Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือครูอาชีวะศตวรรษที่ 21

คู่มือครูอาชีวะศตวรรษที่ 21

Published by Prachyanun Nilsook, 2016-07-05 13:03:48

Description: คู่มือครูอาชีวะศตวรรษที่ 21

Keywords: อาชีวศึกษา,ครูอาชีวศึกษา

Search

Read the Text Version

21THE ST CENTURY TEACHER¤ÃÍÙ ÒªÇÕ Ðá˧‹ ȵÇÃÃÉ·èÕ 21 ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒã¹ÈµÇÃÃÉ·èÕ 21 (21ST CENTURY EDUCATION) ¡ÒÃàÃÕ¹ÌÙã¹ÈµÇÃÃÉ·Õè 21 (21ST CENTURY LEARNING)T E ACL H N L ES , M R S ORE EA :)

21THE ¤ÃอÙ ÒªีวÐá˧่ ÈตวÃÃÉท่ี 21 STCENTURYTEACHER สงวนลิขสิทธ์ิ : มกราคม 2558 สงวนลิขสิทธิ์ตามกฎหมาย ห้ามลอกเลยี น ไมว่ ่าจะเปน็ สว่ นหนง่ึ ส่วนใดของเอกสารนี้ นอกจากจะไดร้ บั อนุญาตเปน็ ลายลักษณอ์ ักษรจดั พมิ พแ์ ละเผยแพรเ่ พ่ือประโยชนท์ างการศกึ ษาผู้ออกแบบ : ชลชั กลิ่นแก่นจันทร์ สโรชา ไพรพี า่ ยฤทธิ์บรษิ ทั แม็คเอ็ดดูเคชัน่ จาำ กดัเลขท่ี 9/99 อาคารแมค็ ซอยลาดพรา้ ว 38 ถนนลาดพร้าวแขวงจนั ทรเกษม เขตจตจุ ักร กรงุ เทพฯ 10900โทร 0-2938-2022-7 โทรสาร 0-2938-2028 www.MACeducation.comพิมพท์ ่ี : บรษิ ทั ฐานการพิมพ ์ จำากัด

¡Òû¯ÃÔ »Ù ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒ THEà¾่อ× ¾²ั นÒทั¡ÉÐáË่§ÈตวÃÃÉที่ 21ST CENTURY TEACHER 21 ประเทศไทยมีการปฏิรูปการศึกษาครั้งใหญ่ตั้งแต่ ในชั้นเรียนยังคงมุ่งเน้นการเรียนรู้ท่ีเป็นสภาพจริงปี พ.ศ. 2540 และเรามกี ฎหมายการศึกษาเป็นคร้งั แรก คอื (Authentic Learning) และการประเมินผลที่พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542. เป็นสภาพจริง (Authentic Assessment) และให้ตอ่ มาป ี พ.ศ. 2544 ซงึ่ เปน็ ปที กี่ า้ วสศู่ ตวรรษท ี่ 21 (ค.ศ. 2001) ค ว า ม สำ า คั ญ กั บ ก า ร ส อ บ วั ด ม า ต ร ฐ า น คุ ณ ภ า พ ก า รระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน เรากม็ หี ลกั สตู รใหม ่ คอื หลกั สตู ร ศึกษาในทุกระดับ โดยกำาหนดให้นำาผลการสอบมาใช้การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2544 ทม่ี าแทนทกุ หลกั สตู ร ในการเลื่อนวิทยฐานะของผู้สอน, การประกันคุณภาพที่มีอยู่ตอนน้ัน และถัดมาในปี พ.ศ. 2556-2557 ก็มีการ การศึกษา ได้แก่ การประกันคุณภาพภายใน และพฒั นาหลกั สตู รใหมใ่ นระดบั อาชวี ศกึ ษาทไี่ ดบ้ รรจทุ กั ษะแหง่ การประกนั คณุ ภาพภายนอก.ศตวรรษท่ ี 21 ไว้อยา่ งครบถ้วน ดังน้ัน เพื่อให้ผู้สอนมีแนวทางในการปฏิรูปการเรียนรู้ ผลจากการปฏิรูปการศึกษาในระดับโลก โดยเฉพาะ ท่ีเป็นรูปธรรม บริษัท แม็คเอ็ดดูเคชั่น จำากัด จึงได้จัดทำาทางซีกโลกตะวันตกซึ่งมีประเทศสหรัฐอเมริกาเป็น เอกสาร “ครูอาชวี ะแห่งศตวรรษท ่ี 21” เพอื่ ใชเ้ ป็นแนวทางแกนหลัก คำาว่า “ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21” หรือ “21st ในการจดั การเรยี นรเู้ กีย่ วกบั ศตวรรษที่ 21 ซ่งึ มรี ายละเอยี ดCentury Skills” ได้ก่อให้เกิดผลกระทบอย่างย่งิ ต่อการจัด ดงั นี้การศึกษาทั่วโลก. สิ่งที่ปรากฏอย่างเป็นรูปธรรมคือ การกำาหนดให้เป็นระเบียบวาระแห่งชาติของหลายประเทศ 3ในการปฏิรูปการศึกษา เช่น “การเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21” (21st Century Learning), “การศึกษาในศตวรรษที่ 21” (21st Century Education), “ผู้เรียนในศตวรรษท่ ี 21” (21st Century Learner) ฯลฯ สำาหรบั ประเทศไทยเร่ิมเม่ือปี พ.ศ. 2551 โดยหน่วยงานภาครัฐได้กำาหนดให้มีการปฏิรูปการศึกษาอย่างต่อเน่ือง เรียกว่า การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษท่ีสอง (ปี พ.ศ. 2552-2561). การปฏิรูปครั้งน้ีมีเป้าหมายสำาคัญประการหนึ่งคือ การเพ่ิมสัดส่วนของผู้ที่จะศึกษาต่อสายอาชีพเม่ือสำาเร็จระดับมธั ยมศกึ ษาใหม้ ากยงิ่ ขนึ้ และโดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในหลกั สตู รระดับอาชีวศึกษา เพื่อให้สอดคล้องกับทิศทางการปฏิรูปการศึกษาในระดับโลกท่ีมุ่งเน้นปฏิรูปการเรียนรู้อีกคร้ังโดยเน้นสอนให้น้อยลง แต่ให้ผู้เรียนเรียนรู้มากข้ึน(Teach Less, Learn More). จึงเน้นการจัดการเรียนรู้ควบคู่กับการทำางาน (Work-based Learning) และการเรียนรู้จากการทำาโครงงาน (Project-based Learning) โดยเฉพาะอย่างย่ิงในหลักสูตรระดับอาชีวศึกษาทั้งนี้การออกแบบการเรียนรู้และการวัดผลประเมินผล

THE21STCENTURYTEACHER 1 ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒãนÈตวÃÃÉที่ 21 (21ST CENTURY EDUCATION) ส่วนท่ี 1 STUDENTOUTCOMES ส่วนท่ี 2 SUPPORT SYSTEMS Source : Partnership for 21st Century Skil s. การศึกษาในศตวรรษท ี่ 21 ใหค้ วามสำาคญั 2 ส่วน คอื ส่วนท่ี 1 1.7 ภูมศิ าสตร์ผลการเรียนรู้ของผู้เรียน (Student Outcomes) และส่วนท่ี 2 1.8 ประวัติศาสตร์ระบบสนบั สนุนการจดั การศึกษา (Support Systems) 1.9 การปกครองและสทิ ธิหน้าทพี่ ลเมอื งสว่ นท่ี 1 STUDENT ซึ่งการจัดการเรียนรู้ผ่าน 9 สาระวิชาหลักข้างต้น จะต้องให้ OUTCOMES ผ้เู รียนฝึกฝนจนเกิดผลการเรียนรทู้ ่ีเปน็ สมรรถนะสำาคญั 3 ประการ เรียกว่า ความสามารถ 3Rs หรอื 3 รู้ ผลการเรียนรู้ของผู้เรียน (Student Outcomes) สำาหรับ ซ่ึงเม่ือย้อนกลับไปเม่ือ 200 ปีท่ีแล้ว Sir William Curtis การจดั การศกึ ษาในศตวรรษท่ ี 21 ประกอบดว้ ย 3 สว่ น ได้แก่ ได้เสนอไว้เช่นเดียวกันว่าผู้เรียนที่เรียนรู้ตามหลักสูตรจะต้องเกิด ผลการเรียนรู้ 3Rs เหมือนกัน ได้แก่ 1. การศกึ ษาในศตวรรษท่ี21 ผเู้ รยี นควรไดเ้ รยี นสาระวชิ าหลกั • Reading หมายถงึ อ่านหนังสอื ออก (Core Subjects) ดังนี้ • Writing หมายถงึ เขียนหนังสือได้ 1.1 ภาษาอังกฤษ การอ่าน หรือศลิ ปะการใช้ภาษา • Arithmetic หมายถงึ คิดเลขเปน็ 1.2 ภาษาสากลต่างๆ แต่ 3Rs สำาหรับศตวรรษที่ 21 น้ีความหมายเปลี่ยนไปตาม 1.3 ศลิ ปะ ยุคสมยั ซ่งึ ต่อไปนจี้ ะเขียนว่า 3 ร ู้ ได้แก่ 1.4 คณติ ศาสตร์ 1.5 เศรษฐศาสตร์ รู้ที่หนึ่ง คือ รู้ภาษา (Literacy) ซ่ึงมิใช่แค่อ่านออก 1.6 วทิ ยาศาสตร์ เขียนได้ (Reading & Writing) แต่ต้องอ่านเข้าใจ เขียนรู้เร่ือง คือ เขา้ ใจความหมายของเร่อื งราวต่างๆ และสามารถส่อื สารไปยัง4 ผอู้ ่นื ไดอ้ ย่างถกู ต้องเหมาะสม แบบผทู้ ่ี “รศู้ พั ท์รู้ภาษา”

THE 21ST CENTURY TEACHER รู้ท่ีสอง คือ รู้คณิต (Numeracy) ซึ่งมิใช่แต่คิดเลขเป็น (Arithmetic) แต่ต้องสามารถตีความหมายและเข้าใจความคิดต่างๆ ท่ีส่ือสารออกมาในรูปของคณิตศาสตร์ เช่นเลขคณิต พชี คณติ เรขาคณติ ตรีโกณมิติ ร้ทู ่ีสาม คอื รู้ ICT (Information and Communi- 1) การคดิ แบบมวี ิจารณญาณ (Critical Thinking)cations Technology Literacy) คือเข้าใจและสามารถใช้ พฤตกิ รรมบง่ ช้ีเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร อันเปน็ ทักษะจ�ำ เป็นอย่างยิ่ง • รู้จักใช้เหตุผลในการทำ�ความเข้าใจเรื่องราวในโลกปจั จบุ ัน ต่างๆ 2. ผลการเรียนรู้ด้านคุณลักษณะ นอกจากน้ียังมีคุณลักษณะ • ตดั สนิ ใจโดยใชท้ างเลอื กทห่ี ลากหลายหรืออาจจะเรียกว่าเป็นแนวคิดหลักในศตวรรษที่ 21 นี้ (21st • มองเหน็ ความเชอ่ื มโยงของสง่ิ ต่างๆCentury Themes) ทค่ี วรเกิดขนึ้ ในตวั ผเู้ รยี นอกี ชดุ หนง่ึ ได้แก่ • วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลเพื่อนำ�ไปใช้ใน 2.1 ความตระหนกั เก่ยี วกบั โลก (Global Awareness) คือ การแก้ปัญหาหรอื ตอบคำ�ถามการคิดเช่ือมโยงตนเองกับส่ิงต่างๆ รอบตัวบนโลกใบนี้ว่ามีความ 2) การสือ่ สาร (Communication)สมั พนั ธ์กนั มไิ ด้แยกจากกัน การกระท�ำ ใดๆ กต็ ามไม่วา่ เรอื่ งเลก็ พฤตกิ รรมบง่ ชี้เร่ืองน้อย หรือเร่ืองใหญ่ๆ ต่างก็เกิดผลกระทบต่อความเป็นไป • พูดและเขียนแสดงความคิดเห็นได้อยา่ งชัดเจนในโลก • ใช้ ICT และจิตวิทยาเพื่อให้การสื่อสารบรรลุ 2.2 ความเข้าใจและปฏิบัติเป็นในด้านการเงิน เศรษฐกิจ เปา้ หมายธุรกิจ และการเป็นผู้ประกอบการ (Financial, Economic, 3) การทำ�งานรว่ มกัน (Colaboration)Business and Entrepreneurial Literacy) จนสามารถนำ�มา พฤตกิ รรมบง่ ช้ีประยกุ ตใ์ ช้ในการดำ�รงชวี ิตได้ • ทำ�งานร่วมกบั ผู้อน่ื ได้ 2.3 ความเข้าใจและปฏิบัติตนเป็นพลเมืองที่ดี (Civic • ปรับตัวได้ดีและตั้งใจที่จะให้ความร่วมมือในLiteracy) คอื การรจู้ กั ท�ำ หนา้ ทแ่ี ละรบั ผดิ ชอบในฐานะสมาชกิ หนง่ึ การท�ำ งานเพอ่ื ให้บรรลุเป้าหมายของสงั คมทจ่ี ะช่วยกนั ทำ�ให้บ้านเมอื งสงบสุขและเข้มแขง็ 4) การสร้างสรรค์ (Creativity) 2.4 ความเข้าใจและสามารถดำ�เนินชีวิตให้เป็นผ้มู ีสุขภาพดี พฤติกรรมบง่ ช้ี(Health Literacy) หมายถึง การดำ�รงตนให้เป็นผู้มีสุขภาพที่ดี • ใชค้ วามคดิ สร้างสรรคใ์ นการท�ำ งานด้วยตนเอง เช่น การรู้จักรับประทานอาหารท่ีมีประโยชน์ รู้จัก • พัฒนาแนวคดิ ใหมอ่ ยเู่ สมอๆออกกำ�ลงั กาย รู้จกั ป้องกันตนเองใหป้ ลอดภยั • เปดิ รบั มมุ มองท่แี ตกตา่ ง 2.5 ความเข้าใจและปฏิบัติเป็นในด้านส่ิงแวดล้อม 3.2 ทักษะด้านข้อมูลสารสนเทศ ส่ือ และเทคโนโลยี(Environmental Literacy) หมายถึง การมีจิตส�ำ นึกทจี่ ะใหค้ วาม (Information, Media and Technology Skills) ประกอบด้วยร่วมมือและปฏิบัติตนในการดูแลทรัพยากรธรรมชาติและ ความสามารถในการปฏบิ ัตดิ งั นี้ส่งิ แวดลอ้ ม โดยทำ�ให้อยู่ในสภาพทีด่ ี เหมาะสมต่อการดำ�รงชีวติ 1) ความเข้าใจและใช้เป็นในด้านข้อมูลข่าวสารของทกุ คน (Information Literacy) 3. ผลการเรยี นรดู้ า้ นทกั ษะ ผลการเรยี นรทู้ จี่ ะเกดิ ขน้ึ กบั ผเู้ รยี น พฤตกิ รรมบ่งช้ีสำ�หรับศตวรรษที่ 21 ด้านทักษะ ประกอบด้วยกลุ่มทักษะต่างๆ • แสวงหาและเข้าถึงสารสนเทศอย่างเหมาะสม3 กลุม่ ไดแ้ ก่ 1) ทกั ษะดา้ นการเรยี นรู้และนวัตกรรม (Learning สามารถประเมินสารสนเทศและนำ�ไปใช้ได้อย่างถูกต้องและand Innovation Skils) 2) ทักษะดา้ นขอ้ มูลสารสนเทศ สื่อ และ สรา้ งสรรค์เทคโนโลยี (Information, Media and Technology Skils) และ3) ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ (Life and Career Skills) ซ่ึง 5รายละเอียดของแตล่ ะกลมุ่ ทกั ษะขออธิบายเพมิ่ เตมิ ดังน้ี 3.1 ทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม (Learning andInnovation Skills) ประกอบด้วยความสามารถในการปฏิบัติ4 ทักษะ หรือ 4Cs หรืออาจเรียกว่า 4 การ ได้แก่

THE • พัฒนาตนเองเพื่อยกระดับความรู้ความชำ�นาญ เพื่อขยายขอบเขตการเรียนรู้และโอกาสท่ีจะทำ�ให้เกิดความ 21ST เชี่ยวชาญ • แสดงให้เห็นถึงความตั้งใจที่จะมีกระบวนการ CENTURY เรยี นรตู้ อ่ เน่ืองตลอดชีวติ TEACHER 3) ทกั ษะดา้ นสงั คมและทกั ษะขา้ มวฒั นธรรม (Social and Cross-cultural Skils) • มจี รยิ ธรรมในการใชแ้ ละการเขา้ ถึงสารสนเทศ พฤติกรรมบ่งชี้ • สามารถรับสารท่ีแตกต่างกันออกไปตามความ • ทำ�งานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างเหมาะสม มี แตกต่างของแตล่ ะบุคคล คา่ นิยม และความเชอื่ ประสทิ ธิภาพ 2) ความเขา้ ใจและใชเ้ ปน็ ในดา้ นสอ่ื (Media Literacy) • ยกระดับความรู้ความคิดของกลุ่มได้อย่าง พฤตกิ รรมบ่งชี้ เหมาะสม • ผลติ หรอื เลือกสอื่ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม สอดคล้อง • อยรู่ ว่ มกบั วฒั นธรรมทแ่ี ตกตา่ งได้ และสามารถ กับวตั ถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย คณุ ลกั ษณะและหลกั การใชง้ าน ใชค้ วามแตกตา่ งมาช่วยสรา้ งนวตั กรรมและคณุ ภาพของงาน 3) ความเข้าใจและปฏิบัติเป็นในด้านเทคโนโลยี 4) การมีผลงานและความรับผิดชอบ (Productivity สารสนเทศและการสอ่ื สาร (Information and Communications and Accountability) Technology Literacy) พฤตกิ รรมบง่ ช้ี พฤตกิ รรมบ่งชี้ • วางแผนงานอย่างมีคุณภาพสูงโดยมีเป้าหมาย • ใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เครอ่ื งมอื สอื่ สาร หรอื ระบบ เพือ่ สร้างคณุ ภาพของงานภายในเวลาท่ีเหมาะสม เครอื ข่ายอย่างเหมาะสม • มีความรับผิดชอบที่ดีในการทำ�งาน เช่น • ใชเ้ ทคโนโลยเี ปน็ เครอ่ื งมอื ในการคน้ ควา้ จดั เตรยี ม การตรงต่อเวลา การท�ำ งานทีไ่ ด้รบั มอบหมายเสรจ็ ตามกำ�หนด จดั การ ประเมิน และสอื่ สาร 5) ภาวะผนู้ �ำ และหนา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบ (Leadership and • มีจริยธรรมในการใชแ้ ละการเขา้ ถึงสารสนเทศ Responsibility) 3.3 ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ (Life and Career Skills) พฤติกรรมบ่งชี้ ประกอบด้วยความสามารถในการปฏบิ ตั ิดังนี้ • มีมนุษยสัมพันธ์ สามารถโน้มน้าวและช้ีนำ�ให้ 1) ความยืดหยุ่นและความสามารถในการปรับตัว งานบรรลุเปา้ หมาย (Flexibility and Adaptability) • กระตุ้นความสามารถของผู้ร่วมงานให้ทำ�งาน พฤตกิ รรมบ่งช้ี ตามเป้าหมาย • ปรับตัวเข้ากับบทบาทและความรับผิดชอบท่ี • แสดงออกถึงความรับผิดชอบที่มีต่อส่วนรวม แตกตา่ งกนั ได้ มากกว่าส่วนตน • ท�ำ งานภายใตส้ ถานการณท์ ไ่ี มแ่ นน่ อน ตลอดจน การปรับความเรง่ ดว่ นในการท�ำ งานได้ ส่วนท่ี 2 SUPPORT 2) การรเิ รมิ่ และการก�ำ กบั ดแู ลตนเอง (Initiative and SYSTEMs Seft-direction) พฤติกรรมบง่ ชี้ ระบบสนับสนุนการจัดการศึกษา (Support Systems) การท่ี • กำ�หนดเปา้ หมายในการเรยี นรขู้ องตนเองได้ ผู้เรียนจะบรรลุผลการเรียนรู้ดังกล่าวมาทั้งหมดจะต้องอาศัย ระบบสนบั สนุน (Support Systems) 4 ระบบ ซึ่งเปรียบดังวงแหวน6 4 วง ที่รองรบั การจดั การศกึ ษาในศตวรรษที่ 21 ระบบสนบั สนุน ประกอบด้วย A. ด้านมาตรฐานและการประเมินผล (Standards and Assessments) มาตรฐานการเรยี นรูใ้ นศตวรรษที่ 21 ม่งุ เน้นในสง่ิ ตอ่ ไปน้ี

1) เน้นทักษะ ความร ู้ และความเชีย่ วชาญ THE 2) เนน้ การสรา้ งความรใู้ นเชงิ สหวทิ ยาการระหวา่ งวชิ าหลกั 3) เนน้ สร้างความรทู้ ีล่ กึ ซ้งึ 21ST 4) เน้นการยกระดับความสามารถของผู้เรียน ด้วยการใช้ขอ้ มลู จรงิ การใชเ้ คร่อื งมือทีท่ ันสมยั และการนาำ ไปประยกุ ต์ใช้ CENTURY TEACHER กÒร»รÐàมิ¹¼Åã¹ÈตÇรรÉ·èี 21 1) สร้างความสมดุลในการประเมนิ ผล 7 2) การนาำ ผลการประเมนิ มาพัฒนา 3) การใชเ้ ทคโนโลยใี นการวดั ผล 4) การประเมนิ ตามสภาพจรงิ B. ดา้ นหลกั สตู รและวธิ กี ารสอน(CurriculumandInstruction) หลักสูตรและวิธีการสอนในศตวรรษที่ 21 แตกต่างจากยุคศตวรรษท่ี 20 โดยสิ้นเชิง ศตวรรษท่ี 21 มวลประสบการณ์ท่ีหลักสูตรควรจัดให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จะมิใช่การจดจำาเน้ือหาวิชาอีกแล้ว แต่จะเป็นการเรียนรู้และลงมือปฏิบัติ เพื่อให้เกิดความรู้และต่อยอดความรู้นั้นไดด้ ว้ ยตนเอง C. ดา้ นการพฒั นาวชิ าชพี ใหแ้ กผ่ สู้ อนและผบู้ รหิ าร (ProfessionalDevelopment) ในศตวรรษท ่ี21 การพฒั นาวชิ าชพี ใหแ้ กผ่ สู้ อนและผบู้ รหิ ารตอ้ งดำาเนินการอย่างเปน็ ระบบ ดังนี้ 1) พัฒนาผู้สอนให้มีทักษะ ความรู้ ความสามารถเชิงบูรณาการ สามารถทาำ แผนเชงิ ยทุ ธศาสตร์สู่การปฏิบตั ิในชน้ั เรยี น 2) จัดการเรียนการสอน โดยวิธีสอนทห่ี ลากหลาย 3) มีความรู้ความสามารถเชิงลึกในการแก้ปัญหา การมีทักษะการคิดแบบมวี ิจารณญาณ 4) สร้างผู้สอนต้นแบบสำาหรับเป็นตัวอย่างในการพัฒนาวชิ าชพี ผู้สอน 5) สร้างชุมชนการเรียนรู้ระหว่างผู้สอนที่ปฏิบัติในวิชาชีพเดียวกัน (Professional Based Learning) D. ดา้ นสภาพแวดลอ้ มในการเรยี นรู้(LearningEnvironments) สภาพแวดล้อมในการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ควรได้รับการออกแบบโดยใชแ้ นวทางดงั น้ี 1) จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่เหมาะสม โดยการได้รับแรงสนับสนุนจากบุคลากรทุกฝาย เพื่อเกื้อหนุนให้การเรียนการสอนบรรลเุ ปา้ หมาย 2) สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ โดยเช่ือมโยงความรู้หรือแลกเปลย่ี นความรู้กบั ชมุ ชน 3) จัดการเรียนรู้จากบรรยากาศและบริบทที่เป็นโลกแห่งความเปน็ จริง โดยเฉพาะการเรยี นรู้จากโครงงาน 4) สร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้เข้าถึงสื่อเทคโนโลยี เคร่ืองมือและแหล่งเรียนรทู้ มี่ คี ณุ ภาพ

THE21STCENTURYTEACHER 2 ¡ÒÃàÃÂี นÃãÙŒ นÈตวÃÃÉท่ี 21 (21ST CENTURY LEARNING)2.1 การเรียนรูใ้ นศตวรรษท่ี 21 มคี วามแตกต่างจากการเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 20 ตามท่แี สดงไว้ในตารางต่อไปน้ี1. Curriculum (เรียนร้ตู ามหลกั สตู ร) 1. Projects (เรียนรจู้ ากการทาำ โครงงาน)2. Time-slotted (จัดการเรยี นการสอน 2. On-demand (จดั การเรยี นการสอน ตามตารางเรียนตายตัว) ตามความต้องการ)3. One-size-fits-al (แบบเดียวกนั ทัง้ หอ้ ง) 3. Personalized (เหมาะสมรายบคุ คล)20TH CENTURY (ÈตวÃÃÉ ี่ท 20) 21ST CENTURY (ÈตวÃÃÉที่ 21)4. Competitive (แข่งขนั )4. Colaborative (ทำางานรว่ มกนั )5. Classroom (เรียนในห้องเรียน) 5. Global Community (ห้องเรยี น ส่ชู ุมชนโลก)6. Text-based (เรยี นรู้ตามหนังสือเรียน) 6. Web-based (เรียนรูผ้ ่านเครอื ขา่ ย)7. Summative Tests (สอบเพือ่ ตัดสินผล 7. Formative Assessment (ประเมินเป็น การเรียนร)ู้ ระยะเพือ่ ปรับปรงุ การเรียนร้)ู8. Learning for School (เรยี นรู้เพื่อให้ 8. Learning for Life (เรียนรเู้ พอื่ ชีวติ ) จบจากโรงเรยี น) Source : 21st Century Skil s : Learning for Life in Our Times. จากตารางขา้ งต้น การเรยี นรูใ้ นศตวรรษท ี่ 21 เปลยี่ นแปลงไปจาก ศตวรรษท่ี 20 มาก ดังนี้ 1. ศตวรรษท่ี 21 ผู้เรียนจะได้เรียนรู้จากการทำางานโครงงาน ซง่ึ บางครัง้ จะคาดเดาได้ยากวา่ จะค้นพบความรู้ใด อาจเป็นความรใู้ หม่ ทีอ่ าจไม่ได้กาำ หนดไวใ้ นหลกั สูตรก็ได ้ แต่ในศตวรรษท่ี 20 ผเู้ รียนจะได้ เรยี นรู้เน้ือหาสาระครบถ้วนตามทกี่ าำ หนดไวช้ ดั เจนในหลกั สตู รเทา่ นั้น 2. ศตวรรษท ่ี 21 การเรยี นการสอนสามารถกาำ หนดเวลาการเรยี นรู้ ที่ยืดหยุ่นเพ่ือตอบสนองความต้องการของผู้เรียน และเป้าหมาย การเรียนรู้ท่ีปรับเปล่ียนได้ตามความเหมาะสม แต่ในศตวรรษท่ี 20 การเรียนการสอนจะมีการกำาหนดตารางเรียนตารางสอนที่แน่นอน8 ตายตวั

3. ศตวรรษที่ 21 ด้วยความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยี การจัด THEการเรยี นการสอน ผสู้ อนสามารถออกแบบการสอนซง่ึ ประกอบดว้ ยวิธีสอน วิธีวัดผล การใช้สื่อการเรียนให้เหมาะสมกับผู้เรียนราย 21STบุคคล หรือกลุ่มย่อยได้ ซ่ึงจะช่วยทำาให้ผู้เรียนมีโอกาสได้ใช้วิธกี ารเรยี นรู้ทตี่ รงกบั รูปแบบการเรยี นรูข้ องตนเอง แต่ในศตวรรษ CENTURYที่ 20 การจัดการเรียนการสอนมักจะคิดว่าผู้เรียนสามารถ TEACHERเรยี นรูไ้ ดเ้ หมือนกัน ผสู้ อนจึงออกแบบการสอนไวแ้ บบเดียวแล้วนำาไปใชก้ ับผู้เรียนทุกกลมุ่ ในเมื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 แตกต่างอย่างมากจาก 4. ศตวรรษท่ี 21 ผู้เรียนทุกคนต้องมาร่วมแรงร่วมใจกัน ศตวรรษท่ี 20 ดังน้ัน ผู้สอนจึงมีความจำาเป็นต้องเปล่ียนบทบาทในการเรียนรู้ โดยนำาความสามารถหรือความรู้ที่ตนเองมีอยู่มา ดว้ ยเช่นกันช่วยกันทำางานตามบทบาทท่ีได้รับมอบหมายจนประสบผลสาำ เร็จ แต่ในศตวรรษที่ 20 ผู้เรียนมุง่ เน้นการแข่งขันกนั เรียนเพ่อื 2.2 บทบาทของผู้สอนสำาหรับการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ความเปน็ เลศิ มกี ารจดั อนั ดบั ทภี่ ายหลงั การวดั ผล ทาำ ใหผ้ เู้ รยี นขาด 21 (Teach Less, Learn More)ความร่วมมอื เอือ้ เฟอ แบง่ ปนั ซึง่ กันและกัน บทบาทของผสู้ อนควรเปลีย่ นเป็นผูจ้ ดั การเรยี นรู้ คือ สอน 5. ศตวรรษท่ ี 21 ด้วยเทคโนโลยกี ารส่ือสารท่ีทนั สมัย สะดวก หรือถา่ ยทอดความร ู้ ขอ้ มลู ข่าวสารใหน้ ้อยลง (Teach Less) แต่ต่อการเข้าถึง และการใช้งานท่ีไม่จำากัดเวลาและสถานที่ การจัด ให้ผู้เรียนเรียนรู้และปฏิบัติด้วยตนเองในการแสวงหาข้อมูลความรู้ การเรียนรูจ้ ึงไม่ควรจาำ กัดอยแู่ ค่ความรูใ้ นชนั้ เรียน ผู้เรยี นสามารถ ทำากจิ กรรมต่างๆ เพื่อค้นพบองค์ความรูใ้ ห้มากขนึ้ (Learn More) เชื่อมโยงห้องเรียนไปสู่โลกภายนอกได้อย่างไร้ขีดจำากัด แต่ ซึ่งหลายประเทศในกลุ่มอาเซียน เช่น สิงคโปร์ มาเลเซีย ทำามาในศตวรรษที่ 20 สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและการติดต่อสื่อสาร แลว้ 5 ป ี เรม่ิ ปรากฏผลทด่ี แี ละเปน็ คาำ ตอบใหแ้ กว่ งการการศกึ ษาวา่ยังไม่สะดวกรวดเร็ว การเรียนรู้จึงจำากัดอยู่เฉพาะการเรียนรู้ มาถกู ทาง ซงึ่ ผูส้ อนควรปฏิบตั ิดงั น้ีในช้ันเรียนจากผ้สู อนเทา่ นั้น 6. ศตวรรษท ี่21 การเรยี นรขู้ องผเู้ รยี นโดยผเู้ รยี นสามารถเขา้ ไป - จัดเนอื้ หาท่สี ัมพนั ธ์กบั ชีวติ จริงของผู้เรียนสบื คน้ ความรจู้ ากตาำ ราตา่ งๆ หรอื แหลง่ เรยี นรอู้ น่ื ๆ หรอื จากเวบ็ ไซต์ - เชื่อมโยงโลกเข้าสหู่ อ้ งเรียนต่างๆ ได้อย่างกว้างขวาง ซ่ึงผู้สอนต้องจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ - นำาพาผู้เรยี นสโู่ ลกนอกห้องเรียนสบื คน้ เปน็ ประจาำ แตใ่ นศตวรรษท ี่20 เนน้ การเรยี นรจู้ ากหนงั สอื เรยี น - สร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์เพ่ือการเรียนรู้แบบเรียนที่ถูกกำาหนดให้เรียนรู้เฉพาะท่ีมีอยู่ในหนังสือเรียน กับผู้อ่นื ให้มากที่สุดแบบเรียนเท่าน้นั - ใหผ้ เู้ รียนได้เรยี นรูจ้ ากประสบการณ์จรงิ 7. ศตวรรษที่ 21 การทดสอบควรมุ่งให้น้ำาหนักการทดสอบ จากที่กล่าวมาข้างต้น ผู้สอนควรปรับเปลี่ยนโดยระหว่างเรียนให้มากข้ึน เพ่ือจะได้แก้ไขข้อบกพร่องของผู้เรียน นำาการเรียนร้ใู นศตวรรษท่ ี 21 (8 หัวข้อข้างต้น) มาออกแบบตั้งแต่แรก แต่ในศตวรรษที่ 20 การทดสอบมุ่งเน้นการทดสอบ การเรียนรู้ให้เหมาะสม จึงพบว่า การเรียนรู้แบบโครงงาน เพ่ือตัดสินผล ดังน้ัน จึงให้น้ำาหนักกับการวัดผลโดยรวมเม่ือส้ิน (Project-based Learning: PjBL) เป็นวิธีการทน่ี ่าสนใจสุดการเรียนมากกว่าการวัดผลระหว่างเรียน ซึ่งบางครั้งพบว่าผเู้ รยี นถกู ละเลยไมไ่ ดร้ บั การแกไ้ ขขอ้ บกพรอ่ งทางการเรยี นแตเ่ นน่ิ ๆ 9การมาวัดผลเมื่อสิ้นสุดการเรียนจึงไม่มีประโยชน์ในการนำาไปปรบั ปรงุ พฒั นาผเู้ รยี น 8. ศตวรรษท่ี 21 การเรียนรู้มุ่งเน้นให้การเรียนรู้ท่ีโรงเรียนเป็นการเรียนรู้ที่มีความหมายต่อการใช้ชีวิต โดยต้องเช่ือมโยงความรู้น้ันไปใช้ในชีวิตประจำาวัน แต่ในศตวรรษท่ี 20 การเรียนรู้มุ่งเรียนให้สำาเร็จ เพื่อให้ได้ชื่อว่าได้เรียนจนสำาเร็จการศึกษาแล้วเช่น เรียนจบโรงเรียนแล้ว (สำาหรับการศึกษาภาคบังคับ) ทำาให้การเรียนท่ีโรงเรยี นนำาไปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวิตจรงิ ได้น้อย

THE21STCENTURYTEACHER 3 บุคคลสาำ คัญที่สุดทจ่ี ะทำาให้เกิดการเปลย่ี นแปลง ทำาใหเ้ กิดการ เรยี นร้ขู องผู้เรยี นกค็ อื ผู้สอน ถา้ ผสู้ อนยงั สอนดว้ ยวิธีการเดมิ ๆ ต่อ ให้โลกเปลี่ยนแปลงไปขนาดไหน ก็ไม่ทำาให้เด็กเปล่ียนแปลงตาม โลกนไ้ี ปได้มากนกั ข้อเสนอแนะของเพียร์สนั (Pearson, 2012) ซึง่ ได้ทำาการจัดลำาดับการศึกษานานาชาติได้เสนอผู้กำาหนดนโยบาย ทางการศึกษาไวว้ ่า ผู้สอนท่ีดเี ท่าน้ันทจ่ี ะทาำ ใหก้ ารศึกษามีคุณภาพ สงู ได้ ผู้สอนตอ้ งเปลีย่ นเป็นผอู้ อกแบบการเรียนรแู้ ละอาำ นวยความ การจดั การเรยี นรแู้ บบโครงงานเปน็ ฐานมกี ารเรยี กตา่ งกนั ไป เชน่ สะดวกในการเรยี นร ู้ ใหผ้ เู้ รยี นเรยี นรจู้ ากการเรยี นแบบลงมอื ทาำ หรอื การเรยี นรแู้ บบโครงงาน การจดั การเรยี นการสอนแบบโครงงานหรอื ปฏิบัติ แล้วการเรียนรู้ก็จะเกิดจากภายในใจและสมองของตนเอง การเรยี นการสอนแบบโครงการ โดยมคี าำ อธบิ ายทคี่ ลา้ ยคลงึ กนั อาท ิ (วิจารณ ์ พานิช, 2555) การจัดการเรียนการสอนท่ีจะทำาใหผ้ เู้ รยี น สำานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2550) ได้อธิบายการเรียนรู้ ไดล้ งมอื ปฏบิ ตั โิ ดยผสู้ อนเปน็ ผจู้ ดั การเรยี นรแู้ ละอาำ นวยความสะดวก แบบโครงงานวา่ เป็นกระบวนการแสวงหาความรู้ หรือการคน้ คว้า นนั่ คอื การเรยี นรแู้ บบโครงงานเปน็ ฐาน เพอื่ ใหส้ อดคลอ้ งกบั เศรษฐกจิ หาคำาตอบในสิ่งท่ีผู้เรียนอยากรู้หรือสงสัยด้วยวิธีการต่างๆ เป็น ยคุ ดจิ ทิ ลั จงึ จาำ ตอ้ งบรู ณาการใหเ้ ขา้ กบั ทกั ษะในศตวรรษท ี่21 อนั จะ วิธีการเรียนรู้ท่ีผู้เรียนได้เลือกศึกษาตามความสนใจของตนเอง ทาำ ใหบ้ รรลุวัตถปุ ระสงค์ของการศกึ ษาในท่ีสดุ หรอื ของกลมุ่ เปน็ การตดั สนิ ใจรว่ มกนั จนได้ชนิ้ งานทีส่ ามารถนำา ผลการศกึ ษาไปใชไ้ ดใ้ นชวี ิตจรงิ การเรียนรูแ้ บบโครงงานเปน็ ฐานคอื อะไร หมากยาถรงึเร กยี นารรจแู้ ดับกบาโครเรรงยีงนานกเาปรน็สฐอานนท (เ่ีPนroน้ jปecระt-สbบaกseาdรณ Leใ์ aนrกnาinรgป: ฏPjบิBตัL)ิ งานให้แก่ผู้เรียนผ่านประสบการณ์ตรง ได้เรียนรู้วิธีการแก้ปัญหา การคิดสร้างสรรค์ในการทำางาน รู้จักการวางแผนการทำางาน แนวคดิ ในการจดั การเรยี นการสอนในแบบโครงงาน เปน็ แนวทาง ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ สื่อสารและทำางานร่วมกันกับผู้อื่น การเรยี นรตู้ ามแนวปรชั ญากลมุ่ ประสบการณน์ ยิ ม (Experimentalism) ตลอดจนประเมนิ ผลงานและการทาำ งานของตนเองได้ ซึ่งมีจอห์น ดิวอี้ เป็นผู้ที่ริเริ่มและผลักดันในการจัดการเรียนรู้ เนอื่ งจากมเี ทคนคิ การเรยี นรแู้ บบปญั หาเปน็ ฐาน (Problem-based โดยเน้นที่การเรียนรู้จากการกระทำาจริง (Learning by Doing) Learning : PBL) ซง่ึ มกั จะใชต้ วั ยอ่ ภาษาองั กฤษเปน็ PBL เชน่ เดยี วกนั โดยปรัชญาการศึกษาในแนวทางน้ีจะเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จาก กบั การเรยี นรแู้ บบโครงงานเปน็ ฐาน ดงั นน้ั ในการกลา่ วถงึ การเรยี นรู้ การปฏิบัติจริง การได้รับประสบการณ์จริงจะทำาให้การเรียนรู้คง แเพบอ่ื บใโหค้เรกงิดงคานวาเปม็นแตฐากนตจ่าะงใ ชซ้ภงึ่ ไาดษ้ราับอกังากรฤยษอเมปร็นับ เป“พน็ ีเสจาบกีแลอทลว่ั ไ(ปP jB L)” อยกู่ บั ผูเ้ รยี นตลอดไป เป็นสิง่ ท่เี กิดขน้ึ โดยตรงกับผเู้ รียน ไมไ่ ดเ้ กิด จากการบอกเลา่ หรอื รบั ฟงั มาจากผอู้ น่ื แนวทางนกี้ อ่ ใหเ้ กดิ แนวทาง ความแตกตา่ งระหวา่ งการเรยี นรแู้ บบโครงงานกบั การทผ่ี สู้ อนให้ ในการจัดการศึกษาขึ้นอกี 2 กลุ่มคอื กลมุ่ แนวคดิ ทฤษฎีการสร้าง ทาำ โครงงานนน่ั คอื การเรยี นรแู้ บบโครงงานเปน็ การจดั กระบวนการ องค์ความรู้ด้วยตนเองหรือกลุ่มคอนสตัคติวิซ่ึม (Constructivism) เรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำาคัญ กำาหนดข้ันตอนเพ่ือให้ผู้เรียนได้ ซงึ่ มแี นวคดิ วา่ ผเู้ รยี นสามารถสรา้ งองคค์ วามรดู้ ว้ ยตนเอง และกลมุ่ เกดิ การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองและเปน็ หมคู่ ณะ ขณะทกี่ ารใหท้ าำ โครงงาน แนวคดิ ทฤษฎกี ารสรา้ งสรรคด์ ้วยปญั ญาหรอื กลมุ่ คอนสตคั ชน่ั นซิ มึ่ คอื การมอบหมายใหผ้ เู้ รยี นหรอื กลมุ่ ผเู้ รยี นทาำ โครงงานตามรายวชิ าตา่ งๆ (Constructionism) ซ่ึงเป็นกลุ่มท่ีมีแนวคิดว่าผู้เรียนสามารถ ในหลักสูตร มีลักษณะงานเหมือนท่ีเกิดข้ึนในชีวิตจริง และ สร้างสรรค์ส่ิงตา่ งๆ ได้ด้วยตนเอง ดงั นน้ั การเรยี นรู้แบบโครงงาน เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าและลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง เป็นฐานได้รับแนวคิดของปรัชญากลุ่มประสบการณ์นิยม ภายใต้การดูแลและให้คำาปรึกษาของผู้สอน ต้ังแต่การคิดสร้าง (กลุ่มคอนสตัคติวิซ่ึมและกลุ่มคอนสตัคชั่นนิซ่ึม) เป็นฐานใน โครงงาน การวางแผนการดำาเนินการ การออกแบบลงมือปฏิบัติ การอธิบายการจัดการเรียนรู้ และสง่ งานในที่สดุ10

THE 21ST CENTURY TEACHER ประเภทของโครงงานเม่ือแบ่ง มาเขยี นกระบวนการข้นั ตอนการทดลอง และสรุปผลการแก้ ต า ม ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง กิ จ ก ร ร ม ปัญหา ตลอดจนข้อเสนอแนะในลักษณะของการรายงาน ในการทำาโครงงาน สามารถ หรือการวิจยั เชงิ ทดลอง เชน่ โครงงานการทดลองผสมพันธุ์ แบง่ ออกเปน็ ประเภทใหญๆ่ ได้ ข้าวโพดแบบไรด้ นิ โครงงานทดลองจุดไฟในบอ่ บาดาล ฯลฯ 4 ประเภท ได้แก่ โครงงานประเภทสง่ิ ประดษิ ฐเ์ ปน็ การใชค้ วามคดิ สรา้ งสรรค์ 1 ของผเู้ รยี น โดยคาำ แนะนาำ และขอ้ เสนอแนะของผสู้ อนกาำ หนด เป็นส่ิงประดิษฐ์ท่ีต้องการสร้าง มีการออกแบบและพัฒนา โครงงานประเภทสาำ รวจ สง่ิ ประดษิ ฐข์ น้ึ มาเปน็ รปู รา่ ง มกี ารทดสอบและทดลองใชง้ าน (Survey Research Project) สง่ิ ประดษิ ฐจ์ นสามารถใชง้ านได ้ นาำ ไปใชง้ านจรงิ และปรบั ปรงุ แกไ้ ขจนไดส้ ง่ิ ประดษิ ฐท์ สี่ มบรู ณ ์ เขยี นเปน็ รายงานการพฒั นา 2 หรอื การวจิ ยั และพฒั นาเชงิ นวตั กรรมได ้ เชน่ โครงงานหนุ่ ยนต์ แบบแมงมมุ โครงานเครื่องตัดหญ้าใบพัดเส้นลวด ฯลฯ โครงงานประเภททดลอง โครงงานประเภททฤษฎีเป็นโครงงานท่ีจัดทำาข้ึนใน (Experimental Research Project) ลกั ษณะการสรา้ งหลกั การ ทก่ี าำ หนดวธิ กี าร รปู แบบ และขน้ั ตอน ตลอดจนเงอ่ื นไขในการปฏบิ ตั ใิ นเชงิ ทฤษฎ ี แนวคดิ หลกั การ 3 โดยวิเคราะห์สูตร กฎเกณฑ์ ข้อบังคับใหม่ๆ ท่ีไม่เคยเกิด ข้นึ หรอื ประยกุ ต์หลกั การทฤษฎใี หมๆ่ โดยสรา้ งข้ึนมาเป็น โครงงานประเภทสง่ิ ประดิษฐ์ แบบจำาลอง สูตรการคาำ นวณ แผนธรุ กจิ นำาเสนอในรปู ของ(Development Research Project) โครงการ แผนภูม ิ แผนผงั วงจร มลี ักษณะเปน็ นามธรรมท่ี ใชว้ ิธีการคิดขัน้ สงู เปน็ สิ่งใหม่ทป่ี รับประยกุ ต์มาจากแนวคดิ 4 เดิมแล้วอธิบายด้วยวิธีใหม่ๆ เช่น โครงงานคำานวณจุดคุ้ม ทุนของร้านสะดวกซ้ือ โครงงานแบบจำาลองบ้านประหยัด โครงงานประเภททฤษฎี พลงั งาน ฯลฯ (Theoretical Research Project) โครงงานประเภทสำารวจจะเป็นโครงงานในลักษณะท่ีผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันทำาโครงงานโดยการตั้งประเด็นปัญหา ทำาการศึกษาเอกสารข้อมลู ตา่ งๆ กำาหนดหัวข้อทีจ่ ะศกึ ษา สามารถทำางานแบบรายบคุ คลหรอื แบบรว่ มมอื กนั เปน็ กลมุ่ จากนนั้ จดั ทาำ เครอ่ื งมอื ในการสาำ รวจในลักษณะแบบสอบถาม แบบสำารวจ แบบสังเกต แบบสัมภาษณ์ หรืออน่ื ๆ เพอื่ เก็บขอ้ มูลท่ีต้องการศกึ ษา นาำ มาสรปุ เปน็ รายงานหรอื เขียนเป็นการวิจัยที่ได้จากผลการสำารวจ เช่น โครงงานการสำารวจผู้สูงอายุในชมุ ชนรอบโรงเรียน โครงงานศกึ ษาเด็กสายตาส้นั ในโรงเรียน ฯลฯ โครงงานประเภททดลองเป็นการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เร่ิมจากการศึกษาปัญหา ผู้เรียนจัดกลุ่มกันศึกษาปัญหาแล้วนำามากำาหนดเปน็ โครงงาน จัดทำาเคร่ืองมอื เพือ่ ใช้ทำาการทดสอบและทดลองกบั พชื พรรณ สตั ว ์ และสงิ่ ของตา่ งๆ จากนนั้ นาำ ผลทไี่ ดจ้ ากการทดลอง 11

THE 21ST CENTURY TEACHER การบรู ณาการทักษะในศตวรรษท่ี 21 เครอื ขา่ ยองคก์ รความรว่ มมอื เพอ่ื ทกั ษะการเรยี นรใู้ น ศตวรรษท ี่ 21 (Partnership for 21stCentury Skils, 2009) หรอื ช่อื ยอ่ เรียกวา่ เครอื ข่าย P21 ไดพ้ ัฒนาวสิ ัยทศั น์เพื่อ ความสาำ เรจ็ ของผเู้ รยี นภายใตบ้ รบิ ทการสอนความรสู้ าระ วิชาหลัก ผ้เู รยี นจะตอ้ งเกดิ ทักษะทจี่ าำ เป็น เชน่ การคดิ แบบมีวิจารณญาณ การสร้างสรรค์ การส่ือสาร และ การทาำ งานรว่ มกนั กรอบแนวคดิ ขา้ งตน้ จาำ เปน็ ตอ้ งมรี ะบบ สนบั สนนุ การจดั การศกึ ษาทจ่ี าำ เปน็ ไดแ้ ก ่ มาตรฐานและ การประเมินผล หลักสูตรและวิธีการสอน การพัฒนา วิชาชีพให้แก่ผู้สอนและผู้บริหาร และสภาพแวดล้อมใน การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการ เรียนรู้มากข้ึน ประกอบไปด้วยหลักการสำาคัญที่เรียกว่า 3Rs และ 4Cs โดยหลักการของ 3Rs น่นั คือ การรอบรู้ สาระวิชาหลักซ่ึงมีความสำาคัญและจำาเป็นอย่างย่ิงต่อ ความสาำ เรจ็ ของผเู้ รยี น แตจ่ ะตอ้ งใหผ้ เู้ รยี นฝกึ ฝนจนเกดิ ผลการเรียนรู้ท่ีเป็นสมรรถนะสำาคัญ 3 ประการ ได้แก่ ร้ภู าษา รคู้ ณติ และรู ้ ICT การจัดทำามาตรฐานสำาหรับ การเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานในศตวรรษที่ 21 จะบูรณาการร่วมกับ 4Cs น่ันคือ Critical Thinking, Colaboration, Communication, Creativity ซงึ่ หมายถงึ ผลของการเรียนรู้แบบโครงงานจะนำาไปสู่การคิดแบบมี วิจารณญาณ การทำางานร่วมกัน การส่ือสาร และการ สรา้ งสรรค ์ (Soule, 2014) การบูรณาการระหว่างการเรียนรู้แบบโครงงานเป็น ฐานกับทักษะในศตวรรษท่ี 21 เป็นเรื่องท่ีเก่ียวข้องกัน โดยตรง เนอ่ื งจากการทาำ โครงงานจะทาำ ใหผ้ ู้เรียนไดเ้ กิด การคิดวิเคราะห์ สร้างสรรค์ผลงาน และการแก้ปัญหา ตลอดจนทำางานร่วมกัน (ปรีดา แสงวิรุณ, 2555) โดย เฉพาะทางดา้ นการเรยี นการสอนวชิ าชพี ทจี่ ะไดฝ้ กึ ปฏบิ ตั ิ จรงิ ทาำ งานในสภาพจริงควบคไู่ ปกบั การเรยี นร้ใู นสถาน ศกึ ษา (สุวัฒน์ นิยมไทย, 2554) ซึง่ เป็นเทคนคิ วิธกี ารท่ี สอดคลอ้ งและมขี ั้นตอนท่เี หมาะสม12

THE 21ST CENTURY TEACHER การเรียนรูแ้ บบโครงงานเปน็ ฐานกับการศึกษาไทย การจดั การเรยี นรแู้ บบโครงงานเปน็ หนงึ่ ในแนวทางการจดั การเรยี นรทู้ เี่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ ส�ำ คญั เปน็ การจดั การเรยี นรทู้ ส่ี อดคลอ้ งกบัพระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ เนน้ การฝกึ ทกั ษะกระบวนการคดิการฝึกทักษะการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลาย การฝกึ ปฏิบัติจริง และการประยุกตใ์ ชค้ วามรเู้ พอ่ืการป้องกันและแกไ้ ขปัญหา ข้ันตอนการเรียนรู้แบบโครงงานตามแนวทางของสำ�นักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา (2550) ประกอบดว้ ยขน้ั ตอนหลกั 4 ขน้ั ตอนไดแ้ ก่ ขน้ั น�ำ เสนอ ขนั้ วางแผน ขน้ั ปฏบิ ตั ิ และขน้ั ประเมนิ ผล โดยแบง่ กิจกรรมทงั้ ผู้สอนและผู้เรียนทีข่ ั้นตอนยอ่ ยแตกตา่ งกันไป กระบวนการในการจัดทำ�โครงงานมีหลากหลายวิธีการพมิ พนั ธ์ เดชะคุปต์ พเยาว์ ยนิ ดสี ุข และราเชน มศี รี (2557)ได้กล่าวถึงกลยุทธ์แยบยลเสริมสร้างทักษะในศตรวรรษท่ี 21โดยเฉพาะการสง่ เสรมิ ทกั ษะการคดิ ดว้ ยกระบวนการท�ำ โครงงานใน 5 ขั้นตอน ได้แก่ การระบุคำ�ถามโครงงาน การวางแผนทำ�โครงงาน การดำ�เนินการทำ�โครงงาน การวิเคราะห์และสื่อความหมายข้อมูล และการสรุปผลและประเมิน อันเป็นวิธีการที่สอดคลอ้ งกบั การพัฒนาผูเ้ รียนในยุคสมยั ใหม่ ในสว่ นของการสอนแบบโครงงานและการสอนแบบใชก้ ารวจิ ยั เปน็ ฐาน มขี นั้ ตอนในการท�ำ งานทเี่ หมอื นกนั โดยเรมิ่ จากความขอ้ งใจ สงสยั อยากรู้อยากเหน็ น�ำ ไปสู่การก�ำ หนดปัญหาการวิจัย หรอื หวั ขอ้ โครงงานและกำ�หนดวิธีการศึกษา กำ�หนดสมมติฐาน และขอบเขตของการศึกษาเพ่ือลงมือปฏิบัติ การเก็บข้อมูล บันทึกผลการศึกษาทดลอง ท�ำ การประมวลและวเิ คราะห์ขอ้ มลู และสรปุ ผลการวจิ ัยหรอื การศึกษา และอภิปรายผล (ลดั ดา ภเู่ กยี รต,ิ 2552) ทำ�ให้มีการนำ�เอาการสอนแบบใช้การวิจัยเป็นฐานบูรณาการเข้ากับการสอนแบบโครงงาน เพราะในสว่ นของการน�ำ เสนอผลของโครงงานในรูปรายงานก็นิยมเขียนในลักษณะการวิจัยเช่นกัน การเรียนรู้แบบโครงงานจึงเป็นเทคนิคท่ีบูรณาการเข้ากับวิธีสอนแบบต่างๆได้เปน็ อย่างดี 13

THE21STCENTURYTEACHER การเรียนรู้แบบโครงงานกบั การอาชวี ศึกษา การจัดการศึกษาทางด้านอาชีวศึกษานับว่าให้ความสำ�คัญกับการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นอย่างย่ิง โดยกำ�หนดเอาไว้เป็นนโยบายในการจดั การเรยี นการสอนทางดา้ นอาชวี ศกึ ษา โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ เมอื่ มกี ารปรบั ปรงุ หลกั สตู รใหมใ่ นปี พ.ศ.2557 แนวทางในการขบั เคลอื่ นในการพฒั นาหลกั สตู รและการน�ำ หลกั สตู รไปใชข้ องสถานศกึ ษา ถกู ก�ำ หนดใหบ้ รู ณาการในการจดั การเรยี นรเู้ ปน็เรอ่ื งเปน็ ชิน้ งาน จัดเป็นโครงงานในแตล่ ะภาคเรียน (สำ�นกั มาตรฐานการอาชวี ศึกษาและวชิ าชพี , 2557) การจัดการเรยี นรูท้ ใี่ ห้ผเู้ รียนไดล้ งมอื ปฏบิ ัตจิ ริงในลักษณะของการศึกษา สำ�รวจ ค้นคว้า ทดลอง ประดิษฐ์คดิ ค้น โดยผูส้ อนเปน็ ผ้อู �ำ นวยความสะดวกหรอื ใหค้ �ำ แนะน�ำ ท�ำ หน้าท่ีออกแบบกระบวนการเรยี นรู้ กระตุ้น แนะน�ำ ใหค้ ำ�ปรกึ ษาเพ่ือให้โครงงานสำ�เรจ็ ลลุ ว่ งด้วยดี โดยมีขนั้ ตอนในการจดั การเรยี นการสอนแบบโครงงานเปน็ ฐานเปน็ 6 ขน้ั ตอน (ไพฑรู ย์ นนั ตะสคุ นธ์ และวลั ลภา อยทู่ อง, 2557) ไดแ้ ก่ การเตรยี มความพร้อม ผูส้ อนจัดเตรียมขอบเขตของโครงงาน แหลง่ ข้อมลู และ ขนั้ ตอนท่ีค�ำ ถามนำ� โดยระบุในแผนการจดั การเรียนรู้ 1 การกำ�หนดและเลือกหัวข้อ กลุ่มผู้เรียนรว่ มกันกำ�หนดหวั ขอ้ ทจี่ ะท�ำ ขนั้ ตอนท่ีเป็นโครงงาน ศึกษาความเป็นไปได้ของแต่ละหัวข้อเพื่อเลือกโครงงานที่ 2จะจดั ทำ� นำ�เสนอผู้สอนใหค้ วามเห็นชอบ การเขียนเค้าโครงของโครงงาน ผู้เรียนศึกษาขอบเขตโครงงาน ข้นั ตอนที่แหล่งข้อมูล ตลอดจนค้นหาแหล่งข้อมูล แล้วร่วมวางแผนการจัดทำ� 3โครงงาน โดยระบุกิจกรรมในแต่ละขั้นตอน รวมท้ังบทบาทหน้าที่ภาระงานของสมาชิกในกลมุ่ ตลอดจนระยะเวลาในการดำ�เนินงาน ขั้นตอนที่ การปฏิบัติโครงงาน สมาชิกในกลุ่มร่วมดำ�เนินงานตามแผนงาน 4และหน้าทรี่ ับผิดชอบ ด้วยการบูรณาการความรู้ ทกั ษะ แลกเปลีย่ นประสบการณแ์ ละคน้ หาความรใู้ หม่ โดยมผี สู้ อนคอยใหค้ �ำ ปรกึ ษาและ ขน้ั ตอนท่ีหรือร่วมแกป้ ญั หาไปพร้อมกับผูเ้ รยี น 5 การนำ�เสนอผลงาน ผู้เรียนสรุปผลการดำ�เนินงาน จัดทำ�รายงานและน�ำ เสนอผลงานกจิ กรรมของโครงงาน เพ่อื แลกเปลีย่ นเรียนรรู้ ะหว่างกลุ่ม การประเมินผล ผู้สอนประเมินผลโครงงานอย่างต่อเน่ือง ด้วยวิธีการและเครื่องมือท่ี ขนั้ ตอนท่ี หลากหลาย เน้นการประเมนิ ตามสภาพจริง ท้งั ความรู้ กระบวนการ ผลงาน และพฤตกิ รรม 6 ของผ้เู รียน14

THE 21ST CENTURY TEACHER แนวคดิ ในการจัดการเรยี นรู้แบบโครงงานเปน็ ฐานสำ�หรบั ผู้เรยี นอาชวี ศึกษาท่ีเรยี กวา่ วีโปรเจคเบสเลริ ์นนิ่ง (V-Project Based Learning)มี 5 ขั้นตอน (วัชรนิ ทร์ โพธเ์ิ งิน พรจติ ประทมุ สุวรรณ และสันติ หุตะมาน, 2557) ดังนี้ ขนั้ ตอนท่ี1 การเตรียมความพร้อม ผ้สู อนจดั เตรยี มขอบเขตของโครงงาน แหล่งข้อมูล และค�ำ ถามน�ำ โดยสามารถนำ�เสนอ ไดใ้ นหลากหลายรปู แบบ เชน่ text, video clip หรอื online newsขนั้ ตอนท่ี ศกึ ษาความเป็นไปได้ ผู้เรียนศึกษาขอบเขตโครงงาน แหลง่ ข้อมูล ตลอดจนค้นหาแหลง่ ขอ้ มลู จากเว็บไซตต์ า่ งๆ 2 และแลกเปล่ียนข้อมูลกับสมาชิกในกลุ่ม เพ่ือพยายามตอบคำ�ถามนำ�ที่ผู้สอนได้ตั้งไว้ ผ่านเคร่ืองมือติดต่อสื่อสาร แบบไม่ประสานเวลาต่างๆ เช่น group discussion board, wiki หรือเครือ่ งมอื แบบประสานเวลาต่างๆ เชน่ chat, web conference แลว้ ศกึ ษาโครงงานอย่างครา่ วๆ ถึงความเปน็ ไปไดใ้ นการจดั ท�ำ โครงงานขนั้ ตอนที่ การก�ำ หนดหวั ขอ้ ผเู้ รยี นปรกึ ษากนั ภายในกลมุ่ เพอ่ื ก�ำ หนดหวั ขอ้ ทจี่ ะท�ำ โครงงาน เมอื่ ผสู้ อนไดเ้ หน็ ชอบกบั หวั ขอ้ ท่ี 3 กลมุ่ ของตนไดน้ �ำ เสนอแลว้ ผเู้ รยี นในแตล่ ะกลมุ่ วางแผนการจดั ท�ำ โครงงาน โดยระบกุ จิ กรรมในแตล่ ะขน้ั ตอนและตาราง การดำ�เนินการ ตลอดจนกำ�หนดบทบาทหน้าท่ีของสมาชิกในกลุ่มให้ชัดเจนตามความสะดวกของสมาชิกในกลุ่ม จากนน้ั น�ำ เสนอขอ้ สรุปแก่ผูส้ อนอกี คร้ังขน้ั ตอนที่ การดำ�เนินงานสร้างชิ้นงานและทดสอบ สมาชิกในกลุ่มแบ่งงานและภาระความรับผิดชอบของแต่ละคนเพ่ือ 4 สร้างช้นิ งาน โดยใช้ความร้ใู นการจดั ทำ�โครงงาน จากนนั้ แลกเปลี่ยนประสบการณ์และความรใู้ หมก่ บั สมาชกิ ในกลมุ่ ซงึ่ สามารถท�ำ ไดท้ ง้ั แบบประสานเวลาและแบบไมป่ ระสานเวลา ตามความสะดวกของสมาชกิ ในกลมุ่ โดยมผี สู้ อนคอยขั้นตอนท่ี ใหค้ �ำ ปรกึ ษา หลงั จากด�ำ เนนิ การสรา้ งเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแลว้ ตอ้ งมกี ารทดสอบเพอ่ื วดั ประสทิ ธภิ าพของงานทสี่ รา้ งขน้ึ นน้ั 5 การนำ�เสนอผลงาน ผู้เรียนจัดทำ�รายงานและเตรียมการนำ�เสนอที่แสดงให้เห็นถึงผลของกิจกรรมโครงงาน ผลงานและกระบวนการ แล้วนำ�เสนอผ่านเคร่อื งมือออนไลน์ต่างๆ ไมว่ า่ จะเป็น video clip, online text, webpage, blog, facebook เป็นตน้ สถานศกึ ษาทางดา้ นอาชวี ศกึ ษามกี ารจดั การเรยี นรแู้ บบโครงงาน ในวิทยาลัยเทคนิคมาบตาพดุ (2557) จะจดั การเรยี นการสอนโดยเปน็ นโยบาย โดยก�ำ หนดแนวทางเอาไวอ้ ยา่ งชดั เจนใน 3 ขน้ั ตอนหลกั คอื ใช้โครงงานเป็นฐานบูรณาการในทุกรายวิชา โดยมีรูปแบบการขน้ั ตอนการวางแผน ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั งิ าน และขน้ั ตอนการตรวจสอบ เรียนรู้เพ่ือสร้างสรรค์ด้วยปัญญาหรือแนวทางคอนสตัคช่ันนิซึ่ม(สำ�นักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ, 2552) โดยเฉพาะ (Constructionism) พัฒนาหลักสูตรเป็นรายวิชาในทุกอย่างย่ิงในวิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ ชลบุรี ช้ันปีในหมวดวิชาเลือกเสรี ขณะที่วิทยาลัยเทคนิคบ้านค่ายก็ที่กำ�หนดให้การเรียนการสอนเน้นโครงงานและวัดสมรรถนะผู้เรียน กำ�หนดให้ผู้เรียนท่ีจะสำ�เร็จการศึกษาต้องจัดทำ�โครงงานร่วมกับในแบบการศึกษาสเต็ม (จิระ เฉลิมศักด์ิ, 2557) กระบวนการ สถานประกอบการ ทำ�ให้ได้ผลงานที่นำ�ไปใช้ประโยชน์ได้จริงจดั การเรยี นรทู้ ใ่ี ชโ้ ครงงานเปน็ ฐานในวทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาเทคโนโลยี สถานประกอบการพงึ พอใจและวทิ ยาลยั กไ็ ดร้ บั การประเมนิ คณุ ภาพฐานวิทยาศาสตร์ออกแบบไว้ 5 ข้ันตอน ทุกข้ันตอนเชื่อมโยง ตามมาตรฐาน (ปรัชญนันท์ นลิ สุข และปณิตา วรรณพิรุณ, 2556)สัมพันธ์กัน ได้แก่ ขั้นเปิดโลกแนวความคิด ข้ันค้นหาความเป็น แสดงให้เห็นถึงความสำ�คัญของการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นไปได้ ขั้นเลอื กเร่ืองทีโ่ ดนใจ ข้ันสร้างและทดสอบ และขั้นน�ำ เสนอ ฐานท้งั ในระดบั นโยบาย ระดบั สถานศึกษา ระดับผสู้ อนและผเู้ รียนอย่างมอื อาชพี (มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบุรี, 2555) (สำ�นกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา, 2557) 15

THE21STCENTURYTEACHER การสงั เคราะหก์ ารเรียนรแู้ บบโครงงานเป็นฐาน เมื่อได้ศึกษาหลักการและทฤษฎีที่เก่ียวข้องในการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานของ นกั วชิ าการไทยและตา่ งประเทศ เทคนคิ วธิ กี ารสอนของสถาบนั การศกึ ษาไทยในสถาบนั ตา่ งๆ ทง้ั ในระดบั ประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษา อาชวี ศกึ ษา และอดุ มศกึ ษา สามารถน�ำ เอาหลกั การและวธิ กี าร ตา่ งๆ มาสงั เคราะห์เป็นวธิ กี ารจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเปน็ ฐานดังตารางสงั เคราะห์ดงั นี้ ตารางท่ี 1 การสังเคราะห์การเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานขนั้ ตอนการเรียนรู้แบบโครงงานเปน็ ฐาน ำส� ันกงานเลขา ิธการสภาการ ึศกษา (2550) ไพฑูร ์ย นันตะ ุสคน ์ธ และ วัลลภา อยู่ทอง (2557) ัวช ิรนท ์ร โพ ิธเ ิงน พร ิจต ประ ุทม ุสวรรณ และ ัสน ิต ุหตะมาน (2557) พิมพันธ์ เดชะคุป ์ต พเยา ์ว ิยน ีด ุสข และราเชน ีมศรี (2557) มจธ. (2555) สอศ. (2555) Thomas (2000) Intel (2013)การเตรยี มความพรอ้ ม ü ü ü ü üการวางแผน ü ü üการศึกษาความเปน็ ไปได้ ü ü ü ü üการกำ�หนดหวั ข้อ ü ü ü üการด�ำ เนนิ การสรา้ งและทดสอบ ü ü ü ü ü ü ü üการวิเคราะหแ์ ละส่อื ความหมายขอ้ มลู ü üการนำ�เสนอผลงาน ü ü ü ü ü üการประเมินผล ü ü ü ü จากตารางสังเคราะห์ข้ันตอนการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน สขู่ นั้ ตอนการน�ำเสนอผลงาน ขนั้ ตอนการน�ำเสนอผลงานจะเปน็ การ จะเห็นได้ว่า การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานท่ีได้รับการ วเิ คราะหแ์ ละแสดงขอ้ มลู ของโครงงานทไ่ี ดม้ าจากการสรา้ งและทดสอบ ยอมรบั จะมแี นวทางคลา้ ยคลงึ กนั และมขี นั้ ตอนไมม่ ากนกั เมอื่ ศกึ ษา ตลอดจนผลของการท�ำงานและคู่มือโครงงาน ในส่วนสุดท้ายของ ในรายละเอียดก็จะพบว่าในบางขั้นตอนท่ีสังเคราะห์มา สามารถ การเรยี นรกู้ จ็ ะเปน็ ขนั้ ตอนการประเมนิ ผล ซง่ึ ขนั้ ตอนการประเมนิ ผล รวมอยใู่ นประเดน็ และหวั ขอ้ เดยี วกนั เชน่ ในขนั้ ตอนการเตรยี มความ มีตัง้ แต่การประเมนิ กระบวนการจนถงึ การประเมินสรุปผลโครงงาน พรอ้ มกจ็ ะมสี ว่ นของการวางแผนประกอบอยใู่ นนดี้ ว้ ย ขนั้ ตอนการก�ำหนด สามารถประเมนิ ดว้ ยตนเอง กลมุ่ ผทู้ �ำโครงงาน ผสู้ อน หรอื ผเู้ ชยี่ วชาญใน หวั ขอ้ กจ็ ะเปน็ การรว่ มกนั ในการสรุปการศกึ ษาความเปน็ ไปได้ และ โครงงานน้ัน จึงสรุปกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็น ประเดน็ ปญั หาในการท�ำโครงงานพรอ้ มกบั การตงั้ ชอื่ โครงงาน จากนน้ั ฐานประกอบดว้ ย 5 ขนั้ ตอน ไดแ้ ก่ ขั้นตอนการเตรยี มความพร้อม กจ็ ะเรม่ิ ลงมอื ในขนั้ ตอนการด�ำเนนิ การสรา้ งและพฒั นาโครงงานจน ข้นั ตอนการก�ำหนดหวั ขอ้ ข้ันตอนการด�ำเนนิ การสร้างและทดสอบ ส�ำเรจ็ มกี ารทดสอบการท�ำงานของโครงงานจนส�ำเรจ็ พรอ้ มท่ีจะไป ขน้ั ตอนการน�ำเสนอผลงาน และขั้นตอนการประเมนิ ผล16

THE 21ST CENTURY TEACHER บทบาทผสู้ อนและผเู้ รยี นในการเรยี นรแู้ บบโครงงานเปน็ ฐาน ผทู้ จ่ี ะท�ำ ใหก้ ารจดั การเรยี นรแู้ บบโครงงาน ผูท้ ี่จะตอ้ งศึกษาค้นควา้ ลงมอื ปฏบิ ัติ ท�ำ งาน เป็นฐานประสบความสำ�เร็จคือผู้สอนและ รว่ มกนั เปน็ กลมุ่ และสรา้ งผลงานรว่ มกนั อยา่ ง ผู้เรียน บทบาทของทั้งผู้สอนและผู้เรียนจะ สรา้ งสรรค์ บรรลวุ ตั ถปุ ระสงคข์ องการเรียนรู้ ตอ้ งเรยี นรรู้ ว่ มกนั ไป ผสู้ อนเปน็ ผใู้ หค้ �ำ แนะน�ำ อนั สอดคลอ้ งกบั ทักษะในศตวรรษที่ 21 จาก และเสนอแนะแนวทางอันเป็นประโยชน์ใน ผลการสงั เคราะหส์ ามารถก�ำ หนดบทบาทของ การเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน ผู้เรียนเป็น ผ้สู อนและผ้เู รียนไดด้ งั ต่อไปนี้ตารางท่ี 2 บทบาทของผสู้ อนและผูเ้ รยี น ขัน้ ตอนการเรียนรู้ บูรณาการทักษะ บทบาทของผสู้ อน บทบาทของผู้เรียนแบบโครงงานเป็นฐาน ในศตวรรษท่ี 21 ใหค้ �ำ ปรกึ ษาและแนะนำ� ศกึ ษาคน้ คว้า การจดั กลมุ่ ทำ�งานการเตรียมความพรอ้ ม สาระวิชาหลักและสมรรถนะ เหน็ ชอบโครงงาน ระดมความคดิ สทกำ�ั คษัญะดา้3นปการระเกรยีานรรแู้ ละนวตั กรรม ให้ขอ้ เสนอแนะ ศกึ ษาความเป็นไปได้ ตดิ ตามและตรวจสอบ สรุปปัญหา ทักษะด้านข้อมลู สารสนเทศ การด�ำ เนนิ งาน จดั ท�ำ แผนงานโครงงาน รบั ฟังและให้ขอ้ เสนอแนะ นำ�เสนอหวั ขอ้ โครงงาน สทื่อักษแะลดะ้าเนทชคีวโนิตโแลลยะี อาชพี ให้กำ�ลังใจและสนับสนุน การทำ�โครงงาน ลงมอื สรา้ งโครงงานการกำ�หนดหัวข้อ สาระวิชาหลักและสมรรถนะ ประเมินผลงานตามสภาพ ทดสอบการทำ�งานการดำ�เนินการสรา้ ง สทกำ�ั คษญัะดา้3นปการระเกรยีานรรแู้ ละนวตั กรรม จรงิ ของโครงงานและทดสอบ แกป้ ญั หาโครงงานการนำ�เสนอผลงาน ทกั ษะด้านข้อมลู สารสนเทศ น�ำ เสนอผลส�ำ เรจ็ โครงงานการประเมนิ ผล รบั ฟงั ข้อเสนอแนะ สทอื่ักษแะลดะา้ เนทชควีโนติ โแลลยะี อาชพี ปรับปรงุ แกไ้ ขผลงาน สาระวิชาหลักและสมรรถนะ ประเมนิ ผลงานตนเอง ทสก�ำั คษัญะดา้3นปการระเกรยีานรรแู้ ละนวตั กรรม ทักษะดา้ นข้อมลู สารสนเทศ สท่อืักษแะลดะ้าเนทชควีโนติ โแลลยะี อาชีพ สาระวิชาหลักและสมรรถนะ สทก�ำั คษญัะดา้3นปการระเกรยีานรรแู้ ละนวตั กรรม ทกั ษะดา้ นข้อมลู สารสนเทศ สทือ่กั ษแะลดะ้าเนทชคีวโนิตโแลลยะี อาชีพ สาระวิชาหลักและสมรรถนะ สทก�ำั คษญัะดา้3นปการระเกรยีานรรแู้ ละนวตั กรรม สททือ่ักกั ษษแะะลดดะา้า้เนทนชคขีวอ้โนิตมโแูลลลสยะาี อราสชนพี เทศ 17

THE 21ST CENTURY TEACHER การบรู ณาการสเต็มศึกษากับการเรียนรู้แบบโครงงานเปน็ ฐาน การจดั การศกึ ษาในลกั ษณะของสเตม็ ศกึ ษา (STEM Education) เป็นการจัดการศึกษาท่ีเน้นการสอนในทางด้านวิทยาศาสตร์ (Science) เทคโนโลย ี (Technology) วิศวกรรม (Engineering) และคณิตศาสตร ์ (Mathematic) ในประเทศทไี่ ด้รบั การจัดลำาดับ การศึกษาเป็นลำาดับต้นๆ ของโลก จะใช้วิธีการจัดการศึกษา แบบสเตม็ นั่นคือ การบูรณาการการสอน 4 ด้านเขา้ ไปในรายวิชา เปน็ การจดั การศึกษาทเี่ นน้ ให้ผเู้ รยี นได้เรยี นรูอ้ ย่างครอบคลุมท้ัง 4 ด้าน การบูรณาการเรียนร้แู บบโครงงานเปน็ ฐานเขา้ ไปเปน็ เทคนิค วิธีการสอนในการจัดสเต็มศึกษา จึงเป็นวิธีการท่ีเหมาะสมและ สอดคล้องกันอย่างยง่ิ ทาำ ให้มกี ารบรู ณาการรว่ มกัน เปน็ การเรยี นรู้ แบบโครงงานเป็นฐานสเต็ม (STEM Project-based Learning) เพื่อใช้กระบวนการทำาโครงงานมาสนับสนุนการจัดสเต็มศึกษา เนอ่ื งจากเปน็ การเรยี นรทู้ สี่ ง่ เสรมิ ทกั ษะใหก้ บั ผเู้ รยี นไดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ (Capraro and Slough, 2013) ดงั น้นั การจัดการเรียนรูโ้ ดยนำา โครงงานเขา้ มาใหผ้ เู้ รยี นไดม้ ปี ระสบการณจ์ รงิ ไดท้ าำ งานเปน็ ชนิ้ งาน และเกิดทักษะที่ใช้ได้จริงในชีวิตประจำาวัน เป็นการเรียนรู้ในวิถีท่ี สอดคลอ้ งกบั การใชช้ วี ติ จรงิ มากกวา่ การเรยี นจากตาำ ราหรอื หนงั สอื แต่เพียงอยา่ งเดยี ว สิง่ สาำ คญั ที่ต้องระลกึ ถึงเสมอในการเรยี นรู้แบบ โครงงานเปน็ ฐานคือ การทาำ ให้เป็นเรื่องสนุกเสมอ (Patton, 2012) ºทสÃ»Ø การจัดการเรียนการสอนโดยอาศัยโครงงานเป็นฐาน เป็น กระบวนการเรียนรู้ท่ีช่วยพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะที่จะใช้ชีวิต ในศตวรรษท ่ี 21 สามารถนาำ ขนั้ ตอนตา่ งๆ ไปใชใ้ นการจดั การเรยี น การสอน สง่ เสรมิ การเรยี นรทู้ เี่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาำ คญั พฒั นาการเรยี น การสอนในชนั้ เรยี นใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ ผเู้ รยี นรจู้ กั ทจี่ ะแกไ้ ขปญั หา มี วธิ กี ารคดิ แบบมวี จิ ารณญาณ ผเู้ รยี นสามารถนาำ เสนอผลงานอนั เปน็ การสง่ เสรมิ การคดิ สรา้ งสรรค ์ การทาำ งานเปน็ ทมี และเรยี นรรู้ ว่ มกนั ตลอดจนการส่ือสารระหว่างกันโดยอาศัยเทคโนโลยีในยุคดิจิทัล บูรณาการการเรียนรู้อย่างเหมาะสมกับยุคสมัย การเรียนรู้แบบ โครงงานเป็นฐานจึงเป็นอีกหน่ึงกระบวนการเรียนรู้ที่ควรจะ บรู ณาการเขา้ สกู่ ารจดั การเรยี นการสอน เพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ งกบั ทกั ษะ ในศตวรรษที ่ 2118

THE 21ST CENTURY TEACHERºÃóÒน¡Ø ÃÁจิระ เฉลิมศักด์ิ. (2557). การจัดการเรียนรู้แบบãช้โครงงานเป็น°านสำาหรับโครงการวิทยาลัยเทคโนโลยี °านวิทยาศาสตร์ “Project Based Learning”. ชลบุรี : วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐาน วทิ ยาศาสตร์ (ชลบรุ )ี .ปรีดา แสงวริ ณุ . (2555). “การพัฒนาการสอนแบบวิศวกรรมดจิ ติ อลโดยโครงงานเปน็ ฐาน เพ่อื เสริมสรา้ งการคดิ วิเคราะห์และการแกป้ ัญหา” วารสารการอาชีวะและเทคนคิ ศึกษา ปที ่ ี 2 ฉบบั ท ่ี 3 มกราคม-มถิ ุนายน 2555. หนา้ 53-60.ปรชั ญนนั ท ์ นิลสขุ และปณิตา วรรณพิรุณ. (2556). “การปฏบิ ตั ทิ ่เี ปน็ เลศิ ด้านการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี: กรณีศึกษาวิทยาลัยเทคนิคบ้านค่าย” วารสารวิชาการครุศาสตร์อุตสาหกรรมพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ปีท ่ี 4 ฉบบั ท่ ี 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2556. หน้า 148-153.พมิ พนั ธ ์ เดชะคุปต์ พเยาว ์ ยนิ ดสี ขุ และราเชน มศี ร.ี (2557). “กลยทุ ธ์แยบยลเสริมสรา้ งทกั ษะศตวรรษท่ ี 21.” งานมหกรรมทางการศึกษาเพ่ือพั²นาวิชาชีพผู้สอน ครั้งที่ 7. วันท่ี 15-17 ตุลาคม พ.ศ. 2557. (EDUCA 2014) อมิ แพค เมอื งทองธาน.ีไพฑูรย์ นันตะสุคนธ์ และวัลลภา อยู่ทอง. (2557). หลักสูตรการอาชีวศึกษาและการนำาไปãช้. กรุงเทพฯ : หนว่ ยศึกษานเิ ทศก ์ สำานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา.มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. (2555). คู‹มืออบรมพั²นาครูผู้สอนรื่องการจัดการเรียนรู้แบบ ãชโ้ ครงงานเปน็ °านสาำ หรบั โครงการโรงเรยี นเทคโนโลย°ี านวทิ ยาศาสตร.์ กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี.แม็คเอ็ดดูเคชั่น, บริษัท จำากัด. (2557). ครูแห‹งศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : บริษัทแม็คเอ็ดดูเคชั่น จำากัด.ลัดดา ภู่เกียรติ. (2552). การสอนแบบโครงงานและการสอนแบบãช้วิจัยเป็น°าน : งานที่ครูประ¶มทำาได้. กรงุ เทพฯ : สาำ นกั พิมพแ์ ห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.วิจารณ์ พานิช. (2555). วิ¶ีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ãนศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.วทิ ยาลยั เทคนิคมาบตาพุด. (2557). การจัดการเรยี นรโู้ ดยãชโ้ ครงการเปน็ °าน. ระยอง : สำานกั งานคณะกรรมการ การอาชวี ศกึ ษา.วัชรินทร์ โพธิ์เงิน พรจิต ประทุมสุวรรณ และสันติ หุตะมาน. (2557). การจัดการเรียนการสอนแบบ โครงงานเป็น°าน. กรุงเทพฯ : ภาควิชาครุศาสตร์เคร่ืองกล คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัย เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระนครเหนือ.สวุ ฒั น ์ นยิ มไทย. (2554). “การเรยี นการสอนวชิ าชพี แบบผสมผสาน โดยใชโ้ ครงงานเปน็ ฐานในสถานประกอบการ : แนวคิดใหม่ในการจัดการเรียนการสอนวิชาชีพ” วารสารการอาชีวะและเทคนิคศึกษา ปีที่ 1 ฉบับท่ี 2 กรกฎาคม-ธนั วาคม พ.ศ. 2554. หน้า 57-64.สำานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2557). อาชีวะสร้างชาติ. กรุงเทพฯ : กระทรวงศึกษาธิการ. 19

THE21STCENTURYTEACHER สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2550). การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน. กรุงเทพฯ : สำ�นักงานเลขาธิการ สภาการศึกษา. ส�ำ นกั มาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ. (2552). แนวทางการจัดท�ำ โครงการ. กรุงเทพฯ : สำ�นกั งานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา. . (2557). บทสรปุ ส�ำ หรับผ้บู รหิ าร : การขับเคล่อื นงานวชิ าการ ปีการศึกษา 2557. กรงุ เทพฯ : สำ�นักงาน คณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา. Capraro, R.M and Slough, S.W. (2013). “Why PBL? Why STEM? Why Now? An Introduction to STEM Project-based Learning: An Integrated Science, Technology, Engineering, and Mathematics (STEM) Approach.” in STEM Project-Based Learning: An Integrated Science, Technology, Engineering, and Mathematics (STEM) Approach. 2nd edition. Rotterdam, The Netherlands: Sense Publishers. Intel. (2013). Intel® Teach Elements: Project-Based Approaches. Retrieved January 6, 2015, from: https://educate.intel.com/download/K12/elements/pba_html/resources/01_PBL_Action_Plan.pdf Partnership for 21st Century Skils. (2009). Framework for 21st Century Learning. Washington: http://www.p21.org Patton, A.(2012). Work that matters: The teacher’s guide to project-based learning.PaulHamlynFoundation. Pearson. (2012). The Learning Curve: Lessons in Country, Performance in Education. London : Pearson. Available : http://thelearningcurve.pearson.com/the-report. Soule, H . ( 2014). The Power of the 4Cs: The Foundation for Creating a Gold Standard for Project Based Learning (PBL). http://bie.org/blog/the_power_of_the_4cs_the_foundation_for_creating_a_gold_standard_for_projec. Thomas, J.W. (2000). A Review of Research on Project-based Learning. California: The Autodesk Foundation. 35% Aliqupi 50% Nostrud 75% Amet 83% Ipsum 100% Lorem20


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook