Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอน วิชา ออกแบบ ม.2_2_63 ฉบับส่ง 22_2_64

แผนการสอน วิชา ออกแบบ ม.2_2_63 ฉบับส่ง 22_2_64

Published by rattanaporn, 2021-08-12 08:22:15

Description: แผนการสอน วิชา ออกแบบ ม.2_2_63 ฉบับส่ง 22_2_64

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรียนรทู ่ี 5 เร่ือง คาดการณเทคโนโลยีในอนาคต รหสั วชิ า ว22191 รายวชิ า ออกแบบและเทคโนโลยี 2 ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปท่ี 2 หนวยการเรียนรูที่ 3 เทคโนโลยใี นอนาคต เวลา 4 ชวั่ โมง 0.5 หนว ยกติ ชื่อครูผสู อน ครรู ตั นาภรณ พรหมเพชร ------------------------------------------------------------------------------------------------------------ มาตรฐาน ว 4.1 การออกแบบและเทคโนโลยี เขาใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพ่ือการดํารงชีวิตในสังคมท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ใช ความรูและทักษะทางดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และศาสตรอื่น ๆ เพ่ือแกปญหาหรือพัฒนางานอยางมี ความคิดสรางสรรคดวยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใชเทคโนโลยีอยางเหมาะสมโดยคํานึงถึง ผลกระทบตอ ชีวิต สงั คม และสง่ิ แวดลอ มหลักสตู รเทคโนโลยี ตัวชวี้ ัดและสาระการเรยี นรู 1. ตัวช้ีวัด 1) วเิ คราะห เปรยี บเทยี บ ตดั สนิ ใจเลือกใชเทคโนโลยี โดยคํานึงถงึ ผลกระทบทีเ่ กิดขึ้นตอชีวิต สังคม และสิ่งแวดลอ ม 2) คาดการณแ นวโนม เทคโนโลยีทีจ่ ะเกิดขึน้ โดยพิจารณาจากสาเหตุหรือปจ จยั ที่สงผลตอการ เปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี 2. สาระการเรียนรู 1) สาเหตุหรือปจจัยตาง ๆ เชน ความกาวหนาของศาสตรตาง ๆ การเปล่ียนแปลงทางดาน เศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรมทําใหเ ทคโนโลยีมกี ารเปลย่ี นแปลงตลอดเวลา 2) เทคโนโลยแี ตละประเภทมีผลกระทบตอชีวิต สังคม และส่ิงแวดลอมท่ีแตกตางกัน จึงตอง วเิ คราะหเ ปรียบเทยี บขอดี ขอเสยี และตัดสินใจเลอื กใชใ หเหมาะสม จดุ ประสงคการเรียนรู 1. เลอื กใชเ ทคโนโลยี โดยคาํ นึงถงึ ผลกระทบทีเ่ กิดข้ึนตอชีวิต สงั คม และสิ่งแวดลอม 2. คาดการณแนวโนม เทคโนโลยใี นอนาคต ทักษะและกระบวนการทเ่ี ปน จดุ เนน 1. ทกั ษะการคิดอยา งมวี จิ ารณญาณ 2. ทักษะการแกป ญหา

3. ทกั ษะการสอื่ สาร 4. ทักษะการทํางานรว มกับผูอื่น ความรเู ดมิ ทผ่ี เู รียนตอ งมี เทคโนโลยี เปนส่ิงที่มนุษยสรางหรือพัฒนาขึ้น อาจเปนไดท้ังชิ้นงานหรือวิธีการ เพ่ือใชแกปญหา สนองความตองการ หรือเพิ่มความสามารถในการทํางานของมนุษย สงผลใหเทคโนโลยีมีการเปล่ียนแปลง ตลอดเวลาต้ังแตอดีตจนถึงปจจุบัน ซึ่งการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีนั้น อาจเปนการพัฒนา ปรับปรุง กระบวนการผลิตหรือกลไกการทํางาน ปรับเปลี่ยนวัสดุและอุปกรณ เพื่อใหเทคโนโลยีมีประสิทธิภาพและ ประสทิ ธผิ ลสูงขึน้ สาระสาํ คญั การเลือกใชเทคโนโลยี รวมทั้งการคาดการณแนวโนมของเทคโนโลยีที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ตอง คํานึงถึงผลกระทบตอชีวิตสังคม และตองเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม การเลือกใชเทคโนโลยีเพื่อสนองความ ตองการของมนษุ ยอ ยา งเหมาะสม จะชวยในการวางแผนการทาํ งานและเปนขอมูลในการเลือกใชทรัพยากรท่ีมี อยูอยางจํากัดใหเกิดประโยชนสูงสุด รวมท้ังเปนการพัฒนาขีดความสามารถของมนุษยในการสรางเทคโนโลยี แหงอนาคตไดอ ยา งมีประสทิ ธิภาพ ดานทกั ษะ/กระบวนการ (Process) 1. ทักษะการสอื่ สาร 2. ทักษะการคดิ อยา งมวี ิจารณญาณ 3. ทกั ษะการแกปญ หา 4. ทกั ษะการทาํ งานรว มกับผูอื่น ดานคณุ ลกั ษณะ (Attitude) ดานคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคต ามหลกั สูตรการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน 2551 (Attitude)  รกั ชาติ ศาสน กษตั รยิ   อยอู ยางพอเพยี ง  ซื่อสัตยส ุจรติ  มงุ ม่ันในการทาํ งาน  มีวนิ ยั  รกั ความเปนไทย  ใฝเ รยี นรู  มจี ิตสาธารณะ ดานสมรรถนะสําคัญของผเู รียน  ความสามารถในการสื่อสาร :- - มีความสามารถในการรบั – สง สาร, - มคี วามสามารถในการถายทอดความรู ความคดิ ความเขา ใจของตนเอง โดยใช ภาษาอยางเหมาะสม - มคี วามสามารถในการใชว ิธกี ารส่ือสารทเ่ี หมาะสม  ความสามารถในการคิด :- - มีความสามารถในการคิดวิเคราะห สงั เคราะห - มคี วามสามารถในการคิดอยางมีระบบ - มคี วามสามารถในการตดั สนิ ใจแกป ญ หาเก่ยี วกับตนเองได

 ความสามารถในการแกป ญหา : - ใชเ หตผุ ลในการแกป ญหา - แสวงหาความรู ประยกุ ตความรมู าใชในการปองกันและแกไขปญหา - สามารถตดั สนิ ใจไดเ หมาะสมตามวยั  ความสามารถในการใชทักษะชีวติ : - เรยี นรูดว ยตนเองไดเ หมาะสมตามวยั - สามารถทาํ งานกลมุ รว มกบั ผูอ่ืนได - นําความรูทีไ่ ดไปใชประโยชนใ นชีวติ ประจําวัน  ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี : - เลือกและใชเทคโนโลยีไดเหมาะสมตามวัย - มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี - สามารถนําเทคโนโลยีไปใชพฒั นาตนเอง - ใชเ ทคโนโลยใี นการแกป ญหาอยา งสรา งสรรค ดา นคณุ ลักษณะของผเู รียนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล เปน เลศิ วิชาการ  สอ่ื สารสองภาษา  ล้ําหนา ทางความคิด  ผลติ งานอยา งสรางสรรค  รว มกันรบั ผิดชอบตอ สงั คมโลก ดา นคุณลกั ษณะผเู รยี นในศตวรรษท่ี 21 3 Rs  Reading การอานออก  Writing การเขยี นได  Arithmetic การคิดเลขเปน 8 Cs  Critical Thinking and Solving Problem : คิดอยางมวี ิจารณญาณและมีทักษะในการ แกป ญ หา  Creativity and Innovation : ทกั ษะดานการสรา งสรรคและนวัตกรรม  Collaboration Teamwork and Leadership : ทักษะการรวมมือและการทาํ งานเปน ทีม ภาวะ ผนู าํ  Cross cultural Understanding : ทักษะดานความเขาใจความตา งของวัฒนธรรม ตางกระบวน ทศั น  Communication Information and Media Literacy : ทกั ษะดา นการส่อื สาร สารสนเทศและ การรทู ันส่ือ  Computing and Media Literacy : ทักษะดานคอมพวิ เตอร เทคโนโลยสี ารสนเทศและการ สอ่ื สาร  Career and Learning Skills : ทักษะอาชีพและการเรียนรู  Compassion : ความมเี มตตา กรณุ า วนิ ัย คุณธรรมและจรยิ ธรรม บูรณาการตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1. หลักความพอประมาณ 2. หลักความมีเหตุผล 3. หลกั ภูมิคุมกัน 4. เงือ่ นไขความรู 5. เง่อื นไขคุณธรรม

แนวทางการจัดการเรยี นรู ข้นั นาํ 1) อบรมคุณธรรม จรยิ ธรรม 2) ครูผูสอนนําภาชนะใสอาหารท่ีทําจากโฟมใหผูเรียนสังเกต และรวมกันอภิปรายในประเด็นการ ยอยสลายของภาชนะและบรรจุภัณฑจากโฟมที่ทุกคนเคยเห็นกันตามที่สาธารณะหรือแมน้ําลําคลอง แลว ครผู ูสอนถามผเู รยี นวา หากเราตองการจัดการขยะจากโฟมทตี่ น ทาง ควรใชว ธิ กี ารอยา งไร ตัวอยางเชน เลิกซื้ออาหารที่ใชบรรจุภัณฑประเภทโฟม ใชภาชนะที่ประดิษฐจากธรรมชาติแทนโฟม รณรงคเ ลกิ ใชบ รรจภุ ัณฑจ ากโฟม ปรับพฤติกรรมการท้งิ ขยะใหถ กู ตอง 3) ครูผูสอนทบทวนความรูเดิมกอนเรียนโดยใหผูเรียนบอกเทคโนโลยีเปนช้ินงานที่ทํามาจาก ธรรมชาตซิ ง่ึ สามารถใชแ ทนโฟม และเทคโนโลยีทีเ่ ปนวธิ ีการเพอ่ื ลดและหลกี เลี่ยงการใชโ ฟม ขอเสนอแนะ ครูผูสอนกระตุนใหผูเรียนหาคําตอบใหไดมากที่สุดกอน แลวครูผูสอนคอยเพิ่มเติมใน รายละเอียดวาโฟมไมมีการยอยสลายยกเวนจะกําจัดดวยการเผาซ่ึงผลเสียกอใหเกิดควันพิษ โฟมผลิตมาจาก วัสดุพอลิเมอรชนิดพอลิสไตรีน (polystyrene) เม่ือนํามาใชบรรจุอาหารรอนและอาหารทอด น้ํามันจาก อาหารจะเกิดปฏิกิริยากับโฟม ทําใหเกิดสารอันตรายปะปนออกมากับอาหาร สารเหลานี้ ไดแก สารสไตรีน (styrene) และสารเบนซีน (benzene) ซ่ึงมีผลเสียตอรางกาย คือ ทําลายระบบฮอรโมนในรางกาย มีผลตอ ระบบประสาท เม็ดเลือดแดง ตับและไต เมื่อถูกผิวหนังหรือเขาตาหรือสูดดมเขาไป จะทําใหเย่ือเมือกเกิดการ ระคายเคือง มีอาการไอและหายใจลําบาก ปวดศีรษะ งวงซึม สําหรับสารเบนซีน จัดเปนสารกอมะเร็งในกลุม 2B ตามประกาศของกระทรวงอุตสาหกรรม (พรรณพสิ ุทธิ์ สันตภิ ราดร, 2559) 4) ทดสอบกอนเรยี น ข้ันสอน (ช่ัวโมงที่ 1 – 2) 1) ผูเรียนดูคลิปวิดีโอการนําเปลือกตนกลวยมาประดิษฐเปนของใชและภาชนะใสอาหาร จากนั้น ผเู รยี นและครูผูส อนรวมกนั อภิปรายสรปุ ความรูทไ่ี ดจากคลปิ ในประเดน็ ตอไปนี้ 1.1) สาเหตใุ ดทที่ าํ ใหต อ งมกี ารใชภ าชนะจากวสั ดธุ รรมชาติ เน่ืองจากภาชนะจากโฟมเกดิ โทษตอรางกาย โฟมเปน มลพิษตอส่ิงแวดลอ ม ตน กลวยเปนวัสดุ ทหี่ าไดง า ยในทกุ ภาคของไทย เปน การเพิม่ มูลคาของวสั ดทุ ีม่ ีในธรรมชาตใิ กลต ัว ประกอบเปนอาชีพเสริมอาชีพ หลักได 1.2) เทคโนโลยีจากวัสดุธรรมชาติสงผลกระทบตอชีวิตและสังคม เศรษฐกิจ และส่ิงแวดลอม อยา งไร สงผลกระทบดานบวกมากกวาดา นลบ  ผลกระทบตอ ชีวติ และสังคม คือ - สุขภาพดีข้ึน ไมเสี่ยงตอการเปนโรคมะเร็ง ท่ีเกิดจากสารพิษตกคางในบรรจุภัณฑ พลาสติกเมือ่ ผา นการใชง านที่ไมถ กู วิธี - เม่ือประชาชนสขุ ภาพดีรัฐก็ไมต อ งส้นิ เปลืองงบประมาณทางดานสาธารณสุข - ประชาชนสุขภาพดี ทุกคนมีความสุข สามารถสรางสรรคงานตอองคกรและ หนว ยงานไดอ ยางมคี ุณภาพ

- กลองโฟมเม่ือทับถมกันตามที่ตาง ๆ โดยไมไดรับการกําจัดอยางถูกวิธี กลายเปน แหลงเพาะเช้ือโรคตา ง ๆ ได - การทับถมของขยะเม่ือมากเขา สง ผลใหเกิดกล่ินอันไมพงึ ปรารถนาและอจุ าดตา  ผลกระทบตอเศรษฐกจิ - เกษตรกรผปู ลกู กลว ยมีรายไดเพิ่มขน้ึ - ผปู ระกอบการประดิษฐภ าชนะสามารถขยายฐานการคา ไดทั้งในและตา งประเทศ  ผลกระทบตอสงิ่ แวดลอ ม - มลพิษตอดิน ไมม กี ารยอ ยสลายสงผลใหเกดิ ปญ หาตอการปลกู พืช - มลพิษตออากาศ หากมกี ารจดั การขยะจากโฟมดวยการเผากอ ใหเกิดควันพษิ - มลพิษทางนา้ํ หากมกี ารทบั ถมสง ผลใหแมนาํ้ ลําคลองต้นื เขิน และอุดตันทอระบาย น้าํ สงผลใหเ กิดปญ หานา้ํ ทว มในเขตเมอื ง 1.3) เม่ือผูเรียนมีความรูมากขึ้น และเทคโนโลยีมีความกาวหนามากขึ้น ผูเรียนจะสรางหรือ พฒั นาเทคโนโลยีในการแกปญหาบรรจุภัณฑจากโฟมไดอ ยา งไร ใชสว นตา ง ๆ ของพืชท่ีหาไดงายมาประดิษฐเปนภาชนะโดยเนนการลดตนทุนการผลิตใหถูก ลง 1.4) ผูเ รยี นคิดวา มวี สั ดุจากธรรมชาตใิ ดอกี บาง ทส่ี ามารถนํามาประดิษฐเปนบรรจุภัณฑแทน โฟมได นอกจากตน กลว ย ไมไผ ใบทองกราว ใบเลบ็ ครฑุ ลงั กา กาบหอ ชอดอกและผลของตน หมาก ใบและทางมะพราว 1.5) ปจจุบันบรรจุภัณฑจากธรรมชาติมีราคาแพง ผูเรียนจะมีแนวทางในการแกปญหานี้ อยา งไร เพ่ือใหสามารถนาํ มาใชใ นชวี ิตประจาํ วันได คดิ คน รูปแบบในการประดิษฐภ าชนะจากธรรมชาติท่ใี ชตนทุนต่าํ 2) แบงกลุมผูเรียนออกเปน 3 กลุม โดยคละความสามารถและคละเพศ ใหแตละกลุมจับสลากหัวขอ เร่ืองที่จะศึกษาในหัวขอ 4.1 การเปล่ียนแปลงเทคโนโลยีและการเลือกใชเทคโนโลยี ในหนังสือเรียน 3 เร่ือง คือ กลุมท่ี 1 การเปล่ยี นแปลงเทคโนโลยีการกาํ จดั ขยะมูลฝอย กลุมที่ 2 การเปล่ียนแปลงเทคโนโลยีการบําบดั นาํ้ เสยี กลมุ ท่ี 3 การเปลย่ี นแปลงเทคโนโลยีการควบคมุ มลพิษทางอากาศ จากนัน้ รว มกันอภิปรายผลการศึกษาการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยแี ละการเลือกใชเทคโนโลยี 3) ผเู รยี นรว มกนั อภิปรายกรอบชวนคิดในหัวขอ 4.1 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและการเลือกใช เทคโนโลยี ดังน้ี 3.1) กรอบชวนคิดในหัวขอ 4.1.1 การเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีการจัดการขยะมูลฝอย เมื่อมีการคนพบความรูใหมมากขึ้น และเทคโนโลยีมีความกาวหนามากข้ึน ผูเรียนจะสรางหรือพัฒนา เทคโนโลยีใดในการจัดการขยะมูลฝอย เพื่อใหเกิดผลกระทบในดานลบตอชีวิต สังคมและส่ิงแวดลอมใหนอย ทสี่ ดุ

ผูเรียนตอบตามความรูและความเขาใจ โดยใหผูเรียนบอกเหตุผลการสรางหรือพัฒนา เทคโนโลยีใดในการจัดการขยะมูลฝอยน้ัน (คําตอบไมมีผิดหรือถูก เนนใหผูเรียนเกิดความคิดสรางสรรค) เชน พฒั นาการตดั ตอ พนั ธุกรรมใหหนอนสามารถยอยสลายพลาสติกไดในเวลา 2 ช่ัวโมง จะไดไมมีพลาสติกตกคาง เปนขยะมลู ฝอย 3.2) กรอบชวนคิดในหัวขอ 4.1.2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการบําบัดน้ําเสีย เม่ือมี การคน พบความรใู หมมากขน้ึ และเทคโนโลยมี คี วามกาวหนามากข้ึน ผูเรียนจะคาดการณเทคโนโลยีการบําบัด น้ําเสียของโรงเรียนและชุมชนของผูเรียนวาจะมีลักษณะอยางไร เพื่อบําบัดนํ้าเสียใหมีประสิทธิภาพมากท่ีสุด และลดผลกระทบดานลบใหไดม ากที่สุด ผูเรียนตอบตามความรูและความเขาใจ โดยใหผูเรียนบอกเหตุผลการสรางหรือพัฒนา เทคโนโลยีใดในการบําบัดน้ําเสียนั้น (คําตอบไมมีผิดหรือถูก เนนใหผูเรียนเกิดความคิดสรางสรรค) เชน สราง เคร่ืองกรองน้ําเสียดวยวิธีการแลกเปล่ียนประจุ การกรองสารอินทรีย และสามารถฆาเชื้อโรครวมไวในเคร่ือง เดยี ว โดยนํ้าทผี่ า นการบําบดั สามารถนาํ มากลบั มาใชใหมได 3.3) กรอบชวนคิดในหัวขอ 4.1.2 การเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีการบําบัดนํ้าเสีย โรงงานผลิตน้ํามันพืชต้ังอยูในนิคมอุตสาหกรรมที่มีพ้ืนที่จํากัด น้ําเสียจากโรงงานแหงนี้มีการปนเปอนไขมัน และน้ํามนั ลอยบนพื้นผิวของน้ําเสยี เปนจาํ นวนมากผเู รยี นคิดวาระบบบําบัดนํ้าเสียแบบใดเหมาะสมกับโรงงาน นี้ ระบบบําบัดน้ําเสียแบบโคแอกกูเลช่ัน (Coagulation) ซึ่งสามารถบําบัดน้ําเสียจากโรงงาน อุตสาหกรรมทมี่ ีสารแขวนลอยขนาดเล็กและมไี ขมันหรือนาํ้ มันละลายอยู 3.4) กรอบชวนคิดในหัวขอ 4.1.3 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการควบคุมมลพิษทาง อากาศ เม่ือมีการคนพบความรูใหม ๆ มากข้ึนและเทคโนโลยีมีความกาวหนามากข้ึน เราจะคาดการณ เทคโนโลยกี ารควบคุมมลพษิ อากาศในอนาคตวามีลักษณะอยางไร เพ่ือใหเกิดประสิทธิภาพ และลดผลกระทบ ดานลบใหไดมากท่สี ดุ ผูเรียนตอบตามความรูและความเขาใจ โดยใหผูเรียนบอกเหตุผลการสรางหรือพัฒนา เทคโนโลยีใดในการควบคมุ มลพิษทางอากาศน้นั (คาํ ตอบไมม ีผดิ หรอื ถกู เนนใหผูเรียนเกิดความคิดสรางสรรค) เชน พัฒนาเครื่องยนตที่สามารถเผาไหมเชื้อเพลิงไดสมบูรณ 100 % ไมกอใหเกิดมลพิษ และฝุนละอองใน อากาศ เพราะวา การแกปญ หาทต่ี น ทาง เปน การแกป ญ หาที่ยง่ั ยนื ทีส่ ดุ 4) แตละกลุมทํากิจกรรมท่ี 4.1 เรื่อง เลือกใชเทคโนโลยี โดยรวมกันวิเคราะหสถานการณ และ อภิปรายถึงปญหา กรอบของปญหา แนวทางการแกไขปญหาท่ีหลากหลาย แลวเลือกเทคโนโลยีท่ีกลุมตนเอง คิดวาเหมาะสมกับสภาพปญหาตามสถานการณท่ีกําหนดให โดยคํานึงถึงผลกระทบตอชีวิต สังคม และ สิ่งแวดลอ ม และอธิบายเหตุผลในการเลือกใชเทคโนโลยนี นั้ สมุ ตวั แทนกลุม จาํ นวน 1 กลมุ มานาํ เสนอ 5) ผูเรียนและครูผูสอนรวมกันอภิปรายสรุปผลการทํากิจกรรมท่ี 4.1 ในประเด็น กรอบของปญหา เทคโนโลยที ่เี ลอื กใชในการแกปญ หา และเหตผุ ลในการเลือกใชเ ทคโนโลยมี าแกปญ หา ขอเสนอแนะ การอภิปรายเนนใหผูเรียนพิจารณาจากสาเหตุของปญหาแนวทางแกไขปญหาเปน พื้นฐานในการตัดสินใจเลือกเทคโนโลยีมาใชในการแกปญหาใหเหมาะสมและคุมคากับสถานการณ โดย คํานงึ ถึงผลกระทบทจี่ ะเกดิ ขนึ้ ตอ ชีวิต สงั คม และสง่ิ แวดลอ ม

ข้ันสอน (ชั่วโมงที่ 3 – 4) 1) ผูเรียนทุกกลุมศึกษาหัวขอ 4.2 การคาดการณเทคโนโลยีในอนาคต ในหนังสือเรียน โดยกําชับให ผูเ รยี นพจิ ารณาตารางการคาดการณเ ทคโนโลยีแตละประเภท เนน การพิจารณาปจจัยหรือสาเหตุท่ีมีผลตอการ เปล่ยี นแปลงท้งั 4 ดาน คอื ความกาวหนา ของศาสตรต าง ๆ มนุษยและสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดลอ ม 2) ผูเรยี นและครผู สู อนอภิปรายเกยี่ วกบั กรอบขอ ความของด็อกเตอร ในหวั ขอ 4.2 ดังน้ี ขอเสนอแนะ กรอบขอความของด็อกเตอรในหัวขอ 4.2 เปนคําถามท่ีตอเน่ืองจากกรอบชวนคิดในหัวขอ 4.1 การเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี และการเลือกใชเ ทคโนโลยี ครผู ูส อนอาจมกี ารเชอ่ื มโยงคําตอบดงั กลาวมาใช 2.1) กรอบขอความของด็อกเตอรใ นหวั ขอ 4.2.1 การคาดการณเ ทคโนโลยีการจัดการขยะมูล ฝอย ลองคาดการณว า เทคโนโลยีการจดั การขยะมูลฝอยจะมีพฒั นาตอไปอยางไร ผูเรียนตอบตามความรูและความเขาใจ (คําตอบไมมีผิดหรือถูก เนนใหผูเรียนเกิดความคิด สรางสรรค) เชน ในอนาคตเมอื่ มีประชากรมากขนึ้ จํานวนขยะอาจมากขึ้นตามไปดวย เทคโนโลยีในการจัดการ ขยะมูลฝอย ควรจะแกป ญหาทแ่ี หลง กําเนดิ ขยะ คือพฒั นาบรรจุภัณฑท่ีสามารถยอยสลายไดเองตามธรรมชาติ หรอื บรรจุภณั ฑท่รี บั ประทานไดเ ลย ซ่ึงไมกอ ใหเกิดขยะมูลฝอยตกคางและลดปริมาณขยะลง 2.2) กรอบขอความของด็อกเตอรในหัวขอ 4.2.2 การคาดการณเทคโนโลยีการบําบัดน้ําเสีย ในอนาคตเม่ือมีการขยายตัวทางดานเศรษฐกจิ มากยิง่ ขน้ึ จํานวนประชากรสูงขึ้น สงผลใหเกิดปญหามลพิษทาง น้าํ มากขนึ้ เราจะคาดการณเทคโนโลยีทีจ่ ะเกิดขึ้นเพ่ือชว ยแกป ญหามลพษิ ทางนํา้ ไดอยางไร ผูเรียนตอบตามความรูและความเขาใจ (คําตอบไมมีผิดหรือถูก เนนใหผูเรียนเกิดความคิด สรางสรรค) เชน พัฒนาสายพันธของจุลินทรีย ใหสามารถบําบัดน้ําเสียท่ีมีท้ังสารอินทรียและอนินทรียไดใน สายพนั ธเ ดยี ว จะทําใหก ารบาํ บดั นํ้าเสยี เกิดขึ้นไดง า ยและรวดเร็ว 2.3) กรอบขอ ความของดอ็ กเตอรในหวั ขอ 4.2.3 การคาดการณเทคโนโลยีการควบคุมมลพิษ ทางอากาศ ในอนาคตมีแนวโนมท่ีโรงงานอุตสาหกรรมจะมีการขยายตัวมากข้ึน กอใหเกิดมลพิษทางอากาศ ตามมา ลองมาคาดการณหรือหาแนวทางในการพัฒนาเทคโนโลยีการควบคุมมลพิษทางอากาศใหเกิดผล กระทบตอ ส่งิ แวดลอมนอ ยทส่ี ุด ผูเรียนตอบตามความรูและความเขาใจ (คําตอบไมมีผิดหรือถูก เนนใหผูเรียนเกิดความคิด สรางสรรค) เชน สรางเครื่องกรองท่ีสามารถกรองฝุนละอองท่ีมีขนาดนาโนเมตรได เพ่ือเปนการลดปญหาฝุน ละอองขนาดเล็ก 3) ผูเรียนแตละกลุมทํากิจกรรมทายบท เร่ือง คาดการณเทคโนโลยีในอนาคต โดยแตละกลุมคนควา ขอมูลเพิ่มเติมจากแหลงเรียนรูตาง ๆ ท่ีนาเชื่อถือ พรอมท้ังอางอิงแหลงที่มาของขอมูลขอเสนอแนะ กิจกรรม ทายบท ผูเรียนศึกษาคนควา สอบถาม สังเกต สัมภาษณจากผูที่มีสวนเก่ียวของหรือสถานประกอบการตาง ๆ ได ขน้ึ อยกู บั บรบิ ทของแตละโรงเรียน 4) ครูผูสอนสนทนากับผูเรียนถึงปญหาส่ิงแวดลอมในขาวตามสื่อตาง ๆ ทั้งในและตางประเทศ เปด โอกาสใหผูเรียนแลกเปลี่ยนเรียนรูใหไดมากที่สุด แลวใหพิจารณาวาปญหาในชุมชนใกลตัวของผูเรียนมี อะไรบาง และชมุ ชนแกปญ หาเหลานน้ั อยา งไรผเู รยี นมแี นวคดิ ท่จี ะแกป ญ หานน้ั ใหด ีข้นึ อยางไร จากนั้นทุกกลุม ทํากจิ กรรมทา ทายความคดิ เรื่อง เลือกใชและคาดการณเทคโนโลยีแตละกลุมเลือกปญหาที่สนใจ โดยกลุมเลข ค่เี ลือกวิธีแกปญ หาดวยเทคโนโลยีทเี่ ปน วิธกี ารและกลมุ เลขคเู ลือกวธิ ีแกปญ หาดว ยเทคโนโลยที ีเ่ ปนช้นิ งาน ขอ เสนอแนะ กิจกรรมทา ทายความคดิ เปน กิจกรรมเสริมทชี่ ว ยใหผูเรียนเขาใจเนอ้ื หาที่เรียนมากย่ิงข้ึน ครผู ูสอนอาจพิจารณาตามความเหมาะสมของเวลา

5) ผูเรียนแตละกลุมเขียนรายละเอียดแผนภาพการคาดการณเทคโนโลยีของกลุมตนเองในกระดาษ ปรูฟแลวใหแตละกลุมจดั แสดงผลงานไวซ ง่ึ จะแยกเปน 2 สวน คอื สว นที่เปนวิธีการ และสวนท่ีเปนชิ้นงาน ทุก กลุมจะมีตัวแทนอยูประจําจุดท่ีแสดงผลงานกลุมละ 1 คน เพ่ืออธิบายและตอบขอซักถามใหกับครูผูสอนและ เพ่ือน ๆ สวนทายสุด ผูท่ีเปนวิทยากรประจํากลุมก็จะเดินเวียน เพื่อศึกษาผลงานของกลุมอ่ืน ๆ โดยมีสมาชิก รายอืน่ มาปฏบิ ัติหนา ที่แทน 6) ผูเรียนและครูผูสอนรวมกนั ประเมินผลงานของทุกกลุม โดยใชกิจกรรม gallery walk ซ่ึงทุกคนจะ เดินศึกษางานจนครบทุกกลุม ผูเรียนพิจารณาวากลุมใดเลือกใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับปญหามากที่สุด ให ติดสติกเกอรท่ีผลงานของกลุมน้ันซ่ึงผูเรียนแตละคนจะมีสติกเกอรจํานวน 2 ช้ิน เลือกติดกลุมวิธีการ 1 ชิ้น และเลอื กติดกลมุ ชนิ้ งาน 1 ช้นิ ขอเสนอแนะ ขอควรพจิ ารณาในการประเมินผลงาน เรื่อง เลือกใชและคาดการณเทคโนโลยีเพ่ือใชใน การแกป ญหา มีดงั น้ี 1) การระบกุ รอบของปญหา ตอ งกระชบั ชดั เจน 2) แนวทางการแกป ญ หา พจิ ารณาแนวทางทีเ่ ปนไปไดอ ยา งหลากหลาย เชือ่ ถอื ได 3) เลือกแนวทางทีเ่ หมาะสม และมีเหตผุ ลประกอบ 4) ออกแบบระบบทํางานของเทคโนโลยีจากแนวทางที่เลือกโดยใชระบบทางเทคโนโลยีเพ่ือ การทาํ งานอยางเปนขน้ั ตอน 5) ชน้ิ งานหรือวิธีการแกปญหาสามารถนาํ ไปใชไ ดจริง ขั้นสรปุ 1) ผูเรียนและครูผูสอนรวมกันอภิปรายสรุปผลการประเมินของแตละกลุมโดยสรุปคะแนนจาก จํานวนสติกเกอรท่ีเพื่อน ๆ ติดไว กลุมใดไดจํานวนสติกเกอรมากที่สุดจะไดนําผลงานออกนําเสนอหนาชั้น ครูผูสอนและผูเรียนทั้งชั้นรวมกันสรุปอีกคร้ังวาผลงานท่ีทุกฝายลงมติมานั้นมีความเหมาะสมหรือมีจุดท่ีควร ปรับปรุงตรงไหนอยางไร หรือมีผลงานของกลุมอ่ืน ๆ ท่ีควรยกมาเปนตัวอยางในการพิจารณาเพิ่มเติมอีก หรือไม สวนผลงานที่ไมไดรับการโหวตก็มีการแสดงขอคิดเห็นเพิ่มเติมในการปรับปรุงแกไขใหเหมาะสมมาก ยง่ิ ข้นึ 2) ทดสอบหลงั เรียน ส่ือและอุปกรณ 1. ใบกิจกรรม เรือ่ ง เวลา (นาที) ใบกิจกรรม เลอื กใชเทคโนโลยี 30 คาดการณเทคโนโลยใี นอนาคต 30 กิจกรรมท่ี 4.1 เลือกใชและคาดการณเ ทคโนโลยี 60 กิจกรรมทายบท กจิ กรรมทาทายความคิด 2. ส่ืออนื่ ๆ  ภาชนะใสอ าหารท่ีทําจากโฟม (ใชใ นขน้ั นาํ เขาสูบทเรียน)

 คลิปวิดีโอ เร่ือง ไมนาเช่ือไปดูวาเปลือกตนกลวยทําอะไรไดบาง จาก https://www.youtube.com/watch?v=AC-WU6G0FTI  กระดาษปรฟู /สีเมจิก (คละส)ี กระดาษโพสอิท หรือสตกิ เกอร  https://classroom.google.com/u/2/h  สรปุ เนอ้ื หา ออกแบบและเทคโนโลยี ม.2 https://proj14.ipst.ac.th/m2/m2-dt/ การวดั และประเมนิ ผล รายการประเมิน วธิ กี ารวดั เครอ่ื งมือที่ใชวัด เกณฑการประเมินการผาน 1. การเลอื กใช ตรวจใบ แบบประเมินกิจกรรมท่ี 4.1 เทคโนโลยโี ดย กิจกรรม เรอ่ื ง เลือกใชเ ทคโนโลยี คะแนน 15-21 หมายถึง ดี คํานึงถึงผลกระทบที่ แบบประเมินกิจกรรมทา ยบท คะแนน 8-14 หมายถึง พอใช เกิดขึ้นตอชีวิต สังคม เร่อื ง คาดการณเ ทคโนโลยี คะแนน 1-7 หมายถงึ ปรบั ปรุง และส่งิ แวดลอม ในอนาคต ผเู รียนไดร ะดบั คณุ ภาพ พอใช 2. การคาดการณ ตรวจใบ ข้นึ ไป ถือวาผา น เทคโนโลยี กจิ กรรม ในอนาคต ทักษะการคดิ อยางมี ผูเรยี นไดร ะดับคณุ ภาพพอใชขึ้นไป วิจารณญาณ ถือวาผา น สงั เกต แบบสงั เกตพฤติกรรม ทักษะการแกป ญหา (ดเู กณฑการ ทักษะการส่ือสาร พฤติกรรม ประเมินในภาคผนวก) ทักษะการทํางาน รวมกับผอู น่ื เกณฑการประเมิน ประเดน็ การประเมิน 3 ระดบั คะแนน 1 1. การเลือกใชเทคโนโลยโี ดย ระบุเทคโนโลยีที่ใชในการ 2 ระบเุ ทคโนโลยที ่ใี ช คํานงึ ถงึ ผลกระทบท่ีเกดิ ขน้ึ ตอ แกปญหาไดส อดคลอ งกับ ในการแกป ญ หาได ชีวติ สังคมและส่งิ แวดลอม ปญหา อยา งนอย 3 ระบเุ ทคโนโลยที ่ีใชใน 1.1 การระบเุ ทคโนโลยีที่ใชใ น เทคโนโลยี การแกป ญหาได การแกปญหา สอดคลองกบั ปญหา 2 สอดคลองกับปญหา เทคโนโลยี 1 เทคโนโลยี 1.2 การวเิ คราะหผลกระทบ ระบผุ ลกระทบของ ระบุผลกระทบของ ระบผุ ลกระทบของ ของเทคโนโลยตี อ ชีวติ เทคโนโลยไี ดครบทงั้ 3 เทคโนโลยไี ด 2 ดา น เทคโนโลยีได 1 ดา น สังคม และสงิ่ แวดลอ ม ดาน 1.3 การเลือกใชเ ทคโนโลยี ระบุเทคโนโลยที ี่เลือกใช ระบเุ ทคโนโลยที ่ี ระบเุ ทคโนโลยีที่ และการอธิบายเหตุผล และอธิบายเหตผุ ลในการ เลอื กใชแ ละอธบิ าย เลอื กใช แตไ ม เลอื กใชเ ทคโนโลยีไดสม เหตผุ ลในการเลือกใช สามารถอธิบาย เหตุ สมผลสอดคลองกับ เทคโนโลยีไดแ ตไม เหตผุ ลในการ ปญหาและผลกระทบท่ี สอดคลอ งกบั กบั ปญ หา เลือกใชได อาจเกดิ ขนึ้ และผลกระทบที่อาจ เกดิ ข้ึน

ประเดน็ การประเมนิ 3 ระดบั คะแนน 1 2. การคาดการณแนวโนม วิเคราะหการเปลยี่ นแปลง 2 วิเคราะหการ เทคโนโลยีในอนาคต ท่เี กิดขึ้น และคาดการณ เปล่ยี นแปลง 2.1 ดา นความกาวหนาของ เทคโนโลยีจากการ วิเคราะหการ ท่ีเกดิ ข้ึนได แตไมใ ช ศาสตรต า ง ๆ เปลี่ยนแปลงดานความ เปล่ียนแปลง ขอมูลประกอบใน 2.2 ดานมนษุ ยและ กา วหนาของศาสตรตา ง ๆ ทเี่ กดิ ขึ้น และ การคาดการณ สงั คม โดยใชแหลง ขอมูลที่ คาดการณ เทคโนโลยีจากการ นา เชื่อถือ เทคโนโลยจี ากการ เปลย่ี นแปลงดา น 2.3 ดา นเศรษฐกจิ วิเคราะหก ารเปลี่ยนแปลง เปลีย่ นแปลงดานความ ความกาวหนาของ ทเี่ กดิ ข้นึ และคาดการณ กา วหนา ของศาสตร ศาสตรตา ง ๆ 2.4 ดา นสง่ิ แวดลอม เทคโนโลยี จากการ ตาง ๆ โดยใช วิเคราะหการ เปลยี่ นแปลงดา นมนษุ ย แหลงขอ มลู ท่ีไม เปลย่ี นแปลง และสังคม โดยใชแหลง นา เชื่อถือ ทเ่ี กิดขน้ึ ได แตไ มใ ช ขอ มลู ท่ีนาเชอ่ื ถือ วเิ คราะหก าร ขอมูลประกอบใน วิเคราะหก ารเปลยี่ นแปลง เปล่ยี นแปลง การคาด ท่เี กดิ ขน้ึ และคาดการณ ทเี่ กิดขน้ึ และ การณเทคโนโลยี เทคโนโลยี จากการ คาดการณ จากการเปลีย่ นแปลง เปลี่ยนแปลงดา น เทคโนโลยี จากการ ดา นมนษุ ยและสงั คม เศรษฐกจิ โดยใช เปลย่ี นแปลงดาน วเิ คราะหการ แหลง ขอมูลทน่ี า เชอื่ ถอื มนษุ ยแ ละสงั คม โดย เปลย่ี นแปลงท่ีเกิดข้ึน ใชแ หลงขอมูลทีไ่ ม ได แตไ มใชข อมลู นาเชอื่ ถือ ประกอบในการ วเิ คราะหก าร คาดการณเทคโนโลยี เปลี่ยนแปลงทเ่ี กิดข้ึน จากการเปล่ยี นแปลง และคาดการณ ดานเศรษฐกจิ เทคโนโลยี จากการ เปลี่ยนแปลงดาน เศรษฐกิจ โดยใช แหลง ขอมลู ที่ไม นา เชอื่ ถอื วเิ คราะหก ารเปล่ียนแปลง วเิ คราะหการ วเิ คราะหก าร ทเ่ี กดิ ขึ้นและคาดการณ เปล่ยี นแปลงทเ่ี กิดขึ้น เปลี่ยนแปลงท่เี กดิ ข้ึน เทคโนโลยี จากการ และคาดการณ ได แตไมใ ชข อมลู เปลยี่ นแปลงดาน เทคโนโลยี จากการ ประกอบในการ ส่งิ แวดลอ ม โดยใช เปลี่ยนแปลงดา น คาดการณเทคโนโลยี แหลงขอ มูลทีน่ า เช่อื ถือ สิ่งแวดลอม โดยใช จากการ แหลงขอ มูลที่ไม เปล่ียนแปลงดา น นาเชอ่ื ถอื สิง่ แวดลอม

เกณฑก ารตดั สินระดับคุณภาพ คะแนน 15 – 21 คะแนน หมายถงึ ระดบั คุณภาพ ดี คะแนน 8 - 14 คะแนน หมายถึง ระดับคณุ ภาพ พอใช คะแนน 1 - 7 คะแนน หมายถึง ระดบั คุณภาพ ปรบั ปรงุ ** เกณฑการวดั และประเมนิ ผลสามารถปรับเปล่ียนไดตามความเหมาะสม แหลง เรยี นรู 1. www.pharmacy.mahidol.ac.th/th/knowledge/article/317/กลองโฟมบรรจุอาหาร อันตรายอยามองขา ม/พรรณพสิ ุทธิ์ สันตภิ ราดร, (2559). กลองโฟมบรรจอุ าหาร อนั ตรายอยามองขาม. สืบคน เมอื่ 17 กันยายน 2561 2. https://classroom.google.com/u/2/h 3. สรปุ เน้ือหา ออกแบบและเทคโนโลยี ม.2 https://proj14.ipst.ac.th/m2/m2-dt/ ขอเสนอแนะ 1. กจิ กรรมท่ี 4.1 เรื่อง เลือกใชเ ทคโนโลยี ครูผสู อนอาจใหค าํ แนะนาํ ผูเ รยี นวา เทคโนโลยีท่ีเลือกใชนั้น ไมจําเปนตองมีผลกระทบกับชีวิต สังคม และสิ่งแวดลอม ครบทุกดานเสมอไป หรือผลกระทบที่เกิดขึ้นอาจมี ผลตอ ท้งั ชวี ิต สังคม และส่งิ แวดลอ มในประเด็นเดียวกันก็ได และผลกระทบตา ง ๆ อาจมีความสัมพันธกัน 2. การทํากิจกรรมทั้งหมดในบทนี้ไมเนนคําตอบถูกหรือผิด เนนใหผูเรียนกลาคิดนอกกรอบ ใหเกิด ความคิดสรางสรรค แตอยูบนฐานความรู หรือขอมูลท่ีเปนไปได และใหผูเรียนฝกการบอกเหตุผล เพราะอะไร ทาํ ไมถึงเลอื กวิธนี ี้เลอื กวิธีอื่นไดหรอื ไม เพราะอะไร เปนตน 3. ในการนําเสนอ ควรมีการนําเสนอหนาช้ันเรียน หรือเปนการโตวาที ครูผูสอนควรกระตุนผูเรียนให เกดิ การซกั ถามในประเด็นทส่ี งสยั ใหเกิดการแลกเปลย่ี นความรกู นั ในชน้ั เรียน 4. กิจกรรมทาทายความคิด เปนกิจกรรมเสริมที่ใหผูเรียนฝกปฏิบัติเพื่อใหเกิดความเขาใจเนื้อหาท่ี เรยี นมากย่งิ ข้นึ ซง่ึ ครผู ูส อนอาจจดั กิจกรรมเสนอแนะนอกเวลาเรียนหรือพิจารณาตามความเหมาะสมของเวลา เพราะกิจกรรมที่ 4.1 และกิจกรรมทายบท ครอบคลุมตัวชี้วัดท้ังหมดแลว ในขณะที่กิจกรรมทาทายความคิด เปน กิจกรรมรวบยอดทงั้ หมด

กิจกรรมท่ี 4.1 เร่อื ง เลอื กใชเ ทคโนโลยี ผเู รียนพิจารณาสถานการณป ญหาตอ ไปนี้ แลววเิ คราะหแ ละเลอื กใชเทคโนโลยเี พ่ือแกไขปญ หา โดย คํานึงถงึ ผลกระทบกับชีวิต สังคม และสง่ิ แวดลอม สถานการณ หมูบานแหง หนงึ่ ตองการทาํ การเกษตรเพอื่ เพมิ่ รายไดใ หแกชุมชน แตพบวาพ้นื ท่ีท่จี ะทาํ การเกษตร นน้ั ดนิ มีสภาพขาดอินทรยี วตั ถุ หรือขาดแรธ าตุอาหาร ไมเหมาะสมตอการเจริญเติบโตของพืช สงผลให ผลผลิตทีไ่ ดไ มเปน ไปตามท่ตี องการ ดงั นัน้ ผเู รยี นจะแกไขปญหาดนิ ขาดอนิ ทรียวัตถนุ ี้อยางไร ตารางการวเิ คราะหเทคโนโลยี เทคโนโลยี ชวี ติ ผลกระทบ ส่ิงแวดลอม สงั คม 1. ไถกลบพืช - สรางอาหารใหส ง่ิ มชี ีวิตในดิน - เพม่ิ แหลงท่ที ํากนิ ของเกษตรกร ใชที่ดินวา งเปลาให สด - เพม่ิ ธาตอุ าหารได โดยเฉพาะ - เกษตรตอ งทําการปลูกพชื สดที่ เกิดประโยชนดินมี ธาตุไนโตรเจน เหมาะสมกบั พนื้ ทีท่ ่ีขาดแรธ าตุ เชน ความอุดมสมบรูณ - ใชระยะเวลาเพาะปลกู นาน ปอเทือง ถ่ัวพราและถัว่ มะแฮะ - สรา งรายไดจากผลผลติ พืช - มีแหลงทอ งเท่ียวเพิ่มข้ึนในชุมชุน ตระกลู ถ่ัว เชน การปลูกปอเทือง 2. ปยุ อนิ ทรีย - สรา งอาหารใหสิ่งมีชีวติ ในดิน - เพิ่มแหลง ท่ที ํากนิ ของเกษตรกร - ชว ยปรับปรงุ ไดแก - การปลดปลอ ยธาตอุ าหาร - เปน ชุมชนทป่ี ลอดสารเคมใี นการ โครงสรา งของดินให ปยุ หมกั ปยุ ของปุยอนิ ทรยี เ กิดขึ้นชา ทาํ ให เพาะปลูกพชื ดขี ้นึ เชน มี คอก การปรับปรงุ ดนิ ตองใชเวลานาน - เพม่ิ รายไดใ นการเพาะปลูกเปน ความสามารถในการ - มีจาํ นวนจํากัด ไมสามารถหา เกษตรอินทรีย อมุ นํา้ และธาตุ ซ้อื ในปรมิ าณมาก ๆ ได อาหารไดดี - ผูใชตองผลิตขึ้นเอง - ข้ันตอนการผลติ ปุยอินทรีย อาจสง กล่ินรบกวน 3. ปยุ เคมี มีราคาแพง ถามีการใสป ุย จํานวนมากจะสงผล ถา ใชใ นปรมิ าณมาก ผใู ชป ยุ เคมีจะตองมีความรู ตอ การใชพื้นที่ในอนาคต เชน และติดตอกนั เปน ความเขาใจ จึงจะใชไ ดอยา งมี กอใหเ กิดดินเค็ม หรือดินเปร้ยี ว เวลานานจะทาํ ให ประสทิ ธิภาพ ดินไมร วนซยุ ดนิ เสือ่ มสภาพ เทคโนโลยที ่ีเลือกใชใ นการแกปญ หา ปยุ อนิ ทรยี  เหตุผลในการเลอื กใชเทคโนโลยี เปนเทคโนโลยีที่เปนมิตรกับส่ิงแวดลอม ไมทําใหดินเสื่อมสภาพเมื่อใชเปน เวลานานและยงั สามารถผลติ ไดเองจากของเหลอื ใชท างการเกษตร และมีราคาถูก

กจิ กรรมทายบท เร่อื ง คาดการณเ ทคโนโลยใี นอนาคต จากการที่ผูเรียนไดลงมือปฏิบัติเพื่อแกปญหา ในบทท่ี 1 – 3 นั้น ไมวาจะเปนการสรางชิ้นงานหรือ วิธีการ ถาผูเรียนมีความรูมากข้ึน ประกอบกับปญหาความตองการของมนุษยและสังคม เศรษฐกิจ และ ส่ิงแวดลอมเปล่ียนแปลงไป หรือมีเทคโนโลยีใหมที่สามารถชวยสนับสนุนการทํางาน ผูเรียนคาดการณวา เทคโนโลยีของผูเรียนจะเปล่ียนแปลงไปจากเดิมอยางไร โดยวิเคราะหปจจัยในดานตาง ๆ ที่มีผลตอการ เปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี เทคโนโลยีของผูเรียน คอื เครอ่ื งบีบอดั ขยะอัจฉริยะ

กิจกรรมทาทายความคิด เรอื่ ง เลือกใชแ ละคาดการณเทคโนโลยี ใหผ เู รยี นเลือกปญ หาที่กําหนดใหตอไปน้ี เพ่ือหาวธิ กี ารแกปญหาและคาดการณเทคโนโลยใี นการ แกปญหาดงั กลา วในตอนท่ี 1 และตอนท่ี 2ปญหาทกี่ าํ หนดให • นํ้าทวมในฤดูฝน • มลพิษทางอากาศ • การจราจรแออัดในตัวเมือง • สารพษิ ตกคางในสิ่งแวดลอม • การอุดตนั ของทอ ระบายนํา้ ทงิ้ • ไมม นี ํา้ ใชส าํ หรับการเกษตรในฤดรู อ น • ความหนาแนน ของประชากรทก่ี ระจุกตวั ในชุมชนเมือง ปญหาท่ีนัก เรียนเลอื ก สารพษิ ตกคา งในสง่ิ แวดลอม เหตุผลหรือขอมูลสนับสนุน จากรายงานการสํารวจขององคการอาหารและเกษตรแหง สหประชาชาติ พบวาประเทศไทย มีการใชยาฆาแมลงมากเปนอันดับ 5 ของโลก และมีสารเคมีที่มีพิษ อนั ตรายปนเปอ นในพชื ผัก ผลไม ท่ีวางขายในทองตลาด เกิดมลพิษทางอากาศเมื่อมีการพนยา มีสารพิษ ตกคางในดินและนํ้า ซ่ึงนอกจากเกษตรกรซ่ึงถือเปนตน นํ้าของการผลิตที่เสี่ยงแลว ผูบริโภคก็เส่ียงตอ อนั ตรายดา นสขุ ภาพดว ยเชน กัน ดังนั้นจะมีวิธกี ารใดทีจ่ ะลดหรือแกปญหาสารพิษตกคา งในสิง่ แวดลอ มได



ตอนที่ 2 ใหผ เู รยี นคาดการณวาเทคโนโลยที ี่เลอื กใชแกป ญหาจากตอนที่ 1 นั้น เปล่ียนแปลงไปจาก เดิมอยา งไร เมื่อมีความรูมากข้นึ ประกอบกับมนุษยและสงั คม เศรษฐกิจ และสิง่ แวดลอม เปล่ียนแปลงไป หรอื มีเทคโนโลยีสมัยใหม ท่ีชว ยนาํ มาสนบั สนุนการทาํ งาน โดยวเิ คราะหปจจัยในดา นตาง ๆ ที่มีผลตอการ คาดการณเทคโนโลยกี ารควบคมุ แมลงศัตรพู ืชดว ยวิธธี รรมชาติ เทคโนโลยีทีเ่ ลอื กใชใ นการแกปญหา คือ การควบคมุ แมลงศตั รพู ชื ดว ยวธิ ีธรรมชาติ

แบบนิเทศแผนการจดั การเรยี นรู โรงเรียนหาดใหญวทิ ยาลยั สาํ นกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 16 ครูผูสอน นางรัตนาภรณ พรหมเพชร ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปที่ 2 กลุมสาระการเรยี นรู วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี หนวยการเรียนรูท่ี 3 ช่อื หนวยการเรียนรู เทคโนโลยีในอนาคต เวลา......4...ชั่วโมง แผนการจัดการเรยี นรูท่ี เรอื่ ง เวลา....4.....ชว่ั โมง คาํ ช้ีแจง โปรดกาเครื่องหมาย  ในชองทแ่ี สดงคณุ ภาพการจดั การเรียนรู ที่ รายการประเมิน 5 ระดับคณุ ภาพ 1 ขอเสนอแนะ 432 1 ความครบถว นขององคประกอบของแผนการจดั การ เรยี นรู  ชื่อหนวยการเรียนรู  เรอ่ื งทสี่ อน  เวลา  มาตรฐานการเรยี นรู  ตัวชวี้ ัด/ผลการเรียนรู ระบุอง คประกอบครบ ถวน 14 -18 รายการ ระบุอง คประกอบครบ ถวน 10-13 รายการ  จดุ ประสงคก ารเรยี นรู ระบุอง คประกอบครบ ถวน 7-9 รายการ ระบุอง คประกอบครบ ถวน 4-6 รายการ  สาระสาํ คัญ ระบุอง คประกอบครบ ถวน 1-3 รายการ  สาระการเรียนรู  ชนิ้ งานหรือภาระงาน  กจิ กรรมการเรยี นรู/กระบวนการเรยี นรู  สื่อการจดั การเรยี นรู/แหลง การเรียนรู  การวัดและประเมินผล  คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค  สมรรถนะสําคัญของผเู รยี น  คณุ ลกั ษณะของผูเ รยี นตามหลกั สูตร มาตรฐานสากล  คุณลกั ษณะของผเู รยี นในศตวรรษท่ี 21  การบรู ณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง  บนั ทึกผลหลังการเรยี นรู

ท่ี รายการประเมนิ 5 ระดับคณุ ภาพ 1 ขอ เสนอแนะ 43 2 2 จุดประสงคการเรียนรูมีความสอดคลอ งกบั ตวั ช้วี ดั / ผลการเรยี นรู 3 สาระสาํ คญั สอดคลอ งกบั ตัวชี้วัด/ผลการเรยี นรู 4 สาระการเรียนรสู อดคลอ งกบั ตวั ชีว้ ัด/ผลการเรยี นรู 5 ชน้ิ งานหรือภาระงานสอดคลองกับตวั ชว้ี ดั /ผลการเรียนรู 6 กิจกรรมการเรียนรูสง เสริมใหเกดิ ความรู/ทักษะ/ กระบวนการ/คุณลักษณะทร่ี ะบใุ นจดุ ประสงคการเรยี นรู 7 กจิ กรรมการเรยี นรเู ปน กจิ กรรมท่เี นน ผูเ รยี นเปน สําคญั 8 กจิ กรรมการเรยี นรเู ปน กจิ กรรมทเ่ี นน Active Learning 9 กจิ กรรมการเรียนรูทรี่ ะบใุ นแผนมีความเปนไปไดในการ นําไปสอนจรงิ ทั้งดา นเวลาและการนาํ ไปใช 10 รายการวดั ผลสอดคลอ งกบั จุดประสงคการเรยี นรูท รี่ ะบใุ น แผนการจดั การเรียนรูครบทกุ ขอ 11 บนั ทึกผลการเรยี นรนู าํ เสนอขอมูลเชิงปรมิ าณทตี่ อบตาม จดุ ประสงคการเรียนรูแ ละเชิงคุณภาพท่นี าํ สกู ารพฒั นา แผนการจดั การเรยี นรู ภาคผนวกของแผนการจดั การเรยี น 12 นาํ เสนอสอ่ื /แหลงเรยี นรูท่ใี ชป ระกอบ 13 นําเสนอเคร่ืองมือท่ีใชในการวัดผล 14 เครอื่ งมอื ท่ีใชใ นการวดั ผลมคี ุณภาพเบ้ืองตน รวมระดับความถใี่ นแตล ะระดับคุณภาพ คาเฉล่ยี โดยรวม เกณฑค ุณภาพ ระดบั คุณภาพดเี ยี่ยม 4.50-5.00 ระดบั คุณภาพดี 3.50-4.49 ระดบั คุณภาพปานกลาง ระดบั คุณภาพพอใช 2.50-3.49 ระดบั คุณภาพปรบั ปรุง 1.50-2.49 1.00-1.49

บนั ทึกความเห็นเพ่ิมเตมิ .............................................................................................................................. .............................................................................................................................. .............................................................................................................................. .............................................................................................................................. .............................................................................................................................. .............................................................................................................................. .............................................................................................................................. (ลงชือ่ ).................................................................ผนู ิเทศ (.....................................................................)

แบบสังเกตการณก ารจัดการเรียนรู โรงเรยี นหาดใหญวิทยาลยั สาํ นกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 16 วันที่............เดือน.............................................พ.ศ............... ครผู สู อน นางรัตนาภรณ พรหมเพชร ระดับช้นั มธั ยมศึกษาปท่ี 2 กลมุ สาระการเรียนรู วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี หนวยการเรียนรทู ี่ 3 ช่อื หนวยการเรยี นรู เทคโนโลยีในอนาคต เวลา............ชวั่ โมง แผนการจดั การเรยี นรูท่ี เร่ือง เวลา............ชว่ั โมง คําชี้แจง โปรดกาเครอื่ งหมาย  ในชอ งท่ีแสดงระดบั ปฏบิ ัติการจดั การเรยี นรู ท่ี รายการประเมิน ระดับปฏบิ ัติ ขอ เสนอแนะ ปฏบิ ัติ ไมป ฏิบัติ ขั้นนาํ 1 ครูดําเนนิ การสอนเปน ลาํ ดับตามแผนการจัดการเรียนรู 2 ครูแจง ภาระงาน/การเรียนร/ู มาตรฐานการเรยี นรู/ ตวั ชว้ี ดั /ผลการเรยี นรู ข้นั สอน 3 ครกู ระตนุ ใหผ เู รยี นมีสว นรวมในกระบวนการเรียนรขู ั้นการจัดกจิ กรรม 4 นกั เรยี นทํา/รว มกจิ กรรมตามกระบวนการเรียนรู (วางแผน ลงมือทาํ สรปุ ประเมินผล) 5 นกั เรยี นไดเรียนรูจ ากสอ่ื ทีร่ ะบุไวในแผนการจดั การเรียนรู 6 นกั เรียนไดรบั การเสริมแรง (วาจา ทา ทาง ฯลฯ) ขน้ั สรุป–ประเมิน 7 นกั เรียนไดร บั การวัดและประเมินผลดา นความรู 8 นักเรียนไดร บั การวัดและประเมนิ ผลดา นทกั ษะ/กระบวนการ 9 นักเรยี นไดร บั การวดั และประเมินผลดา นคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค 10 นกั เรียนไดรับการวัดและประเมนิ ผลดา นสมรรถนะสาํ คญั 11 มีการทบทวนและสรุปความรูหรอื ทักษะทส่ี อนรวมกันเพือ่ ใหผูเรยี นเขาใจ และ แมน ยําในสิง่ ทีเ่ รียนรมู ากข้ึน 12 นักเรียนไดรับขอ มลู ยอ นกลบั ผลการปฏิบตั ิ ผลการเรียนรทู เ่ี กดิ ขน้ึ 13 บรรยากาศการเรยี นรู 13.1 ครู-นักเรียนแลกเปล่ียนเรยี นรซู ง่ึ กนั และกนั 13.2 เอาใจใสแ ละชวยเหลือผูเรยี นไดอ ยางทัว่ ถงึ ทกุ กลุม 13.3 สรา งวนิ ัยในชนั้ เรยี นดวยความเปนกลั ยาณมติ ร 13.4 นกั เรยี นเรียนรูอยางสนกุ สนาน 13.5 นกั เรียนรจู กั บทบาท หนาที่ของตนเอง รวมความถี่ของระดบั การปฏบิ ตั ิ สรปุ ตามเกณฑก ารประเมนิ

เกณฑการประเมนิ = ระดบั ปฏิบัติ 5 (มากทีส่ ุด) ปฏบิ ตั ิ 16-17 รายการ = ระดับปฏบิ ัติ 4 (มาก ) ปฏบิ ตั ิ 13-15 รายการ = ระดับปฏิบัติ 3 (ปานกลาง) ปฏบิ ัติ 9-12 รายการ = ระดบั ปฏบิ ตั ิ 2 (นอ ย) ปฏบิ ตั ิ 5-8 รายการ = ระดับปฏิบตั ิ 1 (ปรบั ปรงุ ) ปฏบิ ตั ิ 1-4 รายการ ผนู เิ ทศใหข อ มลู ยอนกลับเพือ่ เปน แนวทางในการพฒั นาตอ ยอดการเรยี นรู ดงั นี้ 1. จุดเดนของการสอนในช่วั โมงนี้ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ส่ิงทค่ี วรปรับปรงุ /พัฒนา .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ความคิดเห็นหรอื ขอเสนอแนะ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ...................................ผนู ิเทศ ลงช่ือ....................................ผนู เิ ทศ ลงชื่อ....................................ผนู เิ ทศ (.....................................................) (..................................................) (....................................................) ............../........................./........... ............../.........................../........... ............../........................./........... ความคดิ เหน็ หัวหนาฝา ยวชิ าการ ความคิดเห็นรองผูอํานวยการกลมุ บริหารวิชาการ ................................................................................................ .................................................................................................. ………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………….. ลงชื่อ....................................................... ลงช่อื ....................................................... (................................................................) (นายนภดล บุญรศั ม)ี

ภาคผนวก เกณฑก ารประเมนิ กระบวนการและทักษะในวชิ าเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม ประเด็นการ 4 (ดมี าก) ระดับคณุ ภาพ 1 (ปรบั ปรงุ ) ประเมนิ ระบปุ ญ หาและ 3 (ดี) 2 (พอใช) ไมสามารถระบุ เง่อื นไขของการ ปญหาและ 1. การระบุ แกป ญ หาได ระบปุ ญ หาและ ระบปุ ญหาและ เงอื่ นไขของการ ปญหา สอดคลองกับ เง่ือนไขของการ เงือ่ นไขของการ แกป ญ หา แกปญหาได แกปญ หาได สอดคลองกบั สอดคลองกบั

สถานการณทีก่ ําหนด สถานการณท่ี สถานการณท่ี ไดครบถวน กาํ หนด กําหนดบางสว น สมบูรณ 2. การรวบรวม รวบรวมขอมูลที่ รวบรวมขอ มูลท่ี รวบรวมขอ มูล ไมส ามารถ ขอมลู สอดคลองกับแนว สอดคลองกบั แนว ท่สี อดคลองกบั รวบรวมขอ มูลท่ี และแนวคดิ ท่ี ทางการแกป ญ หาได ทางการแกป ญ หา แนวทางการแก สอดคลองกับแนว เกยี่ วของกบั อยางครบถวน ได ปญหาไดบางสว น ทางการแก ปญหา สมบูรณ อยางครบถวน ปญหา 3. การออกแบบ แตไ มสมบรู ณ วิธีการแกป ญ หา ออกแบบชน้ิ งานหรือ ออกแบบชนิ้ งาน ออกแบบชิ้นงาน ไมส ามารถ วธิ ีการไดสอดคลอง หรือวธิ กี ารได หรือวธิ กี ารได ออกแบบชน้ิ งาน กับแนวทางการ สอดคลองกับแนว สอดคลองกบั แนว หรอื วธิ ีการได แกป ญหาและเงื่อนไข ทางการแกปญหา ทางการแกป ญ หา สอดคลองกับแนว ท่กี าํ หนดโดยแสดง และเง่ือนไขท่ี และเง่ือนไขที่ ทางการแกป ญ หา รายละเอยี ดครบถวน กาํ หนด โดยแสดง กาํ หนดบางสวน และเงื่อนไขที่ สมบูรณและสามารถ รายละเอยี ดได และ และสามารถสื่อสาร กาํ หนดและไม สือ่ สารใหผ อู นื่ เขาใจ ส่อื สารใหผ อู ่ืน ใหผูอ่ืนเขาใจ สามารถสอ่ื สารให ตรงกนั เขา ใจตรงกนั ตรงกันสอดคลอง ผอู ่ืนเขา ใจตรงกัน

ประเด็นการ 4 (ดีมาก) ระดบั คุณภาพ 1 (ปรบั ปรงุ ) ประเมิน 3 (ดี) 2 (พอใช) 4. การวางแผน มกี ารวางแผนในการ มีการวางแผนใน มกี ารวางแผนใน ดาํ เนินการ และดาํ เนนิ การ ทํางานและ การทาํ งานและ การทํางาน แตไมได แกป ญหาโดยไมมี แกปญ หา ดาํ เนินการแกปญ หา ดาํ เนินการ ดําเนินการ การวางแผนใน 5. การทดสอบ ตามข้นั ตอน แกป ญหาตาม แกปญ หาตาม การทาํ งาน ประเมนิ ผล และ การทํางานไดอยา ง ขน้ั ตอน ข้นั ตอนท่วี างแผน ไมกําหนด ปรบั ปรุงแกไขวิธี ถกู ตองและเหมาะสม การทาํ งานได ไว ประเด็นในการ การแกปญหา กําหนดประเด็นใน กาํ หนดประเดน็ ใน กําหนดประเด็นใน ทดสอบ และ หรอื การทดสอบได การทดสอบได การทดสอบได บนั ทกึ ผลการ ชิ้นงาน สอดคลอ งกบั สอดคลองกบั สอดคลองกบั ทดสอบไม สถานการณท่กี าํ หนด สถานการณท่ี สถานการณที่ ชดั เจน ไม 6. การนําเสนอ และบนั ทึกผลการ กําหนด และบนั ทึก กําหนด บนั ทึกผล ครบถวน ไมม ีการ วิธกี ารแกปญ หา ทดสอบไดอ ยาง ผลการทดสอบได การทดสอบแตไม ปรับปรุงแกไข ผลการแกป ญหา ละเอยี ด ครบถว นมี โดยขาดายละเอยี ด ครบถวน ขาด ชิน้ งานหรอื หรอื ช้นิ งาน การปรับปรงุ หรอื บางสว น มกี าร รายละเอียด มีการ วธิ ีการเม่อื พบ เสนอแนวทางแกไ ขที่ ปรับปรุงหรอื เสนอ ปรบั ปรุงหรอื เสนอ ขอบกพรอง สอดคลอ งกับปญหา แนวทางแกไขท่ี แนวทางการแกไขท่ี หากช้ินงานหรอื สอดคลอ งกับ ไมสอดคลอ งกบั ไมสามารถ วธิ กี าร มขี อ บกพรอง ปญ หาหากช้นิ งาน ขอ บกพรองของ นาํ เสนอข้ันตอน นาํ เสนอรายละเอยี ด หรอื วิธกี ารมี ช้นิ งานหรอื วธิ กี าร การแกปญหา ขั้นตอนการแกปญหา ขอบกพรอง นาํ เสนอข้นั ตอน ไดชัดเจน สื่อสารให นาํ เสนอ การแกปญหาไดแต ผูอนื่ เขาใจไดอ ยาง รายละเอียด มีรายละเอยี ดไม ครบถว น สมบูรณ ข้ันตอนการ ชดั เจน แกป ญหาไดช ดั เจน สอื่ สารใหผอู ื่น เขาใจได

ความคดิ สรา งสรรค (แบง เปน 4 ลกั ษณะ) ประเดน็ การ 4 (ดมี าก) ระดบั คุณภาพ 1 (ปรับปรุง) ประเมิน พัฒนาช้ินงานหรือ 3 (ดี) 2 (พอใช) วธิ ีการเพอ่ื แกปญ หา 1. ความคิดริเร่ิม ดว ยความคดิ ที่แปลก พฒั นาชิ้นงาน พฒั นาชน้ิ งาน พฒั นาชิน้ งาน ใหมเ หมาะสมตอการ หรือวิธีการเพ่ือแก หรือวิธีการเพ่ือแก หรอื วธิ กี ารเพื่อ ใชงานจริง ปญหาดว ยความคดิ ปญ หาดวยการผสม แกป ญ หาโดย ทแ่ี ปลกใหม ผสานและดัดแปลง ไมมีความคิด จากความคิดเดมิ แปลกใหม 2. ความคิดคลอง มกี ารคิดหาวิธีการ มกี ารคิดหาวธิ ีการ มีการคดิ หาวธิ กี าร ไมสามารถคดิ หา แกปญหาไดมากกวา แกปญหาได 2 วธิ ี แกป ญหาไดเ พยี ง 1 วธิ กี ารแกป ญ หา 2 วธิ ี ในเวลาท่ี ในเวลาท่กี ําหนด วธิ ีในเวลาท่กี าํ หนด ไดในเวลาที่ กาํ หนด กาํ หนด 3. ความคิด มีการคดิ หาวิธีการ มีการคดิ หาวธิ ีการ มกี ารคิดหาวิธกี าร ไมส ามารถคิดหา ยดื หยุน แกป ญหาโดย แกปญ หาโดย แกป ญหาโดย วิธกี ารแกปญ หา ดัดแปลงสงิ่ ท่มี ีอยู ดดั แปลงสิ่งทม่ี ีอยู ดัดแปลงส่ิงท่ีมีอยู โดยดดั แปลงสิง่ ที่ หรือนาํ สิ่งอื่นมา หรือนาํ สิ่งอนื่ มา หรือนาํ ส่ิงอนื่ มา มีอยู หรือนําส่ิง ทดแทนส่งิ ท่ีขาดได ทดแทนสงิ่ ท่ีขาดได ทดแทนส่งิ ท่ีขาดได อื่นมาทดแทนสิ่ง อยา งหลากหลาย แตย งั ไมเหมาะสม ที่ขาดได กับงาน 4. ความคิด มีการคิดแจกแจง มีการคดิ แจกแจง มีการคิดแจกแจง ไมม ีการคิดแจก ละเอียดลออ รายละเอยี ดของ รายละเอยี ดของ รายละเอียดของ แจงรายละเอียด วธิ ีการแกป ญหาหรอื วธิ ีการแกปญหา วิธกี ารแกป ญหา ของวิธีการ ขยายความคิดได หรือขยายความคดิ หรอื ขยายความคดิ แกปญ หาหรือ อยา งครบถว น และมี ไดอ ยางสมบรู ณ แตขาดความชดั เจน ขยายความคิด รายละเอียดท่ี และสมบูรณ สมบรู ณ

ประเด็นการ 4 (ดมี าก) ระดับคุณภาพ 1 (ปรับปรงุ ) ประเมิน - แจกแจง 3 (ดี) 2 (พอใช) แจกแจงองค องคป ระกอบ ประกอบแตไม การคิดวเิ คราะห - อธบิ ายความ แจกแจงองค แจกแจง สามารถอธบิ าย สัมพันธเชิงเหตุผล ประกอบและ องคประกอบและ ความสัมพนั ธเ ชิง การคิดอยางมี แจกแจง อธบิ ายความ สามารถอธบิ าย เหตผุ ลระหวา ง วิจารณญาณ องคประกอบ สัมพันธเ ชิงเหตผุ ล ความสมั พนั ธเ ชงิ องคประกอบได และอธบิ ายความ ระหวางองค เหตผุ ลระหวา ง สมั พันธเ ชงิ เหตผุ ล ประกอบเพื่อให องคประกอบไดไ ม วิเคราะหแ ละ ระหวา งองค เขาใจสาเหตไุ ด เหมาะสม ประเมิน ประกอบ แตไมช ัดเจน สถานการณแตไม เพ่ือใหเ ขา ใจสาเหตุ มีหลักฐานในการ ไดอ ยา งถกู ตอ ง วเิ คราะหแ ละ วเิ คราะหและ ลงขอสรปุ วเิ คราะหและ ประเมนิ ประเมิน ประเมินสถานการณ สถานการณ ดวย สถานการณ ดวย ดว ยหลกั ฐานที่หลาก หลักฐาน แลวลง หลักฐาน แลวลง หลาย แลวลงขอ สรุป ขอสรุปไดอยา ง ขอ สรุปไดอยา ง ไดอ ยางสมเหตุ สมเหตสุ มผล สมเหตสุ มผล สมผล การคิดเชิงระบบ จาํ แนกองคป ระกอบ จําแนก จําแนก จาํ แนกองค - จําแนก และเชือ่ มโยง องคป ระกอบและ องคป ระกอบได แต ประกอบ แตไ ม องคป ระกอบ ความสมั พนั ธข อง เชอ่ื มโยงความ เชือ่ มโยง สามารถเชอ่ื มโยง - เช่อื มโยง องคประกอบตา ง ๆ สัมพันธขององค ความสัมพันธของ ความสมั พันธของ ความสัมพนั ธ ทเี่ กีย่ วเนือ่ งกนั อยาง ประกอบตาง ๆ ที่ องคป ระกอบตาง ๆ องคป ระกอบ เปน ระบบได เกย่ี วเนือ่ งกันอยา ง ทเี่ กย่ี วเน่อื งกัน ตา ง ๆ ที่เก่ียว ครบถว น และถูกตอง เปน ระบบไดครบ อยา งเปน เนื่องกนั ได แตขาดรายละเอียด ระบบไดไมช ดั เจน บางสวน

ประเด็นการ 4 (ดมี าก) ระดับคณุ ภาพ 1 (ปรบั ปรงุ ) ประเมนิ 3 (ดี) 2 (พอใช) นําเสนอ อภปิ ราย นําเสนอ อภิปราย นาํ เสนอ อภิปราย และตอบคาํ ถาม การสื่อสาร นาํ เสนอ อภปิ ราย และตอบคาํ ถามได และตอบคาํ ถามได ไดไ มเหมาะสมกับ - การนําเสนอ และ เขาใจ เหมาะสมกบั แตมวี ิธีการไม ลกั ษณะขอมูล - การอภิปราย ตอบคําถามไดเขา ใจ ลักษณะขอมลู เหมาะสม - การตอบคาํ ถาม งา ยและมวี ิธกี ารที่ นา สนใจเหมาะสมกับ กบั ลกั ษณะขอ มลู ลักษณะขอมูล การทํางาน มสี ว นรวมในการ มีสวนรวมในการ มีสวนรว มในการ ไมมีสว นรว มใน รวมกบั ผูอื่น ทาํ งานและรับฟง ทํางานและรบั ฟง ทาํ งาน แตไ มรบั ฟง การทํางานและ - มีสวนรว ม ความคดิ เห็น ความคิดเห็นของ ความคิดเห็นของ ไมรบั ฟงความคิด - รบั ฟง ความ ของผูอืน่ อยา งตั้งใจ ผูอ่ืน ผอู น่ื เห็นของผูอน่ื คดิ เหน็

เครอ่ื งมือการประเมนิ ใน วชิ า ออกแบบและเทคโนโลยี 2 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทํางานเปนกลมุ คาํ ช้แี จง การมีสวนรว มในการทาํ งาน แบง เปน 4 ระดับ ดังนี้ ระดบั คะแนน 4 หมายถึง สมาชกิ มากกวารอ ยละ 79 มสี วนรว มในการทาํ งานตามบทบาทหนาที่ ระดบั คะแนน 3 หมายถงึ สมาชกิ รอยละ 60 - 79 มีสว นรว มในการทํางานตามบทบาทหนาที่ ระดบั คะแนน 2 หมายถึง สมาชิกรอยละ 40 - 59 มสี ว นรว มในการทํางานตามบทบาทหนา ท่ี ระดบั คะแนน 1 หมายถึง สมาชกิ นอยกวารอยละ 40 มีสว นรวมในการทํางานตามบทบาทหนา ท่ี กลุมท่ี 4 กลุมท่ี 1 32 สถานภาพของผูประเมิน  ตนเอง  เพ่ือน  ครู เกณฑการประเมนิ คะแนน 4 หมายถึง ระดับคุณภาพ ดมี าก คะแนน 3 หมายถงึ ระดับคุณภาพ ดี คะแนน 2 หมายถงึ ระดับคุณภาพ พอใช คะแนน 1 หมายถงึ ระดบั คุณภาพ ปรบั ปรงุ

แบบมาตรประมาณคา การตรวจผลงานการเลอื กวิธกี ารสรางชิน้ งาน คาํ ชี้แจง การเลือกวิธกี ารสรา งชนิ้ งานเพอื่ แกปญหาหรอื สนองความตองการจากสถานการณท่กี ําหนด แบง เปน 4 ระดับ ดงั นี้ ระดบั คะแนน 4 หมายถึง เลอื กวธิ กี ารแกป ญหาหรือสนองความตอ งการสอดคลองกบั ปญหา หรือความตองการ โดยคาํ นงึ ถงึ ทรพั ยากรและขอจํากดั ท่ีมอี ยูอยาง เหมาะสม ระดบั คะแนน 3 หมายถงึ เลือกวิธีการแกปญ หาหรือสนองความตอ งการสอดคลองกบั ปญหาหรอื ความตอ งการได โดยพิจารณาทรพั ยากรแตไ มค าํ นึงถึงขอ จํากัดท่ีมี ระดบั คะแนน 2 หมายถึง เลอื กวิธีการแกป ญ หาหรือสนองความตองการสอดคลองกับปญ หาหรอื ความตอ งการโดยไมไ ดพจิ ารณาทรพั ยากรและขอจํากดั ท่ีมี ระดับคะแนน 1 หมายถึง เลือกวิธีการแกปญหาหรือสนองความตองการไมสอดคลองกับปญหาหรือ ความตองการ สถานภาพของผูประเมนิ  ตนเอง  เพ่อื น  ครู เกณฑการประเมนิ คะแนน 4 หมายถงึ ระดบั คณุ ภาพ ดีมาก คะแนน 3 หมายถงึ ระดับคณุ ภาพ ดี คะแนน 2 หมายถึง ระดบั คุณภาพ พอใช คะแนน 1 หมายถึง ระดับคุณภาพ ปรบั ปรงุ

แบบสังเกตพฤตกิ รรม การใชเ คร่อื งมอื ในการสรางชิน้ งาน ชื่อ-สกุล.............................................................................. เลขที่................ หอ ง ............... คาํ ชแ้ี จง ใหท ําเครือ่ งหมาย ลงใน ทีต่ รงกบั พฤติกรรมผเู รยี นปฏิบัติ ไมปฏิบัติ 1. เลือกเครื่องมือเหมาะสมกับลักษณะและประเภทของงาน 2. ใชเคร่อื งมืออยางถูกวธิ ี 3. ใชเ คร่ืองมือไดอยางปลอดภยั 4. ทําความสะอาดเคร่ืองมือหลงั การใชงาน 5. จดั เก็บเครอ่ื งมือทีถ่ ูกวิธหี ลงั การใชง าน สถานภาพของผูประเมิน ตนเอง  เพือ่ น  พอ แม/ผูปกครอง  ครู เกณฑการประเมนิ แสดงพฤติกรรม 5 ดา น หมายถงึ ดีมาก แสดงพฤตกิ รรม 3-4 ดาน หมายถึง ดี แสดงพฤตกิ รรม 1-2 ดาน หมายถงึ พอใช แสดงพฤติกรรม 0 ดาน หมายถึง ปรับปรุง สรปุ ผลการประเมิน ผาน มพี ฤติกรรม 3-5 ดาน ไมผา น มีพฤติกรรม 0-2 ดาน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook