Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสารอาชีวะก้าวไกล ปีที่ 1 ฉบับที่ 4

วารสารอาชีวะก้าวไกล ปีที่ 1 ฉบับที่ 4

Published by Prachyanun Nilsook, 2016-07-05 13:21:40

Description: วารสารอาชีวะก้าวไกล ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2558

Keywords: อาชีวศึกษา,การอาชีวศึกษา,วารสาร

Search

Read the Text Version

ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2558 vocational education todayวารสารเพื่อการอาชีวศกึ ษา ผลิตภัณฑ์จาก วอศ.หนองคาย แหลง่ เรยี นร้สู ีเขียว บรู ณาการกินอยู่ สู่สำ�นึกรักทอ้ งถน่ิ นริ ตุ ต์ บตุ รแสนลี ผู้อำ�นวยการวทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาหนองคาย ลูกหมอ้ คนพันธ์ุ R บนั ทกึ จากรุ่นพี่ ทศั นาอาชวี ะกับดกั ความเชอ่ื และค่านยิ มด้านลบ Not nice to know but need to know สเตก็ ไทเลยจดุ เร่ิมต้น ศูนย์บม่ เพาะวสิ าหกจิ เพ่อื การศกึ ษา ที่มีผลต่ออาชีวศกึ ษา ยทุ ธศาสตร์อาชีวศกึ ษากับการพัฒนาชาติ

แม็คเอด็ ดเู คช่ัน ร่วมกบั วทิ ยาลยั ครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ธรุ กจิ บัณฑิตย์ การสัมมนา “อาชวี ศึกษาเชิงสร้างสรรค์และผลติ ภาพ กบั ความทา้ ทายรับ ” วันเสาร์ท่ี 17 ตุลาคม 2558 เวลา 12.30-17.00 น. หอ้ งประชมุ ดร. ไสว สุทธพิ ทิ ักษ์ อนสุ รณ์ ชน้ั 7อาคารเฉลิมพระเกยี รติ รว่ มระดมความคิดเห็นในการพฒั นาการเรียนการสอนอาชีวศกึ ษาทกุ มิติในทศิ ทางเดียวกัน เพือ่ ให้สามารถ ผลติ บคุ ลากรทมี่ คี ณุ ภาพตามมาตรฐานวชิ าชพี และมปี รมิ าณทสี่ อดคลอ้ งกบั ตลาดแรงงาน โดยมจี ดุ มงุ่ หมาย ในการพัฒนาประเทศ ให้พร้อมก้าวสู่ AEC ในทิศทางเดียวกัน ขอเชญิ ผูเ้ ก่ยี วขอ้ งด้านอาชีวศึกษาทง้ั หน่วยงานผู้ผลิตครอู าชีวศึกษา สถานศกึ ษาทผี่ ลิตบุคลากรสู่ตลาด แรงงาน ผูป้ ระกอบการ ตลอดจนบคุ คลทั่วไปท่สี นใจรว่ มงานสมั มนาคร้ังน้ีศ. ดร.สุชชั วี สุวรรณสวสั ดิ์ รศ. ดร.ยงยทุ ธ แฉลม้ วงษ์ ดร.อกนิษฐ์ คลงั แสง รศ. ดร.สิทธชิ ยั แก้วเกือ้ กูล ศ. ดร.ไพฑรู ย์ สนิ ลารัตน์ นายปรัชญา ป่นิ แกว้ ดร.นพดล ปิยะตระภูมิหัวขอ้ บรรยายพิเศษ เสวนา เรอื่ ง อาชวี ศกึ ษาเชิงสร้างสรรค์และผลติ ภาพ กบั ความท้าทายรบั AEC โดย บรรยายพิเศษ “คณุ สมบตั ิอาชวี ศกึ ษาไทย รศ. ดร.ยงยุทธ แฉลม้ วงษ์ ผอ.วิจัยการพัฒนาแรงงาน สถาบนั วจิ ยั เพ่อื การ ในทศวรรษหน้า” พฒั นาประเทศไทย (TDRI) โดย ศ. ดร.สุชชั วี สวุ รรณสวสั ดิ์ อธกิ ารบดีสถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั ดร.อกนษิ ฐ์ คลงั แสง รองเลขาธกิ ารสำ� นกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา และนายกวศิ วกรรมสถานแหง่ ประเทศไทย รศ. ดร.สิทธชิ ยั แก้วเก้ือกลู คณบดีคณะครศุ าสตร์อตุ สาหกรรม ในพระบรมราชปู ถัมภ์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี ศ. ดร.ไพฑรู ย์ สินลารัตน์ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยธุรกจิ บัณฑติ ย์ สรุปและกลา่ วปดิ การประชุม ปรัชญา ปน่ิ แกว้ ผู้ก�ำกบั ภาพยนตร์ นักเขยี นบท และผู้ควบคุมการสรา้ ง ดร.นพดล ปยิ ะตระภูมิ รองผอู้ ำ� นวยการสถาบนั คณุ วุฒิวิชาชีพ (องค์กรมหาชน) สอบถามรายละเอียดเพ่มิ เติม บริษทั แม็คเอ็ดดูเคชั่น จำ� กดั เลขที่ 9/99 อาคารแมค็ ซ.ลาดพร้าว38 ถ.ลาดพรา้ วB วารสารอาชวี ะก้าวไกล แขวงจันทรเกษม เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 หมายเลขตดิ ต่อ: 02-512 0661 #3147

Editor's TALKปที ี่ 1 ฉบับที่ 4ตุลาคม - ธนั วาคม 2558 Managing Editor:  การเปลี่ยนแปลงผู้น�ำในการจัดการศึกษาของประเทศไทยเกิดขึ้นอีกครั้ง การเปล่ียนแปลง คมพชิ ญ์ พนาสุภน รฐั มนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธิการเป็นส่งิ ทีเ่ กดิ ข้นึ เป็นประจ�ำ แมว้ า่ รฐั บาลทกุ ยุคทุกสมัยจะให้ ความสำ� คญั ตอ่ การศกึ ษาเปน็ ลำ� ดบั ตน้ ๆ แตไ่ มเ่ คยมรี ฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ ารคนไหน Executive Advisers:  ที่อยู่ดแู ลการศกึ ษาไดน้ านนัก นับแต่มพี ระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542 เป็นต้นมา เป็นเวลากวา่ 16 ปี มีการเปล่ียนแปลงรฐั มนตรีผรู้ บั ผิดชอบจำ� นวน 17 คน บางคนเป็น 2 คร้งั รศ. ดร.วนิ ัย ดำ�สุวรรณ, อ.ไพฑูรย์ นนั ตะสุคนธ,์ บางคนก็เป็นนายกรัฐมนตรีพร้อมควบต�ำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ถ้าคิดเป็น อ.พีระ พนาสภุ น ค่าเฉลยี่ กค็ อื ไมม่ ีรัฐมนตรคี นไหนอยูค่ รบปีกับตำ� แหนง่ ผู้นำ� กระทรวงทเี่ ป็นรากฐานในการพัฒนา Advisers:  คนของประเทศ จนหาผู้รับผิดชอบในความล้มเหลวของการศึกษาชาติไม่ได้ การเปลี่ยนแปลง สมนกึ วิจติ รบรรจง, วรรณภา ลาภเกนิ , รฐั มนตรเี ปน็ เหตผุ ลทที่ ำ� ใหน้ โยบายทางการศกึ ษาของชาตเิ ปลย่ี นไปเปลย่ี นมา ไมส่ ามารถดำ� เนนิ เชี่ยวชาญ มุสกิ วชั ร์, ชยั วฒั น์ การรื่นศร,ี การไดอ้ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เฉกเชน่ การอาชวี ศกึ ษาทตี่ อ้ งรอผรู้ บั ผดิ ชอบมาชว่ ยแกไ้ ขปญั หาทมี่ อี ยมู่ ากมาย จารุณี สิงห์สจั จะกลุ ,  อภชิ าติ บบุ ผา อาชวี ศกึ ษาจะกา้ วไกลไดก้ ต็ อ้ งการนโยบายทตี่ อ่ เนอื่ งและทศิ ทางทถ่ี กู ตอ้ งเชน่ กนั เปน็ กำ� ลงั ใจให้ Academic Editor:  ชาวอาชีวศกึ ษาท้งั หลายไดม้ ุง่ มนั่ นำ� ความกา้ วหน้ามาสวู่ งการอาชวี ศึกษาต่อไป รศ. ดร.ปรัชญนันท์ นลิ สุข รศ. ดร.ปรัชญนนั ท์ นลิ สขุ Assistant Academic Editor:  อรพิน มหานรี านนท์ CONTENT Art Director:  คีรเทพ อิงคผาติ 2 เร่อื งจากปก 16 ตลาดอาชีวะ Graphic Designer:  สวนพฤกษศาสตร์ วอศ.หนองคาย โดย เวทย์ มสุ ิสวัสด ิ์ ชลัช กลิ่นแก่นจันทร์ บูรณาการกินอยู่ สูส่ ำ� นกึ รกั ท้องถ่ิน 17 ทัศนาอาชวี ะ Coordinator:  โดย กองบรรณาธิการ หทัยภทั ร พงษป์ ระยูร ภาษาเกง่ เด่นเทคโนโลยี Staff Team:  4 ลูกหมอ้ คนพนั ธุ์ R ทวี่ ิทยาลัยเทคโนโลยีอาเซียน วิลาวัลย์ แสนวงศค์ ำ�, ภวู นาถ พันธะพุมมี, กบั ดกั ความเชื่อและค่านยิ มด้านลบ โดย ดร.อารียา สวุ รรณวงษ์ เวทย์ มุสสิ วสั ด์,ิ อนุสรา เลศิ มนี ัย, ทมี่ ตี อ่ อาชีวศึกษา ยุทธศักดิ์ ขนุ ทอง โดย รศ. ดร.ปรชั ญนนั ท์ นลิ สุข 18 ทศั นาอาชีวะ Publisher: บรษิ ัท แม็คเอด็ ดูเคช่นั จำ�กดั เลขท่ี 9/99 อาคารแมค็ ซ.ลาดพรา้ ว 38 ถ.ลาดพรา้ ว 6 เปิดหอ้ งผ้บู รหิ าร สเตก็ ไทเลย จุดเริม่ ต้นศูนยบ์ ม่ เพาะ แขวงจนั ทรเกษม เขตจตจุ ักร กทม. 10900 วสิ าหกจิ เพ่ือการศกึ ษา Tel: 0 2512 0661 ตอ่ 3144 สง่ เสรมิ พรอ้ มเชดิ ชูเกยี รตคิ วามหมายใหม่ โดย รงุ่ โรจน์ ไชยชาต ิ Website: MACeducation.com  สช.ของอดินันท์ ปากบารา                                            โดย วชิ ญะ คุรุพิทักษ ์ 20 อาชีวศกึ ษานานาชาติ Facebook: อาชีวะกา้ วไกล 9 เกา้ อ้ีตัวใหม่ DUAL SYSTEM สไตล์เยอรมนีSpecial Thanks โดย นายยนิ ดี โดย สอท. ณ กรงุ เบอรล์ ิน 22 ปา้ ยหนา้ อาเซยี นสำ�นกั งานคณะกรรมการ สำ�นกั งานคณะกรรมการ สมาคมวิทยาลยั เทคโนโลยี 10 เปดิ ม่านอาชวี ะ การอาชวี ศึกษา การศกึ ษาเอกชน และอาชวี ศกึ ษาเอกชน เยือนแคเ่ พยี งครง้ั ณ วงั เวยี ง ตอนจบ แหง่ ประเทศไทย การวเิ คราะหห์ ลกั สูตรรายวชิ า (จบ) โดย พาฝนั อารีมา โดย อ.ไพฑรู ย์ นันตะสุคนธ ์ 24 ดาวเด่นอาชวี ะ 12 บนั ทกึ จากร่นุ พี่ โดย พแ่ี สนด ี ยุทธศาสตรอ์ าชวี ะกบั การพัฒนาชาติ โดย ถาวร ชลัษเฐยี ร 25 ทดเวลาทา้ ยคาบ 14 แวดวงอาชวี ศึกษา มองครใู หร้ ูถ้ ึงอตั ลกั ษณ์ โดย รศ. ดร.วนิ ยั ด�ำสวุ รรณ โดย กองบรรณาธกิ าร 28 อกั ษรไขว้ ...ได้รางวัล 15 นวตั กรรมอาชวี ะ โดย นายชา่ งนอ้ ย มือขยนั นวัตกรรมมว้ นใบตองงานบายศรี โดย กองบรรณาธกิ าร

เรือ่ งจากปก “สวนพฤกษศาสตร”์ วอศ.หนองคาย แหลง่ เรียนรู้สเี ขยี ว บูรณาการกนิ อยู่ ส่สู ำ�นึกรักท้องถนิ่ เรอ่ื งโดย : กองบรรณาธกิ าร ภาพโดย : เวทย์ มสุ ิสวัสด์,ิ พาฝนั อารีมา “การสอนและอบรมให้เด็กมีจิตสํานึกในการอนุรักษ์พืชพันธุ์น้ันควร ใช้วิธีการปลูกฝังให้เด็กเห็นความงดงาม ความน่าสนใจ และเกิดความ ปิติท่ีจะทําการศึกษาและอนุรักษ์พืชพันธุ์ต่อไป การใช้วิธีการสอนการอบรมท่ีให้เกิดความรู้สึกกลัว ว่าหาก ไม่อนุรักษ์แล้วจะเกิดผลเสียเกิดอันตรายแก่ตนเองจะทําให้เด็ก เกิดความเครียด ซ่ึงจะเป็นผลเสียแก่ประเทศในระยะยาว” พระราชดำ� รัส สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี แรงบันดาลใจจากพระราชด�ำริข้างต้นท�ำให้ “นอกจากการเรียนวิชาชีพตามหลักสูตรปกติแล้ว ท่ีวิทยาลัย“วิทยาลัยอาชีวศึกษาหนองคาย” เข้าร่วมโครงการ อาชีวศึกษาหนองคายยังเพิ่มทักษะการเรียนรู้ในเร่ืองของสวนสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนตามพระราชด�ำริตั้งแต่ พฤกษศาสตร์ ซึ่งวิทยาลัยอาชีวศึกษาหนองคายบูรณาการปี พ.ศ. 2550 นบั แต่น้ันเป็นต้นมา พ้นื ทส่ี ีเขียวภายใน ร่วมกับกิจกรรมการเรียนการสอนทุกรายวิชา เพื่อให้วิทยาลัย ริมถนนมิตรภาพ ต�ำบลหนองกอมเกาะ นักเรียนนักศึกษาได้รู้จักพันธุ์ไม้และส่ิงมีชีวิตต่างๆ ท่ีอยู่คอ่ ยๆ เปลย่ี นเปน็ สีเขียว ปลี ะ 5 ไร่ จนสีเขยี วงอกงาม ในบริเวณวิทยาลัย หรือแม้แต่ที่อยู่ในชุมชนหรือพ้ืนท่ีต่างๆเต็มพืน้ ที่ 42 ไรข่ องวทิ ยาลยั แล้วแต่ทางครูอาจารย์จะเลือกเติมเต็มเข้าไป นักเรียน ส�ำหรับผู้มาเยอื นสถานท่แี ห่งนเี้ ปน็ ครั้งแรก หากไม่ นักศึกษาจะได้รู้จักท้ังชื่อพ้ืนเมือง ช่ือวิทยาศาสตร์ ช่ือวงศ์สังเกตป้ายชื่ออาจเข้าใจว่านี่เป็นสวนสาธารณะเพราะ ประโยชน์หรืออ่ืนๆ ที่เก่ียวข้องกับพันธุ์ไม้ชนิดน้ันๆความสดชื่นจากสเี ขยี วชอุ่มของพชื ไม้นานาพรรณ ทั้ง สวนพฤกษศาสตร์ของโรงเรียนจึงมีส่วนช่วยเติมเต็มให้นักเรียนไมด้ อกไมป้ ระดบั พชื สมนุ ไพร ทถ่ี กู จดั วางตกแตง่ ตดั กบั นกั ศกึ ษาได้เรยี นรูแ้ ละใกลก้ บั ชดิ ธรรมชาติ”อาคารเรยี นเงยี บสงบรม่ รนื่ ดเู ยน็ ตา ซงึ่ หลงั จากดำ� เนนิ หลงั จากทำ� โครงการฯ ความเปลยี่ นแปลงนอกจากดา้ นกายภาพโครงการฯ ติดต่อกนั มาเปน็ ปีท่ี 8 นริ ุตต์ บตุ รแสนลี ของโรงเรยี นแล้ว ด้านพฤติกรรมของเดก็ ก็เปลยี่ นไปผู้อ�ำนวยการวิทยาลัยฯ ท่ียังคงภูมิใจกลับการได้ “เม่ือเด็กเห็นคุณประโยชน์ของพืชก็จะได้รู้ถึงคุณค่าของสานตอ่ โครงการฯ น้ี ส่ิงที่อยู่ใกล้ตัว การได้ใกล้ชิดธรรมชาติท�ำให้นักเรียนนักศึกษา จากท่ีเคยแข็งกร้าวก็อ่อนโยนลง มีความอ่อนน้อมถ่อมตน มรี ะเบยี บวนิ ยั เรยี กวา่ กายออ่ นนอ้ ม วาจาออ่ นหวาน จติ ใจออ่ นโยน2 วารสารอาชวี ะก้าวไกล

น่ีคือบุคลิกของนักศึกษาอาชีวศึกษาหนองคายซึ่งเป็นท่ียอมรับของ พชื พนั ธน์ุ านาชนดิ ท่ี วอศ.หนองคายมอี ะไรบา้ ง เรยี นรู้สถานประกอบการ อันเป็นผลสะท้อนจากท่ีเราน�ำเอาสวนพฤกษศาสตร์ ไดจ้ ากบทเพลง “พรรณไม-้ วอศ.หนองคาย” ทน่ี กั ศกึ ษาโรงเรยี นมาจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน แผนกกราฟิก ปวส.5/1 รนุ่ ท่ี 12 วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษา เรยี นรอู้ ยา่ งย่งั ยืนจากธรรมชาติใกลต้ ัว หนองคายไดแ้ ต่งเอาไว้ \"พืชพันธุ์ท่ีเราให้นักเรียนได้ศึกษามีทั้งท่ีอยู่ในพ้ืนท่ีของวิทยาลัยและท่ีอยู่ในชุมชน รวมทงั้ ทีต่ อ้ งไปคน้ ควา้ จากต�ำราในห้องสมุด การศกึ ษาตรงน้ี “พรรณไมน้ านาอาชีวศกึ ษาหนองคายมีมากมายไมไ่ ดไ้ ปเพม่ิ รายวชิ า แตเ่ พม่ิ เนอ้ื หาในรายวชิ าปกติ แลว้ แตเ่ นอ้ื หาวชิ านน้ั ๆ วาสนาเทียนทองไทรตน้ สงู ใหญ่ประดเู่ ป็นแถววา่ จะเช่อื มโยงกนั อยา่ งไร โดยให้แนวคิดวา่ นำ� เอาส่ิงทอ่ี ยูใ่ กล้ตวั นกั ศึกษามาใช้ประโยชน์ให้มากท่ีสุด เช่น น�ำเอาพืชท้องถิ่นท�ำเป็นน�้ำสมุนไพร พิกลุ งามรวมหมู่เปน็ พุ่มเปน็ แนวค็อกเทลไว้ต้อนรับแขกของทางวทิ ยาลยั เพ่ือใหเ้ ดก็ ได้รถู้ ึงการใช้ประโยชน์ จนั ทรผ์ าเฟือ้ งฟา้ แก้วเข็มเพรศิ แพรว้ พลบั พลงึ งามตาจากธรรมชาตทิ อ่ี ยใู่ กลต้ วั สะทอ้ นใหเ้ หน็ วา่ ธรรมชาตนิ แ่ี หละคอื ตวั ตนทแ่ี ท้ของเขา สง่ิ เหลา่ นจี้ ะไดไ้ มห่ ายไป เพราะทกุ วนั นวี้ ฒั นธรรมและกระแสตา่ งๆ หมากผหู้ มากเมียคลอเคลียลน่ั ทมชวนชมจากสังคมตะวนั ตกมนั หลัง่ ไหลเข้ามาเยอะมากเหลอื เกิน” สะเดาตะแบกเกลียวกลม อาจารย์ชัยชนะ ไชยทองศรี หวั หนา้ แผนกวิชาสามัญสัมพนั ธ์ วิทยาลยั กระทิงข่มชบาด่างสามสีอาชีวศึกษาหนองคาย ผู้มีส่วนส�ำคัญในการด�ำเนินโครงการฯ มาตลอดกล่าวถึงความตระหนักในการรักษาพันธุ์พืชท้องถิ่นว่า หากคนรุ่นใหม่ กาสะลองสวยชว่ ยใหเ้ กิดร่มเงาดีไมส่ นใจ วนั หน่ึงธรรมชาติอนั มคี า่ ของเรากอ็ าจไมใ่ ช่ของเรา ราชพฤกษเ์ สริมสขุ ศรีให้สถาบนั น้อี ยู่สขุ สบาย “มพี นั ธไ์ุ มห้ ลายชนดิ มปี ระโยชนแ์ ละมคี ณุ คา่ โดยเฉพาะพชื สมนุ ไพรไทยยกตัวอย่าง ต้นเปล้าน้อยมีสรรพคุณเป็นยารักษาโรคกระเพาะได้ดีมากๆ หมากแดงแตม้ แตง่ ด้วยชาฮกเกย้ี นแตอ่ ยมู่ าวนั หนงึ่ ชาวญป่ี นุ่ เอาตวั อยา่ งไปสกดั ทำ� เปน็ ยาทงั้ ๆ ทต่ี น้ เปลา้ นอ้ ย โมกบ้านขอ่ ยเคียงจ๋งั สนฉัตรทองหลางลายไมม่ ที ีป่ ระเทศญป่ี ุ่น มีทปี่ ระเทศไทย แต่เขากลบั จดสิทธบิ ตั รเป็นของเขาเชน่ เดยี วกบั กรณขี องขา้ วหอมมะลทิ งั้ ๆ ทเี่ กดิ ขน้ึ ในประเทศไทย แตต่ า่ งชาติ สนมังกรชวนยลจามจรุ ีผลใิ บเอาไปจดสทิ ธิบตั รกลายเปน็ ของตา่ งชาตอิ ย่างน้เี ปน็ ตน้ อินทนิลบกการเวกคณุ นายต่ืนสาย อาจารย์ชัยชนะมองว่านี่คือวิกฤต จึงต้องใช้สวนพฤกษศาสตร์เพื่อปลูกฝังคนรุ่นใหม่ให้เข้ามาสนใจที่จะศึกษาประโยชน์และคุณค่า รักสกั ใหญ่เลบ็ ครฑุ พดุ เฟริ ์นของพันธุ์พืชท้องถ่ิน แล้วรู้จักใช้ประโยชน์จากธรรมชาติใกล้ตัวท่ีเรา ทจ่ี �ำนรรจาพันธ์ุไม้งามตาชนื่ ชมมีอยู่แลว้ โดยวธิ ีการมอบหมายให้นักเรียนดูแลต้นไมค้ นละ 1 ตน้ ธรรมชาติสุดแสนร่ืนรมยร์ ม่ เย็นสขุ ใหท้ กุ ชีวี “การดแู ลตน้ ไม้ 1 ตน้ นนี่ กั เรยี นเขาตอ้ งรดนำ้� พรวนดนิ ใสป่ ยุ๋ ตอ้ งบนั ทกึ ช่วยกันรกั ษาพรรณไม้นานาของเราน้ีขอ้ มลู รายละเอยี ดของทงั้ ใบ ดอก ผล เมลด็ ของตน้ ไมใ้ นแตล่ ะชว่ ง นกั เรยี น ใหอ้ ยคู่ ู่ปฐพเี ปน็ ศักดิ์ศรีของเราตลอดกาล”จะได้เห็นถึงคุณค่า เหน็ ประโยชน์ และความงามของพืชพรรณ” ถึงเวลานี้ความส�ำเร็จของการด�ำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนวิทยาลยั อาชีวศึกษาหนองคายเปน็ ไปตามวัตถุประสงค์ทุกประการ น่นั คือเกดิ จติ สำ� นกึ ในการอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรมพชื และทรพั ยากร มแี หลง่ ขอ้ มลู เรยี นรู้ทเ่ี ปน็ รปู ธรรม มคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรมเปน็ ฐานของวทิ ยาการ อนั จะเสรมิ สรา้ งการเรยี นรบู้ นฐานปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ผลิตภัณฑห์ ลากหลายท่แี ปรรปู จากพชื พรรณในสวนพฤกษศาสตร์ วารสารอาชีวะก้าวไกล 3

ลูกหม้อคนพนั ธ์ุ R กับดักความเชือ่ และค่านยิ มด้านลบ ที่มผี ลตอ่ อาชีวศกึ ษา เรอ่ื งโดย : รศ. ดร.ปรชั ญนันท์ นลิ สุข เวลาท่ีคนเราได้รับข้อมูลท่ีผิดพลาดหรือไม่ ความเชื่อและค่านิยมแง่ลบที่มีต่อ เพยี งพอ แลว้ นำ� ขอ้ มลู นน้ั ไปใชใ้ นการตดั สนิ ใจ อาชีวศึกษาเป็นตัวอย่างที่ดีในเรื่องนี้ สังคม จะทำ� ใหก้ ารตดั สนิ ใจนนั้ ผดิ พลาดคลาดเคลอ่ื น ไทยมักเช่ือและมีมุมมองว่าอาชีวศึกษาคือ ยง่ิ เมอ่ื ไดร้ บั การยนื ยนั ขอ้ มลู หลายๆ อยา่ ง ซำ้� ๆ นักเรียนนักเลงยกพวกตีกัน มีลูกหลานไม่ กนั เขา้ ไปอกี ความเขา้ ใจนน้ั จะกลายเปน็ ความเชอ่ื ควรสง่ ไปเรยี น ทงั้ ทกี่ ารทะเลาะววิ าทนน้ั เปน็ โดยไม่มีการไตร่ตรอง ความเช่ือเม่ือถูก เรื่องของคนบางคนและสถาบันไม่กี่แห่งใน ตอกย�้ำบอ่ ยครัง้ จะท�ำให้ยากตอ่ การถอดถอน กรงุ เทพมหานคร แตท่ ำ� ใหค้ นทเี่ รยี นอาชวี ศกึ ษา ไม่เว้นแม้แต่ความเช่ือผิดๆ ท่ีหากได้รับการ หลายแสนคนและสถานศกึ ษาแปดรอ้ ยกวา่ แหง่ ยอมรับและถือปฏิบัติโดยคนหมู่มากอย่าง ตอ้ งมภี าพลกั ษณแ์ ละถกู ครอบงำ� ดว้ ยความเชอื่ ตอ่ เนอื่ งจากรนุ่ หนงึ่ สรู่ นุ่ หนง่ึ สดุ ทา้ ยจะกลาย นี้มาตลอดหลายสิบปี โดยมีความเช่ือผิดๆ เป็นค่านิยมท่ีเห็นดีเห็นงามและท�ำต่อๆ กัน เร่ืองศักดิ์ศรีและความย่ิงใหญ่ของสถาบัน จนสร้างความเสียหายต่อสังคมในระยะยาว ท่ีนักเรียนอาชีวศึกษาสืบทอดจากรุ่นสู่รุ่น อกี ทงั้ ยงั ยากตอ่ การแกไ้ ข เพราะความเชอ่ื จาก ช่วยตอกย้�ำความเชื่อของสังคมว่าน่ีคือ ผดิ เปน็ ถกู นนั้ กลายเปน็ คา่ นยิ มทย่ี ดึ โยงผกู ตดิ คา่ นยิ มของเดก็ อาชวี ศกึ ษาทนี่ ยิ มความรนุ แรง อยูก่ บั สงั คมนนั้ ๆ ไปเสยี แล้ว และชอบกอ่ การทะเลาะววิ าท นอกจากภาพลกั ษณก์ ารเปน็ นกั เรยี นนกั เลง4 วารสารอาชวี ะก้าวไกล ความเช่ือของสังคมที่ส�ำคัญไม่แพ้กันคือ การมองว่าคนที่เรียนอาชีวศึกษาคือคนที่

เรยี นไมเ่ กง่ เปน็ คนเกเร มปี ญั หา หาทเ่ี รยี น ความเช่ือท่ีมีต่อผสู้ ำ� เรจ็ สายอาชีพวา่ จะยาวนานแค่ไหนก็ต้องแก้ไขไม่ได้ หรือเรียนหนังสืออ่อนจนเรียนตอ่ ไมม่ เี กียรติ ไมโ่ ก้หรู ไม่เป็นที่เชิดหน้า ความเช่ือและค่านิยมด้านลบท่ีมีต่อสายสามญั ไม่ได้ ฯลฯ ความเชื่อเหล่าน้ี ชูตาในสังคมหรือคนในครอบครัว อาชีวศึกษาในสังคมไทยให้ได้ ทั้งหมดคือสิ่งท�ำลายความภูมิใจของนักเรียน ภาพลักษณ์ของผู้ส�ำเร็จการศึกษา ไม่ใช่เพียงประโยชน์ต่อชาวอาชีวศึกษาอาชวี ศกึ ษา เกดิ การดแู คลนกนั ระหวา่ ง ด้านอาชีวศึกษาท่ีไม่มีโอกาสเป็น แต่เป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติผเู้ รยี นมธั ยมศกึ ษากบั ผเู้ รยี นอาชวี ศกึ ษา เจ้าคนนายคน ความเชื่อท่ีผู้ว่าผู้จบ และประชาชนทั้งหลาย ท่ีจะได้คนเรียนเก่งเรียนดีไม่กล้าเลือกเรียน อาชีวศึกษาจะไม่รุ่งเรืองกว่าผู้เรียนจบ ชาวอาชีวศึกษาไปร่วมกันสร้างชาติอาชวี ศกึ ษา เพราะกลวั การดถู กู ผปู้ กครอง ในสายสามญั ไมเ่ จรญิ กา้ วหนา้ ในวชิ าชพีไม่สนับสนุนบุตรหลานให้เรียนใน ทั้งท่ีในความเป็นจริงมีผู้ประสบความสายอาชพี เพราะรสู้ กึ อบั อายและเปน็ เรอื่ ง ส�ำเร็จด้านอาชีวศึกษาจ�ำนวนมากเสยี เกยี รติ แมแ้ ตน่ ักเรียนท่เี รยี นไม่เก่ง มีฐานะร�่ำรวย มีหน้ามีตาในวงสังคมกเ็ ลอื กเรยี นในสายสามญั เพยี งเพอื่ ไมใ่ ห้ เจริญรุ่งเรืองในวิชาชีพและก้าวหน้าในถกู มองวา่ เปน็ เดก็ ไมด่ ี ทง้ั ทก่ี ารเรยี นใน วงการมชี อ่ื เสยี งอยมู่ ากมาย แตส่ ง่ิ เหลา่ น้ีสายสามญั เองคนทเ่ี รยี นออ่ นกไ็ มป่ ระสบ ก็ยังไม่อาจทลายก�ำแพงความเช่ือท่ีมีความส�ำเร็จเช่นกันเม่ือจบการศึกษา ต่อผู้ส�ำเร็จการศึกษาในสายอาชีพท่ีฝังมัธยมปลาย รากลกึ มานานลงได้ ความเชื่อท่ีกลายมาเป็นค่านิยมและบรรทัดฐานทางสังคม การแก้ไขความเชือ่ และคา่ นิยมตอ้ งอาศยั เวลา ต้องมคี วามย่อมแก้ไขได้ยากยิ่ง นานวันเข้ากลับฝังรากลึกมากข้ึนไปอีก ตอ่ เนอ่ื ง ตอ้ งมคี วามเขา้ ใจอยา่ งแทจ้ ริง ต้องอาศยั คนทเ่ี ขา้ ถงึซึ่งการแก้ไขจะต้องอาศัยความจริงเข้าสู้ด้วยการเผยแพร่ ต้องอาศัยความร่วมมือร่วมใจ ต้องร่วมกันให้ความจริงกับและประชาสัมพนั ธ์ความจริงใหม้ ากท่ีสุด สร้างความเข้าใจที่ สังคม ต้องร่วมกันเปลี่ยนแปลงค่านิยมการเรียนในสายถูกต้องให้ผู้คนในวงกว้างให้ได้มากท่ีสุด ไม่เพียงแค่การให้ อาชีวศึกษา ไม่ใช่เพียงการประชาสัมพันธ์ฉาบฉวยในช่วงขอ้ มลู กบั นกั เรยี นในลกั ษณะของการแนะแนวแตเ่ พยี งอยา่ งเดยี ว รับสมัครนักเรียน-นักศึกษา หรือการแนะแนวตามหน้าที่ในแต่จะต้องให้ข้อมูลส�ำคัญและเป็นประโยชน์กับผู้ปกครอง ชว่ งการรบั สมคั รเรยี นตามปกติผู้ท่ีเป็นปัจจัยส�ำคัญในการตัดสินใจของผู้เรียนที่จะเข้าศึกษา ซึ่งจะเน่ินนานเท่าไหร่ก็ต้องท�ำ จะยาวนานแค่ไหนก็ต้องในระดบั อาชวี ศกึ ษา แกไ้ ขความเชอ่ื และคา่ นยิ มดา้ นลบทม่ี ตี อ่ อาชวี ศกึ ษาในสงั คม ความจริงท่ีต้องบอกผู้ปกครองคือผู้จบสายอาชีวศึกษา ไทยให้ได้ ทั้งหมดไม่ใช่เพียงประโยชน์ต่อชาวอาชีวศึกษาทปี่ ระสบความสำ� เรจ็ มเี ปน็ จำ� นวนมากมาย อกี ทง้ั มรี ายไดแ้ ละ แตเ่ ปน็ ประโยชน์ต่อประเทศชาตแิ ละประชาชนทัง้ หลาย ทีจ่ ะฐานะทางเศรษฐกิจไม่ได้ด้อยกว่าใคร ความจริงท่ีผู้จบสาย ได้ชาวอาชีวศึกษาไปร่วมกนั สรา้ งชาต ิ อาชวี ศกึ ษาสามารถเรยี นตอ่ ไดใ้ นระดบั สงู มใี หเ้ หน็ อยมู่ ากมายความจริงเหลา่ นจี้ ะต้องเรง่ สรา้ งเร่งประชาสัมพนั ธ์ รกุ เขา้ ไปในหัวใจของผู้คนท่ีไม่จ�ำเป็นต้องเป็นนักเรียน แต่ต้องเป็นทุกคนท่ีความจริงเหล่าน้ีจะต้องเข้าถึง เพ่ือให้ความเชื่อและคา่ นยิ มดา้ นลบทม่ี ตี อ่ อาชวี ศกึ ษาลดลง มมุ มองเดมิ ๆ ทเ่ี คยมีตอ่ อาชีวศึกษาจึงจะคอ่ ยๆ เปล่ยี นไปในทางท่ดี ีขึ้นได้ วารสารอาชวี ะกา้ วไกล 5

เปิดหอ้ งผูบ้ ริหารสง่ เสรมิ สนับสนนุพรอ้ มเชิดชูเกยี รติความหมาย สช. ของ อดนิ ันท์ ปากบาราเลขาธกิ ารคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศกึ ษาเอกชนเรอ่ื งโดย : วิชญะ ครุ พุ ิทกั ษ์ ภาพโดย : เวทย์ มสุ ิสวสั ด์ิ บคุ ลิกประนปี ระนอม ผ่านการท�ำงานมาหลากหลายและทส่ี ำ� คญั มคี วามเขา้ ใจในพหวุ ฒั นธรรม (Multicultural) เหลา่ น้ีคือคุณสมบัติของ อดินันท์ ปากบารา ผู้ช่วยปลัดกระทรวงศึกษาธิการผู้ก้าวสู่ต�ำแหน่งเลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาเอกชน (สช.) “เปิดห้องผู้บริหาร” ฉบับนี้ได้รับเกียรติจากผู้บริหารคนเก่งมาเปิดห้องและเปิดใจกับการก้าวขึ้นสู่ต�ำแหน่งรวมถึงแนวคิดในการบริหารงานในฐานะผู้ดูแลและก�ำกับภาพรวมของการศึกษาเอกชนทงั้ หมด คุณสมบัติอะไรท่ีท่านเลขาฯ คิดว่าท�ำให้ แตอ่ ยา่ งไรกต็ าม ผมคดิ วา่ งานการศกึ ษาเอกชนมคี วาม ถูกเลอื กมาทำ� หนา้ ท่ใี นต�ำแหนง่ นี้ หลากหลายค่อนข้างกว้าง ผมเองมาอยู่ในต�ำแหน่งนี้ ก็ต้องมีเร่ืองที่ต้องเรียนรู้พร้อมๆ กับท�ำงานไปอีกมาก “(ยม้ิ รบั คำ� ถาม) มคี วามรสู้ กึ วา่ ไดร้ บั ความไวว้ างใจ โดยเฉพาะอย่างย่ิงในเรื่องระเบียบ กฎหมาย และการ จากทางรัฐบาลหรือกระทรวงศึกษาฯ เท่าน้ันเอง ประสานงานกับเอกชน” สว่ นผลงานในอดตี ทเ่ี คยทำ� มาสมยั เปน็ ศกึ ษาธกิ าร จังหวัดท่ีจังหวัดพังงา ตรัง และยะลาก็มีหน้าที่ มิติใหม่ของ สช. หลงั จากนค้ี อื อะไร ดูแลงานการศึกษาเอกชนเปน็ พ้ืนฐานอยู่แล้ว จากนน้ั กไ็ ปเปน็ ผอู้ ำ� นวยการเขตพนื้ ท่ี ไปเปน็ รอง “ผมเคยให้ค�ำจ�ำกัดความของ สช.ใหม่ว่า “ส” คือ เลขาธิการศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดน ส่งเสรมิ สนบั สนนุ เราถอื วา่ สถานศกึ ษาเอกชนมาแบง่ เบา ภาคใตห้ รอื ศนู ยข์ อง อบต. ซง่ึ จะดแู ลงานการศกึ ษา ภาระการจดั การศกึ ษาของภาครฐั เรากเ็ ลยมหี นา้ ทสี่ นบั สนนุ ทง้ั ในและตา่ งประเทศ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ งานการ ทกุ ระดบั ต้องมีหวั ใจบรกิ ารที่จะสง่ เสรมิ เขาอยา่ งจริงจงั ศกึ ษาเอกชนทง้ั สายสามญั และโรงเรยี นสอนศาสนา และ“ช” คือเชิดชูเกียรติเม่ือนักเรียนนักศึกษาหรือครู ก็มีผลงานตรงนั้นอยบู่ ้าง แมจ้ ะไมม่ ากแตพ่ อท่จี ะ อาจารยแ์ ละผ้บู ริหารกระทำ� ความดีตอ่ โรงเรยี น ต่อสังคม จับตอ้ งได้ และผมคิดวา่ งานในส่วนนั้นแหละครับ หรือต่อประเทศชาติ เรามีหน้าที่มองหาความดีเหล่านั้น ทที่ ำ� ให้ได้รับเลอื ก และเชดิ ชเู กยี รตใิ หเ้ ปน็ ทปี่ ระจกั ษต์ อ่ สาธารณชน ผมคดิ วา่ อันนเี้ ป็นแนวทางพืน้ ฐาน”6 วารสารอาชีวะกา้ วไกล

หลังรบั ตำ� แหนง่ ทา่ นคิดว่ามภี าระอะไรท่ีน่าหนักใจบา้ ง ประเดน็ ที่ 6 กค็ อื พหวุ ฒั นธรรมนำ� สนั ตสิ ขุ ประเทศไทยเราประกอบ “ผมรสู้ กึ ภมู ใิ จมากกวา่ หนกั ใจนะ เพราะวา่ มสี ถานศกึ ษาของเอกชน ไปดว้ ยผู้คนหลากหลายเชือ้ ชาติหลายศาสนา การทผี่ คู้ นหลากหลายทว่ั ประเทศเปน็ โรงเรยี นของสามญั อยู่ 4 พนั กวา่ โรงเรยี น โรงเรยี นการ เหล่านม้ี าอยู่รวมกนั ได้อยา่ งมคี วามสุข เดก็ และเยาวชนหรอื นกั เรยี นศึกษาพิเศษกับการศึกษานอกระบบต่างๆ อีกประมาณ 2 พันกว่า นักศึกษาควรมีความเข้าใจในความต่างทางวัฒนธรรมสอดคล้องโรงเรียน ซ่ึงดูแลนักเรียนนักศึกษาทั้งหมด ต้ังแต่ช้ันอนุบาลจนถึง กับการพัฒนาการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ท่ีท่ัวโลกก�ำลังมุ่งในเร่ืองระดับอาชวี ศึกษารวมถึง ปวส.ด้วยประมาณ 3,600,000 คน ไดด้ ูแล พหุวัฒนธรรม ตรงน้ีจะนำ� มาซงึ่ สนั ติภาพและสนั ติสุข ซง่ึ ผมวา่ เปน็คนมากขนาดนี้จึงรู้สึกว่าเป็นงานทนี่ า่ ภาคภมู ิใจ” ประเดน็ ท่สี �ำคญั มาก ประเด็นท่ี 7 สุดท้ายก็คือการเข้าสู่นานาชาติ เด็กไทยของเราจะบรหิ ารมาไดร้ ะยะหนง่ึ แลว้ ทา่ นมแี นวคดิ อะไรใหมๆ่ สำ� หรบั ต้องมีความสามารถในเรื่องของภาษา แน่นอนว่าคนไทยก็ต้องมีหน่วยงานนี้ ความสามารถดา้ นภาษาไทยอยแู่ ลว้ แตภ่ าษาทใ่ี ชใ้ นการทำ� งานควบคู่ “เมอ่ื ไดม้ าดงู านการศกึ ษาเอกชนในขน้ั แรก ผมไดก้ ำ� หนดคณุ ลกั ษณะ ไปด้วยในปัจจุบันคือภาษาอังกฤษและภาษาที่สามอื่นๆ ในข้ันต้นผูเ้ รียนของโรงเรยี นเอกชนออกมาเป็น 7 ประเด็นด้วยกัน อยากให้เดก็ ไทยสามารถใชง้ านในการสือ่ สารได้ ในขน้ั ถัดไปกค็ ือใช้ ประเด็นท่ี 1 อยากจะให้ผู้เรียนมีความแข็งแรงทั้งด้านร่างกาย เปน็ เครื่องมือในการแสวงหาความรู้ได้และจติ ใจ หมายความวา่ กจิ กรรมดา้ นพลศกึ ษา กฬี าและนนั ทนาการในโรงเรยี นจะตอ้ งมีอย่างสมำ�่ เสมอและตอ่ เนื่อง ทง้ั 7 ประเด็นทีท่ ่านได้ให้นโยบายไป ตอนนี้ประเดน็ ไหน ประเดน็ ท่ี 2 กค็ อื เกง่ เกง่ ประการแรกอยากจะใหเ้ ดก็ สช.มคี วามเกง่ น่าจะเปน็ อันดบั แรกทจ่ี ะทำ� เป็นรูปธรรมขน้ึ มา?วชิ าสามัญ เก่งประการที่ 2 คือเกง่ ICT สามารถใช้ ICT ได้อยา่ ง “ทุกประเด็นทำ� ไปพร้อมกนั อยูแ่ ล้วครับ แต่วา่ โรงเรยี นส่วนใหญค่ งเหมาะสมถกู ตอ้ ง คอื เปน็ เครอื่ งมอื ในการแสวงหาความรู้ เกง่ ประการท่ี ม่งุ ประเด็นไปท่ีเก่งวิชาการ แต่อย่าลืมวา่ ในชวี ิตจรงิ คนเราอยู่ร่วมกนั3 คือเกง่ ทักษะชีวติ จะตอ้ งเรียนรูท้ ี่จะป้องกันตวั เองให้ปลอดภยั จาก ไมไ่ ดอ้ าศยั แคเ่ รอ่ื งของวชิ าการอยา่ งเดยี ว ประเดน็ หลกั คอื ทกั ษะชวี ติยาเสพติดหรือภัยสังคมต่างๆ ในขณะเดยี วกนั กม็ คี วามรู้ความเข้าใจ มนษุ ยสมั พนั ธ์ การเขา้ ใจคนอน่ื ในสงั คมพหวุ ฒั นธรรม หรอื การมงุ่ มน่ัในกติกาบ้านเมอื ง เชน่ กฎหมายจราจร เป็นต้น ที่จะไปสู่การเรียนวิชาชีพ อันนี้เป็นเรื่องส�ำคัญซึ่งสามารถเรียนรู้ได้ ประเด็นที่ 3 กค็ ือดี เราอยากเห็นนักเรยี นในโรงเรยี นเอกชนของเรา ตลอดเวลา ไม่ว่าจะในสถาบันการศึกษาหรือสถาบันการศึกษานอกเป็นคนดี ดีประการแรกคอื ดดี ว้ ยการน�ำหลกั ศาสนาไปปฏบิ ัตใิ นชีวิต โรงเรยี นทมี่ แี พร่หลายและทัว่ ถงึ ”ประจำ� วนั ไมว่ า่ จะนบั ถอื ศาสนาอะไรกแ็ ลว้ แต่ ดปี ระการทส่ี อง นำ� เอาค่านิยมหลกั 12 ประการของคนไทยไปปฏิบัตใิ นชีวิตประจ�ำวนั ประเด็นที่ 4 ก็คือมีจิตอาสา อยากเห็นเด็กโรงเรียนเอกชนท�ำกิจกรรมเพื่อคนอื่น รจู้ กั การให้ รจู้ กั การรกั รจู้ ักการชว่ ยเหลอื คนอ่ืนคดิ ถงึ ประโยชนส์ ว่ นรวมเปน็ สำ� คญั กอ่ นทจ่ี ะคดิ ถงึ ประโยชนข์ องตนเองตรงนีแ้ หละเป็นสงิ่ ทชี่ าตบิ ้านเมืองของเราก�ำลังตอ้ งการ ผมคิดว่าผู้ปกครองเลือกโรงเรียนให้ ประเดน็ ที่5 กค็ อื พฒั นาสอู่ าชพี ในวยั เดก็ ตงั้ แตช่ น้ั อนบุ าลถงึ มธั ยม ลูกหลานได้ถูกต้องแล้วนะครับท่ีมาเรียนจะปลกู ฝงั ใหม้ จี ติ ใจรกั การงานผา่ นการชว่ ยงานพอ่ แมห่ รอื กจิ กรรมของ กับการศึกษาเอกชนหรือ สช.ซ่ึงมีเป้าหมายทางโรงเรยี น และตง้ั แตช่ นั้ มธั ยมปลายขนึ้ ไปใหเ้ รยี นรกู้ จิ การงานทส่ี ำ� คญั เดียวกันกับโรงเรียนของรัฐท่ีจะพัฒนาเพือ่ เปน็ พ้ืนฐานสูก่ ารเรียน ปวช. ปวส. หรือปริญญาตรีในสายวิชาชีพสอดคลอ้ งกบั นโยบายของรฐั บาลทต่ี อ้ งการใหม้ ผี เู้ รยี นสายสามญั 50% ความรู้ความสามารถ ทักษะชีวิต ตลอดสายวิชาชีพ 50% เพราะในขณะน้ีเราทราบดีว่า การเรียนวิชาชีพ การสร้างเด็กๆ ให้เป็นคนดีน�ำมาซ่ึงการสร้างอาชีพและสร้างรายได้ในการน�ำมาพัฒนาตนเองครอบครัว ชมุ ชน และประเทศชาติ อาชีพมีหลากหลายจงึ สามารถเลอื กเรียนได้ วารสารอาชีวะกา้ วไกล 7

ประเดน็ ทท่ี า่ นเลขาฯ พดู ดจู ะเพม่ิ ภาระงานใหค้ รู สช.เพมิ่ ขน้ึ หรือ สช.พยายามร่วมมือกับทางต�ำรวจหรือทหารแก้ไขปัญหานี้อยู่ “เราต้องยกคุณภาพของครูใหส้ ูงข้นึ ตามภาระงานไปดว้ ย ในขณะ ซึ่งปัญหาส่วนใหญ่จะอยู่ในกรุงเทพฯ และปริมณฑลเท่าน้ันนี้ทางราชการไดก้ �ำหนดเงนิ เดอื นหรือค่าจ้างไมต่ ำ�่ กวา่ 15,000 บาท ในต่างจังหวัดไม่ค่อยมีปัญหา แต่คิดว่าปัญหานี้แก้ได้ ตอนนี้ก�ำลังต่อคนต่อเดือน ส่วนเรื่องสวัสดิการน้ัน เรามีค่ารักษาพยาบาล สง่ เสรมิ กจิ กรรมเชงิ บวกใหก้ บั นกั ศกึ ษาเหลา่ นอ้ี ยู่ และในขณะเดยี วกนัการศกึ ษาบตุ ร และมกี ารสงเคราะหใ์ นรปู แบบอน่ื ๆ รวมถงึ ชว่ ยพฒั นา กด็ ำ� เนินการอย่างเฉยี บขาดส�ำหรับผูก้ ระท�ำผดิ ”ศักยภาพของครู สช.เองได้ตั้งเป้าในการพัฒนาในหลายๆ รูปแบบยกตัวอย่างเช่น พัฒนาการใช้งานและผลิตสื่อ ICT ของครู ต้ังเป้า กับแนวคิดดึงอาชีวะเอกชนเข้าร่วมกับสอศ.ท่านเลขาฯไว้ 10,000 คนท่ัวประเทศ ตอนนม้ี ีการจัดอบรมอยู่ นอกจากน้ันการ มองเรอื่ งนอี้ ยา่ งไรฝึกอบรมเร่ืองของวิธีสอนหรือวิชาการด้านอื่นๆ ที่จะไปขอร่วมกับ “ทาง สอศ.กับทางสมาคมวิทยาลัยเทคโนโลยีอาชีวศึกษาเอกชนทาง สพฐ.ซ่ึงมีระบบการฝกึ อบรมครูท่ัวประเทศในลักษณะออนไลน์ และ สช.ได้หารือกันแล้ว ความเห็นส่วนใหญ่คืออยากจะไปรวมกับ ซงึ่ จรงิ ๆ การอบรมกบั ทาง สพฐ.มมี านานแลว้ แตก่ ำ� ลงั ขยายใหแ้ พร่ สอศ. ซึ่งทาง สอศ. เองก็ไม่ขัดขอ้ งเพยี งแตว่ า่ เราจะจดั ระบบอยา่ งไรหลายมากข้นึ จะมที ัง้ ของผู้บรหิ ารและครูโดยมี 2 ประเภท ประเภท ให้สอดคล้อง เพราะวิทยาลัยเอกชนมีระบบยืดหยุ่นต่างกับแรกคอื อบรมความรโู้ ดยไมต่ อ้ งการประกาศนยี บตั รหรอื ใบรบั รอง คอื วิทยาลัยอาชีวะของภาครัฐ แต่ถ้าพูดถึงการท�ำงานที่เป็นเอกภาพใครอยากจะเรยี นอะไรกค็ ลกิ เข้าไปเรยี นดว้ ยตนเองไดเ้ ลย ประเภทที่ แล้วผมคดิ ว่าดีครับ”2 มีการลงทะเบียนอบรมความร้แู ละสอบ หากวา่ ทดสอบแลว้ ผ่านจะสามารถท่จี ะพิมพใ์ บประกาศออกมาได้ ผมคดิ วา่ ในอนาคตเราจะใช้ อยากใหท้ า่ นเลขาฯ ฝากถงึ ผปู้ กครองหรอื นกั เรยี นสงั กดัฐานความรูอ้ ันนต้ี อ่ ยอดในการพัฒนาคร”ู ทอ่ี ยู่ในสงั กัดของ สช.อนั นเ้ี กยี่ วกบั เรอื่ งวทิ ยฐานะครเู อกชนทคี่ รง้ั หนง่ึ ทา่ นเลขาฯ “ผมคิดว่าผู้ปกครองเลือกโรงเรียนให้ลูกหลานได้ถูกต้องแล้วนะ ครับท่ีมาเรียนกับการศึกษาเอกชนหรือ สช. ซึ่งมีเป้าหมายเดียวกันเคยกล่าวไว ้ กับโรงเรียนของรัฐที่จะพัฒนาความรู้ความสามารถ ทักษะชีวิต “อนั นเ้ี ปน็ แนวคดิ ครบั ผมไดต้ ง้ั ทมี งานขนึ้ มา คดิ วา่ ครโู รงเรยี นเอกชน ตลอดจนการสร้างเด็กๆ ให้เป็นคนดี เร่ืองเหล่านี้โรงเรียนในสังกัดทมี่ คี วามรู้ มที กั ษะประสบการณส์ งู ๆ ซงึ่ กเ็ ปน็ ทย่ี อมรบั ของสงั คมควร สช. มคี วามเพยี บพร้อมอยแู่ ล้วที่จะได้มีวิทยฐานะ ซ่ึงขณะนี้เราดูแล้วก็มีความเป็นไปได้แต่ยังต้อง ส�ำหรับนักเรียนก็ขอฝากว่าจงมีความต้ังใจศึกษาเล่าเรียนและหารอื กบั หลายๆ ฝา่ ย ผมคดิ วา่ อนั นนี้ า่ จะเปน็ ประโยชนเ์ ปน็ ขวญั กำ� ลงั เช่ือฟังพอ่ แมค่ รบู าอาจารยเ์ ป็นพืน้ ฐาน สว่ นเรอื่ งวชิ าการ วิทยาการใจให้กับครูหากว่าไม่เป็นภาระด้านงบประมาณมากนัก วิทยฐานะก็ และเทคโนโลยีตา่ งๆ เปน็ หน้าท่ีของ สช.ครบั เช่น Smart Classroomอาจจะมาในรูปค่าตอบแทนในความเหน่ือยยากและความสามารถ ตอนน้ีมกี ารสง่ เสริมเขา้ ไปในทุกโรงเรยี นแลว้ ” ทโ่ี ดดเดน่ แล้วแตก่ รณไี ป”กบั เรอื่ งทต่ี อนนอี้ าชวี ะเอกชนมบี ทบาทมากขน้ึ ทา่ นเลขาฯมีความคิดเห็นอยา่ งไร “อาชวี ะเอกชนมบี ทบาทสงู มากในการผลติ บคุ ลากรทตี่ รงกบั ตลาดแรงงาน เพราะวา่ ปรับตัวไดง้ ่าย ยกตวั อยา่ งเชน่ ประเทศไต้หวันท่ีได้มาเปิดหลักสูตรของตัวเองก็ประสบความส�ำเร็จและสอดคล้องกับบรษิ ัทอุตสาหกรรมทนี่ ัน่ อย่างไรก็ตามปญั หาของการศึกษาอาชวี ะเอกชนก็คงจะเหมือนกบัโรงเรยี นอาชวี ะของภาครฐั ในประเดน็ เรอื่ งการทะเลาะววิ าท ทำ� ใหเ้ กดิภาพลกั ษณท์ ไี่ มด่ ี อนั นก้ี ข็ อเรยี นวา่ เปน็ เพยี งสว่ นนอ้ ยนะครบั ทางราชการ8 วารสารอาชวี ะกา้ วไกล

ตเชลา่อขวอาอฯาายชกรุ ีวอาะชเศฮก. าร เกา้ อ้ตี วั ใหม่ดร.ชยั พฤกษ์ เสรีรกั ษ์ เร่ืองโดย : นายยินดี เมอ่ื ทำ� งานไดร้ าบรน่ื เขา้ ตารฐั บาล \"เกา้ อต้ี วั ใหม\"่ อีกหน่ึงเรื่องน่ายินดีประจ�ำเดือนนี้ คือ การพิจารณาคัดเลือกจึงขอแสดงความยินดี เม่ือมติคณะรัฐมนตรีเมื่อ ผู้ได้รับรางวัลในระดับ“ครูขวัญศิษย์” ประจ�ำปี 2558 มูลนิธิรางวัลวันท่ี 8 กนั ยายน 2558 ให้ ดร.ชัยพฤกษ์ เสรีรกั ษ์ สมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรี ซึ่งเป็นผู้มีผลงานและความสามารถเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ประจักษ์ชัด มีคุณธรรม สอนศิษย์ด้วยจิตเปี่ยมเมตตา น�ำทางชีวิตด�ำรงต�ำแหน่งเลขาธิการ กอศ. ต่ออีก 1 ปี สร้างคณุ คา่ สู่สังคมหลังด�ำรงต�ำแหน่งครบ 1 วาระหรือ 4 ปีแล้วเพื่อให้การท�ำงานอาชีวศึกษาที่ด�ำเนินการอยู่ท้ัง นางวภิ าพรรณ ชทู รัพย์ นางเบญจวรรณ บุ้งทองการผลติ และพฒั นากำ� ลงั คน การจดั การศกึ ษาระบบทวิภาคเี ดนิ หน้าไปอยา่ งตอ่ เนื่อง ซง่ึ จากรายชอ่ื ครดู ี ผเู้ ขา้ รบั รางวลั ทง้ั 144 ทา่ น มรี ายชอื่ ครูขวญั ศษิ ยแ์ ลว้ พบครูอาชีวศึกษาของเรา 6 ท่าน ดร.ชยั พฤกษ์ เสรรี ักษ์ 1. นางวิภาพรรณ ชูทรัพย์ อายุ 73 ปี เสนอชื่อโดย สถานศึกษา ข้ันพื้นฐาน ปัจจุบันเป็นประธานคณะกรรมการบริหารสถาบันในเครือ ต้ังตรงจิตรวิทยาลัย เทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพาณิชยการ เขตพระนคร กรงุ เทพมหานคร 2. นายบุญเร่ิม บุญนิธิ อายุ 59 ปี เสนอชื่อโดย สถานศึกษา ขัน้ พนื้ ฐาน ปจั จุบันเป็นครเู ชยี่ วชาญ สอนในระดับอาชวี ศกึ ษา วิชาการ ผลิตโคและเลี้ยงโค วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนครราชสีมา อ.สีค้วิ จ.นครราชสมี า 3. นางณัติฐา เพ็ชรแก้ว อายุ 55 ปี เสนอชื่อโดย สถานศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน ปัจจุบันเป็นครูช�ำนาญการพิเศษ สอนในระดับอาชีวศึกษา วิชาคหกรรมศาสตร์ วิทยาลัยอาชีวศึกษานครศรีธรรมราช อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช 4. นางอัญชลี อินอ่อน อายุ 52 ปี เสนอช่ือโดย ลูกศิษย์ท่ีเป็น ศิษย์เก่า ปัจจุบันเป็นครูช�ำนาญการพิเศษ สอนในระดับอาชีวศึกษา วชิ าคหกรรมศาสตร์ วิทยาลัยสารพดั ช่างบรุ ีรัมย์ อ.เมอื ง จ.บรุ ีรมั ย์ 5. นายวิทยา สรุ ยิ ะ อายุ 60 ปี เสนอชือ่ โดย สถานศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ปัจจุบันเป็นครูช�ำนาญการสอนในระดับอาชีวศึกษา วิชาวิจิตรศิลป์ วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษาแพร่ อ.เมือง จ.แพร่ 6. นางเบญจวรรณ บุ้งทอง อายุ 50 ปี เสนอชื่อโดย สถานศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน ปัจจุบันเป็นครูช�ำนาญการพิเศษสอนในระดับอาชีวศึกษา วชิ าผา้ และเครอ่ื งแตง่ กาย วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาอดุ รธานี อ.เมอื ง จ.อดุ รธาน ี วารสารอาชีวะก้าวไกล 9

เปิดม่านอาชวี ะ การวิเคราะหห์ ลักสตู รรายวิชา (จบ) เรือ่ งโดย : ไพฑูรย์ นนั ตะสุคนธ์ ตารางที่ 1 ตารางวิเคราะห์หลักสตู ร วิชาการทำ�เลม่เน้ือหา พฤตกิ รรม ความรู้ ความ การน�ำ การ การ การ ทักษะ รวม อันดับนำ้� หนกั ของแตล่ ะพฤติกรรม ความจ�ำ เข้าใจ ไปใช้ วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ ประเมนิ ความ ส�ำคัญ คา่ 10 10 10 10 10 10 10 60การท�ำเลม่ หนงั สือ 6 8 8 4 4 3 4 37 5การพับและการเกบ็ เล่ม 6 7 8 5 4 3 9 42 2การเย็บเลม่ และการเข้าปก 6 8 8 4 3 2 7 38 4การรวมเลม่ เอกสาร 8 7 7 4 4 3 6 39 3การทำ� เล่มปกแข็ง 6 8 8 4 5 4 9 44 1 รวม 32 38 39 21 20 15 35 200 อนั ดับความส�ำคัญ 4215 6 73การก�ำหนดหน่วยน�้ำหนกั จะใช้น้ำ� หนกั เต็ม 10 หน่วย ดังนี้ ปรบั นำ�้ หนักรวมเพอื่ สะดวกต่อการน�ำไปใช้ ส�ำคัญท่สี ดุ 9 - 10 หน่วย 1.1) จากตัวอย่างตารางท่ี 1 จะเหน็ ว่านำ�้ หนักรวมทงั้ หมด คือ 200 ซง่ึ ส�ำคญั มาก 7 - 8 หนว่ ย ผลรวมนีจ้ ะเปลย่ี นแปลงไปตามบคุ คลทที่ �ำการวิเคราะห์ แตล่ ะคนใหผ้ ลไมเ่ ทา่ ปานกลาง 4 - 6 หน่วย กัน จึงยุ่งยากตอ่ การน�ำไปใชเ้ ปรยี บเทียบ อกี ทัง้ ไมส่ ะดวกต่อการน�ำไปใช้ ส�ำคญั น้อย 2 - 3 หน่วย 2.2) นยิ มปรับผลรวมให้เปน็ 100 น้อยถงึ ไม่ส�ำคัญเลย 0 - 1 หน่วย 2.3) วิธีปรบั ใชว้ ธิ กี ารเทยี บสว่ นกับผลรวมเดมิ จากตารางที่ 1 ถ้าปรบั นำ้ �หนกั รวมให้เปน็ 100 จะไดด้ งั ตารางที่ 2 ตารางท่ี 2 วิชาการทำ�เล่มเนอ้ื หา พฤติกรรม ความรู้ ความ การน�ำ การ การ การ ทกั ษะ รวม อนั ดับการทำ� เล่มหนังสือ ความจ�ำ เขา้ ใจ ไปใช้ วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ ประเมนิ ความ ส�ำคัญ คา่ 3 4 4 2 2 1 2 18 5การพบั และการเกบ็ เล่ม 3 4 4 2 2 1 5 21 2การเยบ็ เล่มและการเขา้ ปก 3 4 4 2 2 1 3 19 4การรวมเลม่ เอกสาร 4 3 4 3 2 1 3 20 3การท�ำเลม่ ปกแขง็ 3 4 4 3 2 1 5 22 1 รวม 16 19 20 12 10 5 18 100 อันดับความส�ำคญั 4215 6 7310 วารสารอาชวี ะก้าวไกล

จากตารางวเิ คราะหห์ ลักสูตรนี้ทำ�ใหส้ ามารถจัดอันดับความสำ�คัญ ทงั้ ดา้ นพฤติกรรมและเนอ้ื หาไดด้ งั นี้1. ด้านพฤตกิ รรม จดั อันดบั ความส�ำคัญจากมาก 2. ดา้ นเนอื้ หา จัดอันดับความส�ำคญั จากมากไปหาน้อย ไดด้ ังนี้ไปหาน้อย ได้ดังนี้ 2.1 การท�ำเล่มปกแขง็ 1.1 ด้านการน�ำไปใช้ 2.2 การพบั และการเก็บเล่ม 1.2 ดา้ นความเขา้ ใจ 2.3 การรวมเล่มเอกสาร 1.3 ด้านทกั ษะ 2.4 การเย็บเลม่ และการเข้าปก 1.4 ดา้ นความรู้ความจ�ำ 2.5 การท�ำเลม่ หนงั สือ 1.5 ดา้ นการวเิ คราะห์ 1.6 ด้านการสงั เคราะห์ 1.7 ดา้ นการประเมนิ ค่า จากตัวอย่าง ตารางวเิ คราะห์หลกั สูตรในตารางท่ี 2 จะน�ำมาใช้คดิ เวลาทีจ่ ะตอ้ งใชส้ อนในแตล่ ะเน้อื หา และน�ำมาคิดจ�ำนวนขอ้ สอบวา่ แตล่ ะเนื้อหาจะต้องออกขอ้ สอบกขี่ ้อ รวมทง้ั ในแตล่ ะพฤตกิ รรมจะต้องออกข้อสอบกข่ี อ้ โดยการจดั ท�ำตารางวิเคราะหข์ อ้ สอบเพ่ิมเตมิ ต่อไปบทสรุปของการวเิ คราะหห์ ลักสูตร 1. ท�ำให้ก�ำหนดเวลาในการสอนได้เหมาะสมตามจุดประสงค์ของหลักสูตร การแบง่ เวลาในการสอนควรก�ำหนดตามความส�ำคัญมากน้อย ตามตารางแนวนอน 2. ท�ำใหท้ ราบวา่ ควรจะใชว้ ธิ ีสอนแบบใดจึงจะเหมาะสม โดยดไู ดจ้ ากคะแนนรวมตามแนวตงั้ (พฤตกิ รรม) จากตัวอย่างตามตารางที่ 2 จะเหน็ ได้ว่าพฤติกรรมการน�ำไปใชม้ คี วามส�ำคญั เป็นอันดบั 1 รองลงมา คอื ความเขา้ ใจ และส�ำคัญน้อยท่สี ุด คอื การประเมนิ ค่า การสอนจงึ ควรเน้นให้ผูเ้ รยี นมีความสามารถด้านการน�ำไปใช้มากท่สี ดุ ด้วยการสอนใหผ้ เู้ รียนฝึกปฏิบตั ิงานให้มากทีส่ ุด เพ่ือให้ผเู้ รยี นเหน็ และเรียนรูว้ ธิ ีการแกป้ ัญหาท่เี กิดขนึ้ จากการปฏบิ ตั งิ านในขณะเดยี วกนั ครูผู้ท�ำหนา้ ทส่ี อนจะตอ้ งสอนโดยใหผ้ ้เู รียนเรยี นด้วยความเขา้ ใจ 3. ท�ำให้กระบวนการในการวเิ คราะห์ขอ้ สอบมีความเที่ยงตรง การออกขอ้ สอบตามตารางจ�ำแนกเนือ้ หาและพฤตกิ รรม จะท�ำใหข้ อ้ สอบมีความเทีย่ งตรง2 ประการ คือ 3.1 เทยี่ งตรงตามเนื้อหา 3.2 เที่ยงตรงตามโครงสร้าง ตวั เลขบอกอนั ดบั ความส�ำคญั ตามแนวตงั้ (ดา้ นขวา) จะบอกใหท้ ราบวา่ เนอื้ หาเรอ่ื งใดส�ำคญั ทส่ี ดุ เนอ้ื หาเรอื่ งใดส�ำคญั รองลงไป ดงั นน้ั ครผู ทู้ �ำหนา้ ทสี่ อนจงึ ควรเน้นเรอื่ งที่มีอันดบั ความส�ำคญั เปน็ 1, 2, 3 เป็นพิเศษ การออกข้อสอบกต็ ้องเน้นเรื่องทม่ี ีความส�ำคัญ 1, 2, 3 เชน่ เดยี วกนั ตัวอย่างตารางวเิ คราะหห์ ลกั สูตร พฤตกิ รรม พุทธพิ สิ ยั สังเกคารราะห์ ประกเมารินค่า ทักษะพิสัย จติ พสิ ัย รวม อนั ดบั จ�ำนวนเนอ้ื หา คคววาามมจร�ู้ำ ความ ชวั่ โมงสอน ความเขา้ ใจ การน�ำไปใช้ วิเคกราาระห์ ส�ำคญั รวมอันดบั ความส�ำคัญ วารสารอาชีวะกา้ วไกล 11

บนั ทึกจากร่นุ พี่Not Nice to Know but Need to Know ยทุ ธศาสตร์อาชวี ศึกษากบั การพัฒนาชาติ เร่อื งโดย: ถาวร ชลษั เฐียร ภาพโดย : ภวู นาถ พันธะพุมมี ... โดยภาพรวมแล้วสายอาชีวะแบง่ ออกเปน็ สายบรกิ าร สายอตุ สาหกรรม สายอาชีพ สายทางดา้ นกึ่งๆ เกษตร แตใ่ นฐานะทผี่ เู้ ขยี นคลกุ คลอี ยู่กบั แวดวงอุตสาหกรรม จะขอให้ขอ้ คิดความเหน็ ของบทบาทอาชีวศกึ ษากบั ภาคอุตสาหกรรมเปน็ หลกั ... ทกุ ๆ3-5 ปี จะตอ้ งมกี ารเปลย่ี นแปลง เพราะ ทก่ี ลา่ วมาทง้ั หมดไมใ่ ชจ่ ะบอกวา่ เดก็ ไมค่ วร ว่าเราต้องแข่งขันกับตลาดโลก แข่งขันกับ เรียนตอ่ ปริญญาตรี เรียนได้ แตค่ วรเรยี นใน ทัว่ โลก มีการสง่ ออกผลิตภัณฑม์ ากมาย เช่น ลักษณะ Long Term, Life Long Learning ชิ้นส่วนยานยนต์ เคร่ืองใช้ไฟฟ้า เคร่ืองมือ คือค่อยๆ เรียนไป เรียนระหว่างทำ�งานได้ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ซงึ่ เทคโนโลยขี องขา้ วของพวก ผูเ้ ขียนอายุ 60 ปกี วา่ แล้ว บางทียังตอ้ งเรียน นพ้ี ฒั นาไปเรว็ มาก เมอ่ื เทคโนโลยตี า่ งๆ กา้ ว แต่ตอ้ งเรียนในสง่ิ ที่ใช้ เชน่ ตรโี กณมติ ิเรอื่ ง ไปเรว็ กต็ อ้ งการบคุ ลากรทพี่ รอ้ มจะกา้ วไปดว้ ย ของฉาก เรื่องของระนาบ นีค่ อื งานช่างท่จี ะ ทำ�ให้ประเทศต้องการช่างเทคนิคระดับสูง ตอ้ งใชท้ ุกวนั และงานสถติ ิทีจ่ ะต้องรู้ในการ (Multi Skil) คือ คนหนึ่งตอ้ งสามารถทำ�ได้ ทจี่ ะต้องจดั ทำ�รายงานตา่ งๆ หลายอย่าง และสามารถลงมือทำ�ได้เลย แต่ ส่วนการเรียนวิชาการระดับสูงก็เรียนได้ ปัจจุบันเด็กท่ีเรียนจบมาไม่สามารถทำ�อะไร เพือ่ ใหร้ วู้ า่ มนั เปน็ อย่างไร หรอื เรียนเพ่อื เป็น ได้เลย ทางผู้ประกอบการต้องมาฝึกต่ออีก อาจารย์ เรียนเพือ่ เป็น ดร. ใช!่ แตถ่ ้าเรียน เป็นปีๆ กว่าเด็กเหล่านั้นจะเก่งในระดับท่ี เพ่อื ประกอบอาชพี ไม่ใช่! ในการทำ�งานตอ้ งอาชวี ศกึ ษากับอตุ สาหกรรมไทย พรอ้ มสำ�หรบั การทำ�งาน น่ีคอื สง่ิ ทีจ่ ะต้องมา เรียนในสิ่งท่ีบริษัทต้องการ ให้สามารถผลิต ประเทศของเราพฒั นาทางดา้ นอตุ สาหกรรม นัง่ คยุ ปรบั ปรงุ กัน ของได้ นีค่ อื สง่ิ ที่ประเทศตอ้ งการ แต่พอเรามาตลอด 50 ปีทผ่ี ่านมา และมีทิศทางการ ในภาพรวมผปู้ ระกอบการในสภาอตุ สาหกรรม เรยี นแลว้ ไมต่ รงกบั งานทท่ี ำ�กก็ ลายเปน็ ปญั หาพัฒนาท่ีดีขึ้นมาตลอด ส่วนสำ�คัญของการ จึงมองว่าภาคอุตสาหกรรมกำ�ลังขาดแคลน ตอ้ งมานงั่ ฝกึ อกี ทหี นง่ึ อนั นคี้ อื อยากจะบอกวา่พัฒนากค็ ือ การมคี นทำ�งานจากสายอาชีวะ แรงงานที่มีทักษะฝีมือ ท้ังระดับกลางและ ไม่ใช่ผู้ประกอบการกีดกันว่าคนไม่ควรเรียนท่ีดี แต่ในช่วงหลังๆ คนเรียนอาชีวะน้อย คนที่มีทักษะฝีมือสูง​ การแก้ปัญหาทาง ปริญญาตรี เพียงแต่ทุกคนควรจะต้องเรียนลง และเด็กที่มีทักษะฝีมือก็น้อยลงด้วย สภาอุตสาหกรรมได้เร่ิมเข้าไปปรับหลักสูตร ในสิ่งทจี่ ำ�เป็นตอ่ การทำ�งานในสายงานนัน้ ๆเหตุผลหลายประการ เช่น งบประมาณ ทั้งเพิ่มวชิ าทีข่ าด ลดวิชาทไี่ มต่ อ้ งการ เน้น ผู้เขียนในฐานะประธาน กรอ. อศ. (คณะเรื่องของครู เร่อื งความชำ�นาญของครู เรือ่ ง เรียนในส่ิงท่ีใช้ ไม่ใช่เรียนไปเพื่อ Nice to กรรมการร่วมภาครัฐและเอกชนเพ่ือพัฒนาของเครื่องไม้เคร่ืองมือในโรงเรียนเองที่ไม่ know แตต่ อ้ งการ Need to know และตอ้ ง กำ�ลังคนอาชีวศึกษา) ก็พยายามแม้กระท่ังเพียงพอ หลักสูตรต่างๆ ก็ค่อนข้างเก่า​ มีYoumusthave ซงึ่ จะตรงขา้ มกบั การเรยี น ช่วยเขียนยุทธศาสตร์ของสภาอุตสาหกรรมครเู องกย็ งั อยใู่ นกรอบเดมิ ๆ ไมไ่ ดม้ องภาพรวม เพอ่ื หวงั จะผลติ นกั ศกึ ษาเพอื่ เรยี นปรญิ ญาตรี ผเู้ ขยี นไดอ้ ธบิ ายเรอ่ื งนี้ ทกุ ฝา่ ยเหน็ ดว้ ย และถา้ว่าอุตสาหกรรมมันเปลี่ยนเร็วมาก ณ วันน้ี ในปจั จบุ นั จรงิ จงั ทจ่ี ะทำ�ใหส้ ำ�เรจ็ สกั วนั หนงึ่ กน็ า่ จะดขี นึ้12 วารสารอาชีวะกา้ วไกล

แตถ่ า้ ไมม่ ใี ครมาดแู ล ทกุ คนตา่ งบอกวา่ ไมใ่ ช่ สว่ นเรอ่ื งการจะบรรจบุ ณั ฑติ วศิ วกรรมศาสตร์ ขนาดนั้น สตีฟ จอบส์ ก็ไม่ได้เรียนจบหนา้ ท่ี สุดท้ายเรอ่ื งนี้เปน็ หนา้ ท่ีใคร แลว้ ใคร มาเปน็ ครอู าชวี ะ ผเู้ ขยี นคดิ วา่ ควรเปน็ วศิ วกร แตเ่ ขาทำ�สง่ิ ทเี่ ขารกั สงิ่ ทเี่ ขาชอบ เขามีPassionจะทำ� รัฐบาล นายกรัฐมนตรี หรือผู้ดูแล ภาคปฏบิ ตั ิ หรือ Practitioner Engineer แต่ ตรงนนั้ สูงมาก เขาอยู่กบั สิ่งท่ีตวั เองรกั เขาก็ไม่ใช่ ต้องทำ�งานเป็นทีม ได้รับความ ถา้ TheoryEngineer จะเหมาะกบั การสอนใน หลงมนั เขาคลัง่ ไคล้มนั เพราะฉะน้ันผู้เขยี นร่วมมือจากทุกๆ ฝ่าย ทั้ง สอศ. เอกชน ระดบั ปริญญามากกวา่ อย่างในตา่ งประเทศ อยากสอ่ื สงิ่ เหลา่ นถ้ี งึ เดก็ อาชวี ะวา่ ไมใ่ ชค่ ณุ จะกรมพฒั นาฝมี อื แรงงาน ตอ้ งรว่ มกนั ไมต่ อ้ งถงึ เขาจะเรียนภาคปฏิบัติไล่จาก Practitioner ไมม่ ีโอกาสเติบโต คุณทำ�เสริมสวยคณุ กเ็ ปิดขน้ั บรู ณาการ เพยี งแคแ่ ตล่ ะบรษิ ทั รว่ มมอื กนั เป็น Technician ทมี่ ีระดบั คือให้ลงมอื ทำ� รา้ นได้ คณุ ชอบท่องเที่ยวคุณก็เปดิ บรษิ ทั ได ้ มสี มั พันธท์ ด่ี ีต่อกนั พอแล้ว เป็นก่อนแล้วค่อยไปเรียนให้คิดแบบวิศวกร ทกุ สาขาอาชพี เตบิ โตได้ มโี อกาสเปน็ เจา้ ของ แต่ถ้าเรียนแต่ทฤษฎีเพียวๆ เน่ียจบเลย กิจการได้ เถา้ แก่ SME ส่วนใหญ่ 70 - 80% วิกฤตการณ์อาชีวศกึ ษา เรยี นมานงั่ โตะ๊ ทำ�อะไรไมไ่ ด้ ผเู้ ขยี นไมไ่ ดบ้ อก กจ็ บสายอาชวี ะทง้ั นน้ั ชว่ งนส้ี งิ่ ทผี่ เู้ ขยี นเปน็ หว่ งคอื ครอู าชวี ะคณุ ภาพ ว่าวิศวกรไม่จำ�เป็น แต่จำ�เป็นในแง่การวิจัย จงเรียนรู้ตลอดชวี ิตกำ�ลงั จะเกษยี ณชดุ ใหญ่ ทำ�ใหจ้ ากนไี้ ปจนถงึ และพฒั นาดา้ นวิทยาศาสตรใ์ นภาพรวมของอกี 10 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะขาดครูที่มี ประเทศ ซึง่ ต้องการเพยี งแค่ 10% อีก 90% การเรียนอาชีวะมีอะไรสนุกสนานเยอะคุณภาพ ต้องทำ�อย่างไรจึงจะสร้างครูใหม่ ต้องการบุคลากรทีพ่ รอ้ มตอ่ การผลิต มคี วามโลดโผนในชวี ิต ถ้าคณุ ใฝด่ เี สยี อยา่ งใหเ้ กง่ เทา่ เม่อื 30 - 40 ปีทแี่ ล้วได้ นัน่ เปน็ ประเทศเรายังไม่ได้เป็นประเทศท่ีพัฒนา คุณเรียนรู้ด้วยตัวเองและคุณเรียนรู้ตลอดหน้าท่ีหลักของภาครัฐว่าจะทำ�อย่างไร ส่วน แล้ว เป็นประเทศท่ียังต้องเป็นฐานการผลิต ชีวิต ในฐานะรุ่นพ่ีอาชีวะศึกษามั่นใจเลยว่าตัวเห็นดว้ ยกับโครงการทีเ่ อาเดก็ ไปเรียนต่าง จงึ ตอ้ งสรา้ งชา่ งฝมี อื ทเี่ รยี กวา่ “ฝมี อื ชน” ทมี่ ี การเรียนรู้ตลอดชีวิตจำ�เป็นมากสำ�หรับประเทศแลว้ กก็ ลบั มาเปน็ ครภู ายในชว่ งระยะ ทกั ษะ สรา้ งงานดว้ ยตวั เองได้ อยา่ งหลายคน มนษุ ย ์ เดก็ อาชวี จำ�เปน็ ตอ้ งเรยี นรตู้ ลอดชวี ติเวลา 10 ปีน่ีดีมาก เพราะจากประสบการณ์ ท่ีผู้เขียนรู้จัก เรียนจบอาชีวะพอทำ�งานได้ เรยี นรเู้ ทคโนโลยใี หมๆ่ และถา้ โอกาสเปดิ ทา่ นท่ีทำ�งานในบริษัทญ่ีปุ่น เขาจะมีการเรียน สักพักไปเปิดบริษัททำ�แม่พิมพ์ตอนนี้รวย กระโจนไปควา้ ไดเ้ ลย ไดม้ าแน่ๆ หากท่านการสอนตามหลักโมโนซุคุริ (Monozukuri) เปน็ พนั ลา้ น สงิ่ นบ้ี อกกบั เราวา่ บางครงั้ บางครา ทำ�งานหนกั เพราะคนอน่ื ทไ่ี มม่ ที กั ษะทำ�ไมไ่ ด้คอื ให้คิดเปน็ ทำ�ได้ และครบวงจร ซง่ึ คำ�ว่า คนเราจะรวยไม่จำ�เป็นต้องเรียนมากมาย นีค่ อื สิ่งทีเ่ ดก็ อาชวี ะได้เปรียบโมโน(mono) หมายถงึ สงิ่ ของหรอื ผลติ ภณั ฑ์ส่วนซุคุริ (zukuri) คือ การผลิตสร้างสรรค์การจะคดิ เปน็ ทำ�ไดใ้ หค้ รบวงจรตอ้ งมีPassionดว้ ย ซึง่ คำ�น้ี ท่าน ว.วชริ เมธี ตคี วามไว้วา่ ประวัติการศกึ ษาจรงิ จงั คลั่งไคล้ และใหลหลง ซ่ึงครจู ะตอ้ ง ปรญิ ญาโท สาขาส่ือสารการตลาด 2518 Roosevelt University, USA ปรญิ ญาตรี สาขานเิ ทศศาสตร์ 2516 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยัมีตรงนี้เข้าไปในใจถึงจะเป็นครูที่ดีได้ ไม่ใช่ ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ช้ันสงู สาขาเคมสี ่ิงทอ 2513 วทิ ยาลยั เทคนคิ กรุงเทพคิดได้แล้วทำ�ไม่เป็น สอนอย่างไรก็ลำ�บาก ประกาศนียบตั รวชิ าชพี วิทยาลยั ช่างกลปทุมวนัแตก่ ารรู้ท้ังวงจรหมายถึง ตอ้ งรูต้ ัง้ แต่ InputOutput Process จนถงึ Waste ว่าพอทง้ิ ไป ต�ำแหน่งหนา้ ทีป่ จั จบุ นัแล้วของนนั้ ๆ มันไปทำ�ลายส่งิ แวดล้อมหรอื ผ้ชู ่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ อาวุโส บริษทั เดน็ โซ่ อินเตอรเ์ นชั่นแนล เอเชยี จากัดเปล่า คือ คนเป็นครูตอ้ งมคี วามเขา้ ใจในส่ิง ผ้ชู ่วยกรรมการผู้จดั การใหญ่ อาวุโส บริษทั เดน็ โซ่ (ประเทศไทย) จากัด กรรมการบรหิ ารสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยที่สอนท้ังระบบ และต้องคิดแบบโมโนซุคุริ ประธานสถาบนั เสรมิ สร้างขีดความสามารถมนษุ ย์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยการผลติ สิ่งของบวกดว้ ย Passion คือ ความ ประธานกติ ตมิ ศักดิ์ กลุม่ ชน้ิ ส่วนและอะไหล่ยานยนต์ สภาอตุ สาหกรรมแห่งประเทศไทยจรงิ จัง คลัง่ ไคล้ และใหลหลง ซงึ่ มนั มคี วาม อปุ นายกฝ่ายบรหิ ารสมาคมอุตสาหกรรมยานยนต์ไทยหมายมากกวา่ การใสใ่ จ มนั เหมอื นการทมุ่ เท กรรมการสภาสถาบันผทู้ รงคณุ วฒุ ิ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ป่นุทง้ั ความรู้ ทกั ษะ และทศั นคตทิ ด่ี ลี งไปในนน้ั กรรมการสภาวิชาการผทู้ รงคณุ วฒุ ิ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพแล้วยังต้องใส่เรื่องของจิตวิญญาณลงไป กรรมการบริหารผ้ทู รงคณุ วุฒิ กระทรวงศึกษาธกิ ารอย่างครูสมัยก่อนท่ีมีจิตวิญญาณ รักในวิชา ต�ำแหน่งหนา้ ทีส่ �ำคญั ในอดีตทส่ี อนนน้ั จรงิ ๆ พ.ศ. 2535 - 2544 ผจู้ ัดการโรงงาน บรษิ ทั เดน็ โซ่ (ประเทศไทย) จ�ำกดั (บางปะกง) วารสารอาชวี ะก้าวไกล 13

แวดวงอาชวี ศึกษา ผนึกกำ�ลงั สภาอตุ ฯ สอศ.ลุยพัฒนาชา่ งแอรไ์ ทย ดร.ชัยพฤกษ์ เสรีรักษ์ เลขาธิการคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นางจินตนา ศิริสันธนะ ประธานกลุ่มอุตสาหกรรม เคร่ืองปรับอากาศและเคร่ืองท�ำความเย็น สภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย นายสมภพ โปษยานนท์ กรรมการที่ปรึกษา สมาคมผู้ค้าเคร่ืองปรับอากาศไทย และนายเนติธรรม ปุยะกุล สมาคมเครื่องท�ำความเย็นไทย ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลง ความร่วมมือเพื่อพัฒนาช่างเคร่ืองปรับอากาศและเครื่องท�ำ ความเยน็ ณ วิทยาลยั การอาชีวศึกษาปทุมธานี จังหวดั ปทุมธานี จดั งานตลาดอาชีวะ สอศ.จบั มอื เอฟโวลูชัน่ สอศ.ภาคเหนอื จบั มอื เอส แอนด์ พี เปดิ ชอ่ งทางแสดงความ แคปปิตอล เปดิ ทวิภาคีธรุ กจิ ซินดิเคท เปดิ ทวภิ าคี สามารถและงานฝมี อื อาหารและเครื่องดืม่ การจดั การงานคหกรรม สำ� นกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ดร.อกนิษฐ์ คลังแสง รองเลขาธิการ สำ� นกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา (สอศ.) จัดกิจกรรมดีๆ ในชื่อ “ตลาด คณะกรรมการการอาชีวศึกษา และ (สอศ.) โดย นายพนั ธศ์ุ กั ดิ์ โรจนากาศ นายก อาชวี ะ” โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์เพ่อื น�ำเสนอ นายโชคดี วิศาลสงิ ห์ ประธานเจา้ หนา้ ท่ี สภาสถาบันการอาชีวศึกษาภาคเหนือ 4 ผลผลิตและผลงานท่ีเกิดจากการพัฒนา ปฏบิ ตั กิ าร บรษิ ทั เอฟโวลชู นั่ แคปปติ อล ร่วมลงนามความร่วมมือกับบริษัท ทักษะ ความคิด ของนักเรียนนักศึกษา จ�ำกัด (มหาชน) ลงนามความร่วมมือ เอส แอนด์ พี ซินดิเคท จำ� กดั (มหาชน) ในวิชาชีพต่างๆ สู่สังคม และเป็นการ จดั การอาชวี ศกึ ษาทวภิ าคี เพอื่ เปดิ โอกาส โดยมี คุณสภุ าวดี หตุ ะสิงห์ ผู้อำ� นวยการ ประชาสัมพันธ์ภาพลักษณ์ที่ดีของ ให้นักเรียนนักศึกษาอาชีวศึกษาในระดับ ศนู ยก์ ารเรียนรู้ บริษัท เอส แอนด์ พีฯ การจดั การอาชวี ศกึ ษา โดยทกุ ๆ ปี สอศ. ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี (ปวช.) ประเภทวชิ า เป็นผู้แทน เพ่ือร่วมกันจัดการเรียนการ จะสรรหาผลิตภัณฑ์ผลงานของนักเรียน พาณชิ ยกรรม และประกาศนยี บตั รวชิ าชพี สอนระบบทวิภาคี สาขาการจัดการงาน นกั ศกึ ษา ทเี่ กดิ จากการเรยี นการสอนและ ชนั้ สูง (ปวส.) ประเภทวิชาบรหิ ารธรุ กจิ คหกรรม ระดบั ปรญิ ญาตรี สายเทคโนโลยี การฝึกทักษะจากวิทยาลัย มาจัดแสดง เข้าฝึกประสบการณ์วิชาชีพด้านธุรกิจ หรอื สายปฏบิ ตั กิ าร โดยวทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษา ให้กับประชาชนและผู้ที่สัญจรไปมา อาหารและเครื่องด่ืมกับบริษัทในเครือ นครสวรรค์ได้ส่งนักศึกษาเข้าร่วมฝึก บริเวณริมคลองผดุงกรุงเกษม ด้านข้าง 53 สาขา ซึ่งความร่วมมือคร้ังน้ี มีระยะ ประสบการณ์และฝกึ อาชพี ด้วย กระทรวงศึกษาธิการ ได้ชอปปิงและ เวลา 3 ปี (2 กันยายน 2558 ถึง รับบริการกันอย่างจุใจ ส�ำหรับปีน้ีได้รับ 2 กนั ยายน 2561) เกยี รตจิ ากทา่ นพลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรัฐมนตรีมา เป็นประธานเปิดงาน โดยงานจดั ขน้ึ เมอ่ื วนั ที่27-29 กรกฎาคม 2558 ทผ่ี า่ นมา14 วารสารอาชวี ะก้าวไกล

“มอื ขยนั ” นวตั กรรมอาชีวะนวตั กรรมม้วนใบตอง เรอ่ื งโดย : กองบรรณาธิการ ภาพโดย : วิทยาลัยอาชวี ศึกษาธนบุรีงานบายศรี อาจารย์ไพรัตน์ได้แนะน�ำครูอัตราจ้างฝีมือดีให้ แต่เขาไม่ถนัดเรื่อง ประเพณีบายศรีสู่ขวัญเป็นพิธีท่ีสำ�คัญของชาวอีสาน การวาดแบบ ครูจึงให้สามีที่เป็นช่างกับพ่ีชายท่ีอยู่แผนกออกแบบและชาวเหนือจัดข้ึนเพื่อให้เกิดขวัญและกำ�ลังใจที่ดี ของกระทรวงอุตสาหกรรมมาช่วยอีกแรง แล้วน�ำแบบไปให้ครูองค์ประกอบสำ�คัญของพิธีก็คือ “เครื่องเชิญขวัญ” ทว่ี ทิ ยาลยั สารพดั ช่างนครหลวงสรา้ งเคร่ืองนี้ออกมาจนส�ำเรจ็ ”หรือเคร่ืองทำ�ขวัญที่ทำ�ด้วยจากใบตองคล้ายกระทง ทุ่นแรงเสริมเรยี นรู้การทำ�เคร่ืองเชิญขวัญนั้นต้องใช้ผู้ชำ�นาญเฉพาะทาง เม่ือตัวเคร่ืองมือขยันส�ำเร็จออกมาสมความต้ังใจ ได้มีการน�ำโดยเฉพาะงานม้วนใบตองสำ�หรับทำ�ลูกบายศรีซ่ึงปัจจุบัน ไปทดสอบประสิทธิภาพในการม้วนใบตองระหว่างเคร่ืองและยงั ตอ้ งอาศยั แรงงานคนเปน็ หลกั ทำ�ใหง้ านทไ่ี ดม้ คี วามลา่ ชา้ นักเรียนแผนกวิชาคหกรรม จ�ำนวน 10 คน โดยใช้เวลาคนละเน้ืองานขาดความประณีตสวยงาม ขนาดของตัวบายศรี 5 นาที จ�ำนวน 3 คร้งั พบว่า การมว้ นใบตองดว้ ยเคร่อื งมีคา่ เฉลย่ีไม่สม่ำ�เสมอ ครูนฤมล เก่งกรีฑา อาจารย์ผู้สอนสาขา มากกว่าการมว้ นด้วยมอื และใบตองทมี่ ว้ นไดม้ ีความประณตี สม่�ำเสมอคหกรรม จากวทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาธนบรุ ี มองเหน็ ปญั หา กว่าการม้วนด้วยมือ เครื่องม้วนใบตองท่ีพัฒนาขึ้นจึงท�ำให้ประหยัดนี้จึงได้ออกแบบ “มือขยัน” นวัตกรรมเพื่อช่วยผ่อนแรง ได้ทงั้ เวลาและแรงงาน ทีส่ �ำคญั นำ� ไปเปน็ ตัวช่วยในการเรียนรู้ได้ด้วยในการผลติ “ลกู บายศร”ี โดยไดแ้ รงบนั ดาลใจจากศษิ ยเ์ กา่ “เดิมเวลาเรียนบายศรี นักเรียนจะม้วนใบตองได้บ้างไม่ได้บ้างทป่ี ระกอบอาชพี ทำ�เครอื่ งบายศรี และพบปญั หาไมม่ แี รงงาน ม้วนแลว้ แตกอะไรอย่างน้ี ครูก็ลองใหใ้ ช้เครือ่ งตัวนี้ คราวนี้ก็สนุกกนัในการมว้ นใบตองสำ�หรับทำ�ลูกบายศรี ใหญ่ เพราะใครๆ กม็ ้วนได้ไมจ่ �ำเปน็ ต้องมที ักษะ บางคนใชเ้ คร่อื งเป็น แล้วก็ไมเ่ ครียด มีเวลาก็มานงั่ ฝกึ มว้ นเองจนชำ� นาญขึ้น”ลองผดิ จนถกู นอกจากการใช้เคร่ืองม้วนใบตองท�ำบายศรีตามจุดประสงค์ เม่ือเกิดแรงบันดาลใจในการสร้าง “มือขยัน” หลักแล้ว ยังสามารถประยุกต์ใช้เคร่ืองน้ีกับการท�ำของท่ีระลึก เช่นครูนฤมลต้องใช้เวลานับเดือนลองผิดแต่ไม่ยังถูก ใชม้ ว้ นกระดาษชนิ้ เลก็ ๆ จงึ ใชเ้ ปน็ สอ่ื ในการเรยี นงานประดษิ ฐอ์ นื่ นอกจากเสียทีจนความท้อแท้คล้ายเมฆหมอกเข้ามาบดบัง งานบายศรไี ด้ ในอนาคตครนู ฤมลจงึ มคี วามตงั้ ใจทจี่ ะพฒั นาเจา้ มอื ขยนัความต้งั ใจ “ลองผดิ ลองถกู จนท้อ ลงทุนชว่ งแรก ให้ใช้งานหลากหลายข้ึน พกพาง่าย เพื่อจดสิทธิบัตรและผลิตเพื่อหมดไป 3 หม่ืน ยงั ไมเ่ ปน็ ช้นิ เป็นอันจึงเลกิ ไปก่อน” จำ� หน่ายต่อไป พักความต้ังใจไว้ชั่วคราวครูคหกรรมคนเก่งก็มีแรงฮึดขน้ึ มาอกี คร้ังหลงั ได้ก�ำลังใจจาก 1 ในผู้เข้า วารสารอาชีวะก้าวไกล 15อบรมวชิ าชพี ดว้ ยกัน ซง่ึ เปดิ รา้ นท�ำบายศรอี ยู่พอดี “พอคุยกันแล้วรู้ว่าเราก�ำลังท�ำนวัตกรรมตัวน้ีเขาบอกเลยว่าเป็นก�ำลังใจให้เต็มท่ี และถ้าเราท�ำส�ำเร็จอย่าลืมให้พวกเขาใช้ เพราะที่ร้านของเขาก็มปี ญั หาเร่อื งน้ี น่ีเป็นแรงผลกั ดันใหเ้ ราเดนิ หนา้ ต่อเรมิ่ จากไปปรกึ ษาอาจารย์ไพรตั น์ (ไพรัตน์ พรมมาหัวหน้างานประกันคุณภาพฯ วิทยาลัยสารพัดช่างนครหลวง)

ตลาดอาชีวะเรื่องและภาพโดย : เวทย์ มุสิสวัสด,ิ์ ภูวนาถ พันธพมุ มี➊ Product name งานประดษิ ฐจ์ ากขเี้ ลอ่ื ย ➊ Materials ขเี้ ลอ่ื ย ➋ Institute สาขาวจิ ติ รศลิ ป์ วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาอบุ ลราชธานี Price 150 - 500 บาท ➌ Contact อ.วรี ะ พศิ แฝงจนั ทร์ โทร. 094-284-6964 ➎➋ Product name กลบี ผกา กทั ลี วถิ ไี ทย Materials ผา้ Institute วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษานครราชสมี า Price 400 - 599 บาท Contact อ.ณฐั ภสั สร ทพิ ยธ์ รี สนุ ทร โทร. 086-895-1059 facebook nutpassontipteerasoonton➌ Product name แหวน กำ� ไล กรชิ Materials โลหะ Institute วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษานครสวรรค์ Price 100 - 38,000 บาท Contact อ.ตรยั ภพ บญุ รอด หวั หนา้ แผนกวชิ าการออกแบบผลติ ภณั ฑ์ โทร. 081-888-2570➍ Product name กระเปา๋ จากกกผา้ ฝา้ ย Materials ตน้ กก - ผา้ ฝา้ ย Institute วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษามหาสารคาม Price 270 - 380 บาท Contact อ.วาสนา เทอดเกยี รตกิ ลุ➎ Product name หตั ถศลิ ปถน่ิ ไทย (หวั โขน) Materials เรซนิ -กระดาษInstitute วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษานครสวรรรค์ ➍Price 100 - 500 บาทContact อ.อภวิ ฒั น์ อาจองค์แหล่งอ้างอิง: “งานตลาดอาชีวะ” สำ� นกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.)16 วารสารอาชีวะก้าวไกล

ทศั นาอาชีวะ เร่ืองโดย : ดร.อารยี า สวุ รรณวงษ์ ผ้อู ำ� นวยการวทิ ยาลัยเทคโนโลยีอาเซียน จังหวดั หนองคาย ภาพโดย : PookarnPiyapongJhaiboonภาษาเกง่เด่นเทคโนโลยีทว่ี ทิ ยาลยั เทคโนโลยอี าเซยี น วทิ ยาลยั เทคโนโลยอี าเซยี นเปน็ ธรุ กจิ หนงึ่ ทีมครูผู้สอนหรือทีมรองผู้อ�ำนวยการต่างๆ น้องชมพู่ เธอบอกเราแบบซ่ือๆ ว่า อยากในเครอื ของบรษิ ทั เจยี งอนิ เตอรเ์ นชน่ั แนล จำ� กดั จะต้องประสานงานให้เป็นหน่ึงเดียว แตง่ ตัวสวยๆ ท�ำงานบญั ชใี นธนาคาร ม่นั ใจจงั หวดั หนองคาย สถาบนั การศึกษาของเรา มีนโยบายชัดเจน วางแผนทุกๆ ต้นปีการ วา่ จะใชค้ วามรคู้ วามสามารถใหเ้ กดิ ประโยชน์เปดิ สอนมาตงั้ แตป่ ี2544 ในสาขาดา้ นบรหิ ารธรุ กจิ ศึกษา จากนั้นคอยก�ำกับดูแลตรวจสอบ สงู สุดเพิ่ือใหค้ ณุ พอ่ คุณแม่ภาคภมู ใิ จการบญั ช,ี การทอ่ งเทยี่ วและการโรงแรม, ภาษา ประเมินผล นอกจากสาขาบัญชีท่ีเราได้รับรางวัลตา่ งประเทศ และสาขาคอมพวิ เตอรธ์ รุ กจิ ประเภท แต่ละสัปดาห์จึงมีกระบวนการติดตาม ในสาขาภาษาต่างประเทศเราส่งเด็กไปชา่ งอตุ สาหกรรมช่างยนต์ และตรวจสอบจากครูผู้สอนว่าแต่ละคนได้ ท�ำงานที่ประเทศญี่ปุ่น ในบริษัทนิชากาวา ดร.พงษ์ศกั ด์ิ คสู กลุ ผู้กอ่ ต้งั มีเจตนารมณ์ ดูแลนักเรียนของตนเองอย่างไรบ้าง หากมี เด็กเหล่าน้ีไปแข่งพูดสุนทรพจน์ภาษาญี่ปุ่นว่าต้องการคืนก�ำไรให้กับลูกค้าเพราะ จุดอ่อนตรงไหนจะมารายงานให้ทราบ ได้เป็นท่ี 1 ของประเทศไทย ความส�ำเร็จเทียบกับการน�ำไปท�ำกิจกรรมอื่นๆ เพื่อจะได้แนะน�ำในส่ิงท่ีเขายังขาดอยู่ ท่ีมาถึงจุดน้ีได้โดยมีถ้วยรางวัลการันตีเป็นการท�ำโรงเรียนมีประโยชน์กว่ามาก เป็น ซึ่งน่าภาคภูมิใจท่ีเจตคติของนักเรียนที่น่ี ขวญั และกำ� ลงั ใจใหต้ ง้ั แตผ่ บู้ รหิ ารลงไปจนถงึการสร้างทรัพยากรมนุษย์ให้แก่ประเทศชาติ ดขี น้ึ มคี วามรกั ในวิชาชีพ ครูและนักเรียน เพราะฉะน้ันเราต้องบอกและสงั คม ยกตวั อยา่ ง นอ้ งชมพู่ เดอื นเพญ็ สาระคาย เดก็ ๆ วา่ ถา้ ได้รบั รางวัล เขาจะไดอ้ ะไรบ้าง แนวคิดหลักในการจัดการเรียนการสอน นกั ศกึ ษาระดบั ปวส.สาขาบญั ชี ซงึ่ ไดร้ บั รางวลั เพื่อเปน็ แรงจงู ใจใหก้ บั คนอน่ื ๆของทนี่ คี่ อื เปน็ แหลง่ เรยี นรคู้ สู่ ถานประกอบการ เหรยี ญทองจากการแขง่ ขนั ทกั ษะอาชพี เธอเคย โดยส่วนตัวแล้วมีความภาคภูมิใจในภายใตอ้ ตั ลกั ษณ์ “ภาษาเกง่ เดน่ เทคโนโลย”ี ผดิ หวงั จากการไปแขง่ ขนั ทกั ษะวชิ าการบญั ชี การเป็นผู้บริหารวิทยาลัยเทคโนโลยีอาเซียนมีหลักปรัชญาส�ำคัญในการบริหารคือ แล้วได้คะแนนเพยี ง 39 คะแนน จากคะแนน มาอยู่ทนี่ ี่เป็นเวลา 8 ปีเต็ม ได้สรา้ งสถาบันความซ่ือสัตย์และเสียสละเพื่อลูกศิษย์ ส่วน เต็ม 120 คะแนน แต่เธอกไ็ ม่ยอ่ ทอ้ พอขึ้น ไดส้ รา้ งคน ไดแ้ นะนำ� ใหผ้ ทู้ อ่ี ยรู่ ะดบั ปฏบิ ตั กิ ารแนวทางการบรหิ าร เราในฐานะผบู้ รหิ ารสงู สดุ ปวส. เทอมแรกไปสอบแขง่ ขนั ระดับภาคอีก ให้พัฒนาขึ้นเยอะ เป็นส่วนหนึ่งงานวิจัยของหน่วยงานจะต้องสร้างภาวะผู้น�ำให้ คราวน้เี ตรียมตัวไปดี ผลคอื ได้คะแนน 113 ของดิฉันช่ือว่า “การพัฒนาภาวะผู้น�ำเชิงกับผู้บริหารตามล�ำดับลงมา ให้ทุกคนมี คะแนนจากคะแนนเต็ม 120 คะแนน ไดร้ ับ กลยทุ ธส์ ำ� หรบั ผบู้ รหิ ารวทิ ยาลยั อาชวี ะเอกชนภาวะผู้น�ำเชิงกลยุทธ์ในการบริหารจัดการ รางวัลระดับเหรียญทอง ซึ่งอนาคตส�ำหรับ แหง่ ประเทศไทย” วารสารอาชีวะกา้ วไกล 17

ทัศนาอาชวี ะเรอ่ื งโดย : รงุ่ โรจน์ ไชยชาติ ผูอ้ ำ� นวยการวิทยาลยั อาชวี ศึกษาจงั หวัดเลย ภาพโดย : วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาจงั หวดั เลย “สเต็กไทเลย” ผอ.รุง่ โรจน์ ไชยชาติ จุดเร่ิมตน้ ศูนยบ์ ่มเพาะวสิ าหกจิ เพอื่ การศกึ ษา วอศ.เลย ศนู ยบ์ ม่ เพาะวสิ าหกจิ เพอ่ื การศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษา เลย เป็นศูนย์ฝึกนักศึกษาวิชาชีพให้พัฒนาทักษะฝีมือ ด้านวิชาชีพที่ตัวเองได้ร่ำ�เรียนมาให้สามารถนำ�มาใช้ให้เกิด ประโยชนใ์ นชวี ติ จรงิ สามารถออกไปทำ�งานในสาขาวชิ าชพี นั้นๆ ได้ ส�ำหรับร้านสเต็กไทเลย (THAILOEI STEAK) เป็นหน่ึงในศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ คำ� ตชิ มเหลา่ นน้ี อกจากจะทำ� ใหร้ า้ นสเตก็ ไทเพื่อการศึกษาของวิทยาลัยอาชีวศึกษาเลย จัดต้ังข้ึนมาเม่ือปี 2557 เพื่อที่จะให้ เลยเดินหน้าไปได้อย่างดีแล้ว ยังช่วยให้นักศึกษาได้ฝึกวิชาชีพทางด้านอาหาร โดยมีเชฟผู้เช่ียวชาญทั้งไทย/เทศมาให้ นกั ศึกษาทฝ่ี ึกงานอยูไ่ ด้รับประสบการณ์และความรู้ ซึ่งนักศึกษาในสาขาอ่ืนก็ถือว่ามีโอกาสที่ดีในการฝีกงานจริง เช่น ความรู้มากมาย เพราะลูกค้าเองก็ค่อนข้างการจดั ตกแตง่ สถานทใี่ นเรอื่ งดอกไมข้ องนกั ศกึ ษาคหกรรมศาสตรแ์ ละทางดา้ นศลิ ปกรรม หลากหลาย เน่ืองจากจังหวัดเลยเป็นการฝกึ การใหบ้ รกิ ารลกู คา้ ของนักศึกษาการโรงแรมและการทอ่ งเทย่ี ว จังหวัดหน่ึงท่ีมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติแวะ เวยี นผ่านมาไม่น้อย ทำ� ให้เด็กๆ ได้มีโอกาสปรับรสชาตใิ ช้วัตถดุ ิบท้องถิน่ ฝกึ ใชภ้ าษาตา่ งประเทศในการสอ่ื สารไปในตวั แม้ตอนนี้อาจพดู ได้ไม่คล่องนกั แตน่ กั ศกึ ษา เมนขู นึ้ ชอ่ื ของทรี่ า้ นหนไี มพ่ น้ สเตก๊ ทง้ั รสชาตแิ บบทค่ี นไทย ทม่ี าฝกึ งานกไ็ ดส้ มั ผสั ไดเ้ รยี นรปู้ ระสบการณ์ชอบและในปีน้ีเราก็จะมีเชฟจากต่างประเทศซึ่งเป็นเชฟ เบ้ืองต้น อีกท้ังยังได้รับค่าตอบแทนตามข้อที่มีประสบการณ์มาประจ�ำอยู่ที่ร้าน ท�ำให้อาหารมีความ ตกลง ทีอ่ าจได้เพิ่มพิเศษตามรายไดข้ องร้านหลากหลายข้ึน ทง้ั อาหารแบบไทยๆ และทางสไตลย์ โุ รป จะเหน็ วา่ ในศนู ยแ์ หง่ น้ี ถา้ นกั ศกึ ษานน้ั ได้ ซง่ึ นบั จากเปดิ ใหบ้ รกิ ารในปี 2557 กไ็ ดร้ บั การตอบรบั รวม ใช้ความรคู้ วามสามารถ ได้ใช้ประสบการณ์ถึงคำ� แนะนำ� ดีๆ จากลูกคา้ ทง้ั ในเรอ่ื งรสชาตอิ าหาร วตั ถุดบิ ต่างๆ ที่สามารถท�ำให้ลูกค้าเพ่ิมข้ึนก็จะทอี่ ยากใหเ้ ปน็ ของทหี่ าไดภ้ ายในทอ้ งถน่ิ ทงั้ หมด บางทา่ นอาจ เปน็ การเพิม่ รายไดใ้ ห้กับนกั ศกึ ษา ยืนยันได้อยากใหเ้ ราเนน้ รสชาตไิ ปทางแนวอสี านบา้ งหรอื แบบไทยๆ รวม ว่านักศึกษามีรายได้จากการเรียนและฝึกในไปถงึ แหลง่ วตั ถดุ บิ ทไี่ ดร้ บั การแนะนำ� วา่ นา่ จะใชว้ ตั ถดุ บิ ทเ่ี รา ศูนย์แหง่ นีค้ รับมอี ยใู่ นทอ้ งถนิ่ ไมว่ า่ จะเปน็ เรอื่ งของเนอ้ื สตั ว์ เนอื้ ปลา ผกั ซง่ึ ก็จะเนน้ ไปทผ่ี กั ออรแ์ กนคิ ซง่ึ จงั หวดั เลยไมม่ ปี ญั หาเรอื่ งวตั ถดุ บิเหล่านี้อย่แู ล้ว มีอย่มู ากมายโดยเฉพาะท่ีอ�ำเภอภเู รอื18 วารสารอาชีวะก้าวไกล

สร้างผลิตภัณฑเ์ พิม่ มลู ค่า หนา้ ร้านสเตก็ ไทเลย น้องๆ นักศึกษาที่มโี อกาสไดม้ าฝกึ งาน การจัดการเรียนการสอนให้มีคุณภาพ เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญโดยให้นักศึกษาได้ฝึกงานจริงไม่ได้มีเฉพาะ สเตก็ แซลมอนนา่ ทานมากศนู ยบ์ ม่ เพาะทางดา้ นรา้ นสเตก๊ อยา่ งเดยี วเทา่ นนั้ แตใ่ นปี 2558 วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาเลยไดเ้ ปดิ ศนู ยบ์ ม่ เพาะรา้ น วารสารอาชวี ะก้าวไกล 19เบเกอร่ีขึน้ มา รวมทัง้ รา้ นสปาและนวดแผนไทย ขณะที่ร้านสเต็กไทเลยแห่งนี้ก็ก�ำลังเตรียมวางจ�ำหน่ายผลงานของนกั ศกึ ษาในสาขาอน่ื ๆ เชน่ ดอกไมแ้ หง้ ดอกไม้สดจากสาขาคหกรรม งานศิลปะของสาขาศิลปกรรมใครมาทานอาหารกอ็ าจไดข้ องทีร่ ะลึกติดไมต้ ิดมอื กลบัไปด้วย อันนคี้ ือในอนาคต เราจะพฒั นาทำ� ใหศ้ ูนย์นมี้ ีความหลากหลายเพอื่ ผเู้ ขา้ มาใชบ้ รกิ ารอนาคตชาติฝากไวก้ ับอาชวี ศกึ ษา ปจั จบุ นั การเรยี นในดา้ นวชิ าชพี ถอื วา่ เปน็ หวั ใจสำ� คญัในการพัฒนาประเทศ เป็นการเรียนเพื่อใช้ชีวิตจริงๆสามารถนำ� ความรมู้ าประกอบอาชพี ได้ นำ� มาสรา้ งรายได้สร้างฐานะ ส่ิงน้ีผู้เขียนพยายามท�ำความเข้าใจกับทางผปู้ กครองมาโดยตลอดและตอ่ เนอ่ื ง ไมว่ า่ จะเปน็ การออกไปพบปะกบั ผปู้ กครองผา่ นโครงการเยย่ี มบา้ น หรอื แมแ้ ต่การประชมุ กบั สถานประกอบการและการประชมุ จงั หวดัเพอ่ื สร้างความเขา้ ใจและรณรงค์ใหส้ ง่ ลกู หลานเขา้ มาสู่การเรียนทางด้านวิชาชีพ ซึ่งทางสถานศึกษาสามารถรองรับการเติบโตของจังหวดั เลย โดยเฉพาะในอนาคตที่จะเน้นไปในเรอื่ งของการท่องเท่ียว ตรงน้ีเรามนั่ ใจว่าวิทยาลัยของเรามีความพรอ้ ม ขอให้ผปู้ กครองไดม้ น่ั ใจอยา่ งท่ีทางเราก็ไดส้ รา้ งความไวว้ างใจมาโดยตลอด

อาชีวศึกษานานาชาติ DUAL SYSTEM สไตลเ์ ยอรมนี อาชีวศึกษาทเ่ี น้นเรียนรูจ้ ากการลงมอื ทำ� เรียบเรียงโดย : สอท. ณ กรงุ เบอร์ลิน ภาพอ้างอิงจาก : www.thaibizgermany.com และ www.thi.de ระบบอาชีวศึกษาแบบทวิภาคี (Dual System) ของเยอรมนี ท่ีสนใจโดยท�ำสัญญากับบริษัทในฐานะนักศึกษาฝึกงานที่ได้รับเงินถกู กล่าวขานวา่ เป็นกระดกู สันหลงั (backbone) ที่ท�ำใหเ้ ยอรมนี เดอื น บรษิ ทั จะสง่ นกั เรยี นไปศกึ ษาในโรงเรยี นอาชพี (Berufsschule)ผ่านวิกฤตเศรษฐกิจทุกๆ ครั้ง เนื่องจากเป็นระบบที่ท�ำให้ตลาด ท่อี ยใู่ กลๆ้ กับบรษิ ทั 1 - 2 วนั ควบคู่กับการเรยี นรู้ภาคปฏิบัตใิ นแรงงานของเยอรมนมี แี รงงานฝมี อื ตรงกบั ความตอ้ งการของภาคธรุ กจิ บรษิ ทั อีก 3 - 4 วนั ข้อแตกตา่ งทีส่ ำ� คญั จากการฝึกงานทว่ั ไป คอือกี ทง้ั สามารถสรา้ งแรงจงู ใจแกผ่ ปู้ กครองและเยาวชน ทำ� ใหป้ จั จบุ นั การทท่ี กุ บรษิ ทั มี qualified trainer ทผี่ า่ นการรบั รองมาตรฐานกลางตลาดแรงงานของเยอรมนีมีผู้ส�ำเร็จการศึกษาแบบ Dual System จงึ ท�ำใหน้ ักเรียนได้รับความร้ภู าคปฏบิ ตั ิภายใต้มาตรฐานเดียวกนัถึงร้อยละ 54 ในขณะทีผ่ ู้ส�ำเรจ็ การศกึ ษาระดบั ปริญญาตรีมเี พียง กลไกส�ำคัญคือความร่วมมือท่ีใกล้ชิดระหว่างภาครัฐและเอกชนรอ้ ยละ 18 อตั ราการวา่ งงานของประชากรทมี่ อี ายรุ ะหวา่ ง 14-25 ปี ภาครัฐก�ำหนดนโยบายในภาพรวมและสนับสนุนงบประมาณผ่านของเยอรมนีจงึ อยทู่ ่ีเพยี งร้อยละ 7.8 ซ่งึ ตำ่� ทีส่ ดุ ในยุโรป โรงเรยี นอาชพี ในขณะทภ่ี าคเอกชนมสี ภาหอการคา้ และอตุ สาหกรรม จดุ เดน่ ของระบบการศกึ ษาเยอรมนคี อื มคี วามยดื หยนุ่ สงู นกั เรยี น เยอรมนี (DIHK) เป็นองค์กรหลัก โดยมีหน้าที่ตั้งแต่ขั้นตอนการที่ส�ำเร็จหลกั สูตร dual system สามารถศึกษาต่อระดับปริญญาตรี เสนอหลักสูตร (ปัจจุบันมีหลักสูตรวิชาชีพท่ีได้รับการรับรองแล้วไดโ้ ดยสมคั รเรยี นสายสามญั เพมิ่ เตมิ เปน็ เวลา 2-3 ปี อกี ทงั้ วทิ ยาลยั กว่า 350 วชิ าชีพ) การลงทะเบียน การจัดสอบ และการรับรองเทคนิค (University of Applied Science หรอื Fachhochschule) คุณวุฒิ เนื่องจากเป็นหน่วยงานที่สามารถสื่อสารความต้องการหลายแหง่ มคี วามรว่ มมอื กบั บรษิ ทั เปดิ หลกั สตู ร dualstudy ในระดบั ของภาคเอกชนเยอรมนกี บั โรงเรยี นวชิ าชพี ในพน้ื ทต่ี า่ งๆ DIHK ของปรญิ ญาตรที เี่ ทยี บหนว่ ยกติ บางสว่ นใหน้ กั ศกึ ษาจากหลกั สตู ร dual เยอรมนมี ีความเขม้ แขง็ มากและมงี บประมาณ เพราะมขี อ้ กำ� หนดsystem ท�ำใหล้ ดระยะเวลาการศกึ ษาไปได้ 1 - 2 ปี เรื่อง compulsory membership ทท่ี กุ บริษทั ตอ้ งเปน็ สมาชิกของ เยอรมนีไม่มีปัญหาเรื่องค่านิยม นักเรียนอาชีวะเป็นที่ต้องการ DIHK และเสียเงนิ คา่ บ�ำรงุ รายปีจากภาคธรุ กจิ และเปน็ ทยี่ อมรบั จากสงั คม ผบู้ รหิ ารของบรษิ ทั ชน้ั นำ� ในระดับระหว่างประเทศระบบอาชีวศึกษาของเยอรมนีเป็นท่ีหรือ ส.ส.เยอรมนีท่ีมีชื่อเสียงหลายคนก็ส�ำเร็จการศึกษาแบบ ยอมรบั อย่างกวา้ งขวาง ประธานาธบิ ดีโอบามาไดก้ ลา่ วกับนายกรัฐDual System มาก่อน มนตรแี มรเ์ คลิ แสดงความสนใจต่อระบบการศกึ ษาแบบ dual sys- Dual System คือ หลักสูตรที่เน้น \"เรียนรู้จากการลงมือท�ำ\" tem ของเยอรมนี ประเทศเพื่อนบ้านของไทย เชน่ เวียดนาม ลาวเรม่ิ ตน้ จากนกั เรยี นทสี่ ำ� เรจ็ Grade10 จะเลอื กสมคั รเขา้ เรยี นวชิ าชพี สิงคโปร์ มาเลเซีย รวมทัง้ จนี บราซลิ อนิ เดยี รัสเซยี อาร์เจนตนิ า20 วารสารอาชีวะกา้ วไกล

ประโยชนร์ ว่ มของการสง่ เสรมิ ระบบ Dual Systemต่อภาคอุตสาหกรรมโดยเฉพาะ SMEs : นกั เรียนทีส่ �ำเรจ็ หลกั สูตรเป็น perfect match คือ ตรงกับความตอ้ งการของบรษิ ทัต่อนักเรยี น : ไดร้ ับเงนิ เดือนตงั้ แต่เรมิ่ หลกั สูตรและเม่ือสำ� เร็จการศกึ ษารอ้ ยละ 80 ไดร้ ับการจา้ งงานในบรษิ ัททนั ทีต่อประเทศ : ค่าใช้จา่ ยของภาครัฐในการสนับสนุนระบบอาชวี ศึกษาลดลง เนอ่ื งจากภาคเอกชนเขา้ มามสี ว่ นร่วมและอกี หลายๆ ประเทศในยโุ รปไดเ้ รมิ่ นำ� ระบบการศกึ ษาของ *อนึง่ บริษทั BMW มีโรงงานผลิตจักรยานยนต์ในประเทศไทยและเยอรมนไี ปประยกุ ตใ์ ช้ ในขณะทป่ี ระเทศยุโรปตะวนั ออกบาง เขา้ รว่ มโครงการน�ำร่อง German-Thai Dual Excelence Educationประเทศทเี่ คยมรี ะบบDualSystem แตย่ กเลกิ ไป อาทิ โรมาเนยี เพ่อื พฒั นาหลกั สตู รอาชวี ศึกษาในประเทศไทยตัง้ แตป่ ี 2556เริ่มประสบปัญหาขาดแคลนแรงงานจนมีกระแสเรียกร้องใหร้ ฐั บาลทบทวนการตดั สนิ ใจน�ำระบบน้ีกลบั มาใช้ ปริญญาตรแี ละโทแบบ Dual Study ท่ีวิทยาลยั เทคนคิ องิ โกลชตดั ท์ศูนยฝ์ กึ อบรมระบบทวิภาคีของบรษิ ัท BMW TH Ingolstadt เป็นวิทยาลัยแห่งแรกๆ ของรัฐบาวาเรียที่เปิด หลกั สตู รปรญิ ญาตรีและปริญญาโทแบบ Dual Study โดยวทิ ยาลยั มี ศูนย์ฝึกอบรมระบบทวิภาคีของบริษัท BMW กรุงเบอร์ลิน ความตกลงกบั บริษัทในพื้นท่กี วา่ 80 แหง่ โดยบรษิ ทั เปน็ ผู้คดั เลือกก่อตั้งมาแล้วเป็นเวลากว่า 40 ปี ปัจจุบันมีช่ือเสียงใน นักศึกษาท่ีมีคุณสมบัติครบถ้วนตามระเบียบของวิทยาลัย เมื่อเข้าการรักษาความเป็นต้นฉบับของระบบการศึกษาแบบทวิภาคี ศึกษาในวิทยาลัยแล้วนักศึกษาจะมีตารางเข้าฝึกงานกับบริษัทที่ตน(Dual System) ของเยอรมนีและเป็นที่นิยมอย่างสูงในกลุ่ม สงั กดั มากกวา่ นกั ศกึ ษาหลกั สตู รปกติ ปจั จบุ นั มนี กั ศกึ ษาในหลกั สตู รเยาวชนเยอรมนี เพราะเป็นโรงงานผลิตจักรยานยนต์ท่ีใหญ่ Dual Study แล้วกวา่ 800 คน และมแี นวโนม้ เพิม่ ขึ้นอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ท่ีสุดในโลกของบรษิ ทั BMW หลักสตู รปรญิ ญาตรีแบบ Dual Study มี 2 รปู แบบ คือ หลักสตู รการฝกึ อบรมระบบทวิภาคีของบรษิ ทั ใช้เวลา 3 ปี 1. ปริญญาตรีแบบ combined studies with apprenticeshipมนี กั ศึกษาชน้ั ปีละประมาณ 20 - 25 คน โดยเปิดรับสมคั ร ใชเ้ วลา 4.5 ปี เนอื่ งจากนกั ศกึ ษาจะตอ้ งทำ� งานกบั บรษิ ทั กอ่ น1 ปเี ตม็นกั เรยี นทสี่ ำ� เรจ็ การศกึ ษา Grade 10(สายอาชพี ) หรอื Grade และในระหวา่ งการศกึ ษา นกั ศกึ ษาในหลกั สตู รจะไดเ้ ขา้ ฝกึ งานกบั บรษิ ทั12 (สายสามัญ) มีระบบการคัดเลือกทางออนไลน์ อตั ราการ ที่ตนสังกัดในลักษณะ on the job training ในชว่ งปดิ ภาคการศกึ ษาแขง่ ขนั ประมาณ 3:1 นกั ศกึ ษาสามารถเลอื กสาขาทส่ี นใจ อาทิ มากกวา่ นกั ศกึ ษาฝกึ งานทว่ั ไป เมอ่ื สำ� เรจ็ การศกึ ษานกั ศกึ ษาจะไดร้ บัmechatronics, industrial mechanics, electronics ฯลฯ ท้ังวุฒิปริญญาตรีและประกาศนยี บัตรวิชาชพี ที่ DIHK ใหก้ ารรบั รองนักศึกษาท่ีส�ำเร็จหลักสูตรมีอัตราท�ำงานต่อกับบริษัทเกือบ 2. ปรญิ ญาตรแี บบ study program with intensified internships100 เปอร์เซน็ ต์ บางรายศึกษาตอ่ ในระดบั มหาวิทยาลยั กอ่ น ใชเ้ วลา 3.5 ปเี หมือนกบั รูปแบบ (1) แตไ่ มม่ กี ารทำ� งานกบั บรษิ ัทกอ่ นแลว้ จึงกลับเขา้ มาท�ำงานกับบรษิ ัท BMW 1 ปี อย่างไรกด็ ี นักศึกษาในหลกั สตู รน้ีมชี ั่วโมงฝึกงานกบั บริษัทท่ตี น ในปที ี่ 1 นกั ศกึ ษาจะเรยี นรทู้ กั ษะพนื้ ฐานทศ่ี นู ยฯ์ และในปที ี่ สังกัดในช่วงปิดภาคการศึกษา มากกว่านักศึกษาในหลักสูตรปกติ2-3 จะมโี อกาสเขา้ ฝกึ งานในโรงงานการผลติ โดยนกั ศกึ ษาจะ ร้อยละ 50 เม่ือส�ำเร็จการศึกษา นักศึกษาจะได้รับวุฒิปริญญาตรีเรยี นรภู้ าคทฤษฎใี นโรงเรยี นวชิ าชพี ในพน้ื ทตี่ ามสาขาทนี่ กั ศกึ ษา ซ่งึ มกี ารระบวุ า่ ไดเ้ ข้ารว่ ม Dual Study ด้วย เลือกไว้เป็นเวลา 1 สัปดาห์ สลบั กับการฝกึ งานภาคปฏิบตั ทิ ี่ สว่ นหลกั สตู รปรญิ ญาโทแบบDual Study ใชเ้ วลา 1.5 - 2 ปี ในภาคบริษทั BMW เป็นเวลา 2 สัปดาห์ ตวั อยา่ งโรงเรียนวิชาชพี ใน การศึกษาท่ี 1 - 2 นักศึกษาจะเรียนที่วิทยาลัยตามปกติและในพ้ืนท่ี ไดแ้ ก่ ศูนยฝ์ กึ วิชาชพี OSZ TIEM ท่ีสมเด็จพระเทพรตั น- ภาคการศึกษาที่ 3 นักศึกษาจะเข้าฝึกงานในบริษัท ท�ำให้มีชั่วโมงราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารีเคยเสดจ็ ฯ เยือน นอกจากนี้ ภาคปฏิบัติไม่ต่�ำกวา่ 34 สัปดาหห์ รอื 8.5 เดือน DIHK ยงั มสี ว่ นรว่ มในการตรวจสอบระบบและจัดการประเมนิ นอกเหนือจากหลักสตู รปริญญาภาคปกตแิ ล้ว TH Ingolstadt ยังมีผลนักศึกษาเพื่อให้นักศึกษาท่ีส�ำเร็จหลักสูตรมีคุณวุฒิเป็นที่ หลักสตู รภายใต้ Institute for Executive Education ส�ำหรบั ผู้บรหิ ารยอมรบั ในระดบั ประเทศ โดยมคี วามรว่ มมอื ดา้ นการแลกเปลย่ี น และบคุ คลท่ที ำ� งานแล้วนกั ศึกษาและอาจารย์กับหลายประเทศในยโุ รป วารสารอาชวี ะก้าวไกล 21

ป้ายหนา้ อาเซียน ประตูชัย พระธาตหุ ลวง เยือนแค่เพยี งคร้งั ...ณ วังเวยี ง (จบ) Goodbye Vientiane เรื่องโดย : พาฝัน อารมี า ภาพโดย : วริ ิยะ สกุลไทยหลังเสร็จการเยอื น 1 ในทรปิ ทเ่ี ป็นความฝันทวี่ งั เวียง ก่อนเดนิ ทางกลับ ดฉิ นั กับเพ่ือนๆ ตัดสนิ ใจพักและเตรียมเที่ยวทีเ่ วียงจนั ทน์ 1 คืน ทีพ่ ักคนื สุดทา้ ยบนผนื ดินคนละฟากฝงั่ โขงทีร่ ับสญั ญานโทรศพั ทจ์ ากไทย ได้เปน็ เกสเฮ้าส์เลก็ ๆ ซ่งึ เจ้าของชาวฟิลปิ ปินสค์ อ่ นข้างเปน็ กนั เอง ภายในตกแต่งด้วยภาพศลิ ปิน นกั รอ้ งชอื่ ดงั ซึ่งภาพทีเ่ ลอื กมาประดับตามกำ�แพงให้ความรู้สกึ มสี เน่ห์นา่ ค้นหาไปอกี แบบ เป็นที่น่าสังเกตว่ากิจการร้านค้าต่างๆ ในเวียงจันทน์ เช่น ต่อไปของทีมเรา และเราก็ได้ไปเจอร้านกาแฟตกแต่งร้านรวงร้านอาหาร ร้านขายเสื้อผ้า ร้านนวดแผนโบราณ ร้านกาแฟ สวยงามน่านั่ง แตร่ ายการอาหารและเคร่อื งดมื่ ท�ำใหน้ กั ทอ่ งเทีย่ วร้านเช่าจักรยาน หรือแม้กระท่ังธุรกิจที่พักอาศัย เจ้าของกิจการ แบกเป้อย่างพวกเราสะดุ้งจนแทบนั่งไม่ติดเก้าอ้ี แต่ก็ต้องกัดฟันมักจะเป็นชาวต่างชาติแทบทั้งส้ิน เท่าที่ทราบจะมาจากท้ังไทย ยอมอุดหนุนเนอื่ งจากร่างกายต้องการความเย็นอยา่ งมาก ทีมเราเวียดนาม เกาหลี และฟิลปิ ปนิ ส์ เปน็ สว่ นใหญ ่ ชวนพนกั งานขายพดู คยุ และไดค้ วามวา่ เจา้ ของรา้ นทนี่ เี่ ปน็ คนเกาหลี เมื่อเข้าท่ีพักเรียบร้อยทีมเราก็รีบเร่งไปยังแลนด์มาร์คส�ำคัญ จงึ ถงึ บางออ้ วา่ ท�ำไมราคาอาหารและเครื่องดม่ื ถงึ สงู นักอย่างประตูชัยเน่ืองจากเกรงว่าจะไปไม่ทันเวลาปิดท�ำการ พอแดดรม่ ลมตก ทีมเราก็เรียกรถตุ๊กๆ เพอื่ ไปยงั ถนนคนเดนิเนอ่ื งจากอยากเขา้ ไปขน้ึ สว่ นทช่ี มเมอื งจากดา้ นบนของประตชู ยั ได้ หรอื ตลาดนัดนั่นเอง ทมี เราโชคดไี ดโ้ ชเฟอรเ์ ปน็ คนอธั ยาศยั ดมี ากแต่ถึงแม้รีบยังไงก็ไปไม่ทันเวลาอยู่ดี เสียดายมากๆ จึงชดเชย โชเฟอรค์ นนีไ้ ม่ใชค่ นลาว แต่เปน็ ชาวแมว้ ทีค่ นลาวนำ� มาเลีย้ งเป็นความรู้สึกด้วยการถ่ายภาพบริเวณรอบๆ แทน อาทิ สระน�้ำพุ บตุ รบุญธรรม ผา่ นการท�ำงานมาหลากหลายอาชีพแล้ว แต่กม็ าและสถานท่ีราชการต่างๆ ทีอ่ ย่รู ายล้อม ช่วยขบั เน้นใหป้ ระตูแหง่ หยดุ อยูท่ ีอ่ าชีพขับรถตุก๊ ๆชัยชนะย่ิงดูขรมึ เข้มขลังนา่ เกรงขามยงิ่ ขน้ึ ไปอกี ดฉิ นั : โชคดมี ากเลยทไ่ี ดม้ ารถคนั นี้ คนขบั ใจดี คดิ ราคาไมแ่ พง อากาศที่เมืองเวียงจันทน์ช่วงเวลานั้นร้อนระอุไม่แพ้อากาศท่ี แถมอธิบายทางไดด้ มี ากเลยเมืองไทย ร้านเคร่ืองด่ืมติดเคร่ืองปรับอากาศจึงเป็นเป้าหมาย โชเฟอร์: วนั หลงั มากเ็ รยี กไดอ้ กี นะ คนั นใี้ จดี เดย๋ี วผมสง่ ลงตรงน้ี22 วารสารอาชีวะกา้ วไกล

แล้วเดนิ ตอ่ ไปนะ เพราะถ้าไปตอ่ รถจะติดแล้ว ตอ้ งเดินยอ้ น ความรอ้ นของอากาศไมไ่ หว ตอนนอี้ ณุ หภมู ใิ นรา่ งกายสงู มาก ใบหนา้กลับมาอยดู่ ี เท่ยี วใหส้ นกุ นะ ของดฉิ นั แดงกำ�่ อนั เนอื่ งมาจากอากาศรอ้ นและออกกำ� ลงั ปน่ั จกั รยาน โชเฟอร์ชาวแมว้ จอดส่งเราพร้อมรอยยม้ิ ทม่ี รี ะยะทางไกลแถมยงั เปน็ เนนิ นอ้ ย-ใหญอ่ กี ตา่ งหาก ออ้ ...มสี งิ่ หนง่ึ เมื่อมาถึงพวกเราจึงเริ่มแยกย้ายกันเดินตามอัธยาศัย ทอี่ ยากแนะนำ� สำ� หรบั ผทู้ จ่ี ะมาปน่ั จกั รยานในประเทศลาว วา่ ตอ้ งปน่ั ในโดยนดั พบกนั ทที่ า้ ยตลาดเพอื่ รวมตวั กนั ไปชอปปงิ ตอ่ ท่ีcenter เลนขวาของถนนนะคะ เพราะท่ีน่ันการขับข่ีพาหนะจะยึดเลนขวาpoint เวยี งจนั ทน์ แตพ่ ลนั 1 ในสมาชกิ ของทมี เรากส็ ง่ เสยี งโวยขนึ้ ซึง่ ต่างจากบ้านเราทย่ี ึดเลนด้านซ้าย ท�ำใหค้ นท่ีไม่เคยมาป่นั สับสน ปอนด์ :“เฮ้ย! เงนิ หาย” ได้เหมือนกนั บอล :“อ้าวๆ หายไปเท่าไหร”่ หลังจากเท่ียวชมเมืองเวียงจันทน์เรียบร้อยแล้ว เวลาจากลา ปอนด์ :“พันนึง เน่ยี เก็บไว้ในช่องซิปเลยนะ สงสัยโดนชน ก็มาถึง แต่ไม่วายมีเหตุการณ์ที่สร้างความหงุดหงิดใจให้กับเราเกิดเมอื่ กแ้ี น่เลย ถึงวา่ แปลกๆ” ขึ้นอกี ครงั้ ! ดิฉัน :“แนใ่ จนะ จะโดนลว้ งเหรอ อยู่ในซปิ ขนาดน้ัน” จะไมอ่ ารมณเ์ สยี ไดอ้ ยา่ งไร ในวนั ทอ่ี ากาศรอ้ นระอเุ หมอื นโลกเปน็ ปอนด์ :“แน่ใจสิ เราจ�ำได้ เราเกบ็ แบงก์พนั ไวใ้ นน้ี ยงั ไม่ได้ เตาเผา รถทวั รท์ เี่ ราขน้ึ ไปดนั เครอ่ื งปรบั อากาศเสยี ! พอจะเปดิ กระจกเอามาใช้เลย โดนเข้าซะแล้ว” ดันเป็นกระจกแบบปิดตาย! คราวน้ีเลยเหมือนนั่งเตาอบกลับบ้าน เม่ือเกิดเหตุการณ์เช่นนี้ ทีมเราจึงเพ่ิมความระมัดระวัง ดิฉันหัวเสียมาก แต่คนขับรถแกไม่ได้อนาทรร้อนใจกับเร่ืองนี้เลยมากข้ึน และเดินต่อไปยัง center point เมื่อไปถึงทีมเรา ขบั ชลิ ลม์ ากๆ พอถึงด่านตรวจคนเขา้ เมืองทางฝ่ังลาว ทมี เราจงึ รีบก็ตอ้ งอมย้มิ เนื่องจาก center point ท่ีเห็นมคี วามกะทัดรัด หารถเปลยี่ น ไปถามขอ้ มลู จากเจา้ หนา้ ทท่ี นี่ น่ั ไดค้ วามวา่ มรี ถตบู้ รเิ วณมากกว่าทคี่ าดไว้มาก แตท่ ท่ี �ำใหเ้ ราตอ้ งอมยม้ิ เพ่มิ คอื ราคา รา้ นสะดวกซอื้ ทพี่ าเราไปทจี่ งั หวดั อดุ รธานไี ด้ แตท่ มี เรากถ็ กู หลอกอกีสนิ คา้ ท่ีถกู กวา่ บ้านเราคอ่ นขา้ งเยอะ ซึ่งตัง้ แต่วนั แรกท่ีมาถึง จนได้ และที่น่าเจ็บใจคือคนที่หลอกเราคราวนี้ดันเป็นคนไทยด้วยเห็นจะมีแต่ท่ีน่ีแหละขายของในราคาถูก คงเป็นเพราะภาษี กันเองนแ่ี หละน�ำเข้าไม่แพงเท่าบ้านเรา ไม่ก็สินค้าบางอย่างได้ยกเว้นภาษี ทด่ี า่ น ตม.จะมชี ายชาวไทยกลมุ่ หนงึ่ ยนื ประกาศวา่ มรี ถบรกิ ารเขา้หรือเปล่าอันน้ีกไ็ ม่อาจทราบได้ เมอื งไทย ซง่ึ ไมใ่ ชร่ ถโดยสารประจำ� ทางทวั่ ไป แตจ่ ะใชร้ ถกระบะสว่ นตวั ทีมเราอยู่ชอปปิงกันสักพักก็เดินทางกลับเพราะความ เปน็ พาหนะ มรี าคาแพงมาก ทมี เราจงึ ตดั สนิ ใจใชบ้ รกิ ารรถตปู้ ระจำ� ทางเหนอื่ ยลา้ และเนอ่ื งจากพรงุ่ นย้ี งั ตอ้ งตะลอนเทย่ี วทวั่ เวยี งจนั ทน์ แต่ก็ถูกชายไทยกลุ่มน้ันให้ข้อมูลเท็จว่ารถตู้หมดแล้วเพราะเลยเวลากันตอ่ อีก 1 วัน ใหบ้ รกิ าร ทมี เราไม่มที างเลอื ก แตก่ ไ็ ม่ยอมจา่ ยคา่ รถในราคาท่แี พง เช้าวันรุ่งขึ้นมาถึงพร้อมไอเดียในการเช่าจักรยานปั่น เกินปกติไปมาก จึงต้องทนก้มหน้านั่งรถเตาอบต่อจนมาถึงจังหวัดชมเมือง ซึง่ ราคาค่าเชา่ ถกู จนเราแปลกใจ ปนั่ ทั้งวนั 40 บาท อดุ รธานเี พอื่ ขน้ึ เครอ่ื งกลบั กรงุ เทพฯ กอ่ นความกลวั เครอื่ งบนิ ของดฉิ นัต่อคันเท่านั้น!...แหม ถ้ารู้อย่างน้ี คงได้เช่าตั้งแต่เม่ือวาน จะถูกตอกย้�ำด้วยการประสบการณ์ลงจอดท่ีหวาดเสียวที่สุดในชีวิตเพราะคุ้มราคากว่ารถรับจ้างมากมาย ชนดิ อย่าขอใหเ้ จอะเจออีกเลย ดิฉันปั่นจักรยานไปพร้อมกับเพ่ือนๆ ฝ่าเปลวแดดเมือง ขอขอบคณุ ทุกทา่ นท่ตี ดิ ตาม และหวงั เปน็ อย่างยงิ่ ว่าเรือ่ งราวทไี่ ด้เวยี งจันทน์จากทพี่ ักไปยงั พระธาตุหลวงที่ชาวลาวนยิ มใชเ้ ปน็ เลา่ สกู่ นั ฟงั จะเปน็ ขอ้ มลู ใหท้ า่ นไดเ้ ตรยี มตวั (บวกเตรยี มใจ) ใหพ้ รอ้ มสถานทใี่ นการถา่ ยภาพพรเี วดดง้ิ และตอนทไี่ ปถงึ กก็ ำ� ลงั มคี รู่ กั หลกี เลย่ี งกบั เหตกุ ารณท์ ไี่ มพ่ งึ ประสงค์ เพอื่ การเดนิ ทางทอ่ งเทย่ี วอยา่ งถา่ ยภาพอยพู่ อดี ดฉิ นั อดชนื่ ชมกบั นำ้� อดนำ�้ ทนของคบู่ า่ ว-สาว มีความสุขในผืนแผน่ ดินบ้านพีเ่ มอื งนอ้ งของไทย ...สวสั ดีไปไม่ได้ท่ีสามารถทนความร้อนของอากาศในวันนั้นได้(พระธาตุหลวงมปี ระวตั คิ วามเป็นมาท่ีน่าสนใจ แตเ่ น่ืองจาก รา้ นกาแฟราคาแพงจนสะด้งุพ้ืนท่ีในการเขียนค่อนข้างจ�ำกัด ใครสนใจสามารถศึกษาเพิม่ เติมได้จากเว็บไซตท์ ่เี กี่ยวกบั เมอื งเวยี งจันทน)์ ถดั จากพระธาตหุ ลวงทมี เราปน่ั จกั รยานยอ้ นกลบั มาทางเดมิ เพอ่ืไปยงั หอพระแกว้ แตน่ า่ เสยี ดายไปถงึ ชว่ งเวลาทห่ี อพระแกว้ ปดิบางคนตัดสินใจรอจนถึงเวลาท่ีหอพระแก้วเปิดให้เข้าชมแต่ดิฉันกับเพ่ือนๆ อีกส่วนหนึ่งขอกลับก่อน เนื่องจากทน วารสารอาชีวะก้าวไกล 23

ดาวเดน่ อาชีวะเรอ่ื งโดย : พ่แี สนดี ภาพโดย : เวทย์ มุสสิ วัสด์ิฝีมอื เชือ่ ม ฝีมือชน ศลิ ปนิ พ้นื ถิ่นประกาศตนยงั บราซลิ เพลงพณิ พิฆาต ศภุ รัตน ์ รตั นพนั ธ์ ช่อื เล่น เจ อรณชิ า เสมาม่งิ ชัย (วิภาสรัตนากร) ช่ือเลน่ อร กำ� ลงั ศึกษา : ปวช.3 แผนกวิชาช่างเชื่อมโลหะ กำ� ลังศกึ ษา : ปวช.2 สาขาพาณชิ ยกรรมแผนกการบญั ช ี วิทยาลยั เทคนิคนครนายก วิทยาลยั เทคนิคอำ� นาจเจริญ เกดิ : 17 กุมภาพนั ธ์ 2538 เกดิ : 18 สิงหาคม 2541 ภูมลิ ำ� เนา : อ.วงั สมบูรณ์ จ.สระแกว้ ภมู ิลำ� เนา : อ.เมือง จ.อ�ำนาจเจริญ ผคู้ ้นพบดาว : ไพฑูรย์ จนั ทร์บวร ครฝู กึ ฝมี อื แรงงาน ผคู้ ้นพบดาว : สตอ. ปรัตถกร ภญิ โญรวิภาส ช.2 ศูนย์พฒั นาฝีมอื แรงงาน ครโู รงเรียนตำ� รวจตระเวนชายแดน, จังหวดั นครนายก วรยุทธ เสมามง่ิ ชัย เจา้ ของวงดนตรี ทองไทวาทะศลิ ป์ ในการแข่งขันทักษะฝีมือแรงงานนานาชาติครั้งท่ี 43 เมื่อค้นค�ำว่า “เดี่ยวพิณพิฆาต” ใน youtube ภาพของ (World Skills 2015) ณ เมืองเซาเปาลู ประเทศบราซิล “น้องอร” สาวน้อยที่เล่นพิณดนตรีอีสานอย่างคล่องแคล่ว “เจ” หรอื ศภุ รตั น ์ รตั นพนั ธ์ สร้างชอื่ พสิ ูจนฝ์ มี ือช่างเชอ่ื มไทย จะปรากฏข้ึน เบื้องหลังตัวโน้ตท่ีพล้ิวไหวไปตามการตวัดน้ิว ควา้ เหรยี ญทองแดงจากการแขง่ ขนั ทเี่ ปรยี บเสมอื นโอลมิ ปกิ ของ บนเคร่ืองสายพื้นถ่ินน้ัน แฝงไปด้วยอดีตอันทุกข์ยาก ท�ำให้ นักเรียนสายอาชีพได้อย่างย่ิงใหญ่ โดยก่อนหน้านี้เจเคยคว้า เสียงเพลงจากเครื่องดนตรีพ้ืนบา้ น คล้ายเปน็ ส่ิงช่วยปลดปล่อย รางวลั ชนะเลศิ จากการแขง่ ขนั ฝมี อื แรงงานอาเซยี นมาแลว้ ครงั้ นี้ ความเศรา้ และช่วยยึดเหนย่ี วจติ ใจ จึงเป็นตัวแทนของประเทศไทยเขา้ รว่ มแข่งขันในระดบั โลก “ชอบดนตรีพ้ืนบ้านมาตั้งแต่สมัยเรียนชั้นประถมศึกษา “หลังจากได้รับเลือกให้เป็นตัวแทนประเทศก็ต้องเก็บตัว เคยเรยี นกบั ครอู าสาตอน ป.5 หลงั จากนนั้ กศ็ กึ ษาจากสอื่ ออนไลน์ ฝึกซ้อมเป็นเวลาท้ังหมด 6 เดือน มีเทรนเนอร์มาช่วยฝึกสอน เกบ็ ประสบการณด์ ว้ ยการทำ� งานพเิ ศษในวงกลองยาวของหมบู่ า้ น” ต้ังแต่การเตรียมความพร้อมของร่างกาย เช่น การฝึกสมาธิ นอ้ งอรมาไดโ้ อกาสครงั้ สำ� คญั หลงั จากเขา้ เรยี นทว่ี ทิ ยาลยั เทคนคิ นอกจากจะฝกึ ในศนู ยแ์ ลว้ ยงั มกี ารลงพนื้ ทเี่ พอื่ ใหไ้ ดร้ บั ประสบการณ์ อ�ำนาจเจริญ อาจารย์ที่วิทยาลัยเห็นและได้ยินความสามารถ จรงิ สว่ นในการแขง่ ขนั พอไปถงึ บราซลิ เรากต็ อ้ งตรวจดอู ปุ กรณ์ ทางดา้ นดนตรจี งึ มอบโอกาสใหเ้ ปน็ สว่ นหนงึ่ ของวงโปงลางประจำ� เพอ่ื ใหร้ วู้ า่ เราแขง่ ขนั ดว้ ยอปุ กรณอ์ ะไร หนา้ ตาเครอื่ งเปน็ อยา่ งไร วิทยาลยั มโี อกาสไดร้ บั ทนุ ต่างๆ และปจั จบุ ันเธอยังเปน็ นักร้อง อุปสรรคท่ีเจอจึงเป็นการเสียเวลากับเครื่องมือท่ีเราไม่คุ้นเคย นกั ดนตรอี ยใู่ นสงั กดั ของทองไทวาทศลิ ป ์ เธอมคี ตนิ า่ สนใจทท่ี ำ� ให้ ผมต้องวางแผนว่าชิ้นนี้ใช้เวลาท�ำก่ีชั่วโมง จะท�ำชิ้นไหนต่อ กลายมาเป็นเดีย่ วพณิ พิฆาตอย่างในทุกวนั น้ี จากทงั้ หมด 7 ชน้ิ ทไ่ี ด้รับมาในเวลา 18 ชั่วโมง” “แม้จะเป็นเต่าท่ีเดินต้วมเตี้ยมๆ แต่มันก็ใช้เท้าของมันเดิน มาถงึ ตรงน้ี จากลกู ชาวสวนฟนั ฝา่ สชู่ า่ งมที กั ษะฝมี อื ระดบั โลกได้ ไปได้ถงึ จดุ หมายได้ และถงึ แม้วา่ วันนจ้ี ะเป็นไดแ้ ค่นกกระจอก เจบอกว่าหายเหนื่อย “ผมรู้สึกดีใจมาก เพราะเราสามารถ แตม่ ันกใ็ ชป้ กี ของมนั บินไปไดด้ ว้ ยตวั เอง” พฒั นาตนเองจนกา้ วหนา้ และสามารถทำ� ไดต้ ามเปา้ หมายทตี่ งั้ ไว้ สว่ นในอนาคต อยากเปน็ ครชู า่ งนำ� ความรปู้ ระสบการณถ์ า่ ยทอด ส่คู นรนุ่ หลงั \"24 วารสารอาชีวะก้าวไกล

ทดเวลาท้ายคาบมองครูใหร้ ู้ถงึ ครูเปน็ นักการศกึ ษา อตั ลกั ษณ์ ภาพลกั ษณใ์ นการเปน็ นกั การศกึ ษาของครู เรื่องโดย : รศ. ดร.วินยั ดำ� สวุ รรณ จัดว่าเป็นตัวการให้มีการก่อรูปอัตลักษณ์ ทางวิชาชีพครูด้านอ่ืนๆ ให้เกิดขึ้นตามมา อั ต ลั ก ษ ณ ์ ท า ง วิ ช า ชี พ ค รู ท่ี นักการศึกษา (educator) คือก ล ่ า ว ถึ ง ใ น ท า ง ศึ ก ษ า ศ า ส ต ร ์ มี ผู้มีความรู้ ความสามารถทางวิชาการมุมมองที่หลากหลายแตกต่างกันไป ด้านศึกษาศาสตร์และครุศาสตร์ สามารถเกิดขึ้นได้จากการหล่อหลอมกล่อมเกลา น� ำ ค ว า ม รู ้ นั้ น ไ ป ใ ช ้ ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า นทางสังคม สามารถวางระบบและพัฒนา ท้งั การสอน การนเิ ทศ การบริการการศกึ ษากลไกให้เกิดขึ้นได้จริง บทความนี้จะ ได้อย่างเช่ียวชาญกล่าวถึงอัตลักษณ์ทางวิชาชีพครู การก่อรูปอัตลักษณ์ครูผู้เป็นนักการ3 คณุ ลักษณะ คอื ครเู ปน็ นักการศกึ ษา ศึกษา ผู้บริหารระดับสูง หรือองค์กรครูเป็นผู้สันทัด และครูเป็นผู้บ่มเพาะ พัฒนาครู ต้องส่งเสริมให้สถานศึกษามีเป็นการเชิญชวนให้ผู้อ่านมองครูให้รู้ถึง ลกั ษณะเปน็ ชมุ ชนทางวิชาชพี (professionalอตั ลักษณ์ community) เพราะเมื่อสร้างชุมชน ทางวิชาชีพครูขึ้นมาได้ สถานศึกษานั้นจะ มีพันธสัญญาต่อกันในการจัดการศึกษาไป ในแนวทางเดียวกัน และลงมือท�ำงานให้ เกิดผลงานร่วมกัน มีจินตนาการร่วมที่จะ ย้อนคิดทบทวนถึงตัวเอง สถานศึกษา วารสารอาชวี ะกา้ วไกล 25

ครูมืออาชีพต้องเป็นนักการศึกษา ครูเป็นผบู้ ม่ เพาะ เป็นผู้สันทัด และเป็นผู้บ่มเพาะ จึงจะเรียกได้ว่าเป็นครูแท้ ตัวตนของครูแท้สะท้อนให้เห็นการท�ำงานที่เป็นกระบวนการ คล้ายเกษตรกร เร่ิมตั้งแต่การเตรียมพ้ืนที่เพาะปลูก หว่านไถและค้นหาความเป็นไปได้ในอนาคต สิ่งส�ำคัญประการ บำ� รงุ รักษา ไปจนถึงการเก็บผลผลิตตา่ งกนั ที่เมลด็ พนั ธุข์ องเกษตรกรสุดท้ายคือ มีความเป็นพวกเดียวกัน (เป็นนักการศึกษา เปน็ พืช แต่เมล็ดพนั ธข์ุ องครู คอื ศษิ ย์เหมือนกัน) ที่สร้างความเชื่อม่ันให้กับผู้เก่ียวข้องว่า ผู้บ่มเพาะ (cultivator) คือ ผู้ท�ำให้เกิดศรัทธาเกิดแรงกระตุ้นกิจกรรมการเรียนการสอน หลกั สูตรและการวดั ประเมนิ ผล แรงจงู ใจ ใฝค่ ณุ งามความดแี กผ่ เู้ รยี น คอยอำ� นวยความสะดวก จดั ปจั จยัที่สถานศึกษาด�ำเนินการมีความเหมาะสมมีคุณภาพ เกื้อหนุนให้ศิษย์หรือผู้เรียนมีความเข้มแข็ง แก่กล้าในวิชาความรู้ก่อให้เกิดประสิทธิผลแก่ผู้เรียนตามเง่ือนไขทางการศึกษา มีนิสัยใจคอและทักษะการด�ำเนินชีวิตท่ีก่อประโยชน์แก่ตนเองและแตล่ ะระดบั สังคม อัตลักษณ์ของความครูเป็นผู้บ่มเพาะอาจแสดงเด่นชัด ครูเป็นผูส้ ันทัด ใหเ้ หน็ ในการศกึ ษาทกุ ระดบั โดยเฉพาะในวงการอาชวี ศกึ ษา เนอื่ งจาก มีศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจเพ่ือการศึกษาท่ีจัดต้ังขึ้นในสถานศึกษา ครูต้ังแต่สมัยบรรพกาลจนถึงปัจจุบันที่เรียกว่า ครูใน ครูเป็นผู้บ่มเพาะมักถูกเรียกว่าอาจารย์ท่ีปรึกษา อาจารย์ประจ�ำศตวรรษท่ี 21 มีอัตลักษณ์ร่วมอย่างหน่ึง คือ ความเป็น โครงการ ฯลฯผู้สนั ทดั ทงั้ 3 อตั ลกั ษณท์ ไี่ ดน้ ำ� เสนอไปนน้ั เปน็ อตั ลกั ษณข์ องครทู ผ่ี เู้ ขยี นชวน ความสนั ทัด (mastery) หมายถงึ การมีความสามารถ ใหม้ องอยา่ งใครค่ รวญและดว้ ยความตระหนกั วา่ ครมู อื อาชพี ตอ้ งเปน็อย่างสูงในเร่ืองใดเรื่องหน่ึง ในภาษาไทยมีความหมาย นกั การศกึ ษา เปน็ ผสู้ นั ทดั และเปน็ ผบู้ ม่ เพาะ จงึ จะเรยี กไดว้ า่ เปน็ ครแู ท้คล้ายกับค�ำวา่ รู้แตกฉาน เปน็ ครูทส่ี ังคมยอมรับ ยกยอ่ ง ใหเ้ กยี รติ เปน็ อตั ลกั ษณส์ �ำคญั ของครู เงื่อนไขท่ีจ�ำเป็นต่อการเกิดความสันทัดเร่ิมที่บุคคล ที่จะช่วยค�้ำจุนสังคมให้ด�ำรงอยู่ได้ การกล่าวถึงครู การบันทึกต้องเรียนรู้ทักษะย่อยชุดหน่ึงและต้องพัฒนาจนเป็น เรอื่ งราวครูในดวงใจ จ�ำเปน็ อย่างยิ่งท่ตี อ้ งใช้อตั ลกั ษณท์ างวชิ าชีพครูผู้มีทักษะย่อยนั้นอย่างจริงจัง ตามมาด้วยการฝึกฝน ท้งั สามประการเปน็ ตวั ต้ังนำ� ทกั ษะยอ่ ยชดุ นน้ั มาบรู ณาการเขา้ ดว้ ยกนั อย่างกลมกลืนเป็นเนื้อเดียวกัน ขั้นต่อไปเป็นการรับรู้โดยส่วนตัวว่าจะ ความสันทดั มอี งค์ประกอบอย่างไรประยุกต์ใช้ทักษะย่อยนั้นเวลาใด และใช้อย่างไรจึงจะ ลองพจิ ารณาแผนภาพตอ่ ไปน้ีเหมาะสมหรือเรยี กว่า ความเชีย่ วชาญ อัตลักษณ์ครูเป็นผู้สันทัด มีความหมายครอบคลุม เรียนรู้ทกั ษะย่อย ฝึกฝนน�ำทกั ษะยอ่ ย ประยุกต์ใช้ทักษะยอ่ ยไปถึงบุคคลทั่วไปที่มีความเช่ียวชาญในกิจกรรมหรืองาน มาบรู ณาการทมี่ ที กั ษะเฉพาะอยา่ ง เชน่ ครเู ยบ็ ปกั ถกั รอ้ ย ครสู อนทำ� ผมครสู อนทำ� อาหาร ครกู ารเรอื น ครเู พลง ครผู ฝู้ กึ สอนกฬี า ฯลฯ26 วารสารอาชวี ะก้าวไกล



อกั ษรไขว.้ ..ไดร้ างวลั กติกาเลน่ เกมโดย : นายชา่ งน้อย เผลอแปล๊บเดียวส้ินปีอีกแล้ว เวลาผ่านไปเร็วอย่างนี้ 1 2 3ชาวอาชีวะก้าวไกลก็ไม่ควรรีรอนิ่งนอนใจ รีบแก้ปริศนาอักษรไขว้แล้วรับโจ๊กอร่อยๆ ไปทาน ก่อนจะหมดเขตร่วมสนุกไปโดยไม่รู้ตัว! กดมอื ถอื ถ่ายรูปตารางทที่ �ำไว้ แนบชอ่ื ท่อี ยู่ ตดั หน้าคอลัมนท์ ่ที �ำเสร็จเรียบร้อย ตัดหนา้ คอลมั นท์ ีท่ ำ� เสร็จแลว้ ใสซ่ องตดิ แสตมปส์ ง่ มาท่ี สง่ มาที่ facebook อาชวี ะกา้ วไกล สง่ แฟกซม์ าท่ี 02-938-2028 วารสารอาชีวะกา้ วไกล 9/99 ซ.ลาดพรา้ ว 38 แขวงจันทรเกษม เขตจตจุ ักร กรุงเทพฯ 10900ฉบบั นมี้ ีรางวัลสมนาคณุ โจก๊ โอ้โห 1 แพ็ก 10 ซอง*หมดเขตรว่ มสนกุ 31 มนี าคม 2559 มลู ค่า 120 บาทเร่มิ เล่นเกมแนวนอน แนวต้งั1 การทำ� สง่ิ ของเพอ่ื ใหเ้ ป็นสินค้า 1 ห้ามฟ้องเพราะผดิ ประเพณี6. ตดั หรือหัน่ เปน็ ท่อน 2 ไม่สมประกอบ7 ค�ำเรียกชายทอ่ี ายุนา่ จะแกก่ วา่ พอ่ และแม่ 3 ต้องการ8 มแี สงกลอกกลงิ้ อยขู่ า้ งใน 4 อุปกรณ์ปอ้ งกันหรือลดอนั ตรายตง้ั แต่ส่วนหวั ลงมา10 ตาย 5 เลข 3 ในการกำ� กบั ช่ือปีของไทยเหนือ11 อาหารท่ถี วายแก่พระสงฆเ์ ปน็ ประจำ� 9 ประเสริฐสงู สดุ13 อาหาร 12 ขำ� ขัน14 เค้กม้วน 13 คนรบั ใช้16 บนั ทึก 14 ช่ือเรือยาวมเี กง๋ ชนดิ หนึง่17 ภกั ดี 15 ย่งิ ใหญ่ เฉลยคำ� ตอบเกมอกั ษรไขว.้ ..19 ผู้เอื้อเฟ้ือ 18 ทักท้วง ไดร้ างวัลจากวารสารอาชีวะกา้ วไกล ฉบับท่ี 322 กวดวิชา 20. การข่มใจ ทรมานตน24 สดู กลนิ่ 21 ขุมทรพั ย์25 ผแู้ ทนประเทศทถี่ ูกส่งไปดูแลผลประโยชนย์ ังประเทศอนื่ 23 ของดมี ีค่า 1. อี 2. ลุ่ ย ฉุ 4. ย แ 5. ฉ 6. ก 7. เ ย า ล 8. ง อ 9. ก ต้ 10. ง 11. ก 12. โ น1. 2. 3. 4. 5. อ6. 8. 13. อ 14 .อ ม ช 15. อ ม 16. เ ด7. 17. ม ะ ก ะ โ ร นี10. 11. 12. 18. บ า ต ร ห 19. ย ก 9. 20. ว อ 21. ต 22. ส น 23. น า ย 24. พ ร า น 25. สั 26. ว สี 27. ล า 28. น ร ก 13.14. 15. 16. รายช่อื ผไู้ ด้รบั รางวัล 18. 17. 22. 23. 1. คุณจติ ตา เวชภูมิ 2. คุณปองขวัญ จตภุ ัทรชัย19. 20. 21. 3. คณุ ทรงศิล ปานสมบูรณ์ 4. คุณณรนิ ทร์ เฟ่ืองฟู24. 25. 5. คุณศริ ีรัตน์ ทองแดง 6. คุณอัจฉรา ประสบผล28 วารสารอาชวี ะกา้ วไกล

Coffee Corner สนิท เมอ่ื จดุ ไฟใตห มอแกวลา ง นำ้ จะเดอื ดและ ขยายตวั เปน ไอนำ้ ซงึ่ จะดนั นำ้ ทีร่ อ นดา นลางขึ้นไปเร่ือง: พีท คอฟฟี่ ตามทอ แกว ผานฟล เตอรส ูหมอ แกวดานบนท่มี เี มล็ด กาแฟบดอยู เม่อื นำ้ ผสมกบั กาแฟแลว กค็ นสกั นิดการกลับมาของ ใหรสและกลน่ิ กาแฟออกมา ประมาณ 70 - 75 วินาที เสร็จแลว เอาไฟออก เม่ืออากาศในหมอ แกว ดา นลา งSiphon Coffee เย็นตวั ลงกจ็ ะหดตัว ทำใหเ กิดเปน “สญุ ญากาศบางMakers สว น” และดึงกาแฟท่ชี งแลว ลงมา ฟล เตอรร ะหวาง หมอ จะทำหนา ทแ่ี ยกกากกาแฟไวด า นบน เพียงถอด 1 หมอสว นบนออก กาแฟท่ชี งเสรจ็ แลวในหมอ ดานลา ง กพ็ รอ มทจ่ี ะเสิรฟ์ วิธชี งกาแฟน้นั มหี ลากหลายวิธีดวยกนั แตล่ ะวิธี และมขี ัน้ ตอนท่ดี ซู ้ำซอน Siphon Coffee Makers ลองจิบกาแฟน้ไี ปเร่อื ยๆ อาจลองรอใหก าแฟเยน็ ลงทำใหไ้ ดร้ สชาตขิ องกาแฟแตกต่างกันไป ไมว่ ่าจะ ใชห ลักการการขยายและหดตวั ของแกส๊ และนำ้ สักนิด แลวลองสงั เกตดูวา กาแฟมีรสชาตทิ ่หี วานข้ึนดวยอณุ หภูมิของน้ำ, ความเขมในการคว่ั เมลด็ กาแฟ, (ไอนำ้ ) เพอ่ื ดึงรสชาตทิ หี่ อมอรอ ยของกาแฟออกมา หรือไม?ความละเอยี ดของการบด, แรงดันในการสกดั กาแฟ ชวงไมก ป่ี ท่ีผา นมา Siphon Coffee Makers ลองดูนะครบั สมัยน้เี รม่ิ หาซ้อื เครื่องชงแบบ Siphonหรือระยะเวลาทใี่ ชใ นการชง กำลังกลับมาเปน ทน่ี ยิ มมากขน้ึ เน่ืองจาก Siphon เองไดแ ลว ในเมอื งไทยมยี หี่ อ Hario ทีห่ าไดท่หี าง Coffee Makers เหมาะกับการชงกาแฟแบบ Central หรือลองชิมท่ีรานกาแฟบางแหง ไดค รับ แตท ่ีสำคัญอกี อยา ง คอื ถนิ่ กำเนิดของกาแฟ single origin เน่อื งจากกาแฟ single origin ที่ดี(coffee origin) กาแฟสวนมากทม่ี ีขาย จะถูกผสมจาก มกั จะมรี สเฉพาะตวั ที่หาไดย าก คอกาแฟบางกลมุหลายๆ ถนิ่ ทั้งเพอื่ เปนการลดตนทนุ หรือนำจุดเดน เชอื่ วา การชงแบบ siphon น้นั จะเปนการดงึ รสชาติของกาแฟจากถ่ินหนึง่ มาเสริมจดุ เดนของอกี ถิ่น ทนี่ มุ นวลออกมาไดเ หมาะกบั single origin มากทส่ี ุดซึง่ หากผสมไดด ี กาแฟจะมีรสกลมกลอ มลงตัวมาก เพราะใชแ รงดันท่ีไมสูงมาก และใชเวลาไมนานมากการจดสิทธิบัตรสูตรคัว่ และผสมกาแฟในยุโรป อาจมีคาจดสงู ถงึ €25,000 หรอื ราวๆ 1,000,000 บาท Siphon Coffee Makers ผลติ ข้ึนคร้งั แรกประมาณเพราะการคว่ั และผสมกาแฟ เปนศาสตรแ ละศลิ ปที่ ป 1930’s และไดร ับการพัฒนาและเปล่ียนรปู ลกั ษณตอ งการความชำนาญเปนพเิ ศษอยา งมาก ไปเรอ่ื ยๆ โดยยงั ใชหลกั การเดิมแตบางที กาแฟที่มาจากแหลง กำเนดิ เดยี ว (singleorigin) ทีพ่ ื้นท่ปี ลูกมีลักษณะทางภมู ปิ ระเทศทแ่ี ตกตาง Siphon Coffee Makers แบง เปน 4 สว น : หมอหรือตวั เมลด็ หรอื กระบวนการบม มีลักษณะเดน อน่ื ๆ แกว สว นลางที่จะถูกเติมดว ยนำ้ รอนและเปน สว นที่เปน อยางมาก (เชน Kopi Luwak) แลว นำมา กาแฟทช่ี งเสรจ็ แลวลงมาพกั , หมอแกว สว นบนคัว่ อยา งพิถีพิถนั ก็จะไดกาแฟท่มี รี สชาตโิ ดดเดน เชน กนั พรอมทอแกวดา นลางซึง่ สง น้ำรอ นจากหมอ แกว สว นกาแฟ Single Origin เหลาน้จี งึ กำลังไดร ับความ ลางขนึ้ สว นบน, ซลี ยางทีอ่ ยูระหวา งหมอ ท้ังสอง เพื่อสนใจมากข้นึ เรื่อยๆ ซึ่งเปน ส่ิงท่ีดีสำหรบั ผูปลูกกาแฟ จะทำใหเกิดสุญญากาศบางสว นในหมอแกว สว นลา ง,รายยอ ย ทส่ี ามารถทุมเทเรื่องคุณภาพ ใหเ ปนมลู คา และฟลเตอรเพื่อจะกรองกาแฟที่ชงแลวออกจากเพ่ิมอกี ดว ย เมล็ดกาแฟค่วั วิธีชงกาแฟทผ่ี มอยากจะเสนอในวันนี้เปน วธิ ที ่ีนับวนั การใชง าน เริ่มตน ทก่ี ารเทนำ้ รอนลงในหมอ แกว ลางจะหาคนใชยากขนึ้ เร่อื ยๆ เนือ่ งจากวิธนี ้ีใชเ วลานาน แลว สวมทอแกวพรอมหมอแกว บนเขา ไปแลวดันให 1. Siphon Coffee Maker จากไตหวนั Yama 2. Siphonist ผชู ำ่ ชองทร่ี า น Aoyama Cafe ในเมอื ง Richmond, Canada 3. วธิ ีการชงจาก website 2 coffeegeeks.com 3 * ตีพิมพค์ ร้ังแรกในวานรสติ ายรสอาาชรีวเะชกีย้าวงไดกลาวโพส2ต9์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook