่ีเลก็ ท่สี ุดอยางระดับ บุคคลและครอบครวั กอน

7 หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง หลกั การเศรษฐกจิ พอเพียง เศรษฐกิจพอเพยี ง เปน กรอบแนวคิด ซง่ึ มุงใหท กุ คนสามารถพ่ึงพา ตัวเองได รวมถงึ การพฒั นาใหด ียิ่งขึ้น จนเกดิ ความยั่งยนื คาํ วา พอเพยี ง คอื การดาํ เนนิ ชีวติ แบบทางสายกลาง โดยต้ังอยูบนหลัก สําคญั สามประการ คือ ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล และการมี ภมู ิคมุ กันท่ดี ี *ความพอประมาณ คอื การดํารงชีวิตใหเหมาะสม ซงึ่ เราควรจะมีความ พอประมาณท้งั การหารายได และพอประมาณในการใชจาย ความ พอประมาณในการหารายได คือ ทํางานหารายไดด วยชอ งทางสุจรติ ทํางานใหเ ต็มความสามารถ ไมเบยี ดเบียนผูอ่ืน *ความมีเหตผุ ล คือ ไมวา จะเปนการทําธุรกิจ หรอื การดํารง ชีวติ ประจําวนั เราจาํ เปน ตองมกี ารตดั สนิ ใจตลอดเวลา ซ่ึงการ ตดั สินใจท่ีดี ควรตงั้ อยูบนการไตรตรองถึงเหตุ รวมท้ังคํานึงถึงผลท่ี อาจตามมาจากการตดั สนิ ใจอยางรอบคอบ ไมใ ชตัดสินใจตามอารมณ หรอื จากสิ่งท่คี นอนื่ บอกมาโดยปราศจากการวิเคราะห *การมภี ูมิคมุ กนั ทดี่ ี คือ การเตรียมตวั ใหพ รอ มรับกบั ความ เปลยี่ นแปลง ในโลกทไี่ มมีอะไรแนนอน ทงั้ สภาพลม ฟา อากาศท่ีไม เออื้ อํานวยตอ การทําเกษตร การเปลยี่ นแปลงในบริษัทคูคา การเลกิ จา งพนักงานในบริษัทใหญ หรอื แมแตความไมแ นนอนของ สถานการณท ัง้ ในและตา งประเทศทม่ี ีผลตอการลงทุน เราจึง จาํ เปนตองเรียนรูทจ่ี ะดาํ รงอยูไดด วยการพ่ึงพาตนเอง และตั้งอยใู น ความไมประมาทอยเู สมอ เชน เตรียมแผนสาํ รองสําหรับแตล ะ สถานการณ การมีรายไดห ลายทางเพ่ือลดความเสย่ี งในวันท่ีถกู เลกิ จาง หรือการกระจายความเสย่ี งในการลงทนุ

8 ดา นตามหลกั เศรษกิจพอเพียง พอบุญมี ไชยเทพ อายุ 63 ป บานสนั ตน แหน ตาํ บลแมคือ อาํ เภอดอยสะเก็ด จงั หวัดเชียงใหม ไดกลา ว “…การจะเปนเสอื นนั้ ไมสําคัญ สาํ คญั ทเ่ี รามีเศรษฐกิจแบบ พอมพี อกนิ แบบพอมีพอกินนัน้ หมายความวา อุม ชตู นเองได ใหมพี อเพยี งกบั ตนเอง ความพอเพยี งนี้ ไมไ ดห มายความวา ทกุ ครอบครัวจะตอ งผลติ อาหารเอง จะตองทอผาใสเอง อยาง นั้นมนั เกินไป แตวา ในหมบู า นหรือในอําเภอจะตองมคี วาม พอเพียงพอสมควร บางสง่ิ บางอยา งผลิตไดม ากกวาความ ตอ งการก็ขายได แตข ายในทีไ่ มห า งเทา ไหร ไมต องเสยี คา ขนสง มากนัก...”

9 ตวั อยา งชุมชนตนแบบบานสันตนแหน บา นสันตน แหน ถือเปน บา นตน แบบเศรษฐกิจพอเพยี ง ปลูกผกั กนิ เองลดรายจาย และแบงปนกันในชุมชน โดย เนน แตละครัวเรือนไมจ าํ เปนตอ งปลกู ทุกอยาง ปลูกแค 1-2 ชนดิ แตเมอ่ื รวมกนั หมบู านนี้มีพืชผกั ที่หลากหลาย อกี ท้งั ยงั มกี ารทําสวนครัวกลางทกุ คนสามารถเก็บกิน ได โดยผูน าํ ชุมชนแหงนี้ขอใชพน้ื ทโี่ รงเรยี นรา ง 1 ไร ครงึ่ ทาํ แหลง เรยี นรชู ุมชน และตลาดสเี ขยี ว ไว แลกเปลยี่ นสินคา อีกดว ย

ดานการออมเงนิ ตามหลัก 10 เศรษฐกจิ พอเพยี ง “กองทนุ ออมทรัพยของหมูบ านเปนกองทนุ ทช่ี าวบานรวมกนั ออม ตงั้ แตป  2545 เปนตนมา โดยออมอยา งตาํ่ คนละ50บาทตอเดอื น จนถึงขณะนี้มีเงนิ จาํ นวนกวา 1.5 ลา นบาท ทาํ ใหช าวบา นไดใช ประโยชนอยางเตม็ ที่ เชน ใชซื้อหนนี้ อกระบบ เมือ่ ปลดภาระหนกั ให ชาวบา นไดแ ลว ชาวบา นกต็ อ งทยอยชําระหนก้ี องทุน ซงึ่ คดิ ดอกเบีย้ รอ ยละ6บาทตอป หรือหากชาวบา นรายใดตองการกูซ ้ือ รถจักรยานยนตเพือ่ ใชใ นการเดินทางไปทาํ งาน หรอื ใหลูกหลานขบั ขี่ ไปเรียนหนงั สือ ทางคณะกรรมการกองทนุ กจ็ ะจายเงินสดใหรานคา โดย ใหช าวบานมาเปน ลกู หน้ใี นกองทนุ แทน ไมต อ งแบกรบั ภาระดอกเบี้ยท่ี สูงมาก” นอกจากนี้เงนิ กองทุนยงั ถูกใชเ ปน สวสั ดกิ ารภายในหมบู าน เชน กรณมี ี เด็กเกิดใหม จะไดร บั บัญชขี วัญถุง จาํ นวน500 บาท สําหรบั คนเจ็บปวย เขาโรงพยาบาล กจ็ ายใหคนื ละจาํ นวน 100 บาท แตไมเกิน 10 คืนตอ ป และในกลมุ ผูส ูงอายทุ ี่มอี ายุ 65 ปข้ึนไป เมื่อถงึ เทศกาลสงกรานต ผใู หญบ า นจะนําชาวบานแหฆ องกลอง นาํ สงิ่ ของไปรดนา้ํ ดาํ หวั หรอื ถา มกี ารรเิ รม่ิ โครงการใหมๆข้ึน เชน การปลกู ผักปลอดสารเคมี กจ็ ะนําเงนิ ไปซ้อื เมลด็ พันธเุ พ่อื แจกจา ยชาวบาน เปน ตน

ปจจยั การนําไปสูชมุ ชมตามหลัก 11 เศรษฐกจิ พอเพียง ความพอเพียงในการดาํ รงชวี ติ การชว ยเหลอื ระหวางภาครัฐ และชมุ ชน ซง่ึ เปน เง่อื นไขพ้ืนฐานที่ทําใหค นในชุมชนสามารถ พ่งึ ตนเอง และดาํ เนนิ ชวี ติ ไปไดอยา งมีศกั ดิศ์ รีภายใตอํานาจ และความมีอิสระในการกาํ หนด ชะตาชีวติ ของตนเอง ความสามารถในการควบคมุ และจดั การเพอื่ ใหตนเองไดรบั การ สนองตอบตอ ความตอง การตา งๆ รวมทัง้ ความสามารถในการ จดั การปญหาตางๆ ไดดวยตนเอง

12 บทสรปุ บานสนั ตน แหน หมู 3 ตําบล แมค ือ อําเภอดอยสะเก็ด จงั หวดั เชียงใหม ไดทาํ ตามระบบเศรษฐกจิ พอเพยี งของ พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหัวพอหลวงรชั กาล ท่ี9 นํามาแกปญหาความยากจน ใชพนื้ ทว่ี าง เปลามาใชใหเ กิดประโยชนม ากที่สดุ โดยการ ปลกู ผกั เล้ียงสัตว ทําเกษตรแบบผสมผสาน เพอื่ กระจายรายได และกระตุนทางเศรษฐกิจ ในชุมชนยกระดับความเปน อยูของครอบครัว

บรรณานกุ รม 13 https://www.isranews.org/content- page/item/51852-chiangmai-51852.html https://siamrath.co.th/n/543 http://www.northpublicnews.com https://www.krungsri.com/th/plearn- plearn/practical-self-sufficient-economy- philosophy https://www.excise.go.th/prachinburi/PEOPLE/INF OCENTER/WEBPORTAL16200018206 https://porlaewdeethecreator.com/


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook