สำนักงานเขตพ้ื รีสะเกษ เขต 4 รายงานการขับเคลื่อน นท่ีการศึกษาประถมศึกษาศ “สานตอนวตั กรรมเดมิ เพิม่ เตมิ นวตั กรรมเชิงพนื้ ท่”ี สนู โยบาย สพป.ศรีสะเกษ เขต 4 สรางคุณภาพดวยนวัตกรรม สรางเขตชน้ั นำดว ยมอื เรา ปง บประมาณ 2564 เอกสารลำดับที่ 43/2564 กลมุ งานพัฒนาหลักสูตรการศึกษาขัน้ พ้นื ฐานและกระบวนการเรยี นรู กลุมนิเทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจดั การศกึ ษา สำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาศรสี ะเกษ เขต 4
วิสยั ทศั น สพป.ศรีสะเกษ เขต4 “เปนองคก รแหงการเรียนรู ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษามืออาชพี ผเู รียนเปน พลเมืองดมี คี ุณภาพ” ทำเนียบผูอำนวยการ สำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 4 นายโกวิท เพลนิ จิตต นายประวิทย หลกั บญุ นายวรรณะ บญุ สุข นายไพบลู ย ศรีสุธรรม พ.ศ.2546-2549 พ.ศ.2550-2553 พ.ศ.2553-2554 พ.ศ.2554-2556 (รักษาราชการในตำแหนง ผอ.สพป.ศก.4) นายธรี วุฒิ พุทธการี นายเสนยี เรืองฤทธ์ิราวี นายวนั ชยั บญุ ทอง พ.ศ.2556-2560 พ.ศ.2560-2563 พ.ศ.2563-2564 ทำเนียบรองผูอ ำนวยการ สำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต 4 นายธีรวฒั น คำศรี นายธวชั ชัย คำวงศ นางสาวพีระพรรณ ทองศนู ย รายงานการขบั เคลอ่ื น “สานตอนวัตกรรมเดิม เพ่ิมเติมนวตั กรรมเชิงพืน้ ท”่ี สูนโยบาย สพป.ศรีสะเกษ เขต 4 สรางคุณภาพดว ยนวตั กรรม สรา งเขตช้นั นำดว ยมือเรา ปง บประมาณ 2564 พิมพครงั้ ท่ี 1 กนั ยายน 2564 จำนวน 500 เลม งบประมาณ 30,000 บาท ผจู ดั พมิ พแ ละเผยแพร สพป.ศรีสะเกษ เขต 4 พมิ พท่ี โรงพิมพกา วไกลพร้นิ ติง้ อำเภอกันทรลกั ษ จังหวดั ศรีสะเกษ
ค�ำน�ำ พื้นท่นี วตั กรรมการศึกษาจงั หวดั ศรีสะเกษ เปน็ 1 ใน 10 ของวาระจงั หวัดศรีสะเกษ ซง่ึ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ได้ประกาศจัดตัง้ พน้ื ที่นวัตกรรมการศกึ ษาจงั หวดั ศรสี ะเกษ เม่ือวนั ที ่ 18 กนั ยายน 2561 ในปงี บประมาณ 2564 ดร.วนั ชยั บญุ ทอง ผอู้ า� นวยการสา� นกั งานเขตพนื้ ท่ี การศกึ ษาประถมศกึ ษาศรสี ะเกษ เขต 4 มนี โยบายในการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาของโรงเรยี น ในสงั กดั ทกุ โรงเรยี น (209 โรง) ตามแนวทางการปฏริ ปู การศกึ ษา และการปฏริ ปู กระบวนการเรยี นรู้ ทตี่ อบสนองต่อการเปลย่ี นแปลงในศตวรรษที่ 21 เพ่ือยกระดับผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนของ ผู้เรียน ท้งั ดา้ นความรู้ สมรรถนะ ทกั ษะ และเจตคติ ในเดือนพฤศจิกายน 2563 จงึ ไดก้ �าหนด เป็นค�าขวญั สั้นๆ ที่ชัดเจน และจดจา� ได้งา่ ยว่า “สพป.ศรีสะเกษ เขต 4 สรา้ งคณุ ภาพ ด้วยนวัตกรรม สร้างเขตชนั้ น�าดว้ ยมือเรา” และในการสร้างคณุ ภาพด้วยนวตั กรรมนั้น ได้กา� หนดแนวทางไว้ว่า “สานต่อนวตั กรรมเดิม เพมิ่ เติมนวัตกรรมเชิงพื้นท่”ี โดยก�าหนด แนวทางใหโ้ รงเรยี นทกุ โรง และผูส้ อนทกุ คนจดั ทา� รปู แบบ (Model) นวัตกรรมการศึกษา ซง่ึ สอดคลอ้ งกับยทุ ธศาสตรช์ าต ิ (พ.ศ.2561-2580) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ (พ.ศ.2561-2580) นโยบายของส�านกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2564-2565 และตัวชี้วดั เป้าหมาย ปีการศึกษา 2564 ของสพฐ. ดา้ นประสิทธภิ าพ ขอ้ 1 “1 โรงเรยี น 1 เขต 1 นวตั กรรมการบรหิ ารจดั การ” และขอ้ 2 “ครู 1 คน 1 นวตั กรรม การเรยี นร”ู้ รายงานการขับเคลือ่ น “สานต่อนวตั กรรมเดิม เพม่ิ เตมิ นวัตกรรมเชงิ พ้นื ที่” สนู่ โยบาย สพป.ศรีสะเกษ เขต 4 สรา้ งคณุ ภาพด้วยนวตั กรรม สรา้ งเขตชั้นนา� ดว้ ยมือเรา ปงี บประมาณ 2564 เลม่ น ้ี จดั ทา� ขน้ึ เพอื่ รายงานการดา� เนนิ งานตามนโยบายดงั กลา่ ว โดยนา� เสนอ เนื้อหาสาระตามลา� ดับ ดงั นี ้ ส่วนท่ี 1 ขอ้ มูลพน้ื ฐานของสพป.ศรสี ะเกษ เขต 4 ส่วนที่ 2 การสานต่อนวตั กรรมเดิม สว่ นท ่ี 3 การเพมิ่ เติมนวัตกรรมเชงิ พ้ืนท ี่ และภาคผนวก ขอขอบคณุ ภาคเี ครือข่ายต่างๆ ผ้เู ชี่ยวชาญ/พี่เล้ยี ง (Mentor) ที่ให้การสนบั สนนุ การดา� เนนิ งานขบั เคลอื่ นพฒั นานวตั กรรมการศกึ ษาของสา� นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา ศรสี ะเกษ เขต 4 ขอขอบคุณ ศกึ ษานเิ ทศก ์ ผ้อู �านวยการโรงเรยี น คณะครแู ละคณะทา� งาน ทุกท่าน ที่รว่ มมือช่วยเหลอื ผลักดันใหน้ โยบายดังกลา่ วด�าเนนิ ไปอย่างมีประสทิ ธิภาพ หวงั วา่ รายงานฉบับน ้ี จะท�าให้ท่านมคี วามเขา้ ใจเกีย่ วกับการด�าเนินงานขับเคลื่อน นวตั กรรมการศกึ ษาของสา� นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาศรสี ะเกษ เขต 4 มากยง่ิ ขน้ึ หากทา่ นมคี วามเห็นอนื่ ใดทีจ่ ะเปน็ ประโยชนต์ อ่ การพฒั นาการศึกษาไทยใหเ้ ป็นไปในทศิ ทาง ที่ถูกตอ้ ง เหมาะสม ดีงาม ขอไดโ้ ปรดใหข้ อ้ เสนอแนะดว้ ย ก็จักเปน็ พระคณุ ยิง่ (นายวนั ชยั บญุ ทอง) ผูอ้ �านวยการสา� นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต 4 23 กนั ยายน 2564
สำรบญั ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน สพป.ศรสี ะเกษ เขต 4 หน้ำ ข้อมลู พ้นื ฐานของสา� นักงานงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 4 3 4 ส่วนท่ี 2 การสานต่อนวตั กรรมเดมิ 6 7 สาระน่ารเู้ กี่ยวกบั พนื้ ท่ีนวัตกรรมการศกึ ษา 14 กจิ กรรมส�าคัญของสพป.ศรีสะเกษ เขต 4 16 นวัตกรรมท่ี 1 โรงเรียนเปลย่ี นแปลงเชิงระบบดว้ ยนวตั กรรมจิตศกึ ษา 18 การจัดการเรยี นรู้แบบบูรณาการโดยใช้ปญั หาเปน็ ฐาน 20 (Problem Based Learning : PBL) และ PLC 22 24 นวัตกรรมท่ี 2 การจดั การเรยี นรูโ้ ดยใชส้ มองเปน็ ฐาน 26 (Brain Based Learning : BBL) 28 นวตั กรรมท่ี 3 มอนเตสซอร(ี Montessori) 30 นวัตกรรมที่ 4 การเรยี นรูอ้ ยา่ งเปน็ องค์รวม (Holistic Learning) 30 นวตั กรรมท่ี 5 การศกึ ษาช้นั เรียน (Lesson Study) 33 33 และวธิ แี บบเปิด (Open Approach) 43 นวัตกรรมท่ี 6 โครงการ/โครงงาน (Project Approach) 44 นวัตกรรมท่ี 7 การจัดการเรยี นรบู้ ูรณาการวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ทเ่ี ชอ่ื มโยงกบั บรบิ ททอ้ งถนิ่ และพฒั นาสมรรถนะในศตวรรษที่ 21 (SMT) ผลการประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาของโรงเรียนนา� ร่องการด�าเนินงานพืน้ ทนี่ วัตกรรม การศึกษาจงั หวัดศรสี ะเกษ สพป.ศรสี ะเกษ เขต 4 ขอ้ เสนอแนะและแนวทางในการพัฒนา ปีงบประมาณ 2565 ส่วนท่ี 3 การเพ่ิมเติมนวัตกรรมเชงิ พนื้ ท่ี การดา� เนนิ งาน ข้อเสนอแนะและแนวทางในการพฒั นา ปีงบประมาณ 2565 ภำคผนวก 2 รายงานการขบั เคลอ่ื น “สานตอ่ นวตั กรรมเดมิ เพ่ิมเติมนวตั กรรมเชิงพ้นื ท”่ี ปงี บประมาณ 2564
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพืน้ ฐาน สพป.ศรีสะเกษ เขต 4 รายงานการขบั เคลื่อน “สานตอ่ นวัตกรรมเดมิ เพ่มิ เติมนวตั กรรมเชงิ พน้ื ท”่ี ปีงบประมาณ 2564 3
ข้อมลู พ้ืนฐานของสา� นักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต 4 สา� นกั งานงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาศรสี ะเกษ เขต 4 (Sisaket Primary Education Service Area 4) กอ่ ตง้ั ขนึ้ ตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เมอ่ื วนั ท ี่ 7 กรกฎาคม 2546 ใชพ้ น้ื ทข่ี องโรงเรยี นอนบุ าลดา� รงราชานสุ รณเ์ ปน็ ทต่ี ง้ั ตอ่ มาเมอื่ วนั ท ่ี 26 กมุ ภาพนั ธ ์ 2559 ไดย้ า้ ยไปสา� นกั งานแหง่ ใหม ่ ณ บรเิ วณโรงเรยี นบา้ นไฮ (วนั คร ู 2503) หมทู่ ่ี 3 บา้ นไฮ ตา� บลกระแชง อา� เภอกนั ทรลกั ษ ์ จงั หวดั ศรสี ะเกษ รหสั ไปรษณยี ์ 33110 โทรศพั ท ์ 0 4581 0561 โทรสาร 0 4581 0561 เวบ็ ไซต ์ www.ssk4.go.th มนี ายวนั ชยั บญุ ทอง เปน็ ผอู้ า� นวยการสา� นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาศรสี ะเกษ เขต 4 ขอ้ มูลสา� คญั ที่นา่ สนใจ 1. ข้อมลู ทวั่ ไป - จ�านวนโรงเรียน 209 โรง เขตพนื้ ที่บรกิ าร 4 อา� เภอ ไดแ้ ก่ อ�าเภอกนั ทรลักษ ์ อา� เภอขนุ หาญ อา� เภอศรรี ตั นะ และอา� เภอเบญจลกั ษ ์ - จา� นวนกลมุ่ โรงเรยี น 10 กลมุ่ โรงเรยี น - โรงเรียนในโครงการพระราชดา� ริ 3 โรง ได้แก ่ โรงเรยี นบา้ นดอนข่า โรงเรยี นบา้ นขุนหาญ และโรงเรยี นหมบู่ า้ นทบั ทิมสยาม 07 - จา� นวนผูบ้ ริหารสถานศึกษา 231 คน - จา� นวนครู 2,274 คน - จา� นวนนกั เรยี น 37,085 คน - จ�านวนนักเรยี นพกิ ารเรยี นรวม 4,564 คน 4 รายงานการขับเคล่ือน “สานต่อนวัตกรรมเดมิ เพ่ิมเตมิ นวัตกรรมเชงิ พน้ื ที่” ปีงบประมาณ 2564
2. ผลการทดสอบ ปกี ารศกึ ษา 2563 2.1 ผลการประเมินความสามารถดา้ นการอ่านของผูเ้ รยี น (Reading Test :RT) ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 1 : 72.86% (ดี) 2.2 ผลการประเมนิ คณุ ภาพผู้เรียน (National Test : NT) ชั้นประถมศึกษาปีท ่ี 3 : 44.14% 2.3 ผลการทดสอบระดับชาติขั้นพ้นื ฐาน (O-NET) ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6 : 38.21% ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 3 : 31.49% 3. ผลงานเดน่ ของสพป.ศรสี ะเกษ เขต 4 3.1 มสี ถานศึกษาพอเพยี งครบทุกโรงเรยี น จา� นวน 209 โรง ในป ี 2556 และมศี นู ยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งดา้ นการศกึ ษา (ศรร.) จา� นวน 3 โรง 3.2 มีโรงเรยี นน�าร่องการด�าเนนิ งานพนื้ ท่นี วัตกรรมการศกึ ษาจังหวดั ศรีสะเกษ ปที ี ่ 1 และปีที ่ 2 จา� นวน 36 โรง 3.3 โรงเรียนในสังกดั หลายโรงเปน็ แหลง่ เรียนรทู้ ี่ส�าคญั เชน่ โรงเรยี นบ้านปะทาย โรงเรยี นบา้ นนาขนวน โรงเรยี นบา้ นโนนแสนคา� หนองศาลาศรสี ะอาด โรงเรยี นบา้ นไผห่ นองแคน โรงเรยี นบา้ นโนนสงู (อ.กนั ทรลักษ)์ โรงเรียนบา้ นส�าโรงเกยี รติ โรงเรียนบ้านขนุ หาญ โรงเรยี นบา้ นทา่ สวา่ ง เปน็ ต้น 3.4 มเี อกสารสือ่ การนิเทศทางไกลท่ที รงพลงั ช่ือวา่ “คลนิ กิ วชิ าการ” รวดเรว็ ทั่วถึง ประหยดั มีคณุ ภาพ และตรงใจ โดยจัดทา� มาอยา่ งตอ่ เน่ือง 17 ป ี จ�านวน 535 ฉบับ 4. กจิ กรรมเดน่ ของสพป.ศรีสะเกษ เขต 4 ปงี บประมาณ 2564 4.1 การสรา้ งคุณภาพด้วยนวัตกรรม โดยการ “สานตอ่ นวตั กรรมเดมิ เพม่ิ เตมิ นวตั กรรมเชงิ พน้ื ท”่ี มผี สู้ อนสง่ รปู แบบ (Model) นวตั กรรม การศึกษา จ�านวน 2,060 คน (ร้อยละ 90.59 ของครูทั้งหมด) และมีโรงเรียนที่ผู้สอนส่ง ตัง้ แต่รอ้ ยละ 80 ขึน้ ไป จา� นวน 168 โรง (รอ้ ยละ 80.38 ของโรงเรยี นท้ังหมด) 4.2 รปู แบบการบรหิ ารจดั การการปอ้ งกนั และควบคมุ การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ในสถานศกึ ษา ดว้ ยความรว่ มมอื จากสถาบนั คลนิ ิกแพทย์ แผนไทยอโรคยาศาสตร ์ ชมุ ชนศรี ษะอโศก จา� นวน 10 รนุ่ มผี รู้ ว่ มเรยี นรแู้ ละฝกึ ปฏบิ ตั ิ จา� นวน 468 คน จาก 100 โรงเรียน ใช้สมุนไพร จ�านวน 20,475 ขวด 4.3 ผู้บรหิ าร ครู บุคลากร และผู้มีจิตศรทั ธา ร่วมบรจิ าคเงิน กอ่ สร้าง “หอประชุมพลังบญุ (มูลนธิ หิ ลวงปสู่ รวงวดั ไพรพัฒนา)” จา� นวนเงิน 2,354,697.41 บาท และรว่ มบริจาควัสดอุ ปุ กรณต์ า่ งๆ รายงานการขบั เคล่ือน “สานต่อนวัตกรรมเดิม เพ่ิมเติมนวัตกรรมเชิงพ้นื ที”่ ปงี บประมาณ 2564 5
สว่ นท่ี 2 การสานตอ่ นวตั กรรมเดมิ 6 รายงานการขบั เคลื่อน “สานต่อนวตั กรรมเดมิ เพิ่มเติมนวัตกรรมเชิงพ้นื ที่” ปีงบประมาณ 2564
นายวนั ชยั บุญทอง ผ้อู า� นวยการสา� นกั งานเขต พน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต 4 มนี โยบายในการ พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาของโรงเรยี นในสงั กดั ทกุ โรง ตามแนวทาง การปฏริ ปู การศกึ ษา และการปฏริ ปู กระบวนการเรยี นรทู้ ต่ี อบสนอง ตอ่ การเปลีย่ นแปลงในศตวรรษท ่ี 21 เพอ่ื ยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิ ทางการเรยี นของผู้เรียน ท้งั ด้านความรู ้ สมรรถนะ ทกั ษะ และ เจตคต ิ ในเดอื นพฤศจกิ ายน 2563 จงึ ไดก้ า� หนดเปน็ คา� ขวญั สนั้ ๆ ท่ีชัดเจน และจดจ�าไดง้ า่ ยวา่ “สพป.ศรีสะเกษ เขต 4 สร้างคณุ ภาพด้วยนวัตกรรม สรา้ งเขตชนั้ นา� ด้วยมือเรา” และในการสรา้ งคุณภาพด้วยนวัตกรรมนัน้ ได้กา� หนดแนวทางไวว้ า่ “สานตอ่ นวัตกรรมเดิม เพมิ่ เตมิ นวตั กรรมเชงิ พนื้ ที”่ สานตอ่ นวตั กรรมเดมิ หมายถงึ นวตั กรรมทมี่ กี ารทดลองและพฒั นาจนเปน็ ทนี่ า่ เชอื่ ถอื มีพี่เลี้ยง (Mentor) ทีไ่ ดร้ ับการยอมรบั จ�านวน 7 นวัตกรรม ได้แก่ โรงเรยี นเปลีย่ นแปลง เชงิ ระบบดว้ ยนวัตกรรมจิตศึกษา การจัดการเรยี นรแู้ บบบรู ณาการโดยใชป้ ัญหาเปน็ ฐาน (Problem Based Learning : PBL) และ PLC การจดั การเรียนรู้โดยใช้สมองเปน็ ฐาน (Brain Based Learning : BBL) มอนเตสซอร ี (Montessori) การเรียนรูอ้ ยา่ งเปน็ องค์รวม (Holistic Learning) การศกึ ษาชน้ั เรยี น (Lesson Study) และวธิ กี ารแบบเปดิ (Open Approach) การสอนแบบโครงการ (Project Approach) และการจดั การเรียนรบู้ ูรณาการวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร ์ และเทคโนโลย ี ทีเ่ ชื่อมโยงบรบิ ททอ้ งถนิ่ และพัฒนาสมรรถนะในศตวรรษที ่ 21 (SMT) ซ่ึงโรงเรยี นน�าร่องการดา� เนินงานพนื้ ทนี่ วตั กรรมการศกึ ษาจงั หวัดศรีสะเกษ ในสงั กดั สพป.ศรีสะเกษ เขต 4 มีจ�านวน 36 โรง (รอ้ ยละ 17.22 ของโรงเรยี นทัง้ หมด) โดยน�ามาใช้ ในการจัดการเรยี นร ู้ ระหว่างปีการศึกษา 2562-2564 สาระน่ารู้เกยี่ วกับพนื้ ทนี่ วตั กรรมการศึกษา รายงานการขบั เคลอ่ื น “สานต่อนวัตกรรมเดมิ เพ่มิ เติมนวัตกรรมเชิงพ้ืนท่”ี ปงี บประมาณ 2564 7
1. นวตั กรรมการศกึ ษา หมายถึง แนวคดิ วิธีการ กระบวนการ สอ่ื การเรยี นการสอน หรอื การบริหารจดั การ ในรปู แบบใหม ่ ซง่ึ ไดม้ กี ารทดลองและพฒั นาจนเปน็ ทนี่ า่ เชอื่ ถอื วา่ สามารถส่งเสรมิ การเรียนรู้ของผู้เรียนและการจัดการศึกษา และให้หมายความรวมถงึ การนา� สิ่งดังกล่าวมาประยกุ ตใ์ ช้ ในพ้นื ท่ีนวัตกรรมการศกึ ษาดว้ ย 2. พนื้ ที่นวตั กรรมการศึกษา หมายถึง พื้นที่ทีค่ ณะรัฐมนตรีประกาศกา� หนดให้เปน็ พน้ื ทีป่ ฏริ ปู การบริหารและการจัดการศกึ ษา เพ่ือสนับสนนุ การสรา้ งนวัตกรรมการศึกษา (ทมี่ า : พระราชบัญญัตพิ น้ื ทน่ี วตั กรรมการศึกษา พ.ศ. 2562. 30 เมษายน 2562) 3. วัตถปุ ระสงคข์ องการจัดตง้ั พืน้ ท่ีนวตั กรรมการศึกษา 3.1 คดิ ค้นและพฒั นานวตั กรรมการศกึ ษาและการเรยี นรู้ เพอื่ ยกระดับผลสมั ฤทธทิ์ างการศึกษาของผู้เรยี น รวมท้งั เพอ่ื ดา� เนนิ การใหม้ กี ารขยายผลไปใชใ้ นสถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานอนื่ 3.2 ลดความเหลือ่ มล�า้ ในการศึกษา 3.3 กระจายอ�านาจและให้อสิ ระแก่หน่วยงานทางการศกึ ษา และสถานศกึ ษานา� รอ่ งในพน้ื ทนี่ วตั กรรมการศกึ ษา เพอื่ เพมิ่ ความคลอ่ งตวั ในการบรหิ ารและการจดั การศกึ ษาใหม้ คี ณุ ภาพ และประสทิ ธภิ าพยง่ิ ขึ้น 3.4 สร้างและพฒั นากลไกในการจดั การศกึ ษารว่ มกันระหว่าง ภาครฐั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ภาคเอกชน และภาคประชาสงั คมในพน้ื ทน่ี วตั กรรมการศกึ ษา 4. กระทรวงศกึ ษาธิการ ได้ประกาศจัดตัง้ พื้นทน่ี วัตกรรมการศกึ ษา ดงั น้ี วนั ท ี่ 2 สงิ หาคม 2561 จงั หวดั สตลู , วนั ท ่ี 18 กนั ยายน 2561 จงั หวดั ระยอง จงั หวดั ศรสี ะเกษ, วนั ที ่ 2 ตุลาคม 2561 จังหวัดเชียงใหม ่ จงั หวดั กาญจนบุรี และจังหวดั ชายแดนภาคใต ้ (ปัตตาน ี ยะลา นราธิวาส) 5. กระทรวงศกึ ษาธิการ มคี า� สั่งที่ สพฐ. 1282/2561 ลงวันท ่ี 18 กนั ยายน 2561 แตง่ ตัง้ คณะกรรมการขับเคลอื่ นพ้ืนทน่ี วัตกรรมการศกึ ษาจังหวดั ศรีสะเกษ จา� นวน 29 คน โดยมีผู้วา่ ราชการจังหวัดศรสี ะเกษ เปน็ ประธาน นายกองค์การบริหารส่วนจงั หวัดศรีสะเกษ และอธิการบดี มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ศรสี ะเกษ เป็นรองประธาน 6. ปี 2561-2562 สพฐ.มอบหมายให้ สพป.ศก.4 เป็นแกนหลักในการประสานงานการขับเคลอื่ นการดา� เนินงาน พ้ืนทีน่ วัตกรรมการศึกษาจังหวดั ศรีสะเกษ นายเสนยี ์ เรอื งฤทธ์ิราวี อดตี ผอ.สพป.ศก.4 แกนน�าส�าคัญ 8 รายงานการขบั เคลอ่ื น “สานตอ่ นวตั กรรมเดิม เพม่ิ เตมิ นวัตกรรมเชงิ พื้นที”่ ปีงบประมาณ 2564
7. พระราชบญั ญตั พิ น้ื ทนี่ วตั กรรมการศกึ ษา พ.ศ. 2562 ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ 136 ตอนที่ 56 ก วันท ี่ 30 เมษายน 2562 หนา้ 102-120 มี 51 มาตรา มีผลใชบ้ ังคบั ต้งั แตว่ ันท่ ี 1 พฤษภาคม 2562 เปน็ ต้นไป เป็นเวลา 7 ปี และขยายเวลาได้เพยี ง 1 คร้ัง แต่ไมเ่ กิน 7 ปี 8. สพฐ. ประกาศจัดต้งั ส�านกั งานบรหิ ารพ้ืนที่นวัตกรรมการศกึ ษา(สบน.) เป็นการภายใน เมื่อวนั ที่ 13 พฤษภาคม 2562 ตามพระราชบญั ญัติพ้ืนทนี่ วตั กรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 9. พื้นทีป่ ฏบิ ัตกิ าร : 6 พ้นื ท่นี า� ร่อง (สตูล ระยอง ศรสี ะเกษ เชียงใหม่ กาญจนบุรี และจงั หวดั ชายแดนภาคใต ้ (3 จังหวดั ) ใน 8 จงั หวดั และมโี รงเรียนนา� ร่องการดา� เนินงาน จ�านวน 432 โรงเรยี น 10. คณะกรรมการนโยบายพนื้ ที่นวัตกรรมการศกึ ษา ได้ประกาศแต่งต้ังคณะกรรมการขับเคลื่อนพนื้ ท่ีนวัตกรรม การศกึ ษาจงั หวดั ศรีสะเกษ เมื่อวนั ที ่ 15 มนี าคม 2564 จ�านวน 21 คน โดยมผี วู้ า่ ราชการจงั หวดั ศรสี ะเกษ เป็นประธาน ศกึ ษาธกิ ารจังหวดั ศรสี ะเกษ เปน็ กรรมการและเลขานกุ าร 11. เปา้ หมายการพัฒนาพื้นที่นวตั กรรมการศกึ ษาปกี ารศึกษา 2564-2568 คณะกรรมการนโยบายพื้นท่นี วตั กรรมการศกึ ษา มีมติเหน็ ชอบในการประชุมคร้งั ท ่ี 1/2564 เมื่อวันที ่ 19 พฤษภาคม 2564 ดังนี้ 11.1 เป้าหมายการขยายผลของพ้นื ทีน่ วัตกรรมการศึกษา 11.1.1 เพิ่มสถานศกึ ษานา� ร่องในพืน้ ทนี่ วตั กรรม การศกึ ษาเดิม 1) เป้าหมายการขยายผลในพืน้ ท่ีนวตั กรรม การศกึ ษา กลุ่มท ่ี 1 (ศรสี ะเกษ ระยอง สตูล) คอื รอ้ ยละ 80 ของสถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานในจงั หวดั ทีเ่ ป็นพื้นทน่ี วตั กรรมการศกึ ษากล่มุ ที่ 1 (ศรสี ะเกษ ระยอง สตลู ) เขา้ รว่ มเปน็ สถานศกึ ษานา� รอ่ ง 2) เปา้ หมายการขยายผลในพน้ื ทน่ี วตั กรรมการศกึ ษา กล่มุ ท ี่ 2 (เชยี งใหม ่ กาญจนบุรี ปตั ตาน ี ยะลา นราธวิ าส) คือ รอ้ ยละ 50 ของสถานศกึ ษา ข้ันพนื้ ฐานในจงั หวัดที่เป็นพ้ืนท่ีนวัตกรรมการศกึ ษากลุ่มที ่ 2 (เชียงใหม่ กาญจนบรุ ี ปัตตานี ยะลา นราธิวาส) เขา้ รว่ มเปน็ สถานศึกษานา� ร่อง 11.1.2 เพม่ิ จังหวัดใหมใ่ หไ้ ดร้ บั การประกาศเป็นพืน้ ทีน่ วัตกรรม การศกึ ษา เปา้ หมายการเพมิ่ จงั หวดั ใหมใ่ หไ้ ดร้ บั การประกาศจดั ตง้ั เปน็ พน้ื ทน่ี วตั กรรมการศกึ ษา คอื ไมเ่ กิน 3 จังหวัด รายงานการขบั เคลื่อน “สานต่อนวัตกรรมเดิม เพม่ิ เตมิ นวัตกรรมเชงิ พนื้ ท”่ี ปีงบประมาณ 2564 9
11.1.3 ถอดบทเรยี นและขยายผลไปใชใ้ นสถานศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานอน่ื 1) นา� รอ่ งและทดลองการปฏริ ปู การศกึ ษาในเรอ่ื งสา� คญั (1) ใชพ้ ืน้ ท่นี วตั กรรมการศึกษาน�ารอ่ งทดลอง หลกั สตู รฐานสมรรถนะก่อนขยายผลและประกาศใช้ท่วั ประเทศ (2) ใช้พืน้ ทน่ี วตั กรรมการศึกษานา� รอ่ งทดลอง ระบบการประเมนิ วทิ ยฐานะทีส่ นบั สนุนการพัฒนาสมรรถนะทีจ่ า� เปน็ ของครใู นการคดิ คน้ และ ใช้นวัตกรรมท่ีสอดคล้องกบั หลกั สตู รฐานสมรรถนะกอ่ นขยายผลและประกาศใช้ทวั่ ประเทศ 2) ขยายผลโดยนา� นโยบายท่ีดจี ากพนื้ ที่นวัตกรรม การศกึ ษาไปใช้ทั่วประเทศ สถานศกึ ษาข้นั พ้นื ฐานในสงั กดั สพฐ. ไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 50 ของ สถานศกึ ษาทว่ั ประเทศ สามารถบรหิ ารและจดั การศกึ ษาไดอ้ ยา่ งอิสระในทุกดา้ น โดยการนา� นโยบายและแนวปฏบิ ตั ิทด่ี ีในพ้นื ที่นวตั กรรมการศึกษาไปใชข้ ยายผล โดยพิจารณาจากดชั นี การรับร้คู วามอสิ ระในการบริหารจดั การตนเองของสถานศกึ ษา (School Autonomy Perception Index) ทงั้ 4 ดา้ น ได้แก่ ดา้ นวชิ าการ ด้านบุคลากร ดา้ นงบประมาณ และด้านการบริหารทว่ั ไป 11.2 เปา้ หมายการพัฒนาเชิงคุณภาพของพื้นทีน่ วัตกรรมการศึกษา 12.2.1 ระดบั นกั เรยี น พนื้ ทนี่ วตั กรรมการศึกษาช่วยยกระดบั คุณภาพผเู้ รียนและลดความเหลื่อมล้�า โดยพิจารณาจากเป้าหมายการพฒั นา ดังน้ี 1) นักเรยี นทุกคนในระดับชนั้ สงู สุดของทกุ ช่วงช้ัน ในสถานศกึ ษานา� รอ่ งมผี ลสมั ฤทธทิ์ างการศกึ ษาผา่ นมาตรฐานขนั้ ตา่� ตามหลกั เกณฑก์ ารประเมนิ ผลสมั ฤทธ์ิทางการศกึ ษาของผู้เรยี นของสถานศึกษานา� รอ่ งทใี่ ช้หลักสูตรฐานสมรรถนะในพ้นื ท่ี นวตั กรรมการศึกษา ดงั นี้ (1) มผี ลการประเมนิ ในกลมุ่ สมรรถนะพ้ืนฐาน (สมรรถนะในความฉลาดรูพ้ ้นื ฐาน 4 ดา้ น ได้แก ่ ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณติ ศาสตร์ และวิทยาศาสตร์) อย่างนอ้ ย 2 ด้าน ไมต่ ่�ากว่าร้อยละ 50 และอกี 2 ดา้ นทีเ่ หลือไม่ต�า่ กว่า ร้อยละ 40 ยกเว้นกรณีผูเ้ รียนเป็นเดก็ พเิ ศษ (2) มีผลการประเมินในกลุม่ สมรรถนะหลกั ทัว่ ไป (สมรรถนะท่วั ไปด้านต่างๆ ทีเ่ กดิ จากการประยุกตใ์ ชค้ วามร้ ู ทกั ษะ เจตคติ และคณุ ลักษณะ อยา่ งบูรณาการในการคดิ การทา� งาน และการแก้ปัญหาในสถานการณ์หลากหลาย เช่น สมรรถนะด้านการจัดการตนเอง การส่อื สาร การคดิ ขัน้ สูง การรวมพลงั ทา� งานเปน็ ทมี การเปน็ พลเมอื งที่เขม้ แข็ง) อย่างน้อย 2 ด้าน ในระดับ “สามารถ” จากระดับสมรรถนะ ทงั้ หมด 4 ระดับ ได้แก ่ เริม่ ต้น กา� ลังพฒั นา สามารถ และเหนอื ความคาดหวัง ยกเว้นกรณี ผู้เรียนที่เปน็ เดก็ พิเศษ 10 รายงานการขบั เคล่ือน “สานต่อนวัตกรรมเดมิ เพ่มิ เติมนวัตกรรมเชงิ พ้นื ที่” ปงี บประมาณ 2564
2) นกั เรยี นในระดบั ชนั้ สงู สดุ ของทกุ ชว่ งชนั้ ในสถานศกึ ษา นา� รอ่ ง มผี ลสมั ฤทธทิ์ างการศกึ ษาไมน่ อ้ ยกวา่ เดมิ โดยพจิ ารณาจากคา่ เฉลยี่ ของคะแนนการประเมนิ ในกลมุ่ สมรรถนะพนื้ ฐานตอ้ งไมน่ อ้ ยไปกวา่ เดมิ เมอ่ื เปรยี บเทยี บกบั การสอบครงั้ แรกและชอ่ งวา่ ง ระหวา่ งนกั เรยี นทมี่ ภี มู หิ ลงั ตา่ งกนั ลดลง โดยพจิ ารณาจากคา่ สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐานของคะแนน สอบการประเมนิ ในกลุ่มสมรรถนะพนื้ ฐานตอ้ งลดลง เมอ่ื เปรียบเทียบกบั การสอบครงั้ แรก 11.2.2 ระดบั สถานศกึ ษา พน้ื ทนี่ วตั กรรมการศกึ ษาชว่ ยยกระดบั คณุ ภาพสถานศกึ ษา โดยพจิ ารณาจากเป้าหมายการพัฒนา ดังน้ี 1) สถานศึกษานา� รอ่ งทุกแหง่ สามารถจัดกระบวนการ เรยี นรเู้ ชงิ รกุ (Active Learning) ได ้ โดยพจิ ารณาจากดชั นกี ารมสี ว่ นรว่ มของนกั เรยี นในหอ้ งเรยี น และนกั เรยี นมผี ลสมั ฤทธท์ิ างการศกึ ษา ตามเปา้ หมายการพฒั นาเชงิ คณุ ภาพของพน้ื ทีน่ วตั กรรม การศึกษาระดับนกั เรยี น 2) สถานศึกษาน�าร่อง ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 50 เป็นสถานศึกษาแกนนา� ขยายผลแนวปฏิบตั ิท่ดี ใี นการจัดการศึกษาไปสู่สถานศกึ ษาอ่ืน 3) สถานศกึ ษานา� ร่องทกุ สถานศึกษาสามารถบรหิ าร และจัดการศึกษาไดอ้ ยา่ งอิสระในทกุ ดา้ น วัดด้วยดชั นีการรับรู้ความอิสระในการบรหิ ารจดั การ ตนเองของสถานศกึ ษา (School Autonomy Perception Index) ทงั้ 4 ดา้ น ไดแ้ ก่ ด้านวชิ าการ ด้านบคุ ลากร ด้านงบประมาณ และดา้ นการบริหารท่วั ไป 11.2.3 ระดบั พนื้ ท ี่ พน้ื ทน่ี วตั กรรมการศกึ ษาชว่ ยเพม่ิ การมสี ว่ นรว่ ม ของหนว่ ยงานภาครฐั ภาคเอกชน และภาคประชาสงั คมในพน้ื ท ่ี เพอ่ื รว่ มพฒั นาคณุ ภาพสถานศกึ ษา โดยพิจารณาจากเปา้ หมายการพัฒนา ดงั นี้ 1) หนว่ ยงานรฐั ภาคเอกชน และประชาสงั คมในพน้ื ที่ ทส่ี ถานศกึ ษาตง้ั อย ู่ มสี ว่ นรว่ มในการพฒั นาคณุ ภาพสถานศกึ ษานา� รอ่ ง วดั โดยดชั นกี ารมสี ว่ นรว่ ม ในการพฒั นาพ้นื ทีน่ วัตกรรมการศกึ ษา 2) ทกุ จงั หวดั มกี ลไกการระดมทรพั ยากรเพอื่ ขบั เคลอ่ื นพน้ื ท่ี นวตั กรรมการศกึ ษา เชน่ การพฒั นานวตั กรรมการศกึ ษาในสถานศกึ ษานา� รอ่ งการขยายผลนวตั กรรม การศกึ ษาทด่ี ี และการดา� เนนิ งานตามอา� นาจหนา้ ทข่ี องคณะกรรมการขบั เคลอื่ นพนื้ ทนี่ วตั กรรม การศึกษา เปน็ ต้น 3) สถานศกึ ษานา� รอ่ งไดร้ บั การสนบั สนนุ จากหนว่ ยงานรฐั ภาคเอกชน และประชาสังคมในพื้นทเ่ี พิม่ ขึ้น ในดา้ นการพฒั นานวตั กรรมการศกึ ษา และการระดมทรพั ยากร วดั โดยดชั นกี ารสนบั สนนุ สถานศกึ ษานา� รอ่ งในพน้ื ทน่ี วตั กรรมการศกึ ษา (เอกสารการประชมุ วนั ที่ 2 กรกฎาคม 2564) รายงานการขับเคลอื่ น “สานตอ่ นวัตกรรมเดมิ เพมิ่ เติมนวตั กรรมเชิงพืน้ ท”ี่ ปีงบประมาณ 2564 11
12. คา� สั่ง ประกาศ ระเบยี บ แนวปฏบิ ตั ิ ท่ีสา� คญั และน่าสนใจ 12.1 ประเภทของหลักสตู รท่ใี ช้ในสถานศกึ ษาน�าร่องในพน้ื ท่นี วัตกรรม การศกึ ษา 4 ประเภท (หนังสือ ท ี่ ศธ 04288/ว. 353 ลงวนั ท่ ี 2 ธันวาคม 2563) ดงั นี้ 12.1.1 ประเภทท ่ี 1 หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ทไี่ ดร้ บั การปรบั และไดร้ บั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการขับเคลือ่ นพน้ื ที่นวตั กรรมการศกึ ษา 12.1.2 ประเภทท่ ี 2 หลักสตู รทปี่ รบั เพม่ิ เติมจากหลกั สูตร ทคี่ ณะกรรมการขับเคล่อื นพื้นท่ีนวัตกรรมการศึกษาให้ความเห็นชอบไปแล้ว 12.1.3 ประเภทที ่ 3 หลักสตู รอื่นๆ ท่ีสถานศึกษานา� ร่องประสงค์ จะจัดการเรยี นการสอนโดยไม่ใช้หลกั สูตรตามมาตรา 20 (4) ประเภทท่ ี 1 และ 2 และได้รบั ความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการนโยบายพ้ืนทนี่ วัตกรรมการศึกษา 12.1.4 ประเภทที่ 4 หลักสูตรต่างประเทศและได้รับความเหน็ ชอบ จากคณะกรรมการนโยบายพนื้ ท่ีนวัตกรรมการศกึ ษา 12.2 แนวปฏบิ ตั ใิ นการใชเ้ งนิ งบประมาณทไ่ี ดร้ บั จดั สรรในการจดั ทา� คดั เลอื ก จัดหาหรือใช้ต�ารา ส่ือการเรียนการสอน หรือฐานข้อมูลในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ของสถานศกึ ษานา� รอ่ งในพน้ื ทน่ี วตั กรรมการศึกษา (หนงั สอื ที่ ศธ04288/ว 51 ลงวันที่ 4 กมุ ภาพนั ธ ์ 2564) 12.3 ประกาศ เร่อื ง หลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเงอื่ นไขการพจิ ารณา ความพรอ้ มจังหวดั จา� นวนและคณุ สมบตั ขิ องคณะผูเ้ สนอ หลกั เกณฑ์และวธิ กี ารเสนอ จดั ตั้งพ้ืนทนี่ วัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2564 วันท่ี 10 กนั ยายน 2564 12 รายงานการขับเคลอ่ื น “สานตอ่ นวัตกรรมเดมิ เพม่ิ เตมิ นวัตกรรมเชงิ พืน้ ท่ี” ปีงบประมาณ 2564
12.4 ประกาศ เรอ่ื ง หลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา ภายในสถานศกึ ษาของสถานศกึ ษาน�าร่อง พ.ศ. 2564 วนั ท่ี 10 กนั ยายน 2564 12.5 ประกาศ เรอ่ื งหลกั เกณฑก์ ารประเมนิ ผลสัมฤทธิ์ทางการศกึ ษา ของผเู้ รยี นในสถานศกึ ษาน�าร่อง พ.ศ. 2564 วันท ี่ 10 กันยายน 2564 12.6 ประกาศ เรอื่ งแนวปฏิบัตเิ กี่ยวกบั การเทียบโอนผลการเรยี น และการเทียบวุฒกิ ารศกึ ษาของผ้เู รยี นระหว่างสถานศกึ ษานา� รอ่ งและสถานศึกษาอนื่ พ.ศ. 2564 วันท ่ี 10 กนั ยายน 2564 12.7 ระเบียบวา่ ด้วยการรับและการใช้จา่ ยเงินหรอื ทรพั ยส์ ินทม่ี ผี บู้ ริจาค เพอ่ื การศึกษาใหแ้ ก่สถานศกึ ษานา� ร่อง พ.ศ. 2564 วนั ท่ี 10 กนั ยายน 2564 13. เป้าหมายการพฒั นาคนรนุ่ ใหม่ศรสี ะเกษ “รู้คดิ จิตใจดี มีทกั ษะชีวติ และทักษะอาชพี ” 14. ผลลัพธ์ทางการศึกษาจังหวัดศรีสะเกษ (Sisaket’s Desired Outcomes of Education ) : Sisaket A S T E C S (วันท ี่ 10–11 มิถนุ ายน 2563 ณ โรงแรม แกลเลอร่ ี ดีไซน์ โฮเตล) 14.1 ORGANIC AGRICULTURE (เกษตรอนิ ทรีย์ก้าวหนา้ ) 14.2 WORLD CLASS SPORT (กีฬาก้าวไกล) 14.3 CREATIVE TOURISM (ทอ่ งเที่ยวเชงิ สร้างสรรค์) 14.4 INNOVATIVE ENTREPRENEUR (นวตั กรประกอบการ) 14.5 CULTURE DIVERSITY (ร่�ารวยศิลปวฒั นธรรม) 14.6 SISAKET SPIRIT (จิตวญิ ญาณศรีสะเกษ) : 15. โครงการขับเคลือ่ นพน้ื ที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดศรีสะเกษ ประจ�า ปงี บประมาณ 2564 งบประมาณ 2,749,875 บาท บุคลากรของโรงเรียนน�ารอ่ งฯ ไดเ้ ขา้ รว่ ม กจิ กรรมการพฒั นาเทคนิค วธิ ีการจัดการเรยี นรทู้ ส่ี อดคลอ้ งกับทกั ษะแห่งศตวรรษท่ ี 21 การ Site visit และกิจกรรมอนื่ ๆ อยา่ งตอ่ เนือ่ ง 16. จงั หวดั ศรสี ะเกษ มคี า� สง่ั ที่ 1160/2564 ลงวันท ี่ 17 มนี าคม 2564 แตง่ ตงั้ คณะทา� งานการขบั เคลอ่ื นวาระจงั หวดั ศรสี ะเกษ วาระนวตั กรรมการศกึ ษา จา� นวน 20 คน สพป.ศรสี ะเกษ เขต 4 ไดร้ บั แตง่ ตงั้ 4 คน ไดแ้ ก ่ ผอ.สพป.ศก.4 นายสมศักด์ ิ ประสาร นายสังคม อินทรข์ าว และนายมานิต สทิ ธิศร รายงานการขับเคลอ่ื น “สานตอ่ นวตั กรรมเดิม เพ่มิ เติมนวัตกรรมเชิงพื้นท่ี” ปงี บประมาณ 2564 13
17. วนั ที่ 29 เมษายน 2564 คณะกรรมการขับเคลอ่ื นพนื้ ทีน่ วัตกรรมการศกึ ษา จงั หวัดศรีสะเกษ ประกาศใหโ้ รงเรยี น 3 โรง ไดแ้ ก ่ โรงเรยี นบา้ นหนองถม่ (ครุ รุ าษฎรอ์ นสุ รณ)์ โรงเรยี นบา้ นจอก (ประชาสามคั ค)ี และโรงเรยี นบา้ นหนองยาว พ้นจากการเปน็ สถานศึกษาน�ารอ่ งพ้นื ท่นี วตั กรรมการศกึ ษา จงั หวดั ศรสี ะเกษ ต้งั แตว่ ันท่ี 8 เมษายน 2564 เปน็ ตน้ ไป 18. จังหวัดศรสี ะเกษ ได้มคี า� สั่งที่ 2751/2564 ลงวันท่ ี 2 กรกฎาคม 2564 แตง่ ตงั้ คณะอนกุ รรมการ ในคณะกรรมการขับเคลอ่ื นพ้นื ทนี่ วัตกรรมการศึกษา จังหวดั ศรสี ะเกษ จ�านวน 4 คณะไดแ้ ก่ (1) คณะอนุกรรมการ ดา้ นนโยบาย แผน วจิ ยั ตดิ ตามและประเมนิ ผล (2) คณะอนุกรรมการด้านบรหิ ารงานบุคคล งบประมาณ และกฎหมาย (3) คณะอนกุ รรมการด้านบรหิ ารวิชาการและการพฒั นานวตั กรรม และ (4) คณะอนกุ รรมการดา้ นการสื่อสารและการมีส่วนร่วม กิจกรรมส�าคัญของสพป.ศรีสะเกษ เขต 4 เนอื่ งจากได้เกดิ สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) อย่างกว้างขวาง ในป ี 2563-2564 จึงต้องปรบั รปู แบบกิจกรรมให้เหมาะสม โดยมกี ิจกรรมการพฒั นาที่ส�าคญั ดังน้ี 1. สพป.ศก.4 มคี า� สงั่ ท ่ี 512/2563 แตง่ ตงั้ คณะกรรมการขบั เคลอื่ นและนเิ ทศการใช้ นวตั กรรมพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา สา� นกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาศรสี ะเกษ เขต 4 ลงวนั ท ่ี 22 ธันวาคม 2563 2. วันท่ ี 4 ธนั วาคม 2563 จัดการสมั มนาแลกเปล่ียนเรยี นร ู้ โรงเรยี นนา� รอ่ ง การดา� เนนิ งานพนื้ ทน่ี วตั กรรมการศกึ ษาจงั หวดั ศรสี ะเกษ สพป.ศรสี ะเกษ เขต 4 จา� นวน 38 โรง ณ โรงเรยี นบา้ นปะทาย 3. วนั ท ี่ 24 กมุ ภาพนั ธ ์ 2564 จดั ประชมุ วางแผนพฒั นาโรงเรยี นนา� รอ่ งการดา� เนนิ งาน พืน้ ทีน่ วตั กรรมการศกึ ษาจังหวดั ศรสี ะเกษ (ประชมุ ผอู้ �านวยการโรงเรียนทย่ี า้ ยมาใหม่) จา� นวน 7 โรง ณ โรงเรยี นบ้านปะทาย 4. วนั ท ่ี 22 มนี าคม 2564 จดั การประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารปรบั ปรงุ หลกั สตู รสถานศกึ ษา โรงเรยี นนา� รอ่ งการดา� เนนิ งานพนื้ ทน่ี วตั กรรมการศกึ ษาจงั หวดั ศรสี ะเกษ ปที ่ี 2 สพป.ศรสี ะเกษ เขต 4 จ�านวน 22 โรง ณ โรงเรียนบ้านปะทาย 14 รายงานการขับเคลอื่ น “สานตอ่ นวัตกรรมเดิม เพิม่ เติมนวัตกรรมเชิงพืน้ ที”่ ปงี บประมาณ 2564
5. วนั ท ่ี 13 กรกฎาคม 2564 สพป.ศก.4 สนบั สนนุ โครงการขบั เคลอ่ื นพน้ื ทน่ี วตั กรรม การศึกษา สพป.ศรีสะเกษ เขต 4 จา� นวน 10,000 บาท 6. วนั ท ่ี 14 กรกฎาคม 2564 สพฐ. แจง้ จดั สรรงบประมาณเพอ่ื พฒั นานวตั กรรมการศกึ ษา ประจ�าปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ส�าหรบั 36 โรง จา� นวน 2,372,440 บาท 7. โรงเรียนน�ารอ่ งในพื้นที่นวัตกรรมการศกึ ษาจังหวดั ศรีสะเกษ สพป.ศก.4 ยนื ยนั เข้ารว่ มโครงการวิจัยกระบวนการพฒั นาหลักสตู รสถานศกึ ษาฐานสมรรถนะ จา� นวน 19 โรง ได้แก ่ บ้านปะทาย บา้ นนาขนวน บ้านโนนจิก บ้านระโยง บา้ นจ�านนั สายเจรญิ บา้ นซา� บ้านระหาร บา้ นดอนข่า บา้ นหนองบักโทน บ้านสามแยกหนิ กอง บา้ นกระเบาตะหลุงวิทยา บา้ นขะยูง บ้านหนองหวา้ บ้านไผ่หนองแคน บ้านศิลาทอง บ้านขุนหาญ บ้านโนนสา� ราญ อนบุ าลขุนหาญ (สิ) และบา้ นสดา� รายงานการขบั เคล่อื น “สานตอ่ นวัตกรรมเดมิ เพิ่มเติมนวัตกรรมเชิงพื้นท่ี” ปีงบประมาณ 2564 15
นวัตกรรมท่ี 1 โรงเรยี นเปลีย่ นแปลงเชิงระบบด้วยนวัตกรรมจิตศกึ ษา การจัดการเรยี นรแู้ บบบูรณาการโดยใช้ปญั หาเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL) และ PLC ผเู้ ชยี่ วชาญ/พเี่ ลย้ี ง (Mentor) : นายวเิ ชยี ร ไชยบงั ผอู้ า� นวยการโรงเรยี นลา� ปลายมาศพฒั นา และคณะ โรงเรยี นทใี่ ชน้ วัตกรรม จา� นวน 10 โรง ได้แก่ 1. โรงเรียนบา้ นปะทาย ผอ.สมศกั ด์ ิ ประสาร โทร. 08 1789 0567 2. โรงเรียนบา้ นนาขนวน ผอ.สังคม อินทรข์ าว โทร. 08 8746 9457 3. โรงเรยี นบ้านโนนจกิ ผอ.มจั ฉา ทมุ มา โทร. 09 1829 5186 4. โรงเรยี นบา้ นระโยง ผอ.อัครินทร ์ ฉัตรอรยิ วชิ ญ ์ โทร. 08 1718 3461 5. โรงเรียนบา้ นจ�านันสายเจริญ ผอ.เอกราช บุราชรนิ ทร์ โทร. 09 9469 3594 6. โรงเรียนบ้านซ�า ผอ.วิรัญรฏั ฌา รตั โน โทร. 09 5425 3836 7. โรงเรียนบ้านระหาร ผอ.สพุ ฒั น ์ โจระสา โทร. 06 5294 4554 8. โรงเรยี นบา้ นหนองบกั โทน ผอ.ว่าที ่ ร.อ.ธรรพ์ณธรณ์ ศีลาสาร โทร. 09 3847 4673 9. โรงเรยี นบ้านกระเบาตะหลุงวทิ ยา ผอ.กาญจนา จนั ด ี โทร .08 5228 0476 10. โรงเรียนบ้านสามแยกหินกอง ผอ.ค�าปัน จ�าปาเรอื ง โทร. 08 4286 9926 สาระสา� คัญของนวตั กรรม พัฒนาผู้เรยี นใหเ้ ปน็ มนุษยท์ ่ีสมบูรณ์และสมดุล ถึงพร้อมด้วยปัญญาภายใน และปญั ญาภายนอก พัฒนาโรงเรียนทง้ั ระบบ 1. พัฒนาปญั ญาภายในดว้ ยจติ ศึกษา ใหเ้ ข้าใจตอ่ ชวี ิต การมีชวี ิต เขา้ ใจต่อโลก และจกั รวาล อยอู่ ยา่ งมีความหมาย 2. พฒั นาปญั ญาภายนอกดว้ ยการจดั การเรยี นรแู้ บบบรู ณาการโดยใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน (Problem Based Learning : PBL) 3. พัฒนาครูและการเรยี นการสอนด้วยการสรา้ งชมุ ชน การเรยี นรวู้ ิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) กิจกรรมการด�าเนนิ งานท่สี �าคญั ในปีงบประมาณ 2564 วนั ท ี่ 7 พฤษภาคม 2564 กจิ กรรมปรบั หลกั สตู รฐานสมรรถนะ ณ โรงเรยี นบา้ นปะทาย ต�าบลทุ่งใหญ ่ อา� เภอกนั ทรลักษ ์ จังหวดั ศรสี ะเกษ ระหวา่ งวันท ี่ 28 - 30กรกฎาคม 2564 กจิ กรรมการอบรมหลกั สูตร การสอนภาษาไทยผา่ นวรรณกรรมเพื่อการคิดขนั้ สงู ผา่ นระบบ ออนไลน์ 16 รายงานการขับเคล่ือน “สานตอ่ นวตั กรรมเดมิ เพมิ่ เติมนวตั กรรมเชงิ พื้นท่ี” ปงี บประมาณ 2564
ผลการดา� เนินงาน 1. ผลท่ีเกิดกบั นักเรยี น นักเรยี นเรียนรอู้ ยา่ งมีความสุข มปี ฏิสมั พนั ธก์ ับผ้อู นื่ มสี มาธ ิ ร้ตู ัวเร็ว สภุ าพอ่อนโยน เหน็ คุณค่าตนเองและคนอน่ื ยอมรบั ความคิดเหน็ ของผอู้ ืน่ 2. ผลทเี่ กดิ กบั คร ู มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจในเปา้ หมายสามารถการจดั การเรยี นรแู้ บบบรู ณาการ ได้เปน็ อยา่ งด ี เนน้ ผ้เู รยี นเปน็ สา� คญั สามารถใชเ้ ทคโนโลยใี นการพฒั นาการเรยี นรู้ของตนเอง และผูเ้ รียนและสง่ เสรมิ คุณธรรมจริยธรรมแก่นกั เรยี น 3. ผลทเี่ กดิ กบั โรงเรยี น มรี ะบบการจดั การเรยี นรทู้ ม่ี คี ณุ ภาพ มคี วามเขม้ แขง็ ทางวชิ าการ มเี ครอื ขา่ ยการจดั การศกึ ษารว่ มกนั เปน็ ทย่ี อมรบั ของชมุ ชน และเปน็ แหลง่ บรกิ ารทางวชิ าการ ของชมุ ชนไดอ้ ีกด้วย รายงานการขบั เคล่ือน “สานต่อนวตั กรรมเดมิ เพม่ิ เติมนวัตกรรมเชงิ พ้นื ท่ี” ปงี บประมาณ 2564 17
นวัตกรรมท่ี 2 การจัดการเรยี นร้โู ดยใช้สมองเป็นฐาน (Brain Based Learning : BBL) ผูเ้ ช่ยี วชาญ/พ่ีเลี้ยง (Mentor) : อาจารย์ฉัตรียา เลศิ วิชา และคณะ โรงเรียนทใ่ี ชน้ วัตกรรม จา� นวน 12 โรง ได้แก่ 1. โรงเรยี นบ้านไผห่ นองแคน ผอ.จนั จิรา ศรจี ันทร์ โทร. 08 6879 0931 2. โรงเรยี นบ้านแดง (รัฐราษฎรพ์ ัฒนา) ผอ.รัฐอนงค์ อินโหงว โทร. 09 4297 3131 3. โรงเรียนบ้านตาเส็ด ผอ.จา� ปา สมรตั น ์ โทร. 08 1760 3484 4. โรงเรียนบ้านขะยูง ผอ.กาญจนา เพิ่มวิไล โทร. 09 8615 9951 5. โรงเรียนบ้านท่าคลอ้ ผอ.สรวศิ ิษฏ์ ทางาม โทร. 08 7963 1117 6. โรงเรยี นบ้านค�าสะอาด ผอ.ณัฐกานต ์ ทางาม โทร. 08 5779 7058 7. โรงเรยี นบา้ นบงึ มะลู ผอ.รวนิ นั ท ์ พิมพ์พงษ์ โทร. 09 5621 9904 8. โรงเรียนบ้านศิลาทอง ผอ.บุษบา แสงศริ ิ โทร. 08 1321 3396 9. โรงเรยี นบ้านภูเงนิ (อนิ ทรสุขศรีราษฎร์สามคั คี) นายรงั สฤษด ์ิ บตุ รลกั ษ์ โทร. 09 8241 7896 10. โรงเรยี นบา้ นหนองนกเขยี น ผอ.ปยิ ะพร ทา� บญุ โทร. 09 3542 9653 11. โรงเรียนบา้ นกนั จด ผอ.ธรรมน์ วัฒน ์ ศรีราตรี โทร. 08 5656 4965 12. โรงเรียนบา้ นหนองหวา้ ผอ.สจุ ติ รา ภูมิภาค โทร. 09 5613 1947 สาระสา� คัญของนวัตกรรม การจดั การเรียนการสอนทสี่ อดคลอ้ งกบั ธรรมชาติและการท�างานของสมอง โดยใช้ กุญแจ 5 ดอก เพ่อื พลิกโฉมโรงเรยี น ไดแ้ ก่ กญุ แจดอกท ี่ 1 สนามเด็กเลน่ BBL กุญแจดอกท ี่ 2 ห้องเรยี นเปล่ยี นสมอง กญุ แจดอกที่ 3 กระบวนการเรียนรู้แบบ 5 ขนั้ ตอน กญุ แจดอกที่ 4 หนงั สือเรียนและใบงาน BBL และกุญแจดอกท่ ี 5 สือ่ และนวัตกรรมการเรยี นร ู้ BBL กจิ กรรมการด�าเนินงานที่สา� คัญในปีงบประมาณ 2564 วนั ที่ 3-4 กรกฎาคม 2564 การอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการ “ยกระดับการสอนภาษาไทย พัฒนาทักษะการอา่ น คดิ เขียน ดว้ ย Brain-based Learning” (ออนไลน)์ วนั ท่ ี 17 กรกฎาคม 2564 การอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ าร พฒั นาศักยภาพครูภาษาไทยเพ่อื ยกระดับการสอน “ฟนั น้�านม แม่ ก กา” ในระดับชน้ั ปฐมวัย (ออนไลน์) วันท่ ี 18-19 กรกฎาคม 2564 การอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ าร พฒั นาศักยภาพครูภาษาไทย เพื่อยกระดับการสอน “อ่านคลอ่ งรู้ความ” ในระดับช้นั ประถมศกึ ษา (ออนไลน์) 18 รายงานการขับเคลอื่ น “สานต่อนวัตกรรมเดิม เพ่มิ เติมนวัตกรรมเชิงพ้นื ท่”ี ปงี บประมาณ 2564
ผลการด�าเนินงาน 1. ผลทีเ่ กดิ กบั ผูเ้ รียน ผเู้ รยี นเกิดความรสู้ กึ สนุกสนาน พึง่ พอใจ เกดิ ความตัง้ ใจ ทจ่ี ะเรยี นร ู้ ฝกึ ใหเ้ ดก็ คดิ ทลี ะขน้ั ตอน นา� ทกั ษะและความรใู้ นแตล่ ะขนั้ มาประกอบกนั เปน็ ความเขา้ ใจ ผา่ นการลงมอื ปฏบิ ตั ิดว้ ยตนเองในกิจกรรมต่าง ๆ 2. ผลทเี่ กดิ กบั ครผู สู้ อน ครมู กี ารจดั การเรยี นรทู้ เ่ี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สา� คญั จดั ทา� แผนการจดั การเรียนรู้ตามหลักการเรียนรู้ทส่ี อดคลอ้ งกับการพัฒนาสมองผา่ นกระบวนการจดั การเรียนร ู้ 5 ขัน้ ตอนของ BBL 3. ผลทเ่ี กดิ กับสถานศกึ ษา สถานศกึ ษามีแหล่งเรยี นร้ทู แี่ ปลกใหม่ มสี นาม BBL ท่มี ฐี านการเรียนรู้ทช่ี ว่ ยพัฒนาสมองสว่ นควบคุมรา่ งกาย มกี ารปรบั ปรุงห้องเรยี นให้มสี ีสัน ผ่านการจัดหอ้ งเรียน 8 Functions ทีช่ ่วยกระตนุ้ ใหเ้ ด็กสามารถเรยี นรแู้ ละจดจ�าเนือ้ หา ทเ่ี รยี นไดด้ ีขึ้น รายงานการขบั เคลื่อน “สานต่อนวัตกรรมเดมิ เพ่มิ เตมิ นวตั กรรมเชงิ พ้นื ที”่ ปงี บประมาณ 2564 19
นวตั กรรมท่ี 3 มอนเตสซอรี (Montessori) ผเู้ ชยี่ วชาญ/พเ่ี ลยี้ ง (Mentor) : ดร.กรรณกิ าร ์ บตั นายกสมาคมมอนเทสซอรแิ หง่ ประเทศไทย โรงเรยี นทใี่ ช้นวัตกรรม จ�านวน 4 โรง ได้แก่ 1. โรงเรยี นบ้านโนนสูง ผอ.ทวี พรมดวงศรี โทร. 08 7079 0307 2. โรงเรยี นบ้านสา� โรงเกยี รติ ผอ.ชวน แก้วกณั หา โทร. 08 1265 0013 3. โรงเรียนบา้ นขุนหาญ ผอ.วชั รา รัตโน โทร. 06 1415 8893 4. โรงเรยี นอนุบาลเบญจลกั ษ์ ผอ.อศั วนิ เกษสร โทร. 08 3368 1068 สาระสา� คญั ของนวตั กรรม กา� เนดิ ในประเทศอติ าล ี โดย ศาสตราจารยแ์ พทยห์ ญงิ มาเรยี มอนเตสซอร ี เปน็ การศึกษาเพอ่ื ชวี ิตตามธรรมชาติ เปน็ การเรียนรูด้ ว้ ยตนเองตามความ ต้องการ ความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล ผา่ นประสาทสมั ผสั ทง้ั 5 อยา่ งอสิ ระ จากสภาพแวดลอ้ มทสี่ มบรู ณ ์ (คร ู อปุ กรณ ์ บรรยากาศ) ดว้ ยการคละอายุ เพื่อสนองแนวโนม้ ความเป็นมนุษย ์ จติ ซึมซบั ชว่ งการเรยี นรู้ไว พฒั นาการ 4 ระนาบ สคู่ วามเปน็ มนษุ ยท์ สี่ มบรู ณ ์ ซง่ึ ในระดบั ปฐมวยั เรยี กวา่ Auto Education และระดับ ประถมศกึ ษา เรียกวา่ cosmic Education กิจกรรมการดา� เนนิ งานทส่ี �าคัญในปีงบประมาณ 2564 วนั ท ่ี 12– 15 สงิ หาคม 2564 จดั กจิ กรรมการพฒั นาศกั ยภาพของครปู ฐมวยั เกย่ี วกบั Montessori Football โรงเรยี นนา� รอ่ งการดา� เนนิ งานพน้ื ทน่ี วตั กรรมการศกึ ษาจงั หวดั ศรสี ะเกษ นวตั กรรมมอนเตสซอร ี (Montessori) จา� นวน 6 โรงเรยี น ตามโครงการพฒั นาศกั ยภาพผบู้ รหิ าร ครู การจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรสมรรถนะ นวัตกรรมมอนเตสซอรี (Montessori)ณ โรงเรียนบ้านโนนสูง อ�าเภอกันทรลักษ์ จังหวดั ศรีสะเกษ ผลการดา� เนินงาน 1. ผลที่เกดิ กับผ้เู รียน เด็กปฐมวยั ได้รับการพัฒนาทักษะการเคลอ่ื นไหว เต็มตาม ศกั ยภาพ มีสขุ ภาพจติ ทีด่ ีและเรียนรอู้ ย่างมีความสุข 2. ผลทเ่ี กดิ กับครูผูส้ อน ครไู ดร้ ับการพฒั นาทักษะ Montessori Football สามารถ จัดกจิ กรรม Montessori Football และน�าไปใชใ้ นการพัฒนาเดก็ ปฐมวัย อายุ 3-6 ปี ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 3. ผลที่เกิดกบั สถานศึกษา โรงเรียนมีคู่มอื การจัดกิจกรรม Montessori Football 20 รายงานการขับเคลือ่ น “สานตอ่ นวตั กรรมเดิม เพิม่ เตมิ นวัตกรรมเชิงพืน้ ท”ี่ ปงี บประมาณ 2564
รายงานการขับเคลื่อน “สานตอ่ นวตั กรรมเดมิ เพ่มิ เตมิ นวัตกรรมเชงิ พื้นท่”ี ปงี บประมาณ 2564 21
นวัตกรรมที่ 4 การเรียนรอู้ ยา่ งเปน็ องคร์ วม (Holistic Learning) ผู้เชยี่ วชาญ/พเ่ี ลี้ยง (Mentor) : รองศาสตรจารย์ประภาภัทร นยิ ม อธกิ ารบดสี ถาบนั อาศรมศลิ ป์ นายสบื ศักด ิ์ น้อยดัด อาจารยส์ ถาบันอาศรมศลิ ป์ โรงเรยี นทใ่ี ชน้ วตั กรรม จ�านวน 2 โรง ไดแ้ ก่ 1. โรงเรยี นบา้ นดอนขา่ ผอ.วา่ ท ่ี ร.ต.สมคิด นามบุตร โทร. 08 0167 7839 2. โรงเรยี นบา้ นโนนส�าราญ ผอ.จิตรา กมุ พันธ ์ โทร. 08 9280 7430 สาระส�าคญั ของนวตั กรรม การเรยี นรอู้ ยา่ งเป็นองค์รวมเปน็ การจัดการเรียนรู้ท่พี ฒั นามนษุ ย์ โดยคา� นึงถึงมิติ อนั หลากหลายของบุคคล ทั้งทางดา้ นรา่ งกาย จิตใจ สตปิ ญั ญา การรู้คิด สนุ ทรยี ภาพ และมติ อิ นื่ ๆ คิดถึงภาวะทงั้ หมดในชีวติ ของบคุ คล เนน้ กระบวนการเรียนรูท้ ช่ี ่วยใหบ้ คุ คลคน้ พบตัวเอง ซึ่งเกดิ จากการปลุกเร้าภายใน เพื่อใหเ้ ข้าใจความหมายและเปา้ หมายของชีวติ เปน็ กระบวนการ บูรณาการความรภู้ ายนอก (ศาสตรต์ ่างๆ) และภายใน (ชีวิต) เปน็ การเรยี นรทู้ ่ีสอดคลอ้ ง กบั ธรรมชาติทฝ่ี กึ ไดข้ องมนุษย ์ องคป์ ระกอบหลกั ของการเรียนรแู้ บบองค์รวม ม ี 3 องคป์ ระกอบ ได้แก่ (1) การเรียนรอู้ ย่างลึกซ้งึ (Deeper Learning) (2) การเรียนรูจ้ ากการลงมอื ปฏบิ ัตจิ รงิ (Learning by Doing) และ (3) การเรยี นรจู้ ากการส่อื สาร (Communicative Learning) จดั การเรียนรู้โดยใชป้ รากฏการณเ์ ปน็ ฐาน (Phenomenon Based Learning หรอื PhenoBL) กจิ กรรมการด�าเนินงานทส่ี า� คัญในปงี บประมาณ 2564 วนั ที่ 6 พฤษภาคม 2564 การประชุมสรา้ งความเข้าใจนโยบายและแนวทางการ ขบั เคล่อื นพืน้ ท่ีนวัตกรรมการศึกษา ผ่านสือ่ อิเลก็ ทรอนิกสด์ ้วยระบบ Zoom และ ถ่ายทอดสด ผา่ น Facebook Live วนั ท ่ี 31 พฤษภาคม 2564 และวนั ท ่ี 2, 4 และ 8 มถิ นุ ายน 2564 การอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร ออนไลน์กระบวนการพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษาฐานสมรรถนะและการออกแบบเครอื่ งมอื วัดและประเมินผลอิงฐานสมรรถนะ ในโครงการโรงเรยี นนา� ร่องพ้ืนท่ีนวัตกรรมการศกึ ษาจังหวดั ศรสี ะเกษและจงั หวัดระยอง ผา่ นสอื่ อิเล็กทรอนิกสด์ ้วยระบบ Zoom วันท ่ี 29 สิงหาคม 2564 การอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ ารออนไลน ์ การสร้างสงั คมแห่งการเรียนรู้ สรา้ งทกุ คนให้เปน็ ครู กลา้ เรยี นรูด้ ้วยตนเองผ่านส่ืออเิ ล็กทรอนิกส์ดว้ ยระบบ Zoom 22 รายงานการขบั เคล่ือน “สานตอ่ นวัตกรรมเดมิ เพ่ิมเติมนวตั กรรมเชงิ พน้ื ท”่ี ปีงบประมาณ 2564
วันท่ี 5 กนั ยายน 2564 โครงการเสวนาออนไลน ์ ครั้งท่ ี 3 บทเรียน “ครสู ามเส้า” ผ่านสอื่ อิเลก็ ทรอนิกส ์ ดว้ ยระบบ Zoom ผลการดา� เนินงาน 1. ผลทเ่ี กดิ กบั ผเู้ รยี น นักเรียนมวี ิธคี ิดแบบมวี ิจารณญาณ มกี ารสร้างสรรคน์ วตั กรรม และเรยี นรสู้ งิ่ ตา่ งๆ สามารถถา่ ยทอดผลงานสสู่ าธารณชนไดอ้ ยา่ งหลากหลายนา่ สนใจ นกั เรยี น มีทกั ษะในศตวรรษท่ ี 21 (3R 8c) นักเรยี นรู้หนา้ ทีร่ บั ผดิ ชอบตอ่ ตนเองและสังคม มีความตระหนัก เกยี่ วกบั วฒั นธรรมและความเปน็ พลเมอื งทด่ี ขี องชมุ ชน สงั คม ประเทศและโลก นกั เรยี นมวี ธิ กี าร ท�างานร่วมกันและการส่อื สารท่ดี ี นักเรยี นมคี วามร้คู วามเข้าใจในการใชเ้ ครอ่ื งมอื เทคโนโลยี สารสนเทศและการสอื่ สาร เพอื่ แสวงหาความร ู้ และการดา� รงชวี ติ อยา่ งมคี วามสขุ นกั เรยี นสามารถ บรู ณาการศาสตรพ์ ระราชาสกู่ ารปฏบิ ัติจรงิ ทง้ั ในการเรยี นและใช้ชีวิตประจ�าวนั โดยเนน้ ความสอดคลอ้ งเช่อื มโยงกับภูมิสงั คมถ่นิ ท่อี ยอู่ าศยั ของนกั เรยี น 2. ผลท่ีเกิดกับครูผู้สอน ครูและบุคลากรทางการศึกษา สามารถศึกษาวิเคราะห์ ความตอ้ งการจา� เปน็ ในการพฒั นาตนเองอยา่ งเปน็ ระบบในรปู แบบชมุ ชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชพี (PLC) ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาสามารถพฒั นาคณุ ภาพนกั เรยี นใหม้ ที กั ษะชวี ติ และทกั ษะอาชพี มีคุณลักษณะในศตวรรษที่ 21 ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาสง่ เสริมใหผ้ ู้เรยี นมีความสามารถ อยใู่ นสงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ และรบั มอื กบั ปญั หาและความเปลยี่ นแปลงตา่ งๆ ได ้ ครแู ละบคุ ลากร ทางการศกึ ษาส่งเสริมให้ผูเ้ รยี นมคี วามสามารถประยกุ ต์ความร ู้ จนเกิดทักษะทางอาชพี ซึ่งประกอบดว้ ย กระบวนการทา� งาน กระบวนการแกป้ ญั หา การทา� งานรว่ มกนั การแสวงหาความร ู้ การบรหิ าร จดั การในอาชีพทส่ี นใจ 3. ผลทเี่ กดิ กบั สถานศกึ ษา สถานศกึ ษาเปน็ สงั คมฐานความร ู้(Knowledge Based Society) จดั การศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาเดก็ และ เยาวชน อยา่ งเปน็ องคร์ วม สถานศกึ ษาเนน้ กระบวนการจดั การเรยี น ท่พี ัฒนาศกั ยภาพของนกั เรยี นเปน็ รายบุคคล ใหค้ วามสา� คัญ ในการพฒั นาให้เด็กทกุ คน เห็นคุณค่าในตนเอง เรียนรู้อย่างมีความสุขเสมอภาคกนั สถานศกึ ษาส่งเสริมผเู้ รียนเกิดเจตคต ิ คณุ ลกั ษณะ ทักษะ และเกดิ องค์ความรใู้ นเรื่องท่เี รียนอยา่ งลึกซึ้ง จนเป็นสมรรถนะของบคุ คล ในศตวรรษท่ี 21 รายงานการขบั เคลื่อน “สานตอ่ นวตั กรรมเดมิ เพมิ่ เติมนวัตกรรมเชิงพ้ืนท่ี” ปีงบประมาณ 2564 23
นวตั กรรมที่ 5 การศึกษาชั้นเรยี น (Lesson Study) และวิธกี ารแบบเปิด (Open Approach) ผเู้ ช่ียวชาญ/พีเ่ ลี้ยง (Mentor) : รศ.ดร.ไมตรี อนิ ประสิทธ์ิ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ และคณะ โรงเรียนทีใ่ ช้นวัตกรรม จา� นวน 3 โรง ไดแ้ ก่ 1. โรงเรยี นบา้ นโนนแสนค�าหนองศาลาศรสี ะอาด ผอ.พงษ์ศกั ด ิ์ โคจา� นงค ์ โทร. 08 7966 7675 2. โรงเรยี นบา้ นรุงสมบูรณ์ ผอ.พล สา� ลี โทร. 08 1966 8097 3. โรงเรียนเกษตรประชาตาทวด ผอ.วารินทร์ บญุ เชิญ โทร. 08 1790 6487 สาระส�าคญั ของนวัตกรรม กิจกรรมการศกึ ษาชัน้ เรียน (Lesson Study) มี 3 ข้ันตอน ได้แก่ ขั้นท่ ี 1 ร่วมมอื กนั เขียนแผน (Plan) ทมี ศกึ ษาชนั้ เรียน ร่วมกนั ออกแบบแผนการจดั การเรียนรู้ ขัน้ ท ่ี 2 ปฏบิ ตั กิ ารสอนและร่วมสังเกตชนั้ เรยี น (Do) จัดการเรยี นการสอนเเละสงั เกตชนั้ เรียน ขนั้ ท ี่ 3 สะทอ้ นผลรว่ มกนั (See) ทมี ศกึ ษาชนั้ เรยี นเเละผทู้ เี่ กยี่ วขอ้ งรว่ มกนั สะทอ้ นผลช้นั เรยี นเพอ่ื พฒั นาการจัดการเรยี นการสอน กิจกรรมวิธกี ารแบบเปดิ (Open Approach) ขนั้ ท ี่ 1 ขั้นนา� เสนอสถานการณป์ ัญหา โดยเน้นวิธกี ารแบบเปดิ (Open Approach) ซงึ่ มลี กั ษณะของการเปดิ 3 ลกั ษณะคอื (1) กระบวนการเปดิ แนวทางการแกป้ ญั หาทถี่ กู ตอ้ งนนั้ มหี ลายแนวทาง (2) ผลลพั ธเ์ ปดิ คา� ตอบถกู ตอ้ งหลายคา� ตอบ (3) แนวทางการพฒั นาเปดิ สามารถ พฒั นาไปเปน็ ปัญหาใหม่ได้ ขนั้ ท ่ี 2 ขนั้ เรยี นรดู้ ว้ ยตนเองของนกั เรยี น เมอ่ื ไดใ้ บกจิ กรรมนกั เรยี นในกลมุ่ กจ็ ะชว่ ยกนั คดิ หาวธิ ขี องแตล่ ะคน เสรจ็ แลว้ กจ็ ะคยุ กนั ในกลมุ่ เพอ่ื หาขอ้ สรปุ และเหตผุ ลไดค้ า� ตอบมาอยา่ งน้ี เพราะอะไร มวี ิธกี ารอย่างไร ขนั้ ท ่ี 3 ขนั้ อภปิ รายและเปรยี บเทยี บรว่ มกนั ทง้ั ชนั้ เรยี น เมอื่ นกั เรยี นไดค้ า� ตอบพรอ้ มกบั เหตผุ ลแนวคดิ และวธิ ีหาคา� ตอบ จะน�าเสนอหนา้ ช้นั เรยี นเพ่อื ให้เพื่อนได้รบั ทราบถงึ วธิ กี ารคิด ของนักเรยี น หลังจากนั้นครรู ว่ มอภิปรายเพือ่ พัฒนาไปเปน็ ปญั หาใหม่เพอ่ื นา� มาพัฒนาตอ่ ไป 24 รายงานการขบั เคลือ่ น “สานตอ่ นวัตกรรมเดมิ เพมิ่ เตมิ นวัตกรรมเชงิ พืน้ ท”่ี ปงี บประมาณ 2564
ขนั้ ท ่ี 4 ขนั้ สรปุ บทเรยี นและเชอ่ื มโยงแนวคดิ ขน้ั สดุ ทา้ ยของกจิ กรรมทคี่ รแู ละนกั เรยี น เรียนร้รู ว่ มกนั เพ่ือหาขอ้ สรปุ ของบทเรยี นที่มีความเหมือนและแตกตา่ ง ในการหาค�าตอบ ของแตล่ ะกลุ่มเพอ่ื ท่จี ะสรปุ เป็นแนวคดิ รว่ มกนั กิจกรรมการดา� เนนิ งานทสี่ �าคัญในปีงบประมาณ 2564 วนั ท ่ี 22-23 กุมภาพันธ ์ 2564 กจิ กรรมประชุมเชิงปฏบิ ตั ิการเพือ่ พัฒนาทักษะ การคดิ ขนั้ สงู ทางคณติ ศาสตร ์ ณ โรงเรยี นบา้ นโพนขา่ (วนิ ติ วทิ ยาคาร) จงั หวดั ศรสี ะเกษ เดอื นกมุ ภาพนั ธ-์ มนี าคม 2564 กิจกรรมเปิดชั้นเรียน Open Approach ณ โรงเรยี นบา้ น โนนแสนคา� หนองศาลาศรสี ะอาด โรงเรียนเกษตรประชาตาทวด ผลการด�าเนินงาน 1. ผลทเ่ี กดิ กบั ผูเ้ รียน นกั เรยี นมีความหลากหลายในความคิด และมคี วามแตกต่าง ในการนา� เสนอความคิดของนักเรียนแต่ละกล่มุ ร้จู ักการนา� ความรูเ้ ดมิ เช่ือมโยงกบั ความรใู้ หม่ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ นกั เรยี นนา� มวลประสบการณข์ องตนเองมาใชใ้ นเวลาทก่ี ลมุ่ ตอ้ งการ แสดงความคดิ เหน็ ท่หี ลากหลายและน�ามาคิดวเิ คราะห์รว่ มกันอยา่ งมเี หตุมผี ล 2. ผลที่เกดิ กบั ครผู สู้ อน ครูมคี วามพรอ้ มในการเตรียมแผนการจัดการเรยี นรู้ สอื่ อปุ กรณต์ า่ งๆ เพอ่ื อา� นวยความสะดวกในการจดั กจิ กรรมการเรยี นร ู้ เพอื่ ใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ กดิ ความคดิ และเสรมิ แรงในการกระตนุ้ ความคดิ ของนกั เรยี น การใหค้ า� ชมเชยของครสู ามารถทา� ใหน้ กั เรยี น มีพลังในการคดิ เพือ่ ส่งเสรมิ และเป็นแรงใจส�าหรับนักเรียน บทบาทของครูต้องพยายามและ อดทนรอคอยในการหาค�าตอบของนกั เรยี น เพราะนกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ จะใช้เวลาในการคดิ 3. ผลทเ่ี กดิ กับสถานศกึ ษา โรงเรียนมีการพัฒนาตนเองทง้ั ระบบ (Whole School Approach) โดยการบรู ณาการการบริหารจัดการระดบั โรงเรยี น (School Management) และด้านการบรหิ ารจดั การในระดบั ชนั้ เรยี น (classroom management) โดยใชน้ วตั กรรม การศกึ ษาชั้นเรียน (Lesson Study) และวธิ ีการแบบเปดิ (Open Approach) รายงานการขบั เคลอื่ น “สานต่อนวัตกรรมเดมิ เพิม่ เตมิ นวัตกรรมเชิงพื้นที”่ ปีงบประมาณ 2564 25
นวัตกรรมท่ี 6 โครงการ/โครงงาน (Project Approach) ผู้เช่ยี วชาญ/พ่ีเล้ียง (Mentor) : มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ศรีสะเกษ โรงเรยี นทีใ่ ชน้ วัตกรรม จา� นวน 4 โรง ได้แก่ 1. โรงเรยี นอนบุ าลขนุ หาญ (สิ) ผอ.ธนกร แกว้ ธรรม โทร. 09 0469 2614 2. โรงเรยี นอนบุ าลศรรี ตั นะ ผอ.สพุ รรณ หอ่ ทรพั ย ์ โทร. 08 9949 6447 3. โรงเรียนบา้ นโนนแฝก ผอ.นพรตั น์ สายลนุ โทร. 08 4888 3577 4. โรงเรียนบ้านศิวาลัย ผอ.วฒั นา จันทะวงษ ์ โทร. 09 0829 9833 สาระส�าคัญของนวตั กรรม เปน็ รปู แบบวิธีการสอนรูปแบบหนงึ่ ท่ีเปิดโอกาสให้เด็กได้เรยี นรูโ้ ดยการสืบค้นหา ขอ้ มลู อย่างลุ่มลึกในหวั เร่ืองทเ่ี ด็กสนใจ ควรค่าแก่การเรียนร ู้ โดยเด็กในชั้นเรยี นท้งั กลมุ่ เลก็ กลมุ่ ใหญห่ รอื รว่ มกนั ทงั้ ชน้ั ลกั ษณะเดน่ ของโครงการ คอื การคน้ หาคา� ตอบจากคา� ถามทเี่ กยี่ วกบั หวั เรือ่ งทีเ่ ด็กสนใจ ค�าถามนี้อาจมาจากเด็กจากครูหรอื ครกู ับเดก็ รว่ มกนั เดก็ มีโอกาสที่จะ วางแผนสบื คน้ ดว้ ยตนเอง โดยมคี รคู อยอา� นวยความสะดวกและรว่ มเรยี นรรู้ ว่ มไปกบั เดก็ รวมถงึ การวางแผนกระบวนการตา่ งๆ ในการหาคา� ตอบ แลกเปลย่ี นสงิ่ ทเ่ี ดก็ เรยี นรกู้ บั บคุ คลอน่ื ผา่ น โครงการของการปฏบิ ตั โิ ครงการไว ้ 5 กระบวนการ คอื (1) การอภปิ รายกลมุ่ (2) การศกึ ษานอก สถานทห่ี รอื งานในภาคสนาม (3) การนา� เสนอประสบการณเ์ ดมิ (4) การสบื คน้ (5) การจดั แสดง ซึ่งระยะของการทา� โครงการ ม ี 3 ระยะ ดงั นี้ ระยะที ่ 1 ระยะเริ่มตน้ โครงการ ระยะที่ 2 ระยะพฒั นาโครงการ และระยะที่ 3 ระยะสรปุ ผลโครงการและจดั นิทรรศการ กจิ กรรมการด�าเนินงานที่สา� คญั ในปีงบประมาณ 2564 วนั ท ่ี 24 - 25 มถิ นุ ายน 2564 การนเิ ทศตดิ ตามและประเมนิ ผลการใชน้ วตั กรรม Project Approach ณ โรงเรยี นอนบุ าลขนุ หาญ (ส)ิ โรงเรยี นอนบุ าลศรรี ตั นะ โรงเรยี นบา้ นโนนแฝก และโรงเรยี นบ้านศิวาลยั วนั ท ่ี 8 สงิ หาคม 2564 กจิ กรรมโครงการเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการจัดการเรียนร้แู บบ Project Approach โดยใช้ผงั กราฟกิ (Graphic) ผ่านระบบออนไลน์ Zoom meeting วันท ่ี 9 สงิ หาคม 2564 โรงเรยี นอนบุ าลขุนหาญ (ส)ิ จดั นิทรรศการรับการตรวจ ประเมนิ รางวัลเลศิ รัฐ สาขาคณุ ภาพบริหารจดั การภาครัฐ ประจา� ปี 2564 26 รายงานการขับเคลื่อน “สานตอ่ นวัตกรรมเดมิ เพม่ิ เตมิ นวตั กรรมเชงิ พืน้ ท”่ี ปงี บประมาณ 2564
ผลการดา� เนินงาน 1. ผลท่ีเกดิ กับผเู้ รียน นักเรียนได้เลือกหวั ข้อทจ่ี ะเรียนรู้ส่งิ ท่ีสนใจ เสนอความคดิ พร้อมทงั้ ได้เรียนร้แู ละไดล้ งมอื ปฏบิ ัตจิ รงิ ท�าใหน้ กั เรียนกลา้ แสดงออก เกดิ ความกระตอื รอื รน้ ในเรอ่ื งทเ่ี รยี นรแู้ ละเกดิ ความสนกุ สนาน สง่ ผลใหเ้ ดก็ เกดิ การเรยี นรอู้ ยา่ งมคี วามสขุ มพี ฒั นาการ ทีด่ ตี ามวยั เดก็ เกิดคณุ ภาพอยา่ งยั่งยนื 2. ผลท่เี กิดกับครูผู้สอน ครรู ู้สกึ ผ่อนคลายในการจัดการเรยี นร ู้ เนื่องจากการจดั การเรยี นรแู้ บบโครงการจะทา� ใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ รยี นรใู้ นเรอ่ื งทตี่ นเองสนใจ เพราะไมจ่ า� เปน็ ตอ้ งบงั คบั ใหผ้ เู้ รยี นเรยี นรใู้ นเรอื่ งตา่ งๆ ซง่ึ ถา้ สามารถดา� เนนิ การรปู แบบการเรยี นรนู้ ไ้ี ดอ้ ยา่ งเหมาะสมแลว้ ผู้เรียนจะช่วยกันเรียนรู้และเกิดองค์ความรู้ได้ด้วยตัวเอง โดยครูเป็นผู้แนะน�า และอ�านวยความสะดวกเทา่ นัน้ 3. ผลทเี่ กดิ กบั สถานศกึ ษา โรงเรยี นเปน็ พนื้ ทใี่ นการเรยี นรทู้ เ่ี ออื้ ตอ่ การจดั การเรยี นรู้ และเปน็ พื้นท่ใี นการแสดงความสามารถของเด็ก รายงานการขบั เคล่ือน “สานต่อนวตั กรรมเดมิ เพ่มิ เติมนวัตกรรมเชิงพ้ืนที่” ปงี บประมาณ 2564 27
นวัตกรรมท่ี 7 การจดั การเรียนรูบ้ ูรณาการวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยที เี่ ชอ่ื มโยงกับบรบิ ททอ้ งถ่นิ และพัฒนาสมรรถนะในศตวรรษท่ี 21 (SMT) ผเู้ ชย่ี วชาญ/พเี่ ลยี้ ง (Mentor) : สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร ์ และเทคโนโลย ี (สสวท.) รายชอื่ โรงเรยี นที่ใชน้ วตั กรรม โรงเรียนบา้ นสดา� ผอ.ไกรสร อนุ่ แกว้ โทร. 08 4962 4466 สาระส�าคญั ของนวัตกรรม การจดั การเรยี นรบู้ รู ณาการวทิ ยาศาสตร ์ คณติ ศาสตร ์ และเทคโนโลยที เี่ ชอ่ื มโยงบรบิ ท ทอ้ งถน่ิ และพัฒนาสมรรถนะในศตวรรษท่ ี 21 (SMT) เน้นใหน้ กั เรียนได้คดิ อย่างอิสระ เพือ่ ศึกษา แก้ปญั หา หรอื พฒั นาในสงิ่ ท่ีนกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มสนใจในทอ้ งถ่นิ หรอื ชุมชนของตน โดยใชค้ วามรูว้ ทิ ยาศาสตร ์ คณติ ศาสตรแ์ ละเทคโนโลย ี เพื่อสรา้ งนวตั กรรมในการแกป้ ญั หา โดยมีเป้าหมายส�าคญั ของการจดั การเรยี นร ู้ ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. บูรณาการความรู้และกระบวนการในวทิ ยาศาสตร ์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี 2. พฒั นาสมรรถนะหลกั ระดบั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานและทกั ษะทส่ี า� คญั ในศตวรรษท ่ี 21 3. เชอ่ื มโยงบรบิ ท สถานการณ์ และวิถชี วี ิตทอ้ งถิ่น 4. สร้างสรรค์นวตั กรรมโดยใชค้ วามร้วู ิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และเทคโนโลยี ความคดิ ขน้ั สงู การคดิ เชงิ คา� นวณ (Computational Thinking) และการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม ในการสรา้ งสรรคผ์ ลงานนวตั กรรมจนสา� เรจ็ กจิ กรรมการดา� เนินงานท่สี า� คัญในปงี บประมาณ 2564 วนั ท ี่ 25 มกราคม 2564 การอบรมดว้ ยระบบออนไลน ์ หลกั สตู รการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร เพ่มิ พนู ศักยภาพการสอนคณิตศาสตร์เพอ่ื การจดั การสอนในศตวรรษที ่ 21 ส�าหรับครู ประถมศกึ ษาตอนปลาย วนั ท่ ี 10 พฤศจิกายน 2563 การนเิ ทศตดิ ตามผลการด�าเนนิ กจิ กรรมโดยผเู้ ช่ยี วชาญ จากสถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย ี (สสวท.) ณ โรงเรียนบ้านสด�า วันที่ 29 สิงหาคม 2564 การประชมุ ติดตามผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ที่เช่ือมโยงบริบทท้องถ่ิน และพัฒนาสมรรถนะ ในศตวรรษท ่ี 21 (SMT) โดยผเู้ ชยี่ วชาญจากสถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สสวท.) ดว้ ยระบบออนไลน์ 28 รายงานการขบั เคลอ่ื น “สานต่อนวตั กรรมเดมิ เพ่มิ เตมิ นวัตกรรมเชงิ พน้ื ท่ี” ปีงบประมาณ 2564
ผลการด�าเนนิ งาน 1. ผลทเ่ี กดิ กบั นกั เรียน นกั เรยี นทเ่ี รียนรผู้ ่านกจิ กรรมการเรยี นรบู้ ูรณาการ SMT มคี วามรู้ ความเข้าใจ และสามารถนา� ความร ู้ SMT สรา้ งสรรค์นวตั กรรม เพ่ือแกป้ ัญหาหรือ พัฒนาสง่ิ ทส่ี นใจในชุมชนหรือทอ้ งถิ่น รวมทง้ั ได้รับการพัฒนาสมรรถนะตา่ งๆ 2. ผลทเ่ี กดิ กบั คร ู ครสู ามารถออกแบบและพฒั นากจิ กรรมการเรยี นรบู้ รู ณาการ SMT และวดั ประเมนิ ผลการเรยี นรอู้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และทา� งานรว่ มกนั เปน็ ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ ในวชิ าชพี คร ู (PLC) 3. ผลทเ่ี กดิ กบั โรงเรยี น มกี ารรว่ มประชมุ เชงิ วชิ าการ การรว่ มนา� เสนอผลการดา� เนนิ งาน มกี ารสรา้ งเครอื ขา่ ยภายในจงั หวดั ศรสี ะเกษ โดยไดร้ ว่ มนา� เสนอผลงาน และรว่ มประชมุ ทางวชิ าการ เก่ียวกบั กระบวนการจัดการเรยี นการสอน ตามวาระความร่วมมือกบั สถาบันส่งเสริมการสอน วิทยาศาสตร ์ และเทคโนโลย ี (สสวท.) รายงานการขับเคลือ่ น “สานตอ่ นวัตกรรมเดมิ เพมิ่ เติมนวัตกรรมเชิงพน้ื ที่” ปีงบประมาณ 2564 29
ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนนา� ร่อง การดา� เนนิ งานพนื้ ท่ีนวัตกรรมการศึกษาจังหวัดศรีสะเกษ สพป.ศรีสะเกษ เขต 4 1. ผลการประเมินความสามารถดา้ นการอา่ นของผ้เู รยี น (Reading Test : RT) ช้ันประถมศึกษาปที ่ ี 1 ดา้ น ปกี ารศึกษา 2561 ปีการศึกษา 2562 ปีการศกึ ษา 2563 การอา่ นออกเสยี ง 65.14 70.90 79.17 การอ่านร้เู ร่ือง 70.02 74.70 72.92 รวม 2 ดา้ น 67.58 72.80 76.06 2. ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (National Test : NT) ปกี ารศกึ ษา 2563 ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 ดา้ นคณิตศาสตร์ 38.80% ด้านภาษาไทย 47.88% รวมทั้ง 2 ดา้ น 43.34% 3. ผลการทดสอบระดับชาตขิ ัน้ พน้ื ฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6 ภาษาไทย 53.57% คณติ ศาสตร์ 25.81% วิทยาศาสตร ์ 33.30% ภาษาอังกฤษ 35.55% รวมเฉลี่ย 37.05% 4. ผลการทดสอบระดบั ชาติขัน้ พน้ื ฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2563 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ภาษาไทย 49.93% คณิตศาสตร ์ 23.00% วทิ ยาศาสตร ์ 29.20% ภาษาองั กฤษ 29.84% รวมเฉลี่ย 32.99% ขอ้ เสนอแนะและแนวทางในการพัฒนา ปีงบประมาณ 2565 1. ควรปรับปรุงแก้ไขการแต่งตัง้ คณะกรรมการขับเคลอื่ นพื้นที่นวตั กรรมการศึกษา ของสพป.ศก.4 ใหม ่ เนอื่ งจากมกี ารเกษยี ณอายรุ าชการ และการยา้ ยของขา้ ราชการหลายตา� แหนง่ 2. ควรจดั สรรงบประมาณเพ่ือเป็นคา่ ใช้จา่ ยในการดา� เนินงานอย่างตอ่ เน่อื งทกุ ปี ไมต่ ้องรองบประมาณท ี่ สพฐ.จัดสรรมาให้โดยตรง เน่อื งจากอาจไมไ่ ด้รับการจัดสรรมาให้ ทา� ใหง้ านการขับเคลือ่ นพ้นื ที่นวัตกรรมการศึกษาทา� ได้ยาก 3. ควรสรา้ งความร ู้ ความเข้าใจ และการรบั รู้ใหก้ ับบคุ ลากรและผทู้ ่ีเก่ียวขอ้ งกบั โรงเรียนน�าร่องการดา� เนินงานพื้นที่นวัตกรรมการศกึ ษาจงั หวัดศรีสะเกษอยา่ งตอ่ เนื่อง เช่น - จดั กิจกรรม PLC แลกเปลยี่ นเรียนรู้ถอดบทเรยี น BAR AAR สร้างคณุ คา่ / เป้าหมายร่วม 2 เดือนตอ่ ครงั้ - จดั การประชมุ ปฏบิ ตั กิ ารโรงเรยี นนา� รอ่ งการดา� เนนิ งานพน้ื ทนี่ วตั กรรมการศกึ ษาจงั หวดั ศรสี ะเกษ สพป.ศก.4 เพ่อื ชีแ้ จงความเป็นมา ความส�าคญั ความเคลอ่ื นไหวเกย่ี วกับพน้ื ท่ี นวัตกรรมการศึกษา (ดร.พิทกั ษ์ โสตถยาคม ผอ.สบน. สพฐ.) บทบาทของภาคีเครอื ขา่ ย 30 รายงานการขบั เคลอ่ื น “สานตอ่ นวตั กรรมเดมิ เพมิ่ เติมนวัตกรรมเชงิ พ้นื ท่ี” ปีงบประมาณ 2564
ในการขบั เคลอ่ื น (SCBF/TDRI/สถาบนั อาศรมศลิ ป)์ แนวทางการดา� เนนิ งานของโรงเรยี นนา� รอ่ ง (นายเสนยี ์ เรอื งฤทธ์ิราวี และนายวนั ชัย บุญทอง) ระดมสมองความต้องการ/ขอ้ เสนอแนะ ในการขับเคลอ่ื น การปลดลอ็ ก เป็นตน้ - จัดการประชุมศึกษาวิเคราะห์ ค�าสัง่ ประกาศ ระเบยี บ แนวปฏิบัต ิ และอืน่ ๆ ท่คี ณะกรรมการนโยบายพน้ื ท่นี วัตกรรมการศึกษาก�าหนด เพ่อื ศึกษาบทบาท ภารกิจ หนา้ ท ่ี หรือสง่ิ ท่ีโรงเรียนและเขตพื้นทกี่ ารศึกษา ควร/ต้องปฏิบตั ิหรอื ด�าเนนิ การ แลว้ น�าไปปฏบิ ตั ิ อย่างจรงิ จัง 4. พฒั นาบุคลากรเกี่ยวกับหลักสูตรอิงสมรรถนะ การเรยี นรู้เชงิ รุก การบรู ณาการ การออกแบบการวัดผลและการประเมนิ ผลแนวใหมท่ ีเ่ น้นการประเมินเพื่อพัฒนา 5. นิเทศติดตามการดา� เนินของโรงเรียนนา� รอ่ งการดา� เนินงานพน้ื ที่นวัตกรรมการ ศกึ ษาจงั หวดั ศรสี ะเกษในสงั กดั จา� นวน 36 โรง เชน่ นเิ ทศตดิ ตามการใชจ้ า่ ยเงนิ พฒั นานวตั กรรม การศกึ ษา ปงี บประมาณ 2564 ทส่ี พฐ.จดั สรรมาให ้ นเิ ทศตดิ ตามการพฒั นาหลกั สตู รฐานสมรรถนะ ของโรงเรยี นในโครงการวจิ ยั กระบวนการพฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษาฐานสมรรถนะ จา� นวน 19 โรง เป็นตน้ 6. การแตง่ ตั้งคณะกรรมการขับเคลอ่ื นพน้ื ที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวดั ศรีสะเกษ ในอนาคต ควรใหม้ ีผู้อ�านวยการสา� นกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาครบทุกเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา เพอ่ื ชว่ ยใหก้ ารขบั เคลอื่ น การพฒั นา และการเชอ่ื มตอ่ ประสานงานของพนื้ ทน่ี วตั กรรมการศกึ ษา จงั หวดั ศรสี ะเกษดา� เนินไปด้วยความราบรน่ื มคี ุณภาพ และมีประสิทธิภาพ 7. คณะกรรมการขบั เคลอ่ื นพนื้ ทนี่ วตั กรรมการศกึ ษาจงั หวดั ศรสี ะเกษ และสา� นกั งาน ศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั ศรสี ะเกษ ควรจดั สรรงบประมาณใหแ้ ต่ละเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาเพือ่ เปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยในการด�าเนินงาน 8. ควรเปดิ รบั โรงเรยี นนา� รอ่ งการดา� เนนิ งานพน้ื ทนี่ วตั กรรมการศกึ ษาจงั หวดั ศรสี ะเกษ เพม่ิ ขน้ึ โดยเปดิ กวา้ งใหม้ นี วตั กรรมเชงิ พน้ื ทหี่ รอื นวตั กรรมทคี่ ดิ คน้ พฒั นาขน้ึ มาเอง เปน็ รปู แบบ นวตั กรรมท ี่ 9 ซง่ึ หลายเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาไดม้ กี ารพฒั นาโรงเรยี นในสงั กดั อาจเลอื กจากโรงเรยี น ทมี่ ีความพรอ้ มในหลายๆ ดา้ น โดยการแตง่ ตงั้ คณะกรรมการคดั เลือกโรงเรยี นนา� รอ่ ง ลงพ้ืนที่เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลท่ีโรงเรยี นโดยตรง เพ่อื ใชป้ ระกอบการพิจารณาคัดเลอื ก 9. สรา้ งการมีส่วนรว่ มของคนในพนื้ ท ี่ เชน่ ให้หน่วยงานทางการศกึ ษารว่ มมือระดม ทรัพยากรในการพฒั นากระบวนการเรียนรู้ของครแู ละนกั เรยี นให้มากขนึ้ ใหน้ กั ธุรกิจ พอ่ ค้า คหบด ี ปราชญช์ าวบ้าน ผู้นา� ทอ้ งถิ่น มีสว่ นรว่ มในการสนบั สนุนพฒั นาการจดั การศึกษา ใหม้ ากขนึ้ ทั้งในดา้ นความรู้ แนวคดิ วสั ดุอุปกรณ ์ ครุภัณฑ ์ เงิน เวลา แรงงาน เป็นต้น 10. ควรประสานงานการพฒั นากับส�านักงานศกึ ษาธิการจังหวัดศรีสะเกษ คณะกรรมการต่างๆ ภาคเี ครือข่าย และหน่วยงานที่เก่ยี วขอ้ งใหม้ ากขน้ึ รายงานการขับเคลอ่ื น “สานต่อนวตั กรรมเดมิ เพ่มิ เตมิ นวัตกรรมเชงิ พ้นื ท่”ี ปีงบประมาณ 2564 31
ส่วนท่ี 3 การเพม่ิ เตมิ นวตั กรรมเชงิ พื้นท่ี 32 รายงานการขบั เคล่อื น “สานตอ่ นวัตกรรมเดมิ เพมิ่ เตมิ นวัตกรรมเชิงพ้นื ที่” ปงี บประมาณ 2564
เพมิ่ เตมิ นวตั กรรมเชงิ พน้ื ท่ี หมายถงึ นวตั กรรมใหมท่ โี่ รงเรยี น จา� นวน 173 โรงเรยี น (ร้อยละ 82.78 ของโรงเรียนทั้งหมด) คิดค้นพัฒนาขึ้นเอง หรืออาจเป็นนวัตกรรมเก่าหรือ นวตั กรรมใหมท่ นี่ า� มาปรบั ปรงุ พฒั นาใหด้ ยี งิ่ ขน้ึ ซง่ึ พสิ จู นย์ นื ยนั คณุ ภาพไดด้ ว้ ยการวจิ ยั ในชน้ั เรยี น อาจเปน็ นวตั กรรมของหนว่ ยงาน/บคุ ลากรในสงั กดั เชน่ คร ู ผอู้ า� นวยการโรงเรยี น ศกึ ษานเิ ทศก ์ เป็นต้น ในที่นี้ ส�านักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 4 ได้ส่งเสริม ใหท้ กุ โรงเรยี นและผสู้ อนทกุ คนพฒั นานวตั กรรมการศกึ ษา รวมทง้ั โรงเรยี นนา� รอ่ งการดา� เนนิ งาน พนื้ ทีน่ วัตกรรมการศึกษาจงั หวดั ศรีสะเกษ จา� นวน 36 โรงเรยี นดว้ ย การดา� เนินงาน การพฒั นานวตั กรรมการศกึ ษา ใหเ้ ปน็ ไปตามแนวคดิ “เพม่ิ เตมิ นวตั กรรมเชงิ พน้ื ท”ี่ ในปงี บประมาณ 2564 นน้ั สพป.ศก.4 ไดส้ นบั สนนุ งบประมาณในการดา� เนนิ งาน 2 โครงการ ไดแ้ ก ่ (1) โครงการสง่ เสรมิ การขบั เคลอื่ นนวตั กรรมเชงิ พน้ื ทข่ี องโรงเรยี นในสงั กดั สพป.ศรสี ะเกษ เขต 4 จา� นวน 30,000 บาท และ (2) โครงการขับเคลือ่ นการพฒั นานวัตกรรมเชงิ พนื้ ท่ี ของโรงเรยี นในสงั กดั สพป.ศรสี ะเกษ เขต 4 จา� นวน 130,000 บาท โดยมกี จิ กรรมการดา� เนนิ งาน ทสี่ า� คัญ ดังนี้ 1. ลงพน้ื ที่เย่ยี ม นเิ ทศ ให้กา� ลงั ใจ ร่วมแลกเปลย่ี นเรียนร้ ู สอบถาม/รบั ฟังปัญหา อุปสรรค ความต้องการ และขอ้ เสนอแนะ ของโรงเรยี นในสงั กัดเก่ียวกบั การพฒั นานวัตกรรม การศกึ ษา ทงั้ โรงเรียนนา� รอ่ งการดา� เนนิ งานพ้ืนท่นี วตั กรรมการศึกษาจังหวัดศรสี ะเกษ และโรงเรียนทัว่ ไป 2. แตง่ ตงั้ คณะกรรมการขบั เคลอื่ นและนเิ ทศการใชน้ วตั กรรมพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา สา� นกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต 4 ตามคา� ส่งั ท่ี 512/2563 ลงวนั ที่ 22 ธนั วาคม 2563 ประกอบดว้ ย - คณะกรรมการอ�านวยการ จ�านวน 22 คน มผี ้อู �านวยการกลุ่มนเิ ทศ ติดตามและ ประเมินผลการจัดการศึกษา เปน็ เลขานกุ าร และศกึ ษานเิ ทศก ์ กลุ่มงานพฒั นาหลักสูตร การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานและกระบวนการเรียนร ู้ ท้งั 4 คน เป็นผู้ช่วยเลขานกุ าร - คณะท�างานการนิเทศและพัฒนานวตั กรรมตา่ งๆ เป็นศกึ ษานิเทศก์ ท้งั นวัตกรรม เดมิ 7 นวตั กรรม และนวตั กรรมเชงิ พนื้ ท่ ี จ�านวน 13 คณะทา� งาน รายงานการขับเคลอื่ น “สานตอ่ นวตั กรรมเดิม เพิม่ เติมนวตั กรรมเชิงพ้ืนที่” ปงี บประมาณ 2564 33
3. จดั การประชมุ ชี้แจงแนวทางการด�าเนนิ งานขบั เคล่ือนพฒั นานวตั กรรมการศึกษา ใหแ้ กผ่ เู้ กย่ี วขอ้ งทราบและดา� เนนิ การ ไดแ้ ก ่ ประชมุ ชแ้ี จงบคุ ลากรของ สพป.ศรสี ะเกษ เขต 4 ประชมุ ชแี้ จงประธานกลมุ่ โรงเรยี น ประชมุ สญั จรและนเิ ทศเครอื ขา่ ยกลมุ่ โรงเรยี น (ประชมุ ผอู้ า� นวยการ โรงเรียนและรองผ้อู า� นวยการโรงเรียน) โดยใหโ้ รงเรียนของแตล่ ะกลมุ่ โรงเรยี นได้นา� เสนอผลงาน การปฏบิ ตั ทิ เ่ี ปน็ เลศิ (Best Practice) ตามความสมคั รใจในหลายรปู แบบ เชน่ การจดั นทิ รรศการ การสาธติ คลิปวีดิทศั น ์ Power Point เป็นต้น จ�านวน 10 กลุม่ โรงเรยี น ดงั น้ี กลุม่ โรงเรยี น วัน เดอื น ปี สถานท่จี ดั ประชุมสญั จร โรงเรียนท้งั หมด 1. มออแี ดง 5 มกราคม 2564 โรงเรียนบ้านทา่ สว่าง 18 2. เมอื งกนั ทร์ 6 มกราคม 2564 โรงเรยี นบา้ นขะยูง 21 3. บงึ ระนาม 7 มกราคม 2564 โรงเรยี นบ้านนาขนวน 19 4. ภกู ระจาน 8 มกราคม 2564 โรงเรยี นบา้ นโนนจิก 20 5. ต�าหนกั ไทร 11 มกราคม 2564 โรงเรยี นบ้านสา� โรงเกียรติ 23 6. ขนุ โพธภ์ิ ไู พร 14 มกราคม 2564 โรงเรยี นบา้ นกราม 15 7. ศรีรตั นะ 15 มกราคม 2564 โรงเรยี นบา้ นศิลาทอง 26 8. พนมดงรัก 18 มกราคม 2564 โรงเรยี นบ้านโดนอาว 20 9. นา้� ตกหว้ ยจันทน์ 21 มกราคม 2564 โรงเรยี นบา้ นโพธิ์กระสังข์ 23 10. เบญจลักษ์ 22 มกราคม 2564 โรงเรียนอนบุ าลเบญจลักษ์ 24 209 รวม 34 รายงานการขบั เคลอื่ น “สานตอ่ นวัตกรรมเดมิ เพิม่ เติมนวัตกรรมเชงิ พ้นื ท”ี่ ปงี บประมาณ 2564
4. จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนารูปแบบ (Model) นวัตกรรมการศึกษา (ของโรงเรียน) เพอื่ พฒั นาครแู ละผู้อ�านวยการโรงเรยี นใหจ้ ดั ทา� รปู แบบ (Model) นวัตกรรม การศกึ ษาไดอ้ ยา่ งมคี ณุ ภาพ เหมาะสมกบั บรบิ ทของโรงเรยี น สอดคลอ้ งกบั หลกั สตู รสถานศกึ ษา และทกั ษะในศตวรรษที ่ 21 จา� นวน 10 กลมุ่ โรงเรยี น ใหพ้ รอ้ มนา� มาใชจ้ ดั การศกึ ษาในปีการ ศึกษา 2564 ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จ�านวน 338 คน โดยมีศึกษานิเทศก์ร่วมเป็นพ่ีเล้ียง ประชาสัมพนั ธ์ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในเวบ็ ไซต์ของสพป.ศรสี ะเกษ เขต 4 ดงั นี้ ที่ วนั เดือน ปี กลุ่มโรงเรยี น สถานท่ี โรงเรยี น ผรู้ ว่ มกิจกรรม ทัง้ หมด โรงเรียน คน 1 10กุมภาพันธ์ 2564 ขนุ โพธภ์ิ ูไพร รร.บา้ นกุดนาแก้ว 15 15 28 2 18 กุมภาพนั ธ์ 2564 เมืองกันทร์ รร.บา้ นกนั ตม 21 21 42 (คุรรุ าษฎร์สามัคคี) 3 26 มีนาคม 2564 ต�าหนกั ไทร โรงเรียนบา้ นหนองบัว 23 23 71 4 20 พฤษภาคม 2564 มออีแดง หอ้ งประชมุ มออีแดง 18 2 15 5 21 พฤษภาคม 2564 พนมดงรัก หอ้ งประชุมมออีแดง 20 4 21 6 24 พฤษภาคม 2564 บงึ ระนาม หอ้ งประชุมมออีแดง 19 11 28 7 25 พฤษภาคม 2564 ภูกระจาน หอ้ งประชมุ มออแี ดง 20 14 37 8 26 พฤษภาคม 2564 น้า� ตกหว้ ยจันทน์ ห้องประชมุ มออแี ดง 23 23 35 9 27 พฤษภาคม 2564 ศรรี ัตนะ ห้องประชุมมออีแดง 26 21 34 10 28 พฤษภาคม 2564 เบญจลักษ์ หอ้ งประชุมมออีแดง 24 14 27 รวมทั้งส้นิ 209 148 338 หมายเหต ุ เขา้ ร่วมการประชมุ รอ้ ยละ 70.81 ของโรงเรยี นทง้ั หมด โดยส่งรปู แบบ (Model) ทกุ โรงเรยี น รายงานการขบั เคล่อื น “สานต่อนวตั กรรมเดมิ เพิ่มเติมนวัตกรรมเชิงพื้นท”ี่ ปงี บประมาณ 2564 35
5. การสงั เคราะหร์ ปู แบบ (Model) นวตั กรรมการศกึ ษาของโรงเรยี น วนั ท ่ี 29 มถิ นุ ายน 2564 ณ หอ้ งประชมุ มออแี ดง พบวา่ สว่ นใหญเ่ ปน็ นวตั กรรมดา้ นการจดั การเรยี นการสอน และสว่ นหนงึ่ เป็นนวตั กรรมด้านการบรหิ ารจัดการ ภาพรวมมคี ุณภาพระดบั พอใช ้ ยังตอ้ งปรับปรงุ พฒั นา ให้ดยี ง่ิ ขน้ึ 6. สพป.ศก.4 แจง้ โรงเรยี นและประธานกลมุ่ โรงเรยี นเกย่ี วกบั การพฒั นารปู แบบ (Model) นวตั กรรมการศกึ ษา (สา� หรบั ผสู้ อน) โดยกา� หนดปฏทิ นิ การขบั เคลอ่ื น แนวทางการจดั ทา� รปู แบบ (Model) แบบประเมินคณุ ภาพรูปแบบ (Model) ตามหนงั สือ ที ่ ศธ 04141/2067-2068 ลงวันท่ ี 29 มถิ ุนายน 2564 ระหว่างวันท ี่ 1-29 กรกฎาคม 2564 ผสู้ อนจดั ทา� รปู แบบ (Model) นวัตกรรม การศกึ ษาของตนเอง โดยศกึ ษานเิ ทศกร์ ว่ มเปน็ พเ่ี ลย้ี ง (เดอื นกรกฎาคม 2564 นายมานติ สทิ ธศิ ร ลงพ้นื ท่พี ัฒนาผ้สู อน จ�านวน 721 คน จาก 91 โรง) ระหว่างวันท ่ี 1-15 สิงหาคม 2564 ทุกกลมุ่ โรงเรยี นประเมนิ คุณภาพรปู แบบ (Model) มีผู้สอนสง่ รปู แบบ (Model) จา� นวน 2,060 คน (รอ้ ยละ 90.59 ของครทู ัง้ หมด) โรงเรียนท่ีผสู้ อนสง่ ตง้ั แตร่ ้อยละ 80 ขึน้ ไป จา� นวน 168 โรง (ร้อยละ 80.38 ของโรงเรียน ท้งั หมด) โดยมผี ลการประเมนิ ระดับดเี ย่ยี มจ�านวน 490 คน (ร้อยละ 23.79) รายละเอยี ด ดังนี้ 36 รายงานการขับเคลอื่ น “สานตอ่ นวัตกรรมเดิม เพม่ิ เติมนวตั กรรมเชิงพ้นื ท่”ี ปงี บประมาณ 2564
ลา� ดบั กลุ่มโรงเรียน จ�านวน จ�านวน จา� นวนผู้สอนท่มี ผี ลการประเมนิ รูปแบบแตล่ ะระดับ รวม โรงเรยี น โรงเรยี น ดเี ย่ยี ม ดีมาก ดี พอใช้ 233 ท้ังหมด ทส่ี ง่ 80% 1 เมืองกนั ทร์ 21 13 53 114 66 0 2 มออแี ดง 18 14 25 76 72 0 173 3 พนมดงรกั 20 13 17 112 66 0 195 4 บงึ ระนาม 19 16 37 109 0 0 146 5 ภกู ระจาน 20 17 49 150 0 0 199 6 ต�าหนกั ไทร 23 21 63 83 81 0 227 7 นา้� ตกหว้ ยจนั ทน์ 23 21 55 103 53 1 212 8 ขนุ โพธิภ์ ไู พร 15 14 43 69 59 2 173 9 ศรรี ตั นะ 26 20 88 156 59 0 303 10 เบญจลักษ์ 24 19 60 112 26 1 199 รวม 209 168 490 1,084 482 4 2,060 (100%) (80.38%) (23.79%) (52.62%) (23.40%) (0.19%) (90.59%) 7. สพป.ศก.4 จดั การประเมนิ รปู แบบ (Model) นวตั กรรมการศกึ ษาผสู้ อน ระดบั เขตพนื้ ที่ การศกึ ษา ระหวา่ งวนั ท ี่ 12-15 กนั ยายน 2564 ณ ศาลานทิ รรศการ 10 หลงั โดยเชญิ ผทู้ ม่ี ผี ลงาน ระดับดเี ยีย่ มไปน�าเสนอผลงาน แต่งต้งั คณะกรรมการประเมนิ จ�านวน 10 ชุดๆ ละ 5 คน (ประเมนิ เชา้ 12-13 คน บา่ ย 12-13 คน) รวม 2 วนั ใหผ้ สู้ อนแตล่ ะคนนา� เสนอประมาณ 5 นาท ี สอบถาม 5 นาท ี มผี สู้ อนนา� เสนอผลงานทง้ั สนิ้ จา� นวน 414 คน ไมม่ า 76 คน ไดด้ า� เนนิ การ ตามมาตรการในการป้องกันและควบคุมโรคโควิด-19 เช่น การคดั กรอง ตรวจวัดอณุ ภูมิ มอบสมุนไพรจากสถาบนั คลินกิ แพทยแ์ ผนไทยอโรคยาศาสตร ์ เปน็ ตน้ ตามหนงั สือ ที่ ศธ 04141/2816-2817 ลงวันท ่ี 6 กนั ยายน 2564 รายงานการขบั เคลือ่ น “สานตอ่ นวตั กรรมเดิม เพมิ่ เติมนวัตกรรมเชิงพืน้ ท่ี” ปีงบประมาณ 2564 37
38 รายงานการขับเคลื่อน “สานตอ่ นวตั กรรมเดมิ เพ่มิ เตมิ นวัตกรรมเชงิ พื้นท่”ี ปงี บประมาณ 2564
รายช่อื โรงเรียนทีส่ ่งรปู แบบ (Model) นวตั กรรมการศึกษาผสู้ อน ต้ังแต่รอ้ ยละ 80 ขน้ึ ไป ระดบั กลมุ่ โรงเรียน ที่ กลมุ่ โรงเรยี น โรงเรียน โรงเรียน โรงเรียน ทง้ั หมด สง่ 80% 1 เมืองกันทร์ 21 13 บา้ นขะยงู บา้ นตระกาศขอนแกน่ บา้ นขนา บา้ นสงั เมก็ บา้ นกนั ตม(ครุ รุ าษฎรส์ ามคั ค)ี บา้ นศรอี ดุ มซา� ตารามย ์ บา้ นโนนแสนสขุ บา้ นหนองหญา้ ลาด บา้ นเดยี งตะวนั ตก (จัดนทิ รรศการ 4 คน) 61.90% บ้านแก บ้านน�้าออ้ มรฐั ประชานุสรณ ์ บา้ นกระบ่ี บา้ นไหลด่ มุ ตาเหมา 2 มออแี ดง บ้านโนนเยาะ-โนนศิร ิ บ้านหนองตึกหว้ ยนา�้ ใส บา้ นภมู ซิ รอล บ้านพรทพิ ย ์ 14 บา้ นโศกขามปอ้ ม บ้านน�้าขวบ-โนนด ู่ (กองทพั บกอปุ ถมั ภ์ ) บ้านดา่ น (จดั นิทรรศการ 2 คน) 18 77.78% บา้ นเสาธงชยั บา้ นตาแท่น บ้านรงุ่ อรุณ (กองทพั บกอุปถัมภ์) ไทยรัฐวิทยา 27 (บา้ นช�าเม็ง) บ้านหนองตลาด-โนนเปอื ย บ้านบึงมะล ู บา้ นโนนส�าราญ 3 พนมดงรกั 20 13 บา้ นสามเสา้ บา้ นละลายมชี ยั บา้ นโคกเจรญิ บา้ นทงุ่ ยาวคา� โปรย บา้ นโดนอาว (จัดนิทรรศการ 2 คน) 65.00% บา้ นรุงสมบูรณ์ ชนะใชก้ ิจการ บา้ นช�าแจงแมง บ้านร่องตาซนุ บา้ นกะมอล (กรป.กลางประชาอทุ ิศ) บ้านผอื บ้านน�า้ เย็น บา้ นโนนเปอื ย บงึ ระนาม บา้ นสวนกลว้ ย บา้ นจา� นนั สายเจรญิ บา้ นทงุ่ ขนวน บา้ นหนองหนิ (อสพป.15) 16 บา้ นสามแยกหินกอง บ้านโนนงาม บ้านกุดเสลาหนองขวาง บา้ นโนนคณู 4 (จัดนทิ รรศการ 3 คน) 19 84.21% บา้ นหนองรงุ พระทะเล บา้ นนารงั กา บา้ นกนั จาน บา้ นซะวาซอ บา้ นขนนุ บา้ นตาเครอื บา้ นโนนสมบรู ณ ์ บา้ นหนองหวั ช้าง ภูกระจาน 17 บา้ นเขวา (ราษฎรพ์ ฒั นา) บ้านซา� เบง็ บ้านไฮ (วันครู 2503) บา้ นจ�านรรจ์ บา้ นระโยง บา้ นโนนสงู บา้ นนาไพรงาม บา้ นซา� ผกั แวน่ -นาซา� บา้ นทา่ พระตระกาศ 5 (จัดนิทรรศการ 4 คน) 20 85.00% บา้ นหนองกระทิง บา้ นภูเงนิ (อินทรสขุ ศรรี าษฎร์สามคั คี) บ้านโนนจิก บา้ นไรเ่ จรญิ บา้ นจานทองกวาววทิ ยา บา้ นตาลอยหนองคนั บา้ นชา� โพธ-ิ์ ตาเกษ (ประจวบสงเคราะห)์ มหาราช 2 (ภคู า� ) ต�าหนกั ไทร 21 บบบหบม้้้าา้าานนนนูบ่ สกโทา้ น�ารนุ่งนโะเทลรเแงับบนฝเทา กกบบิมีย า้บา้รสนนต้ายหโน ิานบนมพน้าอ รน0สงา7ภงูเนก ดู บบา่บิน า้า้ ้าบพนนน้าฒัตดอนาานาซปนราา� รา ตบกบงา้า ้าโบอนนตงา้กหงคนรนก์โะนอาเจรนงาอบส ุตัวะบเสอา้ราานณหดห ก บนบรา้อา้รนนงมบตมปาัว่ว่าเ งไสบมแด็ ้า้ ยน8กบกั ดอง 91.30% 6 (จดั นทิ รรศการ 5 คน) 23 น�า้ ตกห้วยจนั ทร์ บา้ นตาเอก บา้ นกนั ทรอม บา้ นกนั ทรอมนอ้ ย บา้ นพยอม บา้ นขนุ หาญ บา้ นระหาร 21 บา้ นเดอ่ื บา้ นจองกอ บา้ นตานวน หมบู่ า้ นปา่ ไมห้ ว้ ยจนั ทน ์ บา้ นกนั จด บา้ นจะเนยี ว 7 23 91.30% บา้ นหนองขนาน บา้ นกระหวนั บา้ นสดา� บา้ นด ู่ บา้ นกนั ตรวจหว้ ย บา้ นหนองผอื (จดั นิทรรศการ 4 คน) 15 บ้านซา� บา้ นหนองค ู บา้ นกระเบาตะหลงุ วทิ ยา 26 อนบุ าลขนุ หาญ (สิ) บ้านโนนอ้อ บ้านกระทิง บ้านโพธ์ิกระมลั บ้านตาหมนื่ ขุนโพธภิ์ ไู ทร 14 บ้านกระมัลพัฒนา บา้ นกราม บ้านปุนวิทยา บา้ นชา� เขยี น บ้านพอก 93.33% บา้ นหนองใหญ่ บา้ นภทู อง บ้านหนองจกิ บา้ นกดุ นาแก้ว 8 (จดั นิทรรศการ 4 คน) บ้านศรีแกว้ บา้ นตระกาจ โชติพันธว์ุ ิทยาสามัคค ี บ้านหนองใหญ-่ ตาไทย บ้านหนองรุง บา้ นหนองสงั ข์ บ้านทงุ่ สว่าง บ้านสะพุง บา้ นเส่อื งข้าว บา้ นตมู ศรีรตั นะ 20 (นพค.15กรป.กลางอปุ ถมั ภ)์ บา้ นกระหวนั บา้ นหนองปงิ โปง บา้ นหนองบวั ทอง 76.92% บา้ นจานบัว บ้านปุน บ้านสลบั บา้ นขนาด บา้ นพงิ พวย (เสียงราษฎร์พฒั นา) 9 (จัดนทิ รรศการ 7 คน) บา้ นศลิ าทอง บ้านบกห้วยโนน บา้ นหนองบกั โทน บา้ นหนองคบั คา บา้ นหนองยาว บา้ นคา� สะอาด บา้ นคา� กลาง เบญลักษ์ 19 บา้ นโนนไหล-่ หนองเลงิ บา้ นหนองงเู หลอื ม (ครุ รุ าษฎรร์ ฐั กจิ โกศล) บา้ นหนองหวา้ 79.17% บา้ นหนองนกเขียน บ้านเขวาธะนัง บา้ นไผ่หนองแคน อนุบาลเบญจลักษ์ 10 (จดั นทิ รรศการ 6 คน) 24 บา้ นโนนจกั จน่ั โนนคา� ตอื้ จตรุ าษฎรว์ ทิ ยา (โรตาร ี 1) บา้ นเพก็ บา้ นกดุ ผกั หนามคา� นอ้ ย บ้านหนองตอโพนสูงนาคา� บา้ นทา่ คล้อ บา้ นแดง (รัฐราษฎร์พัฒนา) รวม 209 168 ส่งร้อยละ 80.38 ของโรงเรยี นท้งั หมด หมายเหต ุ เชิญไปจัดนิทรรศการ ในวันท่ี 23 กนั ยายน 2564 จา� นวน 41 คน รายงานการขับเคลอ่ื น “สานต่อนวัตกรรมเดิม เพิม่ เติมนวตั กรรมเชงิ พนื้ ที”่ ปงี บประมาณ 2564 39
8. วันท ่ี 23 กนั ยายน 2564 จัดนทิ รรศการ และแลกเปลี่ยนเรียนร้ ู โดยเชญิ ผ้ทู ีม่ ี ผลการประเมนิ สงู จา� นวน 41 คน ไปจดั นทิ รรศการ (บธู ) แลกเปลย่ี นเรยี นร ู้ และถอดบทเรยี น ณ หอประชมุ พลงั บญุ (มลู นธิ หิ ลวงปสู่ รวงวดั ไพรพฒั นา) และไดเ้ ชญิ ตวั แทนของคณะกรรม การประเมนิ ชุดที ่ 1-10 รว่ มกจิ กรรมในครงั้ นด้ี ้วย ตามหนงั สือ ที่ ศธ 04141/3003 ลงวันท ่ี 16 กนั ยายน 2564 มีผูไ้ ปจัดนิทรรศการ จา� นวน 36 คน 36 บธู รายช่อื ผู้เข้าร่วมกิจกรรมการจัดนิทรรศการ และแลกเปล่ยี นเรียนรู้ วนั ที ่ 23 กนั ยายน 2564 ณ หอประชมุ พลังบญุ (มูลนิธิหลวงปู่สรวงวดั ไพรพฒั นา) เลขที่ ชอื่ -สกุล โรงเรียน รปู แบบ (Model) 1 นายบัญญัติ ลาภบุญ บ้านโดนอาว PD+PBE CA Model 2 นางสบุ ิน ช่ืนชาย บ้านสามเสา้ 2SQ2RP Model 3 น.ส.ทพิ ยน์ ิพรรณ ถุงเชอ้ื บา้ นสลับ TIPNIPAN Model 4 น.ส.อรอนงค ์ ศรหี าวงค์ บา้ นตระกาจ ABC STORY Model 5 นายรณชัย ทาระ บ้านกระทงิ พัฒนาการทักษะการคดิ พชิ ติ O-NET 6 นางไพลิน ทีงาม บ้านเขวา (ราษฎรพ์ ฒั นา) EOAEC MODEL 7 นางวรกนั ยา แก้วกลม บา้ นพราน การพฒั นาทักษะการแก้ปัญหาและการบูรณาการแนวคดิ (ประชานุเคราะห์) โดยใชร้ ปู แบบการจดั การเรยี นร ู้ 3R3E STEM Model 8 นางสาวยพุ นิ มผี ลกิจ บา้ นซ�าตาโตง 2 ข้นั อา่ นเขียน เรยี นสนกุ 9 นางน้�าฝน สอนคา� เสน บ้านโนนออ้ สรา้ งสรรคท์ ักษะอาชีพดว้ ย HAPPY Model 10 นางเด่นดวง ธรรมทวี บา้ นส�าโรงเกียรติ Montessori Plus Story 11 นายสุรศักด์ิ บญุ ชู บ้านสังเม็ก PA&Phonics Model 40 รายงานการขับเคลอ่ื น “สานต่อนวตั กรรมเดิม เพ่มิ เติมนวตั กรรมเชงิ พืน้ ที่” ปงี บประมาณ 2564
เลขที่ ชอ่ื -สกุล โรงเรียน รปู แบบ (Model) 12 นายเกริกฤทธ์ิ พิศงาม บ้านนา้� ขวบ-โนนดู่ PCP Model (กองทพั บกอปุ ถมั ภ)์ 13 น.ส.จิรชยา ชัยมลล์ บ้านกุดนาแกว้ บันได 5 ขน้ั สะกดค�า อา่ น เขียน เรยี นสนุก 14 นางวิภาสริ ิ พรมตวง บา้ นชา� โพธ์ิ-ตาเกษ ขอ.ก Model 15 นางสภุ าวด ี ดอกดวง (ประจวบสงเคราะห์) Live Slow Model บา้ นด่าน 16 น.ส.ญานิสร เลื่อนฤทธิ์ บ้านหนองหวา้ สอน ก-ฮ ให้ Active ด้วยเทคนคิ เช่ือม ตดั วาง คดั 17 นางทิวาลัย ค�าลมี ดั บ้านแก การพัฒนาความคดิ สร้างสรรค์และพัฒนากล้ามเนื้อมือ 18 นางขวัญเรือน ศรนี วล บ้านตาหมื่น MASCOT Model 19 นางสนดิ า โกศล มหาราช 2 (ภคู �า) เข้าใจ เขา้ ถงึ และพัฒนาผูเ้ รยี นดว้ ย 4PBL Model 20 นายจกั รกรชิ บญุ ลี บา้ นกระเจา CLAP Model 21 นางสาวชนิฎา จรเด็จ บ้านพงิ พวย ADDIE MODEL 22 นายชดั คา� ดี (เสยี งราษฎรพ์ ัฒนา) s Model บ้านสลบั 23 น.ส.ดาวนภา บุญทอง บ้านกระเบา อ่านเขยี นคา� ศัพทภ์ าษาอังกฤษโดยใช ้ SDBC Model 24 นางอรุ า กรมพะไมย บ้านหนองงูเหลือม (SDB โฟนกิ ส+์ C อักษรสี) Six RA Model (ครุ รุ าษฎร์รัฐกจิ โกศล) PIRSA Learning Model 25 นายจรี วฒั น์ แกว้ ไวยทุ ธ บ้านกระแชงใหญ่ 26 น.ส.ธนาวดี วงษร์ าช บ้านตระกาศขอนแก่น FREE FIRE FREE THAI 27 นางสมาภรณ์ ชนดิ พันธ์ บ้านโนนไหล่หนองเลิง P&S Model 28 นายมงคลชัย ศรีหา (บน้าพนคต.มู15 กรป.กลางอปุ ถมั ภ)์ 5ป. MODEL 29 น.ส.สจุ นิ ดาชาตเิ ชอ้ื บา้ นหนองหวั ชา้ ง LITTLE KIDS MODEL 30 นายศรายุทธ เมฆกลั จา บา้ นขนาด การพัฒนาให้อ่านออก เขียนได้ ดว้ ยกระบวนการ 6 ข้นั 31 นางเสาวลักษณ ์ ม่ันรอด บ้านกนั ตม กระบวนการเรียนการสอนให้นักเรียนชั้นป. 2 อา่ นออก (ครุ รุ าษฎรส์ ามคั คี) เขียนได ้ 100 % 6 ขั้นตอนพฒั นาการอ่านจับใจความส�าคญั ของนักเรยี น 32 นางสวุ มิ ล เผ่าพันธ์ุ บา้ นหนองบักโทน ช้ัน ป.6 33 นายกวลี ักษณ ์ ค�าแพงจีน บา้ นนารงั กา การพัฒนาการอ่านออกเขยี นไดโ้ ดยใช ้ 5 ร ู้ โมเดล 34 นายสมเกียรติ สหี าจันทา บา้ นนารงั กา พฒั นาทกั ษะการอ่านร้เู ร่ือง ESEP Model 35 น.ส.ขนิษฐา อินธเิ ดช บา้ นเสือ่ งข้าว อนุบาลปน้ั เก่ง 36 นางลา� ใพร บุญแซม บ้านสรา้ งเม็ก 60 วนั อา่ นเขยี นคา� พื้นฐานได้ ลายมือสวยดว้ ย กระบวนการ 7 ขนั้ ตอน รายงานการขับเคลือ่ น “สานต่อนวตั กรรมเดิม เพ่มิ เตมิ นวัตกรรมเชิงพน้ื ท่ี” ปงี บประมาณ 2564 41
42 รายงานการขับเคลื่อน “สานตอ่ นวตั กรรมเดมิ เพ่มิ เตมิ นวัตกรรมเชงิ พื้นท่”ี ปงี บประมาณ 2564
ขอ้ เสนอแนะและแนวทางในการพฒั นา ปีงบประมาณ 2565 1. ส่งเสริมสนับสนนุ ใหผ้ อู้ า� นวยการโรงเรียน และผู้สอนพฒั นารปู แบบ (Model) ใหม้ ีคณุ ภาพ มีความชดั เจน เหมาะสมมากขึ้น 2. สง่ เสรมิ ใหผ้ อู้ า� นวยการโรงเรยี น และผสู้ อน นา� รปู แบบ (Model) ทจ่ี ดั ทา� นา� ไปใชจ้ รงิ และเขยี นรายงานผลการใช้อย่างงา่ ย ประหยดั และถูกตอ้ งตามหลกั วชิ าการ 3. สนบั สนนุ งบประมาณในการดา� เนินงานต่อเน่อื งในปีงบประมาณ 2565 โดยให้ อ�านวยการโรงเรยี น และผสู้ อน สง่ รปู แบบ (Model) ท่มี รี ายงานผลการใช้รปู แบบ (Model) ใหก้ ลมุ่ โรงเรยี น จากนนั้ กลมุ่ โรงเรยี นและเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประเมนิ คณุ ภาพรปู แบบ (Model) จดั นิทรรศการ แลกเปล่ียนเรียนร ู้ และถอดบทเรียน 4. นเิ ทศ กา� กับ ตดิ ตาม เสรมิ พลงั และให้ก�าลงั ใจแกผ่ อู้ า� นวยการโรงเรยี น และผู้สอนอย่างต่อเน่ือง 5. เผยแพรป่ ระชาสมั พนั ธ์รปู แบบ (Model) ในรปู แบบท่หี ลากหลาย 6. สนบั สนุนให้โรงเรียนสมัครเป็นโรงเรียนนา� ร่องการด�าเนินงานพ้ืนทน่ี วัตกรรมการ ศกึ ษาจังหวดั ศรสี ะเกษ ปที ่ี 3 ในปีการศึกษา 2565 ขอแสดงความยินดีกบั นายธีรวฒั น์ คา� ศรี รองผู้อ�านวยการสา� นักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาเชย่ี วชาญ รายงานการขับเคลื่อน “สานตอ่ นวตั กรรมเดิม เพมิ่ เติมนวัตกรรมเชงิ พน้ื ท่”ี ปงี บประมาณ 2564 43
ภำคผนวก 44 รายงานการขับเคล่อื น “สานตอ่ นวตั กรรมเดมิ เพ่ิมเตมิ นวตั กรรมเชงิ พื้นท”่ี ปีงบประมาณ 2564
คณะกรรมการนโยบายพืน้ ที่นวัตกรรมการศกึ ษา 1. นายวษิ ณุ เครืองาม รองนายกรฐั มนตรี ประธานกรรมการ 2. นางสาวตรีนุช เทียนทอง รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร รองประธานกรรมการ 3. ปลดั กระทรวงการคลงั กรรมการ 4. ปลัดกระทรวงดจิ ิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม กรรมกรร 5. ปลัดกระทรวงมหาดไทย กรรมการ 6. ปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร ์ วจิ ัยและนวตั กรรม กรรมการ 7. ปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร กรรมการ 8. ผู้อา� นวยการส�านักงบประมาณ กรรมการ 9. ประธานทป่ี ระชมุ อธกิ ารบดีแห่งประเทศไทย กรรมการ 10. รองศาสตราจารยท์ ิศนา แขมมณ ี ด้านการพัฒนาการศกึ ษา กรรมการผูท้ รงคณุ วุฒิ 11. รองศาสตราจารยป์ ระภาภทั ร นยิ ม ดา้ นการพฒั นานวตั กรรมการศกึ ษา กรรมการผูท้ รงคณุ วุฒิ 12. นางปยิ าภรณ์ มณั ฑะจิตร ดา้ นการพฒั นาทรัพยากรมนษุ ย์ กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ิ 13. นายสมศักดิ ์ พะเนยี งทอง ด้านการพาณิชยกรรมและอตุ สาหกรรม กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ิ 14. นายสมเกยี รต ิ ตง้ั กจิ วานิชย์ ดา้ นเทคโนโลยแี ละนวัตกรรม กรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ ิ 15. นายปกรณ ์ นลิ ประพันธ ์ ด้านกฎหมาย กรรมการผทู้ รงคณุ วุฒิ 16. นางเนตรชนก วภิ าตะศิลปิน ดา้ นการบริหาร/การประเมินผล กรรมการผู้ทรงคณุ วุฒิ 17. นางสาวศภุ ธดิ า พรหมพยคั ฆ ์ ดา้ นเศรษฐศาสตร/์ การเงนิ กรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ ิ 18. นายอมั พร พนิ ะสา เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน กรรมการและเลขานกุ าร 19. นายพิทกั ษ ์ โสตถยาคม ผอู้ �านวยการส�านกั งานบริหารพื้นทน่ี วัตกรรมการศึกษา ผชู้ ว่ ยเลขานุการ 20. ผู้แทนกรมส่งเสรมิ การปกครองทอ้ งถ่นิ ผู้ช่วยเลขานกุ าร คณะกรรมการขับเคล่อื นพื้นที่นวตั กรรมการศึกษาจังหวัดศรีสะเกษ (ประกาศคณะกรรมการนโยบายพืน้ ทีน่ วัตกรรมการศกึ ษา ที่ 3/2564 ลงวันที่ 15 มนี าคม 2564) 1. ผู้ว่าราชการจงั หวดั ศรสี ะเกษ ประธานกรรมการ 2. ผอู้ า� นวยการสา� นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาศรสี ะเกษ เขต 1 กรรมการ 3. ผอู้ า� นวยการสา� นกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาศรสี ะเกษ ยโสธร กรรมการ 4. นายกองคก์ ารบริหารส่วนจงั หวดั ศรีสะเกษ กรรมการ 5. นายสมศกั ด์ิ ประสาร ผอู้ �านวยการโรงเรยี นบ้านปะทาย กรรมการ 6. นางล�าดวน บุญเยย่ี ม ผอู้ า� นวยการโรงเรยี นบา้ นอหี นา (รฐั ประชานกุ ลู ) กรรมการ รายงานการขบั เคลอื่ น “สานตอ่ นวตั กรรมเดมิ เพมิ่ เติมนวัตกรรมเชงิ พ้นื ที่” ปีงบประมาณ 2564 45
7. นางสุจินต ์ หล้าค�า ผ้อู �านวยการโรงเรียนไพรบึงวทิ ยาคม กรรมการ 8. รองศาสตราจารย์ประกาศิต อานภุ าพแสนยากร กรรมการ รักษาราชการแทนอธิการบดมี หาวทิ ยาลัยราชภฏั ศรีสะเกษ 9. นายสฤษฏ์ นาควารินทร ์ ประธานหอการค้าจงั หวดั ศรีสะเกษ กรรมการ 10. นายธนภทั ร สง่ เสรมิ ประธานสภาอุตสาหกรรมจงั หวัดศรสี ะเกษ กรรมการ 11. นายรฐั วทิ ย ์ องั คสกลุ เกยี รต ิ อปุ นายกสมาคมกฬี าแหง่ จงั หวดั ศรสี ะเกษ กรรมการ 12. นางสาวลลนา ศรคี ราม ผจู้ ดั การบรษิ ทั ไรท่ องออรแ์ กนกิ ส ์ ฟารม์ จา� กดั กรรมการ 13. นายวทิ ยา วิรารัตน์ ประธานสภาวฒั นธรรมจงั หวดั ศรีสะเกษ กรรมการ 14. นายเสนยี ์ เรอื งฤทธ์ริ าว ี กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 15. รองศาสตราจารย์ประภาภทั ร นิยม กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ 16. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ปกรณ์ชัย สุพฒั น ์ กรรมการผทู้ รงคณุ วุฒิ 17. นายสมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์ กรรมการผู้ทรงคณุ วุฒิ 18. นางปียาภรณ ์ มัณฑะจิตร กรรมการผ้ทู รงคุณวฒุ ิ 19. นายอกั ษร แสนใหม่ กรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ิ 20. นายสุพิชยั หลา่ สกลุ กรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ ิ 21. ศกึ ษาธกิ ารจังหวัดศรสี ะเกษ กรรมการและเลขานกุ าร คณะอนุกรรมการในคณะกรรมการขบั เคล่อื นพน้ื ที่นวตั กรรมการศกึ ษาจังหวดั ศรสี ะเกษ (คา� สั่งจงั หวัดศรีสะเกษ ท ่ี 2751/2564 ลงวนั ที่ 2 กรกฎาคม 2564) 1. คณะอนุกรรมการดา้ นนโยบายแผน วิจยั ติดตามและประเมนิ ผล ประกอบดว้ ย ศกึ ษาธกิ ารจังหวดั ศรสี ะเกษ (ประธาน) ผอ.สพป.ศก.1 ผอ.สพป.ศก.3 นางสาวพีระพรรณ ทองศนู ย ์ นางล�าดวน บญุ เยี่ยม นายสน่ัน เมยท่าแค นายณัฐกร โตะ๊ สิงห์ นายสฤษฏ ์ นาควารนิ ทร ์ นางรตั นา กิตกิ ร นายพงศท์ ศั วนิชานนั ท ์ ผอ.กลุ่มนโยบายและแผน สนง.ศธจ.ศก. (เลขานุการ) 2. คณะอนุกรรมการดา้ นบริหารงานบุคคล งบประมาณและกฎหมาย ประกอบด้วย นายเสนยี ์ เรอื งฤทธ์ิราว ี (ประธาน) ผอ.สพป.ศก.2 ผอ.สพป.ศก.4 นายอ�านวย มีศรี นายอาลยั หงสท์ อง นายสมยศ แก้วสวา่ ง นายสุทธิชัย ไชยโพธิ์ นายทพั หวิชญ ์ ฐิตริ ตั น์สกุล ผอ.กล่มุ บรหิ ารงานบคุ คล สนง.ศธจ.ศก. (เลขานกุ าร) 3. คณะอนกุ รรมการด้านบริหารวิชาการและการพฒั นานวัตกรรม ประกอบด้วย ผศ.ปกรณ์ชัย สพุ ฒั น์ (ประธาน) ผอ.สพม.ศรีสะเกษ ยโสธร นายสมศกั ด์ ิ ประสาร นายสังคม อินทรข์ าว นายเพชร วงพรมมา นายสจั จา เจริญศรเี มอื ง นางณชา แสนจนั ทร์ นางธนัชชญานนั ทน์ อนิ ตะนัย (เลขานุการ) 4. คณะอนกุ รรมการด้านการสอื่ สารและการมีสว่ นร่วม ประกอบดว้ ย นายรฐั วิทย ์ อังคสกุลเกียรต ิ (ประธาน) นายอภิศักด์ิ แชจ่ ึง นายชุมศักด ิ์ ชุมนุม นายสุพิชัย หล่าสกลุ นายสจุ นิ ต ์ หล้าคา� นายมานติ สทิ ธิศร ผศ.กิจตพิ งษ์ ประชาชิต นางสาวเพชรรตั น์ สุริยาเรืองฤทธิ์ นางสาวปราณี ระงบั ภัย นายธานนิ ทร ์ แทนคา� (เลขานกุ าร) 46 รายงานการขับเคลอ่ื น “สานต่อนวัตกรรมเดิม เพิ่มเติมนวัตกรรมเชงิ พ้นื ท”่ี ปงี บประมาณ 2564
รายงานการขับเคลื่อน “สานตอ่ นวตั กรรมเดมิ เพ่มิ เตมิ นวัตกรรมเชงิ พื้นท่”ี ปงี บประมาณ 2564 47
วิสัยทัศนท่ปี รึกษาและคณะท�างาน สพป.ศรสี ะเกษ เขต4 “เปน องทค่ีปก รรึกแษ1หา. งนกาายรวเนัรยีชนัย รบู คุญรทแู อลงะ บคุ ลาก รทางการผศอกึ.สษพาปม.อืศอก.า4ช ีพ ผูเ รียนเปนพลเมืองดีมคี ณุ ภาพ” 2. นายธรี วฒั น์ ค�าศรี รองผอ.สพป.ศก.4 3. นายธวชั ชยั ค�าวงศ์ รองผอ.สพป.ศก.4 ทำเนียบผอู ำนวยการ 45.. นนาาสงงสสำาานววักพมงยรี าะุรน ีพสเรขารรตณบี พุต ท้ืนรอท งี่กศานู รย ศ์ กึ ษาปรรผะออถง.มกผลศอมุ่.กึ สนษพเิ าทปศศ.ศร กตีส.ดิ ะ4ตเกามษ เขต 4 และประเมนิ ผลการจัดการศึกษา คณะทา� งาน 1. ประชมุ ปฏบิ ตั กิ ารฯ วนั ท ่ี 17 กนั ยายน 2564 นายมานติ สทิ ธศิ ร นางพมิ พน์ ภิ า ศรสี แุ ล นางสุวรรณา สะอาด นายธรรม์นวัฒน์ ศรีราตรี นายฤทธิชัย บัลลังค์ นายสมัคร สุขตะก่ัว นางสาวอุไรวรรณ กลา� เงิน นางสาวสตุ นิ า ศรีสะอาด นางพลิ ัยรตั น์ จอมสว่าง นางนทั ยา อศั วภมู ิ นางนอารยกโญกั วญิทา เอพมลตนิ จะติสตายแกว้ นนาายยปปรระะวทิดยษิ ฐห ์ อลรักา่บมญุ เรอื ง นางนสาายววรารณสนะา บใุญจเสดขุ ด็ นางสานวาจยนั ไพทบนลูาย ค ศา� รเสีพุธรราระม นนาางงสเดาพน่ว.ศจด.นิว25งต 4นธ6าร-2 รใ5มจ4ทม9นว ีตน ์ นางา(รมงักอณษาจั รรี าฉพตัชรก.นศยาิ ร .์าใ2โน ก5ตค5ำสณุแ0มุห-มน2 งน5าผ5ศอา.3งส นพสปาา.ศงวกสพ.4า)ววงวผลิ กาาพส .นิวศ ลีิ.2สา5วุ น5ร3าร-งณ2ส5ศพุ5ร4ตั ี นราา งลสาาควา�ส พุนพฒัา.งศรร.า2งุ่ 5นป5ภา4นา-2 เหจ55งล6ใาจ นางบษุ บา แสงศร ี นางสาวนภิ าภทั ร ตงั้ จติ ตธ์ รรม นางเพลนิ จติ ร ์ ตงั้ พทิ กั ษไ์ กร นางสวุ มิ ล เผา่ พนั ธ ์ุ นายเชยี่ วชาญ พรมวหิ าร นายสาทศิ ศริ วิ งษ ์ นางพมิ พผ์ กา วงศก์ ญั จะนาพนั นายอภิวฒั น ์ บางใบ 2. ประชุมปฏบิ ตั ิการฯ วนั ท ่ี 21-22 กันยายน 2564 นายมานิต สทิ ธศิ ร นางพมิ พน์ ภิ า ศรสี แุ ล นายธรรมน์ วฒั น ์ ศรรี าตร ี นายฤทธชิ ยั บลั ลงั ค ์ และนายสมคั ร สขุ ตะกวั่ 3. บนรารยณธีรธวกิ ุฒาิ รพกุทจิ ธ กแาลระี จดั ทา� รปูนาเยลเม่ส นนยี า เยรอืมงาฤนทธติ ร์ิ าสวทิ ี ธศิ ร นายวนั ชัย บญุ ทอง พ.ศ.2556-2560 พ.ศ.2560-2563 พ.ศ.2563-2564 ความพเิ ศษของพน้ื ทน่ี วตั กรรมการศกึ ษา ทำเนยี บรองผอู ำนวยการ 1. เพิ่มอิสระ ลดขอ้ จ�ากดั - ม ี พ.ร.บ.พน้ื ท่ีนวตั กรรมการศกึ ษารองรับการท�างาน - ปรับกฎระเบยี สบำเพน่ือักเงพาิม่ นอเสิ ขรตะพใหนื้ โ้ รทง่กี เราียรนศทกึ า�ษงาานปไรดะ้อถยมา่ ศงคึกลษอ่ างศตรวั สี ะเกษ เขต 4 2. พัฒนาครแู ละผูบ้ ริหาร - เพม่ิ ทักษะจัดการเรียนรแู้ บบใหมโ่ ดยความช่วยเหลือ จากผเู้ ชยี่ วชาญ - ปรบั วฒั นธรรมการทา� งานใหป้ ลอดภยั - ปรบั การบรหิ ารงานใหเ้ ออื้ การเรยี นรู้ 3. ใชน้ วตั กรรมการเรยี นร้เู พื่อเพิ่มคณุ ภาพ - รเิ รม่ิ ใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะ - สื่อการสอนตามนวตั กรรมท่ใี ช ้ - รปู แบบการสอนหลากหลาย - การประเมินทกั ษะแบบใหม่ 4. สรา้ งการมสี ว่ นรว่ มโดยใชจ้ งั หวดั เปน็ ฐาน - สรา้ งคณะกรรมการขบั เคลอื่ นระดบั จงั หวดั - คณะกรรมการนนายโธยีรบวฒัายนร ะคดำศบั รปี ระเทศสนนาบั ยสธวนชั ุนชยั - คจำัดวงสศร รงบปรนะามงสาาณวพเพรี ะือ่ พขรรบั ณเคทลอื่องศนูนจยัง หวัด - ระดมความช่วยเหลอื จากเอกชน และประชาสังคม ดร.สมเกยี รต ิ ตงั้ กจิ วานชิ ย ์ วนั ท ่ี 6 พฤษภาคม 2564 รายงานการขับเคล่อื น “สานตอ นวัตกรรมเดมิ เพมิ่ เตมิ นวตั กรรมเชิงพน้ื ที”่ สูน โยบาย สพป.ศรสี ะเกษ เขต 4 สรางคุณภาพดวยนวัตกรรม สรางเขตช้นั นำดว ยมือเรา ปงบประมาณ 2564 พมิ พค รง้ั ที่ 1 กนั ยายน 2564 จำนวน 500 เลม งบประมาณ 30,000 บาท ผูจัดพิมพและเผยแพร สพป.ศรสี ะเกษ เขต 4 พ4ิม8พ ท ่ี โรรงาพยมิ งพาก นาวกไกาลรพขรับิ้นตเคงิ้ ลอำอ่ื เภนอ ก“ันสทราลนกั ษต อ่จังนหววัดตั ศกรสี ระรเกมษเดมิ เพิ่มเติมนวัตกรรมเชิงพื้นที”่ ปงี บประมาณ 2564
Search