Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นวัตกรรม การบริหารโรงเรียนหนองกลางพง

นวัตกรรม การบริหารโรงเรียนหนองกลางพง

Published by ไปรยา เย็นสรง, 2021-08-31 07:57:55

Description: นวัตกรรม การบริหารโรงเรียนหนองกลางพง

Search

Read the Text Version

ก คำนำ เอกสารรูปแบบการบริหารงานโรงเรียนขนาดเล็กของโรงเรียนบ้านหนองกลางพง ฉบับนี้ จัดทำข้ึนเพ่ือ เป็นแนวทางในการบริหารสถานศึกษา โรงเรียนขนาดเล็กตามนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้น พืน้ ฐาน ท่ตี อ้ งการสง่ เสริมโรงเรียนขนาดเล็กที่มกี ารบริหารจัดการทั้งด้านการมีส่วนร่วม ด้านโอกาสทาง การศึกษา และคุณภาพการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ สมควรได้รับการยกย่อง และเป็นแบบอย่างของการปฏิบัติที่ดี โรงเรียน บ้านหนองกลางพง ได้จดั ทำนวตั กรรมดา้ นการพฒั นาการศึกษาโดยมีโรงเรยี นเป็นศนู ย์กลาง โดยเนน้ กระบวนการ มีส่วนร่วมของชุมชน ทั้งนี้โรงเรียนได้รวบรวมหลักฐาน เอกสารจากกิจกรรมต่างๆ ที่โรงเรียน ดำเนินการมาเพ่ือ เสริมสร้างคุณภาพแกน่ ักเรยี นซงึ่ เปน็ เป้าหมายการพัฒนา เอกสารฉบับนี้จัดทำสำเร็จได้รับความร่วมมือ ร่วมใจของคณะครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนที่ทำ กจิ กรรมต่างๆ ของโรงเรียนในภาพรวมประสบผลสำเร็จด้วยดี ทางโรงเรยี นขอขอบพระคุณผู้ที่เกี่ยวข้องทุกท่านมา ณ โอกาสน้ี และหวังเป็นอย่างย่ิงว่า เอกสารฉบับ น้ีจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กที่มีบริบท ใกล้เคียงกันสบื ไป โรงเรยี นบา้ นหนองกลางพง มถิ ุนายน ๒๕๖๔

ข สารบัญ เรือ่ ง หน้า คำนำ ก สารบญั ข ข้อมลู ท่วั ไป 1 ท่มี าและความสำคัญของปัญหา ๑๔ วัตถุประสงค์ ๑๕ หลกั และทฤษฎที ี่นำมาเป็นกรอบแนวคิดในการสร้าง Model ๑๖ การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School-based Management ; SBM) ๑๖ ทฤษฎีระบบ 18 แนวคิดของการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธ์ิ(Results Based Management ; RBM) 19 วงจรคุณภาพ (PDCA) 20 หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 21 การบริหารโรงเรียนขนาดเล็กแบบมีสว่ นร่วมโดยใช้ ๓Step model 23 ผลการดำเนนิ งาน ๓๓ ภาคผนวก ๓๗

1 ข้อมลู พืน้ ฐาน ๑. ขอ้ มูลท่ัวไป ชื่อสถานศึกษา โรงเรยี นบ้านหนองกลางพง ตั้งอยูเ่ ลขท่ี 2 หม่ทู ี่ 4 ตำบลวังเยน็ อำเภอเมือง จังหวดั กาญจนบรุ ี รหัสไปรษณยี ์ ๗1000 โทรศัพท์ 034-540224 สงั กัดสำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศกึ ษากาญจนบรุ ี เขต 1 เปิดสอนตงั้ แตร่ ะดบั ชนั้ อนุบาลปที ี่ 2 ถงึ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๖ มเี ขตพ้ืนทบี่ ริการ 2 หมู่ ไดแ้ ก่ หม่ทู ี่ 3 และ 4 ตำบลวังเยน็ ๒. ข้อมูลด้านผบู้ รหิ าร 2.1 ขอ้ มูลด้านผูบ้ รหิ าร ชอื่ - สกุลผูบ้ รหิ าร นายสำราญ รักษาสตั ย์ วฒุ กิ ารศึกษาสูงสุด ปริญญาโท ครศุ าสตรมหาบัณฑติ (ค.ม.) สาขาวชิ าการบริหารการศกึ ษา ดำรงตำแหนง่ ท่โี รงเรยี นตั้งแต่ วนั ที่ ๒๕ เดือน กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๖๔ ๒.2 ประวตั โิ รงเรียนบ้านหนองกลางพง โรงเรียนบ้านหนองกลางพง สงั กัดสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เปิด ทำการเม่ือวนั ท่ี 12 พฤศจิกายน พ.ศ.2499 ณ บ้านหนองกลางพง หมู่ท่ี 4 ตำบลวงั เย็น อำเภอเมือง จงั หวดั กาญจนบรุ ี โดยไดร้ ับการบริจาคที่ดินจากผมู้ ีจติ ศรัทธา จำนวน 8 ไร่ 1 งาน 57 ตารางวา จากนายกยุ๋ เพชร ปานกัน และนายกวย - นางเผื่อน เกอื้ กลู สว่ นอาคารเรยี นไดร้ บั ความรว่ มมือจากประชาชนจัดสร้างแบบชัว่ คราว ขนาดกวา้ ง 7 เมตร ยาว 14 เมตร ใชเ้ สาไม้จรงิ เคร่ืองบนไม้ไผ่หลงั คามุงดว้ ยหญ้าคาแฝกไม้ขัดแตะ ทำด้วยไมไ้ ผ่ ผา่ ซีก รวมราคาก่อสร้างทั้งสิน้ 1,400 บาท ทำการสอนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 มนี กั เรียนทัง้ สิน้ 44 คน นกั เรียนชาย 20 คน นักเรยี นหญงิ 24 คน มนี ายถาวร กะการดี รักษาการในตำแหนง่ ครูใหญ่ ต่อมาอาคารเรยี นหลังเดิมชำรุดทรุดโทรม รวมทั้งจำนวนนกั เรียนได้เพ่ิมมากข้นึ ทำใหห้ อ้ งเรียนไมเ่ พยี งพอ ชาวบา้ นและผู้ปกครองไดร้ ่วมแรงร่วมใจกันบรจิ าคทรัพย์สนิ แรงงาน และสิง่ ของ สรา้ งอาคารเรียนแทนหลังเกา่ โดยดำเนนิ การจดั สร้างอาคารเรียนแบบถาวร ขนาดกว้าง 9 เมตร ยาว 18 เมตร เสาเปน็ ไมเ้ น้ือแข็ง หลังคามงุ สงั กะสี ฝาทำดว้ ยไม้ยาง สร้างเสร็จในปี พ.ศ. 2505 รวมคา่ ก่อสร้างทง้ั สนิ้ 35,000 บาท

2 วันที่ 1 กันยายน 2507 ทางราชการแต่งตั้ง นายณัฐวัฒน์ สมสมัย มาดำรงตำแหน่งครูใหญ่ โรงเรยี นบา้ นหนองกลางพง วันที่ 20 พฤษภาคม 2512 ได้มีคำสั่งแต่งต้ัง นายโอภาส ทรงเจริญ มาดำรงตำแหน่งครูใหญ่ โรงเรียนบา้ นหนองกลางพง แทนครูใหญ่คนเก่าที่ย้ายไป และในปีน้ีคณะครูพร้อมดว้ ยผู้ปกครองนักเรียนได้รว่ มกัน จัดหาเงนิ และวัสดุอปุ กรณท์ ำการซ่อมแซมอาคารเรยี นทช่ี ำรดุ คดิ เปน็ เงนิ 2,300 บาท วันที่ 2 กันยายน 2513 ได้รับงบประมาณจากทางราชการจัดสรา้ งอาคารเรียนแบบ ป.1 จ จำนวน 4 ห้องเรยี น งบประมาณทงั้ สิน้ 120,000 บาท ในปีการศึกษา 2521 ได้รับการอนุมัติให้เปิดทำการเรยี นการสอนในระดับประถมศึกษาตอนปลาย โดย เปิดทำการสอนช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 เป็นปีแรก ในปี พ.ศ. 2534 ได้รับการอนุมัติเงินเพ่ือทำการปรับปรุงซ่อมแซมอาคารเรียน แบบ ป.1 จ โดยการ เปลี่ยนหลังคาสังกะสีเป็นหลงั คามุงกระเบื้อง ซ่อมฝ้าเพดานบางส่วน เปลี่ยนผนังอาคารจากไม้กระดานเป็น ก่อ อิฐถือปูน คิดเป็นเงินท้ังสิ้น 112,300 บาท และในปีน้ีได้รับงบประมาณจัดสร้างอาคารเรียนแบบ สปช. 102/26 จำนวน 3 ห้องเรียน เริ่มก่อสร้างเม่ือ 6 กรกฎาคม 2534 แล้วเสร็จเม่ือวนั ท่ี 17 กันยายน 2534 เป็นเงนิ งบประมาณทงั้ ส้นิ 594,000 บาท ในปี 2546 ได้รับอนุมัติร้ือถอนบ้านพักครูท่ีมีอายุการก่อสร้างเกิน 25 ปี มีสภาพชำรุดทรุดโทรมมาก ไม่ สามารถซ่อมแซมได้ และได้นำเศษวัสดุจากการร้ือถอนบ้านพักครูมาสร้างศาลาวิชาการเป็นแหล่งเรียนรู้ของนักเรียน โดยได้รับการช่วยเหลือจากวัดวังเย็นและประชาชนในหมู่บ้านในการรื้อถอนและก่อสร้าง ใช้งบประมาณทั้งสิ้น 15,000 บาท วันท่ี 7 กรกฎาคม 2546 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงลงพระปรมาภิไธย ในการปฏิรูปการศึกษา จึงทำให้โรงเรียนบ้านหนองกลางพงเปลี่ยนจากสังกัดเดิม คือสำนักงานการประถมศึกษาอำเภอเมืองกาญจนบุรี สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการ เป็นอันว่าส้ินสุด ปัจจุบันโรงเรียนบ้านหนองกลางพง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา กาญจนบรุ เี ขต 1 สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร วันที่ 25 มิถุนายน 2549 ได้รับจัดสรรงบประมาณค่าซ่อมแซมอาคารเรียน แบบ ป.1 ก ขนาด 4 หอ้ งเรียน โดยซ่อมแซมเปลย่ี นฝา้ เพดานและไม้เชงิ ชายใหม่ งบประมาณ 200,000 บาท วันท่ี 30 กันยายน 2551 ได้รับงบประมาณซ่อมแซมอาคารเรียน ป.1 จ. ขนาด 4 ห้องเรียน งบประมาณ 100,000 บาท วันที่ 20 ตุลาคม 2554 ได้รับงบประมาณบริจาคจำนวน 560,000 บาท จากบริษัท มิตซุยแอนด์ คมั ปนี (ประเทศไทย) จำกัด ก่อสร้างอาคารห้องสมดุ เฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา โรงเรียนบ้านหนองกลางพงแล้ว เสร็จและไดท้ ำพธิ ีสง่ มอบอย่างเปน็ ทางการในวนั ที่ 20 พฤษภาคม 2555 วันท่ี 1 สิงหาคม 2555 ได้ปรับปรุงต่อเติมอาคารเอนกประสงค์ (โรงอาหาร) โดยได้รับงบประมาณ บริจาคจากชมรมนิสิตเก่ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรร์ ุ่น 31 จำนวน 250,000 บาท และเงนิ บริจาคเพ่มิ เติมจาก คุณจรัญ อุ่ยตระกูล ประธานชมรมนิสิตเก่ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์จังหวัดกาญจนบุรีจำนวน 50,000 บาท และไดท้ ำพิธสี ่งมอบอย่างเปน็ ทางการในวันที่ 13 ตลุ าคม 2555

3 วันท่ี 19 มีนาคม 2558 ได้รับงบประมาณกอ่ สร้างลานกฬี าเอนกประสงค์ (แบบกรมพลศึกษา) จำนวน 1 สนาม งบประมาณ 125,000 บาท จนแลว้ เสร็จและสง่ มอบงานในวนั ท่ี 1 พฤษภาคม 2558 วันท่ี 6 ต.ค..2559 ได้รับจัดสรรงบประมาณ 583,200 บาทก่อสร้างบ้านพักครู (แบบ สปช 301/26) จำนวน 1 หลัง ประกวดราคาไดใ้ นงบประมาณ 486,300 บาท มีกำหนดให้แล้วเสร็จภายในวนั ที่ 28 มี.ค.2560 วันท่ี 17 ต.ค.2559 ได้รับจัดสรรงบประมาณ 2,148,000 บาท เพื่อก่อสร้างอาคารเรียนชั้นเดียว แบบ สปช 102/26 จำนวน 4 ห้องเรียน ประกวดราคาได้ในยอดงบประมาณ 1,765,000 บาท ก่อสร้างจน แล้วเสร็จสง่ มอบงานและตรวจรบั งานในวันท่ี 12 เม.ย.2560 วันที่ 7 ก.พ.2560 สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต1 ประกาศให้รวม สถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดยให้โรงเรียนบ้านวังเย็นเรียนรวมกับโรงเรียนบ้านหนองกลางพง โดยจัดในรูปแบบ “เรียนรวมทุกช้ัน” โดยให้โรงเรียนบา้ นหนองกลางพงเป็น “โรงเรียนหลัก”และโรงเรียนบา้ นวงั เย็นเป็น “โรงเรียน มารวม” โดยได้รับความเห็นชอบจากมติที่ประชุมคณะกรรมการศึกษาธิการจงั หวดั กาญจนบุรี ในคราวประชุมคร้ัง ที่ 1/2560 เมอ่ื วันที่ 1 กมุ ภาพันธ์ 2560 วันที่ 9 ก.พ.2561 สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต1 จัดประชุม คณะกรรมการสถานศกึ ษาและผูป้ กครองนักเรียนโรงเรยี นบ้านวังเย็น โดยที่ประชุมมีมติให้ยุบเลิกสถานศึกษา ข้ัน พ้ืนฐานโรงเรียนบ้านวังเย็น ให้นักเรียนมาเรียนท่ีโรงเรียนบ้านหนองกลางพงทั้งหมดต้ังแต่ปีการศึกษา2561เป็น ต้นไป วันท่ี 10 มิถุนายน 2562 ไดม้ ีคำส่งั สำนักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดกาญจนบรุ ี ท่ี 368/2562 ลงวนั ท่ี 10 มิถุนายน 2562 แต่งต้ังให้ นายปรชี า ไกรตะนะ ดำรงตำแหน่ง ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบ้านหนองกลางพง วันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔ ไดม้ คี ำสัง่ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกาญจนบุรี ท่ี 8๒/256๔ ลงวนั ที่ 1๕ กุมภาพนั ธ์ 256๔ แต่งตัง้ ให้ นายสำราญ รกั ษาสตั ย์ ดำรงตำแหนง่ ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นบา้ นหนองกลางพง ปัจจบุ ันโรงเรยี นบา้ นหนองกลางพงเปิดทำการสอนตั้งแตช่ ัน้ อนุบาลปที ่ี 2 ถงึ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 มีผอู้ ำนวยการโรงเรยี น 1 คน ขา้ ราชการครู 3 คน ครจู า้ งสอน 2 คน ครพู เ่ี ล้ียง 1 คน ครธู รุ การ 1 คน นักการ ภารโรง (ช่างไฟฟ้าระดบั 4) 1 คน นักเรยี น 5๐ คน 3. สภาพชุมชนและเขตบรกิ าร เศรษฐกิจ อาชพี เขตบรกิ ารของโรงเรยี นบา้ นหนองกลางพงคอื หมูท่ ่ี 3 และหมูท่ ่ี 4 ตำบลวังเย็น อำเภอเมือง จงั หวัด กาญจนบรุ ี หมู่ท่ี 4 คือหมู่บ้านหนองกลางพงมีพน้ื ทจ่ี ำนวน 12,562 ไร่ สภาพเศรษฐกิจ/สงั คมประชากรใน เขตบรกิ ารมีประมาณ 1,300 คน ชาย 610 คน หญงิ 690 คน นบั ถอื ศาสนาพุทธสว่ นใหญ่มอี าชพี เกษตรกรรม ไดแ้ ก่ ทำไร่อ้อย ไรม่ ันสำปะหลงั ข้าวโพด ทำนาขา้ ว เลยี้ งสตั วแ์ ละรับจ้าง รายได้ของประชาชนต่อครอบครัว ประมาณ 40,000 บาท/ปี ชมุ ชนมีความสมั พันธ์กับสถานศกึ ษาเป็นอย่างดีและมีส่วนรวมในการจัดกจิ กรรม รว่ มกนั อย่างสม่ำเสมอ

4 ประเพณีและวัฒนธรรม โรงเรียน –ชมุ ชน – วัด – องค์การบริหารสว่ นตำบลวงั เย็น ไดร้ ่วมมือกนั จัดกจิ กรรมเพ่ือเป็นการสบื สาน ประเพณีวฒั นธรรม และ ศาสนา เช่น วันข้นึ ปใี หม่ วนั มาฆบชู า วันสงกรานต์ วันวิสาขบชู า วนั อาสาฬหบูชา วันเข้าพรรษา และประเพณีลอยกระทง ประชากรในหมู่บ้านเขาแก้วส่วนใหญ่อพยพมาจากถ่นิ อืน่ นับถือศาสนา พุทธ ทุกคนมวี ถิ ชี วี ติ อยา่ งเรียบงา่ ย ไม่มีสถานเรงิ รมย์ แผนทเ่ี ขตบริการ โรงเรยี นบา้ นหนองกลางพง รับผิดชอบเขตบรกิ าร หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 4 ตำบลวงั เยน็ อำเภอเมืองกาญจนบุรี จงั หวัดกาญจนบุรี

5 ทิศทางการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา สญั ลักษณ์ตราประจำโรงเรยี น คำขวญั รหู้ น้าท่ี มวี ินยั ใฝศ่ ึกษา จรรยางาม ปรชั ญาโรงเรยี น ชื่อย่อโรงเรียน “สุขา สังฆสั สะ สามัคคี” สีประจำโรงเรียน ความพร้อมเพยี งของหมู่คณะนำความสุขมาให้ น.ก.พ. เขยี ว – เหลือง ความอดุ มสมบูรณ์อันคงไว้ซ่งึ ความมัง่ คั่งรุง่ เรอื ง เอกลักษณ์ คนดี มีคุณธรรม น้อมนำความพอเพยี ง อัตลักษณข์ องโรงเรียน ใฝ่เรียน ใฝร่ ู้ อยู่อย่างพอเพียง

6 1. วสิ ัยทัศน์ของโรงเรยี น “โรงเรียนบา้ นหนองกลางพง พัฒนาผู้เรียนให้มคี ุณภาพตามมาตรฐาน บนพืน้ ฐานคุณธรรมจริยธรรม เน้นผู้เรยี นเปน็ สำคญั นอ้ มนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ชุมชนมีส่วนรว่ มและพึงพอใจ” 2. พนั ธกิจ ๑) สง่ เสริมการจดั การเรยี นรู้ตามหลกั สูตรสถานศึกษา ๒) ส่งเสรมิ ใหน้ ักเรยี น มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยมอันพึงประสงค์ ตามหลักสตู รและคา่ นยิ ม หลกั ของคนไทย 12 ประการ ๓) สง่ เสรมิ การจัดการเรยี นรู้ในรปู แบบ Active Learning ๔) สร้างความม่นั คง ยั่งยืนทางการศึกษา และดำเนนิ ชวี ติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕) สร้างเสริมการเรียนรู้ตามสภาวะการเปลี่ยนแปลงของโลกปจั จุบัน ๖) ส่งเสรมิ เครือข่ายความร่วมมือกบั ผ้ปู กครอง ชมุ ชน ศิษยเ์ ก่า และองค์กรตา่ งๆ ในการพฒั นา การศึกษาของโรงเรียน 3. เป้าประสงค์ ๑) ผู้เรียนมคี วามรู้และทักษะท่จี ำเปน็ ตามมาตรฐาน ตัวช้ีวดั ของหลักสตู รสถานศึกษา ๒) ผเู้ รียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านยิ มอนั พงึ ประสงค์ ตามหลักสูตรและคา่ นยิ มหลักของคนไทย ๓) ผู้เรยี น มีพัฒนาการเหมาะสม ตามชว่ งวัย มคี ุณภาพและทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (3Rs 8Cs) ๔) ครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกคน ได้รบั การพัฒนา มสี มรรถนะตรงตามสายงาน มวี ัฒนธรรม คณุ ภาพทมี่ ุ่งเน้นการทำงานท่ีเน้นผลสมั ฤทธ์ิ ๕) สถานศึกษานอ้ มนำศาสตร์พระราชา และหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่การปฏิบัติ ทง้ั การ บริหารจัดการ การจัดการเรยี นรแู้ ละการปลกู ฝังค่านิยมแกผ่ เู้ รียน ๖) ผู้เรียนมคี วามร้แู ละปรบั ตัวดำรงชวี ิตอยไู่ ดด้ ้วยชวี ิตวถิ ีใหม่ ตามสถานการณข์ องการเปลยี่ นแปลง 7) สถานศึกษามีระบบบริหารและการจัดการทม่ี ีประสทิ ธิภาพ ๘) สถานศึกษาทำงานแบบบูรณาการ โดยการสรา้ งเครอื ข่าย และการมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชนและทุก ภาคส่วน เพ่อื สร้างสงั คมแห่งการเรยี นรู้

7 ๔. กลยทุ ธ์ กลยทุ ธท์ ี่ ๑ พฒั นาผเู้ รยี นให้มีคณุ ภาพตามมาตรฐาน กลยทุ ธ์ท่ี ๒ การจัดการศึกษาเพ่อี ความมั่นคง กลยุทธ์ท่ี ๓ ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา กลยทุ ธท์ ี่ ๔ พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมการมีส่วนร่วม ๕. ชุมชนมบี ทบาทในการวางแผนจัดการศึกษา มุ่งเนน้ ภูมิปญั ญาท้องถิ่น แนวคดิ หลกั ของการพัฒนาโรงเรียน โรงเรียนยึดหลกั การบริหารแบบการมสี ่วนร่วมและตามวิถีประชาธิปไตย เนน้ การทำงานเปน็ ทมี รว่ มคิด ร่วมวางแผน ร่วมปฏิบัตอิ ย่างสรา้ งสรรคใ์ ชบ้ คุ ลากรหลายฝ่าย ได้แก่ คณะครู นักเรียน ผ้ปู กครอง คณะกรรมการ สถานศึกษา ผูน้ ำชุมชน โดยแบง่ หนา้ ท่ีรบั ผิดชอบตามความสามารถและความถนัด มอบหมายงานโดยมี ผู้รบั ผดิ ชอบเป็น 3 สว่ น คือ งานในหน้าท่ี งานในโครงการ และงานท่ีมอบหมายพิเศษ มีการกำกบั ตดิ ตามเพื่อสรา้ ง ความตระหนักในการพัฒนาการศึกษาของโรงเรยี น ระบบโครงสร้างการบรหิ าร โรงเรียนบา้ นหนองกลางพง แบ่งโครงสร้างการบรหิ ารงานเปน็ 4 แผนงาน ไดแ้ ก่ แผนงานบรหิ าร วชิ าการ แผนงานบริหารทวั่ ไป แผนงานบรหิ ารงานบคุ คล แผนงานบริหารงบประมาณ ผูบ้ รหิ ารยดึ หลกั การ บรหิ ารแบบธรรมาภบิ าล และใชเ้ ทคนคิ ในการบรหิ ารแบบมีส่วนรว่ ม

8 ระบบโครงสร้างการบรหิ ารงานโรงเรยี นบา้ นหนองกลางพง คณะอนกุ รรมการ คณะกรรมการ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น คณะกรรมการ สถานศึกษา สถานศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน นายสำราญ รกั ษาสตั ย์ ท่ีปรกึ ษาโรงเรยี น ขัน้ พ้นื ฐาน หัวหน้าแผนงาน หัวหน้าแผนงาน หัวหน้าแผนงาน หวั หนา้ แผนงาน บรหิ ารวชิ าการ บริหารงานบคุ คล บริหารงบประมาณ บริหารทวั่ ไป นายสำราญ รกั ษาสตั ย์ นายองค์การ สริ ิชุมแสง นางรัชนี ศรวี งศร์ ตั น์ นายวีรชาติ พ้นภยั --การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา -การสง่ เสรมิ วินัย,คณุ ธรรมและจรยิ ธรรม - การบริหารการเงินและการบรหิ ารบัญชี - งานกิจการนกั เรยี น/สภานกั เรียน --การจดั ทำแผนปฏบิ ตั ริ าชการเพ่อื ใช้ - งานระบบดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น -การจดั การเรียนการสอน -การลาทกุ ประเภท จา่ ยเงินตามทีไ่ ดร้ ับการจดั สรร ควบคมุ ระเบียบวนิ ยั นักเรียน งบประมาณ -งานจัดทำระบบขอ้ มูลสารสนเทศ - การวดั ผลและประเมนิ ผล และการ -การประเมินผลการปฏิบัติงาน - การจดั สรรงบประมาณ - งานประชาสมั พนั ธก์ ารศึกษา - การตรวจสอบตดิ ตาม ประเมินผล - งานดแู ลอาคารสถานทแ่ี ละสิ่งแวดลอ้ ม เทียบโอนผลการเรียนรู้ -การเลื่อนขั้นเงินเดือน และรายงานผลการใช้เงนิ ทกุ ประเภท - งานเลขานกุ ารคณะกรรมการ -การเบิกเงินจากคลงั สถานศกึ ษา - การพฒั นาระบบการประกันคณุ ภาพ -สง่ เสรมิ การประเมินเพอ่ื เล่ือนวทิ ยฐานะ -การรบั เงนิ ,การเก็บรกั ษาเงนิ และ - งานสัมพันธ์ชมุ ชนและงานบรหิ าร การจ่ายเงนิ สาธารณะ ภายในสถานศึกษาและการประเมิน -การยกยอ่ งเชิดชเู กยี รติ,การเสนอขอ -การนำเงินส่งคลงั - งานเครือข่ายพฒั นาคุณภาพการศึกษา -การจดั ทำบัญชีการเงนิ -งานประสานราชการกับทอ้ งถ่ิน,อบต. คณุ ภาพภายนอกจากสมศ. พระราชทานเครื่องราชย์อสิ ริยาภรณ์ -การจดั ทำรายงานทางการเงนิ และ และหนว่ ยงานอนื่ งบการเงิน -งานระดมทรัพยากรเพ่อื การศกึ ษา - การพัฒนาแหล่งเรยี นรภู้ ายใน -ส่งเสริมการขอรับใบอนุญาตประกอบ - การเก็บรักษาเงนิ ระดมทรัพยากรและ - งานอนามยั โรงเรยี น/ส่งเสรมิ สขุ ภาพ การลงทนุ เพ่ือการศึกษา - งานส่งเสรมิ คุณธรรมจรยิ ธรรม/หลัก โรงเรยี น /ห้องสมดุ วิชาชพี -การจดั หาผลประโยชนจ์ ากทรัพย์สิน ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง -การวางแผนพสั ดุและการจัดหาพสั ดุ - งานอาหารกลางวันนักเรียน - การพัฒนาแหล่งเรยี นรู้ภายนอกและ - วนิ ยั และการรักษาวินยั ,จรรยาบรรณ - การบรหิ ารพัสดแุ ละสินทรพั ย์ - งานสหกรณ์โรงเรียน -การควบคุมดูแลรกั ษาและจำหนา่ ยพัสดุ -งานทัศนศึกษา สง่ เสรมิ ภมู ิปญั ญาทองถิ่น - การสัง่ พักราชการและการออกจาก -การจดั ทำรายงานพัสดปุ ระจำปี -การรับนกั เรยี น - งานออมทรพั ย/์ ธนาคารโรงเรยี น - การจดั ทำสำมะโนนักเรียน - การส่งเสรมิ ดา้ นวชิ าการแก่ บุคคล, ราชการ -การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเพือ่ -การจดั ทำทะเบียนนกั เรยี น การจัดทำและจัดหาพัสดุ -การจัดทำระบบควบคุมภายในโรงเรยี น ครอบครัว,ชุมชน,องค์กรและ -การอุทธรณแ์ ละการร้องทุกข์ - อืน่ ๆ ตามที่ได้รบั มอบหมาย -การจดั ระบบการบรหิ ารและพฒั นาองคก์ ร -การวางแผนการบรหิ ารงานการศึกษา หน่วยงานอนื่ - การจัดทำแฟ้มทะเบยี นประวตั ิบุคลากร -การจัดทำแผนพัฒนาโรงเรียนและ - การนเิ ทศการศกึ ษา - การวางแผนอัตรากำลงั - การแนะแนวการศกึ ษา -การจัดสรรอตั รากำลัง - การวิจยั เพือ่ พัฒนาคุณภาพ - การเสรมิ สรา้ งประสิทธภิ าพในการ การศึกษา ปฏบิ ตั ิราชการ เชน่ การอบรม, - การพฒั นาสื่อนวัตกรรมและ การศกึ ษาต่อ เทคโนโลยีทางการศกึ ษา - การบริหารบุคคลและจดั ระบบ - ความรว่ มมอื ในการพฒั นาวชิ าการ งานธุรการ กบั สถานศกึ ษาหรือสถาบนั การศกึ ษาอื่น - การสรรหาและการบรรจุ/แตง่ ต้งั - อืน่ ๆ ตามทไี่ ดร้ บั มอบหมาย - งานจดั ทำระบบธุรการ-สารบรรณ -งานจัดระบบเวรยามรักษาการณ์ - อ่นื ๆ ตามทไ่ี ด้รบั มอบหมาย

9 ขอ้ มูลบุคลากร ตารางที่ 1 ขอ้ มลู บุคลากร ที่ ชอื่ -สกุล ตำแหน่ง วุฒิ วชิ าเอก หมายเหตุ 1 นายสำราญ รกั ษาสัตย์ ผอู้ ำนวยการ ค.ม. การบรหิ ารการศึกษา 2 นายองค์การ สริ ชิ ุมแสง ครู คศ.3 ค.บ. พละศึกษา 3 นางรัชนี ศรวี งศ์รตั น์ ครู คศ.3 ค.บ. ประถมศกึ ษา 5 นายวรี ชาติ พน้ ภยั ครู คศ.๓ ค.บ. ดนตรศี กึ ษา 6 นายณรงค์ นงคน์ ุช ช่างไฟฟ้า4 ม.6 7 นางสาวเชษฐธ์ ิดา นงคน์ ชุ ครูจา้ งสอน ป.บัณฑติ - 8 นางสาวพรสดุ า เสาศลิ า ครจู ้างสอน ค.บ. คอมพิวเตอร์ธรุ กิจ 9 นางสาวดวงพร หงษ์ษา ครพู เี่ ลย้ี ง ม.6 10 นางสาววรวรรณ สมจติ ต์ พนกั งานธุรการ ค.บ. วทิ ยาศาสตร์ คณติ /อังกฤษ คอมพวิ เตอร์ศกึ ษา ตารางที่ 2 ข้อมลู เด็กนกั เรยี น ชาย จำนวนนกั เรยี น รวม หญิง ระดับช้ัน ๑ ๕ ๕ ๔ 7 อนุบาล 2 ๖ ๒ 1๒ อนุบาล 3 ๓ ๖ ๗ ๔ ๔ 5 รวม ๓ ๑ ๔ ป.1 2 ๑ ๑๐ ป.2 ๒ ๘ ๕ ป.3 3 3 ๗ ป.4 1๗ ๔ ๓๘ ป.5 2๓ 2๑ ๕๐ ป.6 ๒๗ รวม รวมท้ังสิ้น

10 ตารางท่ี 3 ข้อมลู อาคารสถานที่ ท่ี ชอ่ื อาคาร แบบ จำนวน 1 อาคารเรยี น (3 ห้อง) สปช. 102/26 1 2 อาคารเรียน (4 ห้อง) 1 3 อาคารเอนกประสงค์ (โรงอาหาร) ป.1 จ. 1 4 ส้วม ขนาด 5 ท่นี ่งั ร.ร.บ้านหนองกลางพง 1 5 สว้ ม ขนาด 4 ท่นี งั่ 1 6 อาคารห้องสำนกั งาน (หอ้ งสมุดเกา่ ) องค์การ 1 7 ศาลาวชิ าการ (ศาลาพระอาจารยแ์ ดง) สปช.624/45 1 8. ศาลาประดิษฐานพระพุทธรูป ร.ร.บา้ นหนองกลางพง 1 9. อาคารห้องสมดุ เฉลมิ พระเกยี รตฯิ ร.ร.บ้านหนองกลางพง 1 10. สนามกีฬาเอนกประสงค์ ร.ร.บา้ นหนองกลางพง 1 11. บา้ นพกั ครู ร.ร.บ้านหนองกลางพง 1 12. อาคารเรียน (4 ห้อง) กรมพลศึกษา 1 สปช 301/26 สปช. 102/26 ๖. ภารกจิ ของสถานศกึ ษา โรงเรยี นบ้านหนองกลางพง ไดจ้ ัดการศึกษาเป็น 2 ระดับ คือการศกึ ษาปฐมวัย และการศึกษาระดบั ประถมศกึ ษาใหเ้ ด็กท่ีอย่ใู นเขตบรกิ ารของโรงเรยี นได้เข้ารับการศกึ ษาทุกคน ระดับปฐมวัย เป็นการจดั กจิ กรรมเพื่อเตรยี มความพร้อมให้กบั เด็กก่อนประถมศึกษาให้มีความพร้อมที่จะเขา้ เรยี นใน ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1 โดยการจัดกระบวนการเรยี นการสอนที่ยดึ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญเพื่อสนองพัฒนาการทัง้ 4 ดา้ น ของ ผเู้ รยี น ดงั น้ี 1. พัฒนาการด้านรา่ งกาย 2. พฒั นาการดา้ นอารมณ์ – จติ ใจ 3. พฒั นาการดา้ นสงั คม 4. พฒั นาการด้านสติปัญญา ระดับประถมศึกษา โรงเรยี นบ้านหนองกลางพง จดั การศึกษาโดยยึดแนวการจัดการศึกษาตามพระราชบญั ญัติการศึกษา แหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 ดังน้ี

11 1. จัดการศกึ ษาทเี่ น้นผเู้ รียนเปน็ ศนู ยก์ ลาง จัดเนื้อหาสาระและกจิ กรรมใหส้ อดคลอ้ งกับความสนใจ และความถนดั ของผู้เรยี น โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล รวมทงั้ ใหผ้ เู้ รียนมสี ุขภาพกายและจติ ทีด่ ีมี ความรเู้ กี่ยวกบั ศาสนา ศิลปะ วฒั นธรรม กีฬา ภูมปิ ัญญาไทยและการประยุกต์ใช้ภมู ปิ ัญญาท้องถิ่น ตลอดจนให้ ผู้เรียนมีความรู้เก่ยี วกับทกั ษะดา้ นคณิตศาสตร์และด้านภาษา เน้นการใช้ภาษาไทยอย่างถกู ต้อง ใหผ้ ้เู รียนมีความรู้ และทกั ษะในการประกอบอาชพี ในการดำรงชีวิตอยา่ งมีความสุข และมีการส่งเสริมนกั เรยี นที่มศี ักยภาพโดยการ จดั การประกวดความเปน็ เลศิ ทางวชิ าการ ส่งนักเรียนเข้าร่วมการแขง่ ขนั ในระดับต่าง ๆ และไดร้ ับรางวัลมากมาย 2. จดั การศึกษาใหผ้ ู้เรยี นมีความรู้และทักษะดา้ นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวมท้ังมีส่อื การเรียนการ สอนที่ทนั สมัย โดยใช้คอมพวิ เตอรเ์ ขา้ มาช่วยในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและสนับสนนุ ส่งเสรมิ ให้นกั เรียน มคี วามรู้ ความเข้าใจ เร่อื งการจดั การบำรุงรักษาและการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยตี ่าง ๆ อย่างคมุ้ คา่ และเกดิ ประโยชนอ์ ย่างสงู สดุ 3. จัดใหม้ รี ะบบการประกนั คุณภาพภายในโรงเรียนมีการวัดผลประเมินผลอย่างต่อเนื่องและถือว่าการ ประกันคุณภาพภายในเป็นสว่ นหนง่ึ ของกระบวนการบริหารการศกึ ษาที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่องและเปน็ ระบบ โดยมีการจดั ทำรายงานประจำปีเสนอต่อหนว่ ยงานต้นสังกัด หน่วยงานทีเ่ กี่ยวขอ้ งและเปดิ เผยต่อสาธารณชน 4. จัดหาทรพั ยากรเพ่อื การศึกษาจากงบประมาณของทางราชการและจากการสนบั สนุนของผู้อุปการะ โรงเรียน ชุมชน องคก์ รชมุ ชน องคก์ รการปกครองสว่ นท้องถ่นิ สถาบนั ศาสนาและสถาบนั ทางสังคมอ่ืนๆ ซ่ึงได้ มสี ว่ นรว่ มในการระดมทรัพยากรเพื่อการพัฒนาการศกึ ษาของโรงเรียน หลักสูตรโรงเรียนบา้ นหนองกลางพง พุทธศักราช 2554 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 มุ่งใหผ้ เู้ รียนเกดิ สมรรถนะสำคญั 5 ประการ ดังน้ี 1. ความสามารถในการส่ือสาร เปน็ ความสามารถในการรับและสง่ สาร มวี ัฒนธรรมในการใช้ ภาษาถ่ายทอดความคดิ ความรู้ความเข้าใจ ความรสู้ กึ และทศั นะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนขอ้ มลู ขา่ วสารและ ประสบการณ์อนั จะเป็นประโยชน์ตอ่ การพฒั นาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาตอ่ รองเพื่อขจัดและ ลด ปญั หาความขดั แย้งต่าง ๆ การเลือกรบั หรือไม่รับขอ้ มูลขา่ วสารดว้ ยหลกั เหตุผลและความถกู ต้อง ตลอดจนการ เลอื กใช้วธิ ีการส่อื สารท่ีมีประสิทธิภาพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม 2. ความสามารถในการคดิ เปน็ ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อยา่ งสร้างสรรค์ การคดิ อย่างมีวิจารณญาณ และการคดิ เปน็ ระบบ เพ่ือนำไปสู่การสร้างองค์ความรหู้ รอื สารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเก่ยี วกบั ตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เปน็ ความสามารถในการแกป้ ัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ท่ี เผชิญได้อย่างถกู ต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอ้ มูลสารสนเทศ เขา้ ใจความสัมพนั ธแ์ ละ การเปล่ียนแปลงของเหตุการณต์ ่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการปอ้ งกันและแก้ไข ปญั หา และมีการตดั สนิ ใจท่ีมีประสิทธิภาพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบทเี่ กดิ ข้ึนต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดลอ้ ม

12 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ เปน็ ความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใชใ้ น การดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรดู้ ้วยตนเอง การเรียนรอู้ ยา่ งต่อเน่อื ง การทำงาน และการอยรู่ ่วมกันใน สังคมดว้ ยการสร้างเสรมิ ความสัมพันธอ์ ันดรี ะหว่างบคุ คล การจัดการปัญหาและความขดั แย้งตา่ ง ๆ อยา่ ง เหมาะสม การปรับตัวให้ทนั กบั การเปลยี่ นแปลงของสงั คมและสภาพแวดลอ้ ม และการรู้จกั หลกี เล่ียงพฤติกรรมไม่ พึงประสงคท์ ส่ี ่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อนื่ 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยดี ้าน ต่าง ๆ และมที ักษะกระบวนการทางเทคโนโลยีเพ่ือการพัฒนาตนเองและสงั คมในด้านการเรยี นรู้ การสื่อสาร การ ทำงาน การแก้ปญั หาอย่างสรา้ งสรรค์ ถกู ต้อง เหมาะสมและมีคุณธรรม คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ หลักสตู รโรงเรียนบ้านหนองกลางพง พุทธศักราช 2554 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 มุง่ พฒั นาผูเ้ รยี นให้มคี ณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ เพ่ือให้สามารถอยู่รว่ มกับผอู้ นื่ ในสังคมได้ อย่างมีความสขุ ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดังน้ี 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสตั ย์สจุ รติ 3. มีวินยั 4. ใฝเ่ รยี นรู้ 5. อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง 6. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน 7. รกั ความเปน็ ไทย 8. มจี ติ สาธารณะ จดุ เนน้ /เปา้ หมายของโรงเรียนบา้ นหนองกลางพง นกั เรียนโรงเรียนบ้านหนองกลางพง มคี วามสามารถเต็มตามศกั ยภาพ มีคุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ มี คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา มีความเปน็ ไทย อยู่ในสังคมอย่างมีความสขุ

13 บรบิ ทโรงเรยี น กลยทุ ธก์ ารดำเนินงาน กลยุทธท์ ี่ ๑ พัฒนาผู้เรียนให้มคี ุณภาพตามมาตรฐาน กลยุทธท์ ี่ ๒ การจัดการศึกษาเพี่อความม่ันคง กลยุทธท์ ี่ ๓ สง่ เสรมิ สนบั สนุนการพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา กลยทุ ธท์ ี่ ๔ พฒั นาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมการมีส่วนรว่ ม จุดเนน้ สถานศกึ ษา 1. ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน 8 กลุ่มสาระการเรียนรเู้ พมิ่ ขนึ้ 2. นกั เรยี นทกุ คนมีทกั ษะการอา่ น การเขียนและสามารถสื่อสารไดต้ ามเกณฑ์ 3. นักเรียนเปน็ ผู้มีคุณลักษณะและทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 (ทักษะชวี ติ ทกั ษะอาชีพ ทักษะ การคิด วิเคราะห์ แกป้ ัญหา) 4. นกั เรยี นทกุ คนมีคุณธรรม จริยธรรม ตามคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ยดึ มั่นการปกครองในระบบ ประชาธิปไตย รกั ความเปน็ ไทย และดำเนินชวี ิตตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 5. หลักสูตรสถานศึกษาไดร้ บั การพฒั นาและจดั กระบวนการเรียนการสอนที่มงุ่ เนน้ นกั เรียนเป็นสำคัญ จัดการ วดั ผลและประเมินผลท่ีมีคณุ ภาพ 6. ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพฒั นาใหม้ สี มรรถนะในการปฏิบตั หิ น้าท่ี เพ่ือพฒั นาคณุ ภาพ การศกึ ษา 7. การบริหารและการจดั การศกึ ษาอยา่ งเป็นระบบตามหลักธรรมาภิบาล มรี ะบบการประกนั คุณภาพ ภายใน สถานศึกษาทีเ่ ข้มแขง็ เพ่ือรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก และสง่ เสริมการพฒั นาส่ิงแวดลอ้ มและ แหล่งการ เรียนรทู้ เ่ี อ้ือต่อการเรยี นรู้ 8. สร้างภาคีเครอื ขา่ ยเพ่อื การมีสว่ นรว่ มในการพฒั นาการศกึ ษาใหส้ อดคล้องกับความต้องการของ โรงเรยี น และชุมชนกบั ทุกภาคส่วน

14 การบริหารโรงเรียนขนาดเลก็ แบบมีสว่ นร่วมโดยใช้ 3Step model ๑. ท่ีมาและความสำคญั ของปัญหา โรงเรียนบา้ นหนองกลางพง สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ สํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน เป็นหน่วยงานทางการศึกษาที่มีภารกิจที่สําคัญ คือการจัดการศึกษาขั้น พืน้ ฐาน อย่างทั่วถงึ และมีคุณภาพ ตามเป้าหมายของพระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แกไ้ ขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ และตามมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตร การศึกษา ขนั้ พื้นฐาน โรงเรียนบ้านหนองกลางพง เป็นโรงเรียนขนาดเล็ก ซึ่งโรงเรียนขนาดเล็กดังกล่าว ส่วนใหญ่ ไม่สามารถบริหาร จัดการศึกษาได้ตามเป้าหมายและมาตรฐานการเรียนรู้ท่ีกําหนดไว้ในหลักสูตรการศึกษาข้ัน พืน้ ฐาน ตลอดจน มาตรฐานด้านผบู้ ริหารโรงเรียน มาตรฐานดา้ นครูและมาตรฐานด้านนกั เรียนของโรงเรียนขนาด เล็ก จากการศึกษา สภาพการบริหารจัดการและผลที่เกิดข้ึน การบริหารจัดการของโรงเรียนขนาดเล็ก พ บว่ามี ปญั หาทสี่ ําคญั ดงั น้ี คอื ๑. การบริหารวิชาการ ครูไม่ครบช้ัน และจํานวนผู้เรียนในแต่ละช้ันมีจํานวนน้อย ทําให้ครูไม่สามารถจัด กิจกรรมการเรียนการสอนให้หลากหลายได้ สังคมผู้เรียนคบั แคบ การเรียนรูร้ ะหว่างผู้เรยี นไม่กว้างพอ ผู้เรียนจึงมี ความจํากัดในการพัฒนาการเรียนรู้ ที่ไม่สามารถเรียนรู้ได้ทุกเร่ือง ดังน้ัน ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนอยู่ในระดับ ค่อนข้างต่ำ และผลคะแนนการสอบระดับชาติ (NT/O-NET) ควรได้รับการพัฒนาให้สูงข้ึน ซ่ึงในการจัดชั้นเรียน ของสถานศกึ ษาต้องจัดชน้ั เรยี นให้ผเู้ รียนได้ศกึ ษาหาความรู้ ตามระดบั ชั้นใหส้ อดคล้องกบั หลักสูตร ๒. การบริหารงบประมาณ การจัดสรรงบประมาณให้แก่โรงเรียนขนาดเล็กมีค่อนข้างจํากัด ได้รับงบ ประมาณ ท่ีจะนํามาใช้ในการพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี นไม่เพียงพอ ทัง้ นีเ้ พราะกระทรวงศึกษาธิการจัดสรรงบประมาณ ใหต้ ามรายหัวของจาํ นวนผ้เู รียน โรงเรียนมีจํานวนผู้เรียนนอ้ ยทาํ ให้ได้รบั งบประมาณนอ้ ยตามไปด้วยจึงไม่เพียงพอ ต่อการจัดการศึกษาและดูแลผู้เรียนได้อย่างมีคุณภาพ ทําให้ขาดแคลนท้ังอาคารเรียน อาคารประกอบ ห้องสมุด ตลอดจนสนาม สําหรับการเล่นกีฬาของนักเรียน อีกท้ังยังต้องใช้จ่ายเงินจํานวนน้ีเพื่อการสาธารณูปโภค และค่า ดาํ เนินการอ่ืนๆ อีกหลายอย่าง ๓. การบริหารงานบุคคล ขวัญและกําลังใจของครูตกต่ำ เพราะความขาดแคลนบุคลากรที่จะจัดกิจกรรม การเรยี นการสอนทั้งในเชิงปริมาณและเชงิ คุณภาพ จัดการเรยี นการสอนโดยมีครูไม่ครบชั้นเรยี น ไมค่ รบกลุ่มสาระ การเรยี นรู้ ครูหนึ่งคนต้องรับผิดชอบดูแลผู้เรยี นหลายชั้น หรือรับผิดชอบชั้นเดียวแต่ต้องสอนทุกกลุ่มสาระ อีกท้ัง โอกาสที่จะเจริญก้าวหนา้ ในหน้าที่ราชการก็มีจาํ กัดไมเ่ หมือนครทู ีส่ อนในสถานศึกษาขนาดกลาง หรอื ขนาดใหญ่ ท่ี มีโอกาสได้รับการพัฒนาตน พัฒนางาน และมีความก้าวหน้าในวิชาชีพ ดังนั้น ถ้าครูขาดขวัญและกําลังใจ ในการ ทํางาน จะมีผลกระทบโดยตรงต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทํางาน ทั้งของตนเอง สถาบันการศึกษา และประเทศชาติ ๔. การบริหารท่ัวไป การได้รับการส่งเสริมสนับสนุนจากท้องถิ่นชุมชนมีค่อนข้างน้อย ผู้ปกครองขาด

15 ความเชื่อมั่นในการจัดการศึกษา เพราะโรงเรียนขนาดเล็กส่วนใหญ่ต้ังอยู่ในชุมชนที่ห่างไกลและมีปัญหาทางด้าน เศรษฐกิจ มีข้อจํากัดมากมาย เช่น ครูไม่ครบช้ัน ขาดสื่อและเทคโนโลยีสมัยใหม่ ฯลฯ ซึ่งมีผลกระทบต่อความ ม่นั ใจของผปู้ กครองในการสง่ บตุ รหลานมาเข้าเรียน โรงเรียนบ้านหนองกลางพง มีบทบาทความรับผิดชอบเกี่ยวกับการบริหารจัดการศึกษาให้ความสําคัญกับ ปัญหา ดังกล่าว เร่งที่จะหาสาเหตุท่ีแท้จริงของปัญหาทางด้านการจัดการศึกษา จึงได้กําหนดเป้าหมาย นโยบาย แนวทาง การดําเนินมาตรการเพ่ือการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ตลอดจนหารูปแบบในการดําเนินการ ที่จะทําให้ เกิดผลการ ปฏิบัติงานสําหรับการบริหารจัดการโรงเรียนอย่างจริงจัง โรงเรียนได้ตระหนักและเห็นคุณค่าของการ พัฒนาทาง การศึกษา จึงมีความใส่ใจต่อการแก้ปัญหา ได้ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรท่ีเก่ียวข้องในโรงเรียน ตลอดจน บุคลากรจากหน่วยงานอื่นๆ นอกวงการศึกษา พยายามหาแนวทาง รูปแบบ เทคนิค วิธีการ หรือ กระบวนการต่างๆ เพื่อนํามาใช้แก้ปัญหาโรงเรียนให้มีความสามารถในการบริหารจัดการและจัดการเรยี นการสอน เพ่ือพัฒนาคุณภาพ ของนักเรียนให้บรรลตุ ามเป้าหมาย ของการจัดให้บรกิ ารทางการศึกษา ผลจากการเปิดโอกาส ให้กลุ่มบุคคล ดังกล่าวได้ร่วมกันคิด ร่วมกันทดลองดําเนินการจนกระทั่งเกิดผลต่อคุณภาพของนักเรียน กลุ่มเป้าหมายทําให้สามารถคัดเลือก และสรุปแนวทาง รูปแบบและกระบวนการได้ว่า การบริหารจัดการโรงเรียน ขนาดเล็ก แบบมีส่วนร่วม โดยใช้ ๓ Step Model เป็นแนวทางที่สามารถจัดรูปแบบ สําหรับการดําเนินการได้ อย่างเหมาะสมมาก ที่สุด หากเปิดโอกาสได้ร่วมมอื กันสะท้อนปัญหาอุปสรรคท่ีมีผลกระทบต่อโรงเรียนของตนเอง ออกมาร่วมกัน วิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อย โอกาส และข้อจํากัดท่ียึดข้อมูลสารสนเทศของโรงเรียน ร่วมกัน สงั เคราะหแ์ ละสรุป เพ่ือหาแนวทางดาํ เนินการยกระดับคุณภาพทางการศึกษาของโรงเรยี น โดยการสร้างเครือข่าย การทํางานด้วยกัน จะทําให้ได้แนวทางที่มีความเหมาะสมสอดคลอ้ งกับสภาพบริบทของโรงเรียนและตรงตามความ สนใจความต้องการ ของครูท่ีจะระดมศักยภาพของบุคลากร ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมาพัฒนาโรงเรียนพัฒนานักเรียน ร่วมกัน ดังน้ัน การบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กแบบมีส่วนร่วมโดยใช้ ๓ Step Model มีความน่าสนใจ และ คาดว่าเมอื่ ดําเนนิ การแลว้ จะสง่ ผลตอ่ คุณภาพของนกั เรียนทจ่ี ะสูงขึน้ พฒั นาก้าวหนา้ ขึ้นอย่างแนน่ อน ๒. วัตถุประสงค์ ๒.๑ เพ่อื สร้างและตรวจสอบแนวทางการบรหิ ารจดั การโรงเรียนขนาดเลก็ แบบมีสว่ นร่วมโดยใช้ ๓ Step Model ๒.2 เพื่อศกึ ษาผลการดาํ เนินงานตามแนวทางการการบรหิ ารจัดการโรงเรยี นขนาดเล็กแบบมสี ่วนร่วมโดย ใช้ ๓ Step Model ๒.3 ความพงึ พอใจท่ีมีตอ่ การดําเนินงานตามแนวการบริหารจดั การโรงเรยี นขนาดเลก็ แบบมสี ่วนรว่ ม โดย ใช้ ๓ Step Model ๒.4 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของนักเรยี นท่ีดําเนนิ งานตามแนวการบริหารจัดการโรงเรยี นขนาดเลก็ แบบ มีส่วนร่วมโดยใช้ ๓ Step Model

16 ๓. ความสาํ คัญของการดาํ เนินงาน การดําเนินงานตามแนวการบริหารจัดการโรงเรยี นขนาดเล็กแบบมีส่วนร่วมโดยใช้ ๓ Step Model ทําให้ เกิดองค์ความรู้ให้เชิงการบริหารโรงเรียนท่ียึดข้อมูลเป็นฐานการดําเนินการพัฒนายกระดับคุณภาพ ด้วยการ เช่ือมโยง เครือข่าย สร้างความร่วมมือกันระหว่างโรงเรียนโดยยึดภาระงานหลักเป็นกรอบในการปฏิบัติงานและ ดาํ เนินการพัฒนา คุณภาพตามหลักและทฤษฎี โดยใชท้ ฤษฎีระบบ (System theory) การบริหาร โดยใช้โรงเรียน เป็นฐาน (School based Management ; SBM) การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธ์ิ (Results Based Management ; RBM) วงจร ควบคมุ คุณภาพ (PDCA) และหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง บริหารจัดการพฒั นาคุณภาพอยา่ ง เป็นระบบและ จัดกระทาํ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง หลักและทฤษฎที ่ีนาํ มาเป็นกรอบแนวคดิ ในการสรา้ ง Model ๑. การบริหารโดยใช้โรงเรียนเปน็ ฐาน (School-based Management ; SBM) การบริหารโดยใช้โรงเรียนเปน็ ฐาน (School-based Management) เป็นรูปแบบการบรหิ ารโรงเรียน ตามแนวทางท่ีบัญญตั ิในพระราชบัญญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ เปน็ รูปแบบการบริหารจดั การโรงเรียน แนวใหม่ ทีม่ กี ารกระจายอํานาจบริหารจดั การทง้ั ด้านวชิ าการ งบประมาณ การบรหิ ารงานบคุ คล และการบรหิ าร ทั่วไปไปยงั สถานศึกษามากข้ึน เป็นนวตั กรรมทางการบรหิ ารทีใ่ ห้สถานศึกษามอี สิ ระในการบรหิ ารและจัดการเรียน การสอนและที่สาํ คัญ คือ เป็นการคนื อํานาจให้ประชาชนได้เขา้ มามีสว่ นรว่ มในการจัดการศึกษาอย่างแทจ้ ริง ท่ีมา : http://www.xmind.net/m/s๔.k/

17 หลกั การสาํ คญั ๑. หลักการกระจายอํานาจ (Decentralization) ซ่ึงเป็นการกระจายอํานาจการจัดการศึกษาจาก กระทรวงและส่วนกลางไปยังสถานศึกษาให้มากที่สุด โดยมีความเชื่อว่าโรงเรียนเป็นหน่วยสําคัญในการเปล่ียน แปลงและพัฒนาการศึกษาเดก็ ๒. หลักการมีส่วนร่วม (Participation or Collaboration or Involvement) เปิดโอกาสให้ผู้เก่ียวข้อง และผู้มสี ว่ นได้สว่ นเสยี ได้มีสว่ นรว่ มในการบริหาร ตดั สนิ ใจ และรว่ มจดั การศึกษา ท้ังครู ผู้ปกครองตัวแทนศษิ ยเ์ ก่า และตัวแทนนักเรียน การท่ีบุคคลมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา จะเกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของและจะรับผิดชอบใน การจัดการศกึ ษามากข้ึน ๓. หลักการคืนอํานาจจัดการศึกษาให้ประชาชน (Return Power to People) ในอดีตการจัดการศึกษา จะทําหลากหลายท้ังวัดและองค์กรในท้องถ่ินเป็นผู้ดําเนินการ ต่อมามีการร่วมการจัดการศึกษาไปให้กระทรวง ศึกษาธิการ เพื่อให้เกิดเอกภาพและมาตรฐานทางการศึกษา แต่เมื่อประชากรเพ่ิมข้ึน ความเจริญต่างๆ ก้าวไป อย่างรวดเร็ว การจัดการศึกษาโดยส่วนกลางเริ่มมีข้อจํากัด เกิดความล่าช้าและไม่สนองความต้องการของผู้เรียน และชมุ ชนอย่างแทจ้ รงิ จงึ ต้องมกี ารคืนอํานาจให้ท้องถน่ิ และประชาชนไดจ้ ดั การศกึ ษาเองอีกคร้งั ๔. หลักการบริหารตนเอง (Self-managing) ในระบบการศึกษาท่ัวไป มักจะกําหนดให้โรงเรียนเป็น หน่วยปฏิบัติตามนโยบายของส่วนกลาง โรงเรียนไม่มีอํานาจอย่างแท้จริง สําหรับการบริหารโดยใช้โรงเรียน เป็น ฐานน้ัน ไม่ได้ปฏิเสธเร่ืองการท างานให้บรรลุเป้าหมาย และนโยบายของส่วนรวม แต่มีความเชื่อว่าวิธีการทํางาน ให้บรรลุเป้าหมายน้ันทําได้หลายวิธี การท่ีส่วนกลางทําหน้าท่ีเพียงกําหนดนโยบายและเป้าหมายแล้วปล่อยให้ โรงเรยี นมรี ะบบการบรหิ ารด้วยตนเอง โดยให้โรงเรยี นมีอํานาจหน้าที่และความรับผดิ ชอบในการดําเนินงานซ่ึงอาจ ดําเนินการได้หลากหลายด้วยวิธีการทแ่ี ตกต่างกัน แลว้ แต่ความพรอ้ มและสถานการณ์ของโรงเรียน ผลที่ได้นา่ จะมี ประสทิ ธิภาพสูงกว่าเดมิ ทท่ี ุกอย่างกาํ หนดมาจากสว่ นกลาง ไม่วา่ จะโดยทางตรงหรือทางอ้อม ๕. หลักการตรวจสอบและถ่วงดลุ (Check and Balance) ส่วนกลางมีหน้าท่ีกําหนดนโยบายและ ควบคุม มาตรฐาน มีองค์กรอิสระทําหน้าท่ีตรวจสอบคุณภาพการบริหารและการจัดการศึกษาเพื่อให้มีคุณภาพ และ มาตรฐานเปน็ ไปตามกําหนดและมาตรฐานเป็นไปตามกําหนด และเป็นไปตามนโยบายของชาติ

18 ๒. ทฤษฎรี ะบบ (System theory) ทฤษฎรี ะบบ (System theory) หมายถึง กระบวนการท่ีทําให้บรรลุผลสาํ เรจ็ อย่างมปี ระสทิ ธิภาพและ ประสทิ ธิผลต่อผลลัพธ์ทกี่ าํ หนดซึง่ อยู่บนพนื้ ฐานหลักการความตอ้ งการเป็นรูปแบบหนง่ึ ของการแก้ปัญหาเชิง ตรรกวทิ ยาทฤษฎรี ะบบพ้ืนฐาน (Basic Systems Theory) ขององค์การซึ่งมี ๔ สว่ น คือ ปจั จัยป้อน กระบวนการ แปรรูป ผลผลิต และข้อมลู ย้อนกลบั ๑. ปัจจัยปอ้ น (Inputs) คือทรัพยากรที่เป็นบุคคล วสั ดุอุปกรณ์ เงนิ หรอื ข้อมลู ทีใ่ ช้ในการผลติ หรือการ บริการ ๒. กระบวนการแปรรูป (Transformation Process) จาการใช้เทคโนโลยีและหน้าที่ในทางการ บริหาร ตัวป้อนนําไปสูก่ ระบวนการแปรรูป ในโรงเรยี นปฏิสัมพันธ์ระหวา่ งนักเรียนกบั ครูเป็นสว่ นหน่ึงของการ แปรรูปหรือ กระบวนการเรียนรู้ ทําให้นักเรียนกลายเป็นพลเมืองท่มี ีการศกึ ษา ซ่ึงสามารถทําประโยชนใ์ ห้แกส่ งั คม ต่อไป ๓. ผลผลิต (Output) ได้แก่ ผลิตภัณฑ์และการบริการขององค์การ องค์การทางการศึกษาผลิตและ แจกจา่ ยความรู้ ๔. ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) คือ สารสนเทศเก่ียวกับผลผลิตหรือกระบวนการขององค์การ ซึ่งมี อิทธิพลต่อการคัดเลือกตัวป้อนระหว่างวงจรต่อไป ข้อสารสนเทศเช่นนี้อาจนําไปสู่การเปล่ียนแปลงท้ังใน กระบวนการแปรรูปและผลผลิตในอนาคต

19 ๓. แนวคดิ ของการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Result Based Management ; RBM) การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์หรือแบบมุ่งเน้นผลงาน เป็นวิธีการและเทคนิคท่ีพัฒนาขึ้น ในราชการของ ประเทศสวีเดน เพื่อช่วยให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในระบบราชการและเน้นหนักไปท่ีการบริหารระบบ การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธ์ิ มักจะมีช่ือเรียกที่แตกต่างกันออกไป เช่นการบริหารงานโดยยึดวัตถุประสงค์ (Management by Objective ; MBO) การบริหารแบบเน้นผลสําเร็จ (Managing for Results) การบริหาร ที่ เน้นผล (Results - Oriented Management) หรือการบริหารผลการดําเนินงาน (Performance หรือการ มุ่งเน้นให้ความสําคัญต่อผลสัมฤทธิ์ (ผลผลิตและผลลัพธ์) ซ่ึงจะช่วยให้หลักประกันและสามารถตอบคําถามแก่ ประชาชนได้ว่าการดําเนนิ งานขอรัฐบาลและหน่วยงานราชการเป็นไปอยา่ งมีคุณภาพ หรือเกิดความคุ้มค่าเงินภาษี อากรของประชาชนหรือไม่เพียงใด โดยต้องการท่ีจะปรับปรุงระบบการบริหารงานราชการให้มีความทันสมัย ขจัด ความไม่คล่องตวั ทางการบริหาร ตลอดจนไดเ้ ปลีย่ นแปลงกระบวนทัศน์การบรหิ ารแบบเดิมที่มุ่งเน้นให้ความสําคัญ ต่อปัจจัยนําเข้าและกฎระเบียบ มาใช้วิธีการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ เพื่อปรับเปลี่ยนวิธีการบริหารรัฐกิจให้มี ลักษณะเป็นอย่างภาคธุรกิจเอกชน โดยมุ่งเน้นถึงประสิทธิภาพและประสิทธิภาพของการบริหาร กําหนด ยุทธศาสตร์ วัตถุประสงค์และเป้าหมายขององค์การ พร้อมท้ังต้องสร้างตัวบ่งชี้ความสําเร็จของการดําเนินงานที่ ชดั เจนและสามารถตรวจสอบได้ ส่วนราชการท่ีมีการบริหารมุ่งผลสมั ฤทธ์ิสามารถผลิตผลงานที่มีคุณภาพมากกว่า เดิมโดยใช้งบประมาณน้อยลงเป็นการเพิ่มคุณค่าให้แก่ผลงานทั้งทางด้านประสิทธิผล ประสิทธิภาพ คุณภาพและ ความพงึ พอใจของประชาชนผู้รับบรกิ าร

20 ๔. วงจรคุณภาพ (PDCA) การบริหารงานโดยใช้วงจรคุณภาพ (PDCA) เป็นการทํางานที่เป็นระบบ มีเป้าหมายชัดเจน มีการดําเนิน ตามแผน มีการตรวจสอบประเมินผล และมีการปรับปรุงแก้ไข เป็นวงจรต่อเน่ืองเพื่อให้บรรลุผลสําเร็จท่ีคาดหวัง และ เพอ่ื แสวงหาสภาพทดี่ กี วา่ วงจรคณุ ภาพ (PDCA) ประกอบด้วย ข้ันตอนที่ ๑ การวางแผน (Plan) ไดแ้ ก่ การเตรียมการไว้ล่วงหน้าเพ่อื จะทํางานใหส้ ําเรจ็ อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ โดยกําหนดเป้าหมาย จดั ทาํ แผนตามเป้าหมาย แนวทางการดําเนนิ งาน ระยะเวลา งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ และการประเมนิ ผล ขั้นตอนท่ี ๒ การดําเนินตามแผน (Do) ได้แก่ การดําเนินงานต่อเน่ืองจากการวางแผน โดยมีการอบรม ประชุมช้ีแจง มอบหมายผู้รับผิดชอบ และให้การสนับสนุนงบประมาณ ทรัพยากร บุคลากร และดําเนินการนิเทศ แนะนาํ กํากับ ติดตาม เพ่อื ใหง้ านเป็นไปตามแผนทีก่ าํ หนด ขั้นตอนที่ ๓ การตรวจสอบ (Check) ได้แก่ การประเมินผลการปฏิบัติตามแผน โดยจัดให้มีการ ประเมินผลตาม แผนท่ีกําหนด วิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุท่ีเกี่ยวข้องจากการเปรียบเทียบระหว่างเป้าหมายกับ การดําเนินตามแผน เพ่อื จะทราบว่าตอ้ งปรับปรุงแกไ้ ขอยา่ งไร ข้ันตอนท่ี ๔ การปรับปรุงแก้ไข (Act) ได้แก่ การนําผลการวิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุที่เกี่ยวข้องมา ปรับปรุง แก้ไข และหากผลการดําเนินงานยังไม่เป็นไปตามเป้าหมายก็ต้องปรับเปลี่ยนวิธีการดําเนินงานใหม่ให้ เหมาะสมในการ วางแผนระยะต่อไป แต่ถ้าผลการประเมินพบว่างานสําเร็จตามเป้าหมายแล้ว ในการวางแผนคร้ัง ตอ่ ไปตอ้ งปรับเปลย่ี น เปา้ หมายให้สูงขนึ้ เพอ่ื ใหเ้ กิดการพฒั นา และจดั ทํารายงานไว้เป็นหลกั ฐาน

21 ๕. หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดํารัสช้ีแนะแนวทาง การ ดําเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า ๒๕ ปี ต้ังแต่ก่อนเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ และ เม่ือ ภายหลังได้ทรงเน้นยํ้าแนวทางการแก้ไขเพ่ือให้รอดพ้น และสามารถดํารงอยู่ได้อย่างม่ันคงและย่ังยืน ภายใต้ กระแสโลกาภวิ ตั น์ และความเปล่ยี นแปลงต่าง ๆ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั ได้ทรงพระราชทานพระบรมราชานุญาตใหน้ าํ ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งไปเผยแพร่ เพือ่ เป็นแนวทางปฏิบัตขิ องทุกฝา่ ยและประชาชนโดยท่วั ไป ดังนี้ เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวทางการดํารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ต้ังแต่ ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดําเนินไป ในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกจิ เพอื่ ให้ก้าวทนั ต่อโลกยุคโลกาภวิ ัฒน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเป็นท่ีจะต้องมีระบบ ภูมิคุ้มกันในตัวท่ีดี พอสมควรต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปล่ียนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ท้ังน้ี จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการนําวิชาการต่าง ๆ มาใช้ใน การ วางแผนและการดําเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะ

22 เจ้าหนา้ ทขี่ องรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทกุ ระดับ ให้มีสํานกึ ในคุณธรรม ความซ่ือสัตยส์ จุ ริต และใหม้ ี ความรอบ รทู้ ่ีเหมาะสมดําเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติปัญญา และความรอบคอบ เพ่ือให้สมดุลและ พร้อมต่อ การรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ท้ังด้านวัตถุ สังคม ส่ิงแวดล้อม และวัฒนธรรม จากโลก ภายนอกได้เปน็ อยา่ งดี

การบรหิ ารโรงเรียนขนาดเลก็ แบ Step 1 Step (เขา้ ใจ) (เขา้ ปจั จยั เข้า (Input) กระบวนกา (V) Vision (G) Good วสิ ยั ทศั น์ ทมี งาน (S) Sufficiency economy (N) Networ เศรษฐกิจพอเพยี ง เครือข่า (C) Coachin (N) Nice Plan การวางแผนปฏิบัติงาน การนิเทศ ทด่ี ีเย่ยี ม ผลยอ้ นกลบั

23 บบมสี ่วนรว่ มโดยใช้ ๓Step Model p2 Step 3 าถงึ ) (พฒั นา) าร (Process) ผลผลิต (Output) Teamwork (D) Development นทีด่ ี การพฒั นา rk (I) Innovetion าย ng นวัตกรรม ศติดตาม (L) Learning Achievement ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น บ (Feedback)

24 Step 1 (เขา้ ใจ) ปัจจยั (Input) ๑. V = Vision “วิสัยทศั น์” Vision หรือวิสัยทัศน์ หมายถึง ภาพของหน่วยงานในอนาคตท่ีผู้มีส่วนเก่ียวข้องในหน่วยงานน้ัน ๆ อยากเห็น ต้องการให้เป็น และร่วมกันจินตนาการข้ึน โดยต้ังอยู่บนพื้นฐานความเป็นจริงในปัจจุบัน เชื่อมโยง วัตถุประสงค์ ภารกิจ ค่านิยม และความเชื่อ บ่งบอกให้เห็นถึงทิศทางการดำเนินงานของหน่วยงานอย่างชัดเจน ประกอบไปด้วยพลังท่ีท้าทาย ทะเยอทะยาน เต็มไปดว้ ยความมุ่งมั่นท่ีจะกระทำภารกิจน่นั ให้ลุล่วง สอดแทรกด้วย กลยุทธใ์ นการตัดสนิ ใจกำหนดทิศทางและทางอยูร่ อดของหนว่ ยงาน โรงเรียนบ้านหนองกลางพงได้รวบรวมคณะบุคคลท่ีมีคุณวุฒิ ประกอบไปด้วยความรู้ความสามารถ ใน โรงเรียนท้องถิ่น และชุมชน เข้ามาร่วมในการกำหนดวิสัยทัศน์ของโรงเรียน และได้ร่วมกันกำหนดหัวข้อที่จะเป็น ทศิ ทางสร้างวิสยั ทัศนไ์ ว้ด้วยกัน ๕ ขอ้ ๑. แหล่งเรียนรู้ การจะพัฒนาการศึกษาให้มีคุณภาพจะต้องมีแหล่งเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้นั้น จะต้องได้มาตรฐานและทันสมัย เป็นแหล่งเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพ มีศักยภาพเพียงพอในการสร้างมาตรฐานการเรียนรู้ ให้ได้ตามเกณฑท์ ก่ี ำหนด ทันกับยคุ สมยั รองรับการเปลีย่ นแปลงในอนาคต ๒. คุณภาพและมาตรฐานการศึกษา การดำเนินการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนจะต้องมีทิศทางท่ี ชัดเจน ประกอบไปด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้ การวัดผลประเมินผล ตามหลักการทางวิชาการและมาตรฐาน การจัดการศึกษาของชาติ มุ่งเน้นใหผ้ ู้เรียนมีความรู้ความสามารถ มีทกั ษะพ้ืนฐานในการประกอบอาชีพ การศึกษา ตอ่ มที กั ษะชวี ติ เพียงพอกับการดำรงชีวติ อยใู่ นสังคมอยา่ งสงบสขุ ๓. คุณธรรมและจริยธรรม โรงเรียนจะต้องพัฒนาและปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมและคุณลักษณะที่ พึงประสงค์ตามจุดมุ่งหวังของหลักสูตรให้เกิดข้ึนในผู้เรียน ในการจัดการเรียนรู้ จะต้องใช้คุณธรรมนำวิชาการ ๔. พื้นฐานในการประกอบอำชีพ มีความเข้าใจที่ตรงกันว่าชีวิตและสังคมจะมีความสุข คนท่ีอยู่ใน สังคมจะต้องมีอาชีพที่ม่ันคง โรงเรียนจึงจะต้องจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีพื้นฐานในการประกอบอาชีพ เพื่อให้ ผู้เรียนเหน็ ถึงคณุ คา่ และตระหนักถงึ ความสำคัญของการประกอบอาชีพท่สี ุจริต ๕. ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางสายกลางท่ีได้รับ การยอมรับแลว้ ว่าเป็นแนวปฏิบัติทีเ่ กิดประโยชน์ ดงั น้ันโรงเรยี นจะต้องน้อมนำเอาทฤษฎวี ่าด้วยเศรษฐกิจพอเพยี ง มาบรู ณาการใช้ในการจัดการเรยี นรู้ใหก้ ับผเู้ รยี น

25 ๒. S = Sufficiency economy “เศรษฐกิจพอเพียง” เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นท่ีจะต้องมีระบบ คุ้มกันในตัวท่ีดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงท้ังภายนอกและภายใน ท้ังนี้ จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวัง อย่างย่ิงในการน าวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการ วางแผน และการดำเนินการทุกข้ันตอน และขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจให้มีสำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตยส์ ุจริต และให้มีความรอบร้ทู ่ีเหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน มีความเพียรพยายามมีสตปิ ัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับความเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว และกว้างขวางท้ังด้าน วัตถุ สงั คม ส่ิงแวดล้อม และวฒั นธรรมจากโลกภายนอกไดเ้ ปน็ อย่างดี เศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนได้ดำเนินกิจกรรม ด้วยความร่วมมือของคณะครู ผู้นำท้องถิ่น ชุมชน องค์กรท้องถ่ิน องค์กรเอกชน เพ่ือส่งเสริมการมีส่วนร่วม สร้างโอกาสทางการศึกษาและพัฒนาคุณภาพการศึกษา แนวทางการนำหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงไปปรบั ใช้ในสถานศกึ ษา ๑. สถานศึกษา นำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ไปใช้ในการบริหารจัดการศึกษา และดำเนินกิจกรรมที่ เป็นประโยชนต์ อ่ ชมุ ชน/สงั คม ๒. ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาท่ีเกี่ยวข้องมีความรู้ ความเข้าใจ และปฏิบัติตนเป็น แบบอยา่ งตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๓. นักเรียน มีความรู้ ทักษะ ปฏิบัติตนและดาเนินชีวิต ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง “อยู่อย่าง พอเพยี ง” ๔. ผู้ปกครอง ชุมชน ดำเนินชีวิตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และ มีการพัฒนาตามปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพยี ง กำรบริหารจัดการ ๑ . กำห นดเป็ นน โยบ าย - งานวิชาการ งบ ประมาณ บุคคลบ ริห ารทั่ วไป ชุมชนสัมพั น ธ์ ๒. บรหิ ารทรัพยากรตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง การมีสว่ นร่วม รรู้ ักสามัคคี ไม่ประมาท ๓. N = Nice Plan “การวางแผนปฏบิ ตั งิ านท่ีดีเยย่ี ม” การวางแผนปฏิบัติงานท่ีดีเย่ียม หมายถึง การวางแผนโดยอาศัยทฤษฎีการบริหารอย่าง หลากหลาย หลักการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School-based Management ; SBM) การบริหารแบบมุ่ง ผลสัมฤทธิ์ (Results Based Management ; RBM) วงจรควบคุมคุณภาพ (PDCA) หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง และผา่ นกระบวนการมีส่วนรว่ ม ( Participation ) จากผู้เชย่ี วชาญเพ่อื รว่ มกันวางแผนการดำเนินงาน ใน แต่ละภารกิจล่วงหน้าถึงสิ่งที่จะต้องปฏิบัติในอนาคต เพ่ือสร้างสรรค์กระบวนการมีส่วนร่วมจากผู้เช่ียวชาญ ทุก ภาคส่วน ได้แก่ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน หน่วยงานราชการท่ีเกี่ยวข้อง หน่วยงานภาคเอกชน องค์กร ศาสนา ทใี่ ห้การสนบั สนนุ เพอื่ ให้การวางแผนเปน็ หนทางไปสู่แนวทางปฏบิ ตั ิทเ่ี ป็นเลศิ

26 การวางแผนปฏบิ ัติงานท่ดี ีเยี่ยม โรงเรียนบา้ นหนองกลางพง ด้วยเจตนารมณ์ทมี่ ุ่งเน้นการกระจายอำนาจ การมีส่วนร่วมในการบริหารและการจัดองค์กรเพื่อให้สถานศึกษาสามารถตอบสนองความต้องการของผู้มีส่วน เก่ียวข้องทุกฝ่ายได้อย่างแท้จริง ด้วยความเป็นอิสระ มีความคล่องตัวในการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ และมี ประสิทธิภาพยิ่งข้ึน เพ่ือส่งเสริมการมีส่วนร่วม สร้างโอกาสทางการศึกษา และพัฒนาคุณภาพการศึกษา โรงเรียน ได้นำหลักและทฤษฎี การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School-based Management ; SBM) การบริหาร แบบมุ่งผลสัมฤทธ์ิ (Results Based Management ; RBM) วงจรควบคุมคุณภาพ (PDCA) และหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง มาใช้เป็นกลไกสำคัญในพัฒนาระบบงาน และเป็นตัวขับเคลื่อนการดำเนินงานของบุคลากรใน ฝ่ายงานต่างๆ ทำให้การบริหารจัดการศึกษาโรงเรียนมีประสิทธิภาพโดยทุกฝ่าย ต้องมีส่วนร่วมในการวางแผน ปฏิบัติ ตรวจสอบ ประเมินผล แก้ไขปรับปรุง เพื่อการพัฒนาให้บริหารจัดการพัฒนาคุณภาพอย่างเป็นระบบและ จดั กระทำอยา่ งต่อเนอื่ ง มีคณุ ภาพไดต้ ามเกณฑม์ าตรฐาน การวางแผนด้านการเรียนการสอนโรงเรยี นบา้ นหนองกลางพงต้องการให้คณุ ภาพการศึกษาเพิม่ ชัน้ โดยให้ เติมเตม็ เชน่ ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น แหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น มีความรกั ถิ่นฐาน กำหนดทางโรงเรียนบ้านหนองกลาง พง โดยวางแผนโครงสร้างบริหารเพื่อสนับสนุนด้านการเรียนการสอนให้มีคุณภาพ โดยรวมกับคณะกรรมการ สถานศึกษา เพ่ือกำหนดทิศทางการบริหารให้มีประสิทธิภาพให้การศึกษาเป็นระบบ ประกอบด้วยการดำเนินงาน ขอบขา่ ยภารกิจ ๔ งาน ได้แก่ ๑.งานบรหิ ารวิชาการ ๒.งานบริหารงบประมาณ ๓.งานบริหารบคุ คล ๔.งานบริหาร ทัว่ ไป Step 2 (เขา้ ถึง) กระบวนการ (Process) ๑. G = Good Team “ทีมงานทด่ี ี” ทีมงานท่ีดี หมายถึง คุณลักษณะโดยอาศัยการทำงานเป็นทีม การทำงานท่ีดี ท่ีมีคุณภาพ ผ่านการ ประสานงานในทีมงานอย่างเปน็ ระบบทุกข้ันตอนในแต่ละภารกิจยอ่ ยทีไ่ ด้รับมอบหมาย มีการตงั้ คณะกรรมการทีม่ ี ความชำนาญ ความถนัดในแต่ละภารกิจให้ทุกคนในทีมงานมีเป้าหมาย ในภารกิจร่วมกัน เพ่ือใหบ้ ุคลากรในองคก์ ร เป็นส่วนหนึ่งของความสำเร็จ มีจิตสำนึกและรู้สึกภาคภูมิใจร่วมกันในที่สุดโรงเรียนบ้านหนองกลางพง เน้นการ ทำงานร่วมกันเป็นทีมและมีคุณภาพโดยมีการประสานงานในทีมเป็นระบบทุกข้ันตอนในการจัดกิจกรรมย่อยท่ี ได้รบั มอบหมายมีการแต่งตั้งคณะกรรมการทำงานที่มีความชำนาญและความถนัดและภารกิจของทุกคนในทีมงาน มีเป้าหมายมีความพึงพอใจ ทุกคนเห็นความสำคัญของทุกบทบาทในการทำงานในการบริหารงานโรงเรียน โดยมี การทำงานร่วมกัน ๒. N = Network “เครอื ข่าย” การพัฒนางานหรือการแก้ปัญหาใดๆ การสร้าง “เครือข่าย” สามารถช่วยแก้ปัญหาได้ ด้วยการเปิด โอกาสให้บุคคลและองค์กรไดแ้ ลกเปลยี่ นข้อมลู ขา่ วสารรวมท้ังบทเรยี นและประสบการณ์กบั บุคคลหรือองค์กรท่ีอยู่ นอกหน่วยงานของตน ลดความซ้ำซ้อนในการทำงาน ให้ความร่วมมือและทำงานในลักษณะท่ีเอ้ือประโยชน์ซ่ึงกัน และกนั เสมอื นการเปิดประตูสู่โลกภายนอก

27 โรงเรียนดำเนนิ กจิ กรรม ดว้ ยความร่วมมอื ของคณะครู ผู้นำทอ้ งถนิ่ ชมุ ชน องค์กรท้องถิ่น องค์กรเอกชน เพื่อสง่ เสริมการมีส่วนรว่ ม สรา้ งโอกาสทางการศกึ ษา และพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา กระบวนการและวิธกี ารสร้าง เครือขา่ ยการเรียนรู้ เพอื่ พัฒนาไปสู่ระดับของการลงมือทำกจิ กรรมรว่ มกันเพ่ือใหบ้ รรลุเปา้ หมายรว่ มกนั ดำเนนิ การประสานงานจากภาคเี ครือข่าย ในชุมชนและนอกชมุ ชน เพ่ือใหเ้ กดิ การมีส่วนรว่ ม สนับสนนุ งบประมาณ ในการจัดการศึกษา เพื่อรว่ มคิด รว่ มทำ ร่วมสนับสนนุ ใหก้ ารพฒั นาคุณภาพ การศึกษาสำเร็จตามเป้าหมาย ๓. C = Coaching “การนเิ ทศแบบใหค้ ำปรกึ ษาแนะนำ/เสนอแนะ” การนิเทศแบบให้คำปรึกษาแนะนำ/เสนอแนะ หมายถงึ การให้คำปรกึ ษาแนะนำเปน็ การพบปะกัน ระหวา่ งผนู้ เิ ทศกบั ผ้รู ับการนิเทศ คือการนเิ ทศแบบเสนอแนะ Coaching Technique เป็นวิธีการพัฒนาบุคลากร ให้สามารถปฏบิ ตั งิ านได้อย่างมีประสิทธภิ าพ โดยการแนะนำหรือเรียนร้จู ากเทคนิคการนเิ ทศแบบเสนอแนะ Coaching Technique เป็นวิธกี ารพัฒนาบคุ ลากรให้สามารถปฏบิ ัตงิ านได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการแนะนำ หรือเรยี นร้จู ากผ้ชู ำนาญ (Coach) ในลกั ษณะที่ได้รับคำแนะนำหรอื เรียนรู้ไปพร้อม ๆ กับการปฏบิ ัตงิ าน ขั้นตอนการนิเทศ มี ๔ ข้ันตอน คือ CQCD

28 C - Compliment หมายถึง การสร้างสมั พันธภาพท่ีดีระหวา่ งผทู้ ท่ี ำหนา้ ทีเ่ ปน็ Coach และผู้ให้ คำแนะนำ ซง่ึ เปน็ สมั พนั ธภาพท่ีสรา้ งความไวว้ างใจ ความสบายใจ ยนิ ดีรว่ มในแนวทางของ Coaching Techniques โดยการ ๑. ศกึ ษาข้อมลู ของผูท้ ่ีรบั การแนะนำ เช่น จดุ เดน่ ผลงานเดน่ ความชอบ อัธยาศยั จุดอ่อน จุดที่ ต้องปรับปรงุ ข้อมลู ตา่ ง ๆ ควรบันทกึ ไว้อย่างเป็นระบบมีความเหมาะสม ๒. นำขอ้ มูลมาเปน็ แนวทางในการสร้างสัมพนั ธภาพ ไดแ้ ก่ การชมเชย หรือการสรา้ งบรรยากาศ เพ่ือการเชือ่ มโยงไปสขู่ ้ันต่อไป Q - Question หมายถึง การถามเน้นการถามในเชิงขอความคดิ เหน็ ไม่ใหผ้ ูต้ อบจนมุมหรือเกดิ ความไม่ สบายใจท่จี ะตอบคำถาม ใช้ความเหมาะสมของผูร้ บั คำแนะนำและสภาพ C - Correct หมายถงึ การเสนอแนะแนวทางแกไ้ ข ใหค้ วามสำคัญในขั้นตอนท่สี บื เนอื่ งจากขัน้ Question นำคำตอบของผู้รับคำแนะนำมาวิเคราะห์และนำเสนอในส่วนทย่ี ังบกพร่อง และสังเคราะหเ์ ปน็ แนวการปฏบิ ตั หิ รือการพฒั นางานในลักษณะแลกเปล่ยี นเรียนร้รู ่วมกัน และกำหนดบทบาทในการปฏิบัติแต่ละ เรื่องชัดเจน D - Demonstrate หมายถงึ การน าข้อเสนอหรอื แนวทางทตี่ กลงกนั ไว้ในข้นั ตอนของ C - Correct หรือ แผนการใชน้ วัตกรรม ซึง่ ผู้รบั คำแนะนำเป็นผูป้ ฏิบตั ิ ผเู้ ป็น Coach เปน็ ผ้แู นะนำอย่างใกลช้ ดิ บางคร้ัง Coach อาจ ต้องสาธิต Step 3 (พัฒนา) ผลผลติ (Output) ๑. D = Development “การพัฒนา” การพัฒนา หมายถึง การพัฒนาบุคลากรเพ่ือเพิ่มขีดความสามารถในการดำเนินกิจกรรมตามแผนที่ กำหนดไว้ให้แก่คณะกรรมการแต่ละชุดด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย เช่น การสัมมนา การศึกษาดูงาน การพัฒนา บุคลากรน้ีให้เป็นไปตามความต้องการของบุคลากร และท่ีสำคัญต้องมีการพัฒนาส่ือเทคโนโลยีด้าน ICT ให้มี สมรรถนะท่ีสามารถเป็นเคร่ืองมือสำหรับบุคลากรในการสืบค้นข้อมูลต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับภาระงานที่ปฏิบัติ ซึ่ง ฝา่ ยบรหิ ารต้องจดั ให้มแี ละนับว่าเป็นส่ิงจำเป็นอย่างย่ิงในการส่งเสรมิ สนับสนุนให้มีการพัฒนาบุคลากรจนมีความรู้ ความสามารถในการที่จะนาไปพัฒนาภาระงานของตนตลอดจนทีมงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผลผลิตท่ีได้ คือ ทมี งานทม่ี คี ณุ ภาพสูง (High Quality Team) การพัฒนาด้านองค์ความรู้ (Knowledge) การพัฒนาด้านการพัฒนาทักษะ (Skill) และการพัฒนา ด้านความสามารถ (Ability) ของบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญเพิ่มขึ้น โดยอาศัยผ่านระบบการศึกษา (Education) และการฝกึ อบรม (Training)

29 ๑. ผบู้ รหิ ารตอ่ การพัฒนาโรงเรียน ผูบ้ ริหารโรงเรยี นเป็นผทู้ ่มี บี ทบาทสำคญั ทส่ี ดุ ทจี่ ะนำพาสถานศึกษาไปสคู่ วามเป็นเลิศ เพราะเป็นผนู้ ำทมี่ ี อำนาจสูงสดุ ในโรงเรยี น ผู้บริหารจงึ ต้องมีความรอบรูใ้ นการบริหาร มวี สิ ยั ทศั น์ มคี วามสามารถ รับผิดชอบ ซ่ือสัตย์ โปรง่ ใส เอาใจใสแ่ ละทุ่มเทให้กับการท างานอย่างจรงิ จัง ๑. ยึดคณุ ภาพนกั เรียนเปน็ เป้าหมายสูงสุดในการบริหารสถานศึกษา ๒. ใชม้ าตรฐานการศึกษาของชาติ และมาตรฐานการศึกษาข้นั พนื้ ฐานเป็นแนวทางในการบริหาร จัดการ ๓. ยดึ หลักการบริหารโดยใช้โรงเรยี นเป็นฐาน เปน็ กรอบกำกบั การบริหาร ๔. ยดึ หลักธรรมมาภบิ าล (Good Governance) ซึ่งประกอบดว้ ย หลกั นติ ธิ รรม หลกั คุณธรรม หลกั ความโปร่งใส หลักการมสี ่วนร่วม หลกั ความรบั ผดิ ชอบ และหลักความค้มุ คา่ เป็นหลักในการบริหารอย่างต่อเนอ่ื ง ตลอดทั้งมีจรรยาบรรณวิชาชพี บรหิ าร ๕. ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงานและแก้ปัญหา เนน้ การมีส่วนรว่ มของทุกคนทเี่ กีย่ วข้อง ๖. พฒั นาโรงเรียนให้เปน็ องค์การแห่งการเรียนอย่างแทจ้ ริง มสี มรรถภาพในการจัดการความรู้ ๗. ใช้กรอบแนวทางจากยุทธศาสตรช์ าติ แผนบรหิ ารราชการแผน่ ดินของรัฐบาล กฎหมาย ระเบียบ แบบแผนท่ีเกี่ยวข้องในการจัดการศกึ ษา โดยปรับให้สอดคล้องกบั สภาพปญั หา ของความต้องการของสถานศึกษา

30 ๒. การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา การพฒั นาบคุ ลำกรใน ๓ มติ ิ มิตทิ ี่ ๑ การพัฒนาทัศนคติ (Attitude) คือ การทำให้บคุ ลากรเปล่ียนวธิ คี ดิ และการทำใหบ้ ุคลากร รู้สึกวา่ ตนเองมีคณุ ค่าและมีความสำคัญตอ่ องคก์ าร มิตทิ ่ี ๒ การพัฒนาลกั ษณะนิสัย (Traits) คือ ทำให้บคุ ลากรมีความรักความผูกพนั กบั องคก์ าร ิ ติท่ี ๓ การพัฒนาการจูงใจ (Motivation) คือ การสร้างแรงจูใจให้กับบุคลากรทั้งในรูปของ เงินเดือน ค่าจ้างสวัสดิการ และตำแหน่งงานท่ีสูงขึ้นการพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษา รูปแบบของการ พฒั นามุ่งเน้นการสร้างเครือขา่ ยที่มคี ุณภาพวธิ ีการพัฒนาต้องมีความหลากหลาย การพัฒนาแล้วจัดทำแผนพัฒนา ตนเอง (Individual Development Plan : ID-Plan) โดยใช้ข้อกำหนดสมรรถนะ (Competency) ของครูและ บุคลากร ประยุกต์ใช้ในการพัฒนากระบวนการเรียนการสอนหรือในภารกิจที่ตนเอง กระบวนการต่าง ๆ ที่ใช้เพ่ือ ชว่ ยให้ข้าราชการมีความรู้ ทักษะ และทัศนคติท่ีจำเปน็ ในการปฏิบตั งิ าน ในหนา้ ท่ี และเพ่ือใหเ้ กิด ความร่วมมอื กัน ระหว่างขา้ ราชการในการปฏิบตั งิ านร่วมกันในองค์การ ๓. พฒั นาผู้เรียน นักเรียนมีทักษะชีวิต (Life Skills) ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skills / Knowledge Skills) และทักษะ การทำงาน (Working Skills) พัฒนาให้นักเรียนมีสมรรถนะสำคัญ ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถใน การคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ผู้เรียนในทุกระดับช้ันจะเรียนรู้ด้วยกระบวนการและเทคนิควิธีท่ีหลากหลาย การเรียนเชิงรุกท่ีผู้เรียน ต้องลงมือกระทำเพื่อให้เกิดความเข้าใจต่อสิ่งท่ีเรียน เปิดโอกาสให้นักเรียนได้เรียนรู้และพัฒนาอย่างเต็มตาม ศักยภาพ เหมาะสมกบั ช่วงวยั ๔. พฒั นาโรงเรียน โรงเรียนท่ีมีคุณภาพจะต้องมีบรรยากาศที่เอ้ือต่อการเรียนการสอน บรรยากาศดังกล่าว หมายถึง ความรู้สึกที่ประชาชนหรือชุมชนมีต่อโรงเรียนว่าเป็นสถานท่ี ๆ มีการเรียนเกิดขึ้นจริงอย่างได้ผล โรงเรียนที่มี บรรยากาศน่าอยู่ดังกล่าว จะทำให้ท้ังครแู ละนักเรียนอยากจะมีชีวติ ร่วมกันในโรงเรียน โรงเรียนจะต้องสร้างภาวะ แวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการเรียน การพัฒนานักเรียนทุกด้านตามวัยและวุฒิภาวะ ขบวนการผลิตยังรวมความถึง ความสัมฤทธิผลทางความรู้และทักษะพ้ืนฐานการรู้จักคิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น รู้จักสอบถามโดยวิธีการของ เหตุผล โรงเรียนมีบรรยากาศและภาวะแวดล้อมท่ีน่าอยู่ น่าพึงพอใจเป็นบรรยากาศในท่ีซ่ึงเด็กและเยาวชนจะ เรียนรู้ชีวิต และวิทยาการ ความพึงพอในน้ียังรวมหมายถึง ทัศนคติที่ดีของบุคลากรในโรงเรียน นักเรียนและครู รวมทง้ั บุคลากรอ่ืน ๆ มีความภูมใิ จท่ีตนมสี ่วนในความสำเรจ็ ของโรงเรียนในหน้าทีก่ ารงาน สนุกเพลิดเพลินกบั งาน ที่ทำ เขาร้สู ึกว่าชวี ติ ของเขามคี วามหมายในโรงเรยี น

31 ๕. พัฒนาร่วมกบั ชมุ ชน การเยี่ยมเยียนศึกษาปัญหาที่อยู่ของนักเรียน และที่ใกล้เคียง ศึกษาพิจารณาชุมชนในฐานะท่ีเป็นแหล่ง สำคญั ของการขยายการเรยี นรู้ เรียนรู้เกี่ยวกับเด็กให้มากท่ีสดุ ในส่วนทเี่ กีย่ วกับวัฒนธรรม และวถิ ีชีวติ ประเมนิ ผล นกั เรียนจากสภาพท่ีเป็นอยู่ ช่วยให้นกั เรียนเจรญิ งอกงามพัฒนาไปในทางของเด็กเอง เม่ือเด็กมีความพร้อม ชว่ ยให้ ผู้ปกครองเข้าใจจุดหมายอันแท้จริงของการศึกษา วางแผนจัดพิจารณาหลายๆ อย่าง หรือปรับปรุงแก้ไขปัญหา สังคม ปัญหาเศรษฐกิจ และปัญหาอ่ืนๆ ที่เป็นปัญหาความร่วมมือเกยี่ วข้องกับเด็ก จัดหลักสูตรให้แตกต่างกันและ ให้ผู้เรียนเป็นรายบุคคลหรือให้เด็กได้เรียนเก่ียวกับสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรมและให้เด็กเข้าใจสังคม วางแผนจัด กิจกรรมให้นักเรียนเรียนกันระหว่างบุคคลเพ่ือให้เด็กได้เรียนรู้กันมีความร่วมมือกันด้วยดีระหว่างบุคคล และ ระหว่างกลุ่ม ให้เด็กแลกเปล่ียนความคิดเห็นและรว่ มมอื กนั แก้ไขความอิจฉา ความรูส้ ึกเป็นปฏปิ ักษ์ ความรงั เกยี จ ต่อกัน ด้วยการให้นักเรยี นเข้าใจ ข้อเทจ็ จริงของความแตกต่างระหว่างกัน เพื่อให้นกั เรียนเข้าใจดีต่อกัน ร่วมมือรัก ใคร่กัน มีเอกภาพในสังคม ให้นักเรียนเจริญในด้านการสื่อสารร่วมมือกับผู้อ่ืน ทั้งในดานการพูด การอ่าน การฟัง ใหร้ ู้จักการแสดงออก ความต้องการและความสนใจของตนให้ชดั เจน ต้องศึกษาทำความเข้าใจให้แจ่มแจ้ง เพื่อให้มี การพัฒ นาเปลี่ยนแปลง เป็นผลต่อความเจริญงอกงามของเด็ก และความเจริญก้าวหน้าของชุมชน ๒. I = Innovation “นวัตกรรม” นวัตกรรม หมายถึง ความคิด การปฏิบัติ หรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ที่ยังไม่เคยมีใช้มาก่อน หรือเป็นการ พัฒนาดัดแปลงมาจากของเดิมท่ีมีอยู่แล้ว ให้ทันสมัยและใช้ได้ผลดียิ่งข้ึน เม่ือนำ นวัตกรรมมาใช้จะช่วยให้การ ทำงานน้ันได้ผลดีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงกว่าเดิม ท้ังยังช่วยประหยัดเวลาและแรงงานได้ด้วย นวัตกรรม โรงเรียนได้ดำเนินกิจกรรม ด้วยความร่วมมือของคณะครู ผู้นำท้องถ่ิน ชุมชน องค์กรท้องถ่ิน องค์กรเอกชน เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วม สร้างโอกาสทางการศึกษา และพัฒนาคุณภาพการศึกษา นวัตกรรมการเรียนรู้ เป็นเคร่ืองมือท่ีถ่ายทอดการเรียนรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึก เพิ่มพูนทักษะ และ ประสบการณ์ด้านสถานการณ์การเรียนรู้กระตุ้นให้เกิดการพัฒนาด้านศักยภาพการคิด การเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมแก่ผู้เรียน นอกจากนั้นสื่อยังเป็นเคร่ืองมือการเรียนรู้ ในการให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้ด้วย ตนเอง ตามความสามารถเช่ือมโยงแหล่งความรู้ท่ีอยู่ใกล้ตัวผู้เรียน มาสู่การเรียนรู้ของผู้เรียนในเวลาอันรวดเร็ว ดังน้ันในการจัดการเรยี นรู้หรือส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ สื่อจึงจำเป็นและสำคัญในการนำไปจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ท่ีมีคุณภาพ และเพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้ครูผู้สอน จัดหา จัดทำนำส่ือมาใช้ประกอบการเรียนรู้อย่าง หลากหลายและมีประสิทธิภาพ

32 ขน้ั ตอนการผลิตนวัตกรรมในชัน้ เรียน ๑. ศึกษาปญั หาสภาพปัญหาของนกั เรยี น ๒. วางแผนการดำเนนิ งานแก้ไขปัญหา ๓. ดำเนนิ การสร้างนวัตกรรม ๔. ดำเนนิ การใช้นวัตกรรมในการแก้ไขปญั หา ๕. ติดตามและประเมนิ ผล ๓. L = Learning Achievement “ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน” ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง ผลการวัด การเปล่ียนแปลงและประสบการณ์การเรียนรู้ ในเน้ือหา สาระท่ีเรียนมาแล้ววา่ เกิดการเรียนรู้เท่าใดมีความสามารถชนิดใด โดยสามารถวัดได้จากแบบทดสอบวัดสมั ฤทธ์ิใน ลักษณะต่าง ๆ และการวัดผลตามสภาพจริง เพ่ือบอกถึงคุณภาพการศึกษา ความสามารถของนักเรียนในด้าน ต่างๆ ซ่ึงเกิดจากนักเรียนได้รับประสบการณ์จากกระบวนการเรียนการสอนของครู โดยครูต้องศึกษาแนวทางใน การวดั และประเมินผล ผลท่ีเกิดจากกระบวนการเรียนการสอนที่จะท าให้นักเรียนเกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรม และสามารถวัดได้โดยการแสดงออกมาทั้ง ๓ ด้าน คือ ด้านพุทธิพิสัย ด้านจิตพิสัย และด้านทักษะพิสัย

33 ผลการดำเนินงาน ๑ การมสี ว่ นร่วม นายสำราญ รกั ษาสตั ย์ ผู้อำนวยการโรงเรยี นบา้ นหนองกลางพงเปน็ ผู้นำใน การ จัดทำแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564 – 256๖ เปน็ ระยะเวลา ๓ ปี มกี ารกำหนดเปา้ หมายการพฒั นาคณุ ภาพสถานศกึ ษาอย่าง ชัดเจน โดยใชห้ ลกั การบรหิ ารแบบเน้นการมีสว่ นรม่ ทุกภาคส่วน

34 ประชุมรับนโยบายและทำ MOU ร่วมประชุมจดั ทำแผนพฒั นาดา้ น การพัฒนาสถานศึกษาจาก การศึกษารว่ มกับ อบต.วงั เยน็ สพป.กจ.๓ ร่วมประชมุ วางแผนพฒั นาดา้ น ประชุมจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษาร่วมกับ กล่มุ เครอื ขา่ ยฯวงั เยน็ การศึกษารว่ มกบั คณะกรรมการฯ

35 ๒. การระดมทรพั ยากรจากทุกภาคส่วน ได้รบั การสนนั สนนุ จากหลายภาคส่วน เชน่ คา่ ยฝึกไทรโยค,อบต.วังเยน็ วดั วงั เยน็ ,มลู นิธหิ มบู่ า้ นเด็ก จ.นครปฐม,รร.ราชประชานเุ คราะห์ จ.กาญฯ เปน็ ต้น

36 ๓. ผลการพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น ครูพฒั นาผเู้ รียนดว้ ยนวตั กรรมดา้ นการเรียนการสอน

37 ภาคผนวก

38 คณะผ้จู ดั ทำงาน 1. นายสำราญ รักษาสัตย์ ผอู้ ำนวยการโรงเรียนบา้ นหนองกลางพง 2. นายองคก์ าร สริ ชิ มุ แสง ครูชำนาญการพิเศษ 3. นางรัชนี ศรีวงศ์รัตน์ ครูชำนาญการพเิ ศษ 4. นายวีรชาติ พน้ ภยั ครูชำนาญการพเิ ศษ 5. นางสาวเชษฐ์ธิดา นงค์นุช ครูอตั ราจา้ ง 6. นางสาวพรสุดา เสาศิลา ครอู ตั ราจา้ ง 7. นางสาวดวงพร หงษษ์ า ครพู ่ีเลีย้ ง 8. นางสาววรวรรณ สมจติ ต์ ครธู ุรการ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook