Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการวิจัยเรื่อง การบริหารการจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1

รายงานการวิจัยเรื่อง การบริหารการจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1

Published by sitthisak403, 2021-09-07 02:55:28

Description: รายงานการวิจัยเรื่อง การบริหารการจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1

Search

Read the Text Version

43 (3) ดร.ศิริรัชญ์ ธิต๊ะ ผู้อานวยการโรงเรียนวัดน้าโท้ง สานักงานเขตพื้นท่ี การศกึ ษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 4) ปรับปรุงคู่มือการบริหารการจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา ตาม ข้อเสนอแนะของผเู้ ช่ยี วชาญ 5) นาคู่มือการบริหารการจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา ท่ีปรับปรุงเรียบร้อย แล้ว เสนอตอ่ ผูเ้ ชี่ยวชาญอีกคร้งั หน่ึง 6) นาคู่มือการบริหารการจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา ไปใช้กับกลุ่มประชากร ปีการศกึ ษา 2564 จานวน 41 คน 3.3.2 แบบนิเทศ ติดตามแบบนิเทศ ติดตามการจัดกิจกรรมการแก้ปัญหาขยะในโรงเรียน แม่ก๋งวทิ ยา 1) ศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎีที่เก่ียวข้องกับแบบนิเทศ ติดตามแบบนิเทศ ติดตาม การจัดกิจกรรมการแก้ปัญหาขยะในโรงเรยี นแมก่ ่งวทิ ยา 2) ยกร่างแบบนเิ ทศ ติดตามแบบนเิ ทศ ตดิ ตามการจดั กิจกรรมการแก้ปัญหาขยะใน โรงเรียนแม่ก๋งวิทยา 3) นาร่างแบบนเิ ทศ ติดตามแบบนเิ ทศ ตดิ ตามการจัดกจิ กรรมการแก้ปัญหาขยะใน โรงเรยี นแมก่ ๋งวิทยา เสนอตอ่ ผ้เู ชีย่ วชาญ จานวน 3 คน เพื่อตรวจสอบความเป็นไปได้ ความเหมาะสม และความเป็นประโยชน์ แลว้ วเิ คราะห์หาคา่ IOC ประกอบด้วย (1) ดร.เอกฐสิทธิ์ กอบกา ผู้อานวยการกลมุ่ นิเทศ ตดิ ตามและประเมินผล การจดั การศึกษา สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 (2) นางศรีจนั ทร์ ทรายใจ ศึกษานิเทศก์ วทิ ยาฐานะชานาญการพิเศษ สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 (3) ดร.ศิริรัชญ์ ธิต๊ะ ผู้อานวยการโรงเรียนวัดน้าโท้ง สานักงานเขตพื้นท่ี การศกึ ษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 4) ปรบั ปรุงแบบนิเทศ ตดิ ตามแบบนเิ ทศ ติดตามการจัดกิจกรรมการแก้ปัญหาขยะ ในโรงเรยี นแม่ก๋งวิทยาตามขอ้ เสนอแนะของผเู้ ช่ยี วชาญ 5) นาแบบนิเทศ ติดตามแบบนิเทศ ติดตามการจัดกิจกรรมการแก้ปัญหาขยะใน โรงเรียนแม่ก๋งวทิ ยาท่ีปรับปรุงเรียบร้อยแลว้ เสนอต่อผเู้ ชี่ยวชาญอกี คร้งั หน่งึ 6) แบบนิเทศ ติดตามแบบนิเทศ ติดตามการจัดกิจกรรมการแก้ปัญหาขยะใน โรงเรยี นแม่ก๋งวทิ ยาไปใช้กับกลุ่มประชากร ปกี ารศึกษา 2564 จานวน 41 คน 3.3.3 แบบสอบถามความพึงพอใจครูผู้สอนและคณะกรรมการสภานักเรียนของโรงเรียน แมก่ ๋งวทิ ยา ทมี่ ีตอ่ การบริหารการจดั การขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวทิ ยา 1) ศึกษาเอกสาร แนวคดิ ทฤษฎที ี่เกยี่ วข้องกับแบบสอบถามความพงึ พอใจ 2) ยกรา่ งแบบสอบถามความพงึ พอใจ 3) นาร่างแบบสอบถามความพึงพอใจ เสนอต่อผู้เช่ียวชาญ จานวน 3 คน เพื่อ ตรวจสอบความเป็นไปได้ ความเหมาะสม และความเป็นประโยชน์ แล้ววิเคราะห์หาค่า IOC ประกอบดว้ ย

44 (1) ดร.เอกฐสิทธ์ิ กอบกา ผู้อานวยการกลุ่มนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผล การจดั การศึกษา สานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 (2) นางศรีจนั ทร์ ทรายใจ ศึกษานิเทศก์ วิทยาฐานะชานาญการพเิ ศษ สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 (3) ดร.ศิริรัชญ์ ธิต๊ะ ผู้อานวยการโรงเรียนวัดน้าโท้ง สานักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 4) ปรับปรงุ แบบสอบถามความพึงพอใจตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ 5) นาแบบสอบถามความพึงพอใจท่ีปรับปรุงเรียบร้อยแล้ว เสนอต่อผู้เช่ียวชาญ อกี ครัง้ หน่ึง 6) แบบแบบสอบถามความพึงพอใจในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา ไปใช้กับกลุ่มประชากร ปกี ารศกึ ษา 2564 จานวน 41 คน 3.4 กำรเกบ็ รวบรวมข้อมูล ผศู้ กึ ษาดาเนินการเก็บรวมรวมข้อมูลด้วยตนเอง ดังนี้ 1. นเิ ทศ ตดิ ตามการจัดกิจกรรมการแก้ปัญหาขยะในโรงเรยี น ระหว่างเดือนกรกฎาคม – กันยายน 2564 2. สอบถามความพึงพอใจครูผู้สอนและคณะกรรมการสภานักเรียนของโรงเรียน แม่กง๋ วทิ ยา ทม่ี ีต่อการบรหิ ารจดั การขยะ ในเดือน กันยายน 2564 3.5 กำรวเิ ครำะห์ข้อมูล คณะผู้วิจัย ดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลการบริหารจัดการขยะของโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา สงั กดั สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ดังนี้ 1. คู่มือการบริหารจัดการขยะ นามาหาค่า IOC โดยให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความเป็น ไปได้ ความเหมาะสม และความเป็นประโยชน์ 2. แบบนเิ ทศ ติดตามการจดั กจิ กรรมการแก้ปัญหาขยะของครูผู้สอน โรงเรียนแม่ก๋งวิทยา สังกัดสานักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 ตามเกณฑ์ 4.51 – 5.00 หมายถึง มกี ารปฏิบัตอิ ย่ใู นระดบั มากทส่ี ดุ ตามเกณฑ์ 3.51 – 4.50 หมายถึง มีการปฏิบตั ิอยู่ในระดับมาก ตามเกณฑ์ 2.51 – 3.50 หมายถึง มีการปฏิบตั ิอยู่ในระดับปานกลาง ตามเกณฑ์ 1.51 – 2.50 หมายถงึ มีการปฏิบัติอยูใ่ นระดบั น้อย ตามเกณฑ์ 1.00 – 1.50 หมายถงึ มีการปฏบิ ตั ิอยู่ในระดับน้อยที่สุด 3. แบบสอบถามความพึงพอใจของครูผู้สอน และคณะกรรมการสภานักเรียน ที่มีต่อการ บริหารจัดการขยะ ของโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา สังกัดสานักงานเขตพื้นการศึกษาประถมศึกษา ลาปาง เขต 1 นามาหาค่าเฉล่ีย (µ ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน () แล้วนาค่าเฉลี่ย (µ) มาสรุป ตามเกณฑค์ ณุ ภาพ ดังนี้ ค่าเฉล่ยี 4.51 – 5.00 หมายถงึ มคี วามคิดเห็นอยู่ในระดับมากทส่ี ุด

45 ค่าเฉลี่ย 3.51 – 4.50 หมายถงึ มคี วามคิดเห็นอยู่ในระดับมาก คา่ เฉลี่ย 2.51 – 3.50 หมายถงึ มคี วามคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉล่ยี 1.51 – 2.50 หมายถึง มคี วามคิดเหน็ อยู่ในระดับนอ้ ย ค่าเฉลี่ย 1.00 – 1.50 หมายถงึ มคี วามคิดเหน็ อยู่ในระดับนอ้ ยทีส่ ุด 3.6 สถติ ิทน่ี ำมำใช้ในกำรวเิ ครำะหข์ ้อมลู สถติ ิทนี่ ามาใช้การวเิ คราะห์ข้อมูลในคร้ังน้ี ดงั นี้ 1. คา่ IOC ความเป็นไปได้ ความเหมาะสม และความเปน็ ประโยชน์ของคู่มอื การบรหิ าร จัดการในโรงเรยี นแม่ก๋งวิทยา โดยใหผ้ ู้เช่ียวชาญพจิ ารณา ใช้สตู รการคานวณ ดังนี้ IOC = NR IOC คอื ดัชนีความเป็นไปได้ ความเหมาะสม และความเป็นประโยชน์ของ คมู่ ือการบริหารจัดการขยะ R คอื คะแนนของผู้เชยี่ วชาญ R คือ ผลรวมของคะแนนผ้เู ชยี่ วชาญแต่ละคน N คอื จานวนผูเ้ ช่ยี วชาญ การกาหนดคะแนนของผ้เู ชย่ี วชาญอาจจะเปน็ +1 หรอื 0 หรอื –1 ดงั นี้ + 1 = แน่ใจวา่ มคี วามเปน็ ไปได้ ความเหมาะสม และความเป็นประโยชน์ 0 = ไม่แน่ใจวา่ มคี วามเปน็ ไปได้ ความเหมาะสม และความเปน็ ประโยชน์ - 1 = แนใ่ จวา่ ไมม่ ีความเป็นไปได้ ความเหมาะสม และความเป็นประโยชน์ ค่าดัชนีความสอดคล้องท่ียอมรับได้ต้องมีค่าตั้งแต่ 0.50 ข้ึนไป 2. ผลที่ได้จากการนิเทศ ติดตามการจัดกิจกรรมการแก้ปัญหาขยะในโรงเรียนนามาหา คา่ เฉลี่ย (µ) ค่าสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน () ใชส้ ูตร ดังนี้ µ = X N X หมายถึง ข้อมลู X หมายถงึ ผลรวมของขอ้ มูลทั้งหมด N หมายถงึ จานวนของข้อมลู ที่มีทง้ั หมด  = NX2 (X)2 N(N1)  หมายถงึ คา่ เบ่ยี งเบนมาตรฐาน X หมายถงึ ข้อมูลแตล่ ะตวั N หมายถึง จานวนขอ้ มลู ทง้ั หมด

บทท่ี 4 ผลการศึกษา ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการดาเนินงานการบริหารการจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 โดยใช้การบริหารแบบมีส่วนร่วม 5 ร ผศู้ ึกษานาเสนอผล แบง่ เป็น 3 ตอน ดงั นี้ ตอนท่ี 1 4.1 ผลการเปรียบเทยี บความรู้ ความเข้าใจ ก่อนและหลังการใช้คู่มือการบริหาร การจัดการขยะในโรงเรียนแมก่ ง๋ วทิ ยา ตอนที่ 2 4.2 ผลการดาเนินงานการบริหารการจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา สังกัด สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 โดยใช้รูปแบบการบริหารจัดการแบบมีส่วน ร่วม 5 ร ตอนที่ 3 4.3 ผลการจัดกจิ กรรมการแกป้ ัญหาขยะในโรงเรียนแมก่ ๋งวทิ ยา ตอนที่ 4 4.4 ความพึงพอใจของการบริหารการจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา โดยใช้ หลักการบรหิ ารแบบมีสว่ นร่วม 5 ร

47 ตอนท่ี 1 4.1 ผลเปรียบเทยี บความรู้ ความเข้าใจ ก่อนและหลังการใช้ค่มู อื การบรหิ ารการจัดการ ขยะในโรงเรยี นแม่กง๋ วทิ ยา เปน็ การนาเสนอผลการเปรียบเทียบความรู้ ความเข้าใจของครูผู้สอนก่อนและหลังการใช้ คู่มือการบริหารการจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา ของครูผู้สอน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 ผลดงั ตารางที่ 4.1 ตารางที่ 4.1 แสดงผลการเปรียบเทียบความรู้ ความเข้าใจของครูผู้สอนโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา สังกัด สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 การใช้คู่มือการบริหารการจัดการขยะใน โรงเรียนแม่ก๋งวิทยา ระดับคณุ ภาพ รายการ ดเี ยีย่ ม ดีมาก ดี n ร้อยละ n รอ้ ยละ n ร้อยละ ก่อนการใชค้ มู่ ือ - 0.00 11 47.61 10 52.38 หลงั การใช้คู่มือ 21 100 - 0.00 - 0.00 จากตารางที่ 4.1 ความรู้ ความเข้าใจ ของคณะครูผู้สอนโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา สังกัด สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ก่อนการใช้คู่มือ อยู่ระดับดีคิดเป็นร้อยละ 47.61 อยู่ในระดับดีมากคิดเป็นร้อยละ 52.38 หลังการใช้คู่มือ อยู่ในระดับดีเยี่ยมคิดเป็นร้อยละ 100 จะเห็นได้ว่าหลังการปฏิบัติงานการบริหารการจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยาครูผู้สอน มี ความรู้ ความเข้าใจสูงกวา่ กอ่ นการปฏิบตั งิ าน ตอนท่ี 2 4.2 ผลการดาเนินงานการบริหารการจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยาแม่ก๋งวิทยา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 โดยใช้รูปแบบการบริหารจัดการ แบบมีสว่ นร่วม 5 ร โรงเรียนแม่ก่งวิทยา ใช้รูปแบบการบริหารการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมตามการบริหาร จัดการแบบมีส่วนร่วม 5 ร จานวน 5 ข้ันตอน คือ ข้ันตอนท่ี 1 ร่วมศึกษา ขั้นตอนที่ 2 ร่วมวางแผน ขั้นตอนท่ี 3 ร่วมปฏิบัติ ข้ันตอนที่ 4 ร่วมสรุป และข้ันตอนที่ 5 ร่วมแลกเปล่ียนเรียนรู้ ซึ่งมีวิธีการใน การดาเนนิ งานและผลการดาเนินงานดงั น้ี 1. รว่ มศึกษาความตอ้ งการ มวี ิธีการดาเนินงาน มดี งั น้ี 1) ประชมุ คณะครูและสภานกั เรยี นเพอื่ ร่วมศกึ ษาปญั หาขยะในโรงเรียนที่เปน็ ปญั หา 2) วเิ คราะห์จดุ เดน่ จดุ ดอ้ ยในการบรหิ ารจัดการขยะ 3) ศกึ ษาปัญหา/อปุ สรรคการจดั การขยะ (PLC) 4) ศึกษาความต้องการ การแก้ปัญหาการจดั การขยะ

48 ผลที่ได้รับจากการร่วมศึกษาความต้องการ มีดังน้ี 1) ทาให้ผู้เรียนรับทราบสภาพปัญหาปัจจุบันที่เกิดขึ้นในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา และ ทราบสภาพปัญหาการกาจัดขยะของคณะครูและสภานักเรียน 2) รับรู้ วางแผน จุดเด่น จุดด้อย ปัญหาการจัดการขยะ 3) จุดเด่น ความพร้อมของอุปกรณ์ และบุคลากร 4) จุดด้อย บุคลากรขาดวินัย นักเรียนขาดความรับผิดชอบ คณะครูไม่สอดแทรก การจัดการขยะในโรงเรียนอย่างจริงจัง 2. ร่วมวางแผน/ออกแบบ การบริหารจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา มีวิธีการ ดาเนนิ งาน มดี งั นี้ 1) ศึกษาสภาพปัญหา ผู้บริหาร คระครู นักเรียน นาปัญหามาศึกษา วิเคราะห์ และ สรุป 2) กาหนดเป้าหมายความสาเร็จ 3) จัดทาคู่มือการบริหารจัดการขยะในโรงเรียน ผลท่ีได้รับจากร่วมวางแผน/ออกแบบการบริหารจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา มีดังน้ี 1) เป้าหมายการจัดการขยะของคณะครู 2) วิธีการจัดการขยะของนักเรียน 3) คู่มือการบริหารจัดการขยะ 3. ร่วมปฏิบัติ กิจกรรม การบริหารจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา วิธีการ ดาเนินงาน มีดังนี้ 1) คณะครู นักเรียน นาคู่มือการกาจัดขยะไปให้ความรู้ทั้งในรูปแบบการเรียนการ สอนในช่ัวโมงและการแนะแนว 2) นักเรียนชี้แจงรูปแบบการดาเนินงานโดยยึดคู่มือการบริหารจัดการขยะใน โรงเรียนแม่ก๋งวิทยา ผลที่ได้รับจากการร่วมปฏิบัติ กิจกรรม การบริหารจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋ง วิทยา มีดังนี้ 1) คณะครูมรี ปู วธิ กี ารการจัดการเรียนการสอน สรุปแบบชัดเจน ได้อย่างเหมาะสมกับ นกั เรียน 2) นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการจัดการขยะ มีความตระหนัก มีวินัย ในการ จดั การบริหารขยะในโรงเรยี น 3) ผวู้ จิ ัยได้นเิ ทศตดิ ตาม การปฏิบตั ิงานของนกั เรียน 4. ร่วมสรุปผลการดาเนินกิจกรรมการบริหารจัดการขยะของในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา วิธีการดาเนินงาน มีดังนี้

49 คณะผู้วิจัยนาขอ้ มลู ทร่ี วบรวมมาจากการร่วมศึกษาความต้องการ จากการจัดกิจกรรม โดยดผู ลงานมาวิเคราะห์ สรปุ ประเมนิ ผลการดาเนนิ การจดั การขยะของโรงเรยี น ผลที่ได้รับจากการร่วมสรุปผลการดาเนินกิจกรรมการบริหารจัดการขยะของใน โรงเรียนแม่ก๋งวิทยา มีดังนี้ ขอ้ มลู เก่ยี วกับการแกไ้ ขปัญหาและรายงานผลการแก้ไขปญั หา 5. ร่วมแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ วิธีการดาเนินงาน มีดังน้ี 1) คณะผู้วิจัยให้คณะครูแต่ละคนมาแลกเปลี่ยนในชั้นเรียน ให้ข้อเสนอแนะ และ นักเรียนนาผลงานมาแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ 2) นาเสนอผลการจัดการขยะ นาเสนอวิธีการแลกเปลี่ยนระหว่างช้ันเรียน และ โรงเรียน ประเมินความสาเร็จ 3) เสรมิ สรา้ งกาลังใจ ผลท่ีได้รับจากการร่วมแลกเปล่ียนเรียนรู้ มดี ังน้ี 1) ทราบวิธกี ารแก้ปัญหา ของคคณะรแู ละนักเรยี น 2) โรงเรยี นมวี ิธกี ารบรหิ ารจดั การขยะ 3) เผยแพร่ผลงาน ตอนท่ี 3 4.3 ผลการจัดกจิ กรรมการแก้ปัญหาขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา เป็นการนาเสนอผลการจัดกิจกรรมการแก้ปัญหาขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา สังกัด สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ตารางที่ 4.2 แสดงค่าเฉลี่ย (μ ) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการจัดกิจกรรมการแก้ปัญหา ขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา โดยใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม 5 ร ของคณะกรรมการสภา นักเรียนและคณะครูผู้สอน โรงเรียนแม่ก๋งวิทยา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ลาปาง เขต 1 รายการ การปฏิบัติ การ μ แปลความ 1. ครผู สู้ อนสร้างความรู้ ความเข้าใจ ในการจดั กจิ กรรมการแก้ไข 4.33 0.58 ปัญหาขยะ มาก 2. ครผู สู้ อนและนักเรียนรว่ มกันวิเคราะหส์ ภาพปัญหาปัจจุบัน 3.67 0.58 ของขยะทเี่ กดิ ขึ้นในโรงเรียนแมก่ ง๋ วทิ ยา มาก 3. ครูผู้สอนและนักเรยี นร่วมกันวางแผนการดาเนินกจิ กรรมและ 4.33 0.58 รว่ มกันกาหนดวิธกี ารแกไ้ ขปัญหาขยะ มาก 4. ครผู ู้สอนและนกั เรยี นจดั กิจกรรมการแก้ไขปัญหาอย่างเปน็ 3.67 0.58 ระบบ มาก

50 ตารางที่ 4.2 แสดงค่าเฉลี่ย (μ ) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการจัดกิจกรรมการแก้ปัญหา ขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา โดยใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม 5 ร ของคณะกรรมการสภา นักเรียนและคณะครูผู้สอน โรงเรียนแม่ก๋งวิทยา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ลาปาง เขต 1 (ต่อ) รายการ การปฏิบัติ การแปล μμ ความ 5. ครูผสู้ อนและนักเรยี นมสี ่วนร่วมในการกาหนดเปา้ หมายการ 4.33 0.58 มาก แก้ไขปัญหาขยะในโรงเรยี น 3.67 0.58 มาก 6. ครผู ู้สอนและนกั เรยี นในชนั้ เรยี นสรุปวิธกี ารแกไ้ ขปัญหาขยะ 3.67 0.58 มาก 7. ครูผสู้ อนบูรณาการการจดั การขยะในแผนการสอนและในกลุ่ม สาระวชิ าต่าง ๆ 4.33 0.58 มาก 8. ครูผสู้ อนบรู ณาการในกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน คือ ชมุ นุม ลูกเสอื แนะแนวและกิจกรรมลดเวลาเรยี น เพ่ิมเวลารู้ 4.33 0.58 มาก 9. ครูผู้สอนใชส้ ื่อนวตั กรรมในการกิจกรรมการเรยี นการสอนใน 4.67 0.58 มากที่สดุ การแก้ไขปญั หาขยะ 3.67 0.58 10. ครผู สู้ อนแสดงตวั อย่างวธิ กี ารจัดการขยะ 4.00 1.00 มาก 11. นกั เรียนรู้จกั วิธีการแยกขยะ 4.67 0.58 มาก 12. นักเรยี นทกุ คนในชน้ั เรยี นรว่ มกิจกรรมการแก้ไขปัญหาขยะ 4.00 1.00 มากทสี่ ุด 13. นกั เรยี นนาเสนอผลการแก้ไขปัญหาขยะ มาก 14. ครผู ู้สอนและนักเรียนแลกเปล่ียนเรียนรู้ การสรา้ งจิตสานกึ 4.67 0.58 ในการจดั การขยะ มากทสี่ ุด 15. เม่อื ดาเนนิ กจิ กรรมการแก้ไขปัญหาขยะเสร็จเรียบรอ้ ยแลว้ 4.67 0.58 ห้องเรียนและรอบบริเวณอาคารเรยี น สะอาด ร่มรน่ื และ 4.16 0.14 มากทส่ี ดุ เหมาะสมต่อการเรียนรู้ มาก 16. ครผู ู้สอนและนักเรียนเผยแพรผ่ ลงานการดาเนนิ งานการ แกไ้ ขปัญหาขยะ รวม จากตารางที่ 4.2 ผลการแบบประเมินติดตามการจัดกิจกรรมการแก้ปัญหาขยะใน โรงเรียนแม่ก๋งวิทยา โดยใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม 5 ร ของคณะกรรมการสภานักเรียนและ คณะครูผู้สอน โรงเรียนแม่ก๋งวิทยา สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 พบว่า ในภาพรวม อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( μ = 4.16) เมื่อพิจารณาในแต่ละด้าน ส่วนใหญ่อยู่ใน ระดับมาก โดยท่ีแลกเปล่ียนเรียนรู้ การสร้างจิตสานึกในการจัดการขยะให้กับนักเรียน ทุกระดับชั้น มี ค่าเฉล่ยี สูงสดุ (μ = 4.67) และมีนักเรยี นร้จู ักวธิ กี ารแยกขยะ มคี ่าเฉลี่ยต่าสุด (μ = 3.67)

51 ตอนที่ 4 4.4 ความพึงพอใจการบรหิ ารจดั การขยะในโรงเรยี นแมก่ ง๋ วทิ ยา เป็นการนาเสนอผลความพึงพอใจของคณะกรรมการสภานักเรียนและคณะครูผู้สอน ในการบริหารจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา ลาปาง เขต 1 ผลดังตารางท่ี 4.3 ตารางที่ 4.3 แสดงค่าเฉลี่ย (μ ) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( ) ความพึงพอใจของ คณะกรรมการสภานักเรียนและคณะครูผู้สอนในการบริหารจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา สังกัด สานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 รายการ การปฏบิ ัติ การ μ แปลความ 1. การแจ้งข้อมลู เกย่ี วกับขน้ั ตอนและระยะเวลาการให้ 3.98 0.72 ดาเนนิ กจิ กรรม 3.68 0.57 มาก 2. มกี ารดาเนินกจิ กรรมตามระยะเวลาท่ีต้ังไว้ 3.90 0.70 มาก 3. การจัดกิจกรรมในโครงการการจัดการบรหิ ารขยะ ฝกึ 4.27 0.50 มาก นสิ ัยรักษาความสะอาด 4.02 0.65 มาก 4. การดาเนนิ กิจกรรมมีความเขา้ ใจง่าย 3.80 0.51 มาก 5. การดาเนินกจิ กรรมมีการใหค้ าแนะนาและตอบข้อซักถาม 3.93 0.72 มาก ได้เป็นอย่างดี 3.59 0.55 มาก 6. ไดเ้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมตรงตามความตอ้ งการ มาก 7. ได้เขา้ ร่วมกิจกรรมและไดร้ ับข้อมลู ทเ่ี ปน็ ประโยชน์ 4.20 0.46 8. สามารถนาความรู้จากกิจกรรม นามาปรบั ใชใ้ น 4.44 0.50 มาก ชีวิตประจาวนั ได้ 3.99 5.89 มาก 9. มีการดาเนนิ การที่เป็นมิตร ความสภุ าพเรยี บร้อยและ มาก ความเตม็ ใจในการรว่ มดาเนนิ กจิ กรรม 10. รายละเอียดของกิจกรรมมคี วามชัดเจนและเข้าใจง่าย รวม จากตารางท่ี 4.3 ความพึงพอใจของคณะกรรมการสภานักเรียนและคณะครูผู้สอนในการ การบริหารการจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา ลาปาง เขต 1 พบว่า ในภาพรวม คณะกรรมการสภานักเรียนและคณะครูผู้สอนในการบริหารจัดการ ขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยามีความพึงพอใจในการจัดการบริหารขยะของโรงเรียนแม่ก๋ง อยู่ในระดับ มาก ( μ = 3.99 ) เม่ือพิจารณาในแต่ละด้าน โดยท่ีการดาเนินกิจกรรมมีความเข้าใจง่าย มีค่าเฉลี่ย สูงสุด ( μ = 4.27) และมกี ารสามารถนาความรจู้ ากกิจกรรม นามาปรับใช้ในชีวิตประจาวันได้ขยะ มคี า่ เฉลี่ยตา่ สุด ( μ = 3.59)

บทท่ี 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ การศึกษาการบริหารจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาลาปาง เขต 1 โดยใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม 5 ร โดยมีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อ เปรยี บเทยี บความรู้ ความเข้าใจ ของครูผู้สอน กอ่ นและหลังการปฏิบัติงานการบริหารการจัดการขยะ ในโรงเรียนแมก่ ง๋ วิทยา สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 (2) เพื่อพัฒนา ระบบการบริหารจัดการขยะของโรงเรยี นแม่กง๋ วิทยา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ลาปาง เขต 1 โดยใช้รูปแบบการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม 5 ร (3) เพ่ือศึกษาความพึงพอใจชอง ครผู ้สู อนและคณะกรรมการสภานักเรียนโรงเรียนแม่ก๋งวิทยาท่ีมีต่อการบริหารจัดการขยะแบบมีส่วน ร่วม 5 ร ประชากรเป็นครูผู้สอนและคณะกรรมการนักเรียนโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา จานวน 41 คน เคร่อื งมือท่ีใช้ประกอบด้วย (1) แบบทดสอบเปรียบเทียบความรู้ ความเข้าใจ ของครูผู้สอน ก่อนและ หลังการใช้คู่มือการบริหารการจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศึกษาลาปาง เขต 1 (2) แบบประเมินติดตาม การจัดกิจกรรมการแก้ปัญหาขยะของครูผู้สอน โดยใช้หลักบริหารแบบมีส่วนร่วม 5 ร โรงเรียนแม่ก๋งวิทยาสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษาลาปาง เขต 1 (3) แบบสอบถามความพึงพอใจของครูผู้สอน และคณะกรรมการสภา นักเรียน ท่ีมีต่อการบริหารการจัดการขยะ โดยใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม 5 ร ของโรงเรียน แม่ก๋งวิทยา สังกัดสานักงานเขตพื้นการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 สถิติที่ใช้ได้แก่การหา ค่าเฉล่ยี ( µ ) และค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ( σ ) ซ่ึงผวู้ จิ ยั ได้สรุปผลการศกึ ษาได้ดงั น้ี สรปุ ผลการวิจยั ตอนท่ี 1 เปรียบเทียบความรู้ ความเข้าใจ ของครูผู้สอน ก่อนและหลังการใช้คู่มือการ บรหิ ารการจดั การขยะในโรงเรยี นแมก่ ๋งวทิ ยา สงั กดั สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 เมื่อเปรียบเทียบความรู้ ความเข้าใจ ของครูผู้สอน หลังการใช้คู่มือการบริหารการ จัดการขยะในโรงเรยี นแมก่ ๋งวิทยา อยู่ในระดับดมี าก หลงั การปฏิบตั ิ ทาใหโ้ รงเรยี นได้คู่มือการบริหาร การจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมในการการบริหารการจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยาเหมาะสมกับ สภาพบริบทของโรงเรียนแมก่ ๋งวิทยา ตอนที่ 2 ผลการดาเนินการการบริหารการจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยาโดยใช้ รูปแบบการบริหารการจัดการแบบมีส่วนร่วม 5 ร สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา ลาปาง เขต 1 2.1 ผลการประเมินติดตามการร่วมศึกษาความต้องการ โดยได้ดาเนินงานประชุม คณะครูและสภานักเรียนเพ่ือร่วมศึกษาปัญหาขยะในโรงเรียนท่ีเป็นปัญหา วิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อย ในการบริหารจัดการขยะ ศึกษาปัญหา/อุปสรรคการจัดการขยะ (PLC) ศึกษาความต้องการ การ แก้ปัญหาการจัดการขยะ โดยผลทีไ่ ด้รับจากการร่วมศึกษาความตอ้ งการ ทาใหผ้ ู้เรียนรับทราบสภาพ ปญั หาปัจจบุ ันท่เี กิดขึน้ ในโรงเรยี นแม่ก๋งวิทยา และทราบสภาพปัญหาการกาจัดขยะของคณะครูและ

53 สภานกั เรียน รบั รู้ วางแผน จุดเด่น จดุ ดอ้ ย ปัญหาการจัดการขยะ จุดเด่น ความพร้อมของอุปกรณ์ และบุคลากร จุดด้อย บุคลากรขาดวินัย นักเรียนขาดความรับผิดชอบ ครูผู้สอนไม่สอดแทรกการ จดั การขยะในโรงเรยี นอย่างจรงิ จงั 2.2 ผลการประเมินตดิ ตามรว่ มวางแผน/ออกแบบ การบริหารจัดการขยะในโรงเรียน แม่ก๋งวิทยา โดยได้ดาเนินงาน ศึกษาสภาพปัญหา ผู้บริหาร ครูผู้สอน นักเรียน นาปัญหามาศึกษา วิเคราะห์ และสรุป กาหนดเป้าหมายความสาเร็จ จัดทาคู่มือการบริหารการจัดการขยะในโรงเรียน ผลท่ีได้รับจากร่วมวางแผน/ออกแบบการบริหารจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา ทาให้โรงเรียนมี เป้าหมายการจัดการขยะของครูผู้สอน มีวิธีการจัดการขยะของนักเรียน มีคู่มือการบริหารการ จดั การขยะ 2.3 ผลการประเมินติดตามร่วมปฏิบัติ กิจกรรม การบริหารการจัดการขยะใน โรงเรียนแม่ก๋งวิทยา โดยได้ดาเนินงานให้ครูผู้สอน นักเรียน นาคู่มือการกาจัดขยะไปให้ความรู้ทั้งใน รูปแบบการเรยี นการสอนในช่วั โมงและการแนะแนว ให้นักเรียนชี้แจงรูปแบบการดาเนินงานโดยยึด คู่มือการบริหารการจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา ผลที่ได้รับจากการร่วมปฏิบัติกิจกรรม การ บริหารจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา คณะครูมีรูปวิธีการการจัดการเรียนการสอน สรุปแบบ ชัดเจน ได้อย่างเหมาะสมกับนักเรียน นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการจัดการขยะ มีความ ตระหนัก มีวินัย ในการจัดการบริหารขยะในโรงเรียน และผู้วิจัยได้นิเทศติดตามการปฏิบัติงานของ นกั เรยี น 2.4 ผลการดาเนินงานร่วมสรุปผลการดาเนินกิจกรรมการบริหารจัดการขยะของ โรงเรียนแมก่ ง๋ วทิ ยา โดยไดด้ าเนนิ งานให้ผู้วิจยั นาข้อมูลที่รวบรวมมาจากการร่วมศึกษาความต้องการ จากการจดั กจิ กรรมโดยดผู ลงานมาวิเคราะห์ สรปุ ประเมนิ ผลการดาเนินการจัดการขยะของโรงเรียน ผลท่ีได้รับจากการร่ว มส รุปผ ลการดาเนินกิจกรรมการบริหาร การ จัดการขยะของในโ รงเรียน แม่กง๋ วิทยา มีข้อมูลเกี่ยวกับการแก้ไขปญั หาและรายงานผลการแกไ้ ขปัญหา 2.5 ผลการร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยได้การดาเนินงาน ผู้วิจัยให้ครูผู้สอนแต่ละคน มาแลกเปลี่ยนในช้ันเรียน ให้ข้อเสนอแนะ และนักเรียนนาผลงานมาแลกเปล่ียนเรียนรู้ นาเสนอผล การจัดการขยะ นาเสนอวิธีการแลกเปลี่ยนระหว่างชั้นเรียน และโรงเรียนประเมินความสาเร็จ เสริมสร้างกาลังใจ ผลที่ได้รับจากการร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทาให้ทราบวิธีการแก้ปัญหา ของ ครูผูส้ อนและนักเรยี น โรงเรยี นมวี ธิ ีการบริหารจัดการขยะ และมกี ารเผยแพรผ่ ลงาน ตอนท่ี 3 การประเมินติดตามการจัดกิจกรรมการแก้ปัญหาขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา ผลการแบบประเมินติดตามการจัดกิจกรรมการแก้ปัญหาขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา โดยใช้หลักการ บริหารแบบมีส่วนร่วม 5 ร ของคณะกรรมการสภานักเรียนและคณะครูผู้สอน โรงเรียนแม่ก๋งวิทยา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 พบว่า ในภาพรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาในแต่ละด้าน ส่วนใหญ่อยู่ในระดับมาก โดยที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ การสร้างจิตสานึกใน การจัดการขยะให้กับนักเรียน ทุกระดับชั้น มีค่าเฉล่ียสูงสุด และมีนักเรียนรู้จักวิธีการแยกขยะ มี คา่ เฉลี่ยต่าสดุ

54 ตอนที่ 4 ความพึงพอใจของครูผู้สอน และคณะกรรมการสภานักเรียน ท่ีมีต่อการบริหาร การจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา โดยใช้รูปแบบการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม 5 ร สังกัด สานกั งานเขตพน้ื การศึกษาประถมศกึ ษา ลาปาง เขต 1 ความพงึ พอใจของครูผู้สอน และคณะกรรมการสภานกั เรียน ที่มีต่อการบริหารจัดการ ขยะของโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา โดยใช้รูปแบบการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม 5 ร สังกัดสานักงาน เขตพื้นการศึกษาประถมศึกษา ลาปาง เขต 1 พบว่า ในภาพรวมอยู่ในระดับอยู่ในระดับมาก เม่ือ พจิ ารณาในแตล่ ะดา้ น โดยทก่ี ารดาเนินกจิ กรรมมคี วามเข้าใจง่าย มคี า่ เฉลย่ี สงู สุด และมีการสามารถ นาความรู้จากกจิ กรรม นามาปรบั ใช้ในชวี ิตประจาวันได้ขยะ มีค่าเฉล่ียต่าสุด อภิปรายผล จากการศึกษาเปรียบเทียบความรู้ ความเข้าใจ ของครูผู้สอน ก่อนและหลังการใช้คู่มือการ บรหิ ารการจัดการขยะในโรงเรยี นแมก่ ๋งวทิ ยา สังกัดสานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง 1 พบวา่ 1. ผลการการศึกษาเปรียบเทียบความรู้ ความเข้าใจ ของครูผู้สอน หลังการใช้คู่มือการ การบริหารการจดั การขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา อยู่ในระดบั ดมี าก สาเหตุเกิดจากการท่ีครูผู้สอนได้ ศึกษาเรยี นรู้วธิ ีการจดั การขยะจากคมู่ ือการบรหิ ารจดั การขยะท่มี คี วามชดั เจน และสามารถนาความรู้ ทไี่ ดร้ ับไปศกึ ษาและปฏิบัติ และสามารถนาไปถา่ ยทอดความรู้ใหแ้ กน่ ักเรยี นไดท้ ้งั ในโรงเรียนและนอก โรงเรียนได้อย่างเป็นระบบ สอดคล้องกับดาราวรรณ บัววัฒนา (2550) ได้ศึกษาการถ่ายทอด ความรู้เรื่องการจัดการขยะในกลุ่มนักเรียนอาชีวศึกษา โดยถ่ายทอดองค์ความรู้เรื่องการจัดการขยะ ผา่ นกจิ กรรม เช่น กิจกรรมละลาย พฤติกรรม การคัดแยกขยะ การประเมินราคาขยะ และการสาธิต การทาปุ๋ยหมัก จากนั้นให้นักเรียน ทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ พบว่า นักเรียนกลุ่มตัวอย่างมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลัง ถ่ายทอดความรู้แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญที่ระดับ 0.05 แสดงว่า การถ่ายทอดความรู้เร่ืองการจัดการขยะมีประสิทธิภาพทาให้นักเรียนกลุ่มตัวอย่างมีความรู้ เพ่ิมขึ้น และนักเรียนแสดงความคิดเห็นว่าการถ่ายทอดความรู้เร่ืองการจัดการขยะมีความเหมาะสม ในระดบั มาก สอดคล้องกับวลัยลักษณ์ อัตธีรวงศ์ (2558) ได้ ศึกษาพบว่าปัญหาการจัดการขยะไม่ได้ เป็นปัญหาระดับบุคคลแต่เป็นปัญหาระดับองค์รวม การคัดแยกขยะเป็นการฝึกจิตสานึกให้ เกิดแก่ นักศึกษา ส่วนในประเด็นพฤติกรรมการมีส่วนร่วมการจัดการขยะมูลฝอย ยังอยู่ในระดับปานกลาง ถงึ แม้ว่าจะมีการทง้ิ ขยะลงในถังทุกครั้งแต่ก็ยังขาดความรู้เก่ียวกับการคัดแยกขยะ การนากลับมาใช้ ใหม่อกี ครัง้ และขาดการชักชวนในการจัดการ ขยะซ่ึงเป็นส่วนที่จะต้องได้รับความร่วมมือในการร่วม แก้ปัญหาขยะในสถานศึกษา และความสอดคล้องการความรู้ด้านการจัดการ ขยะของบุคลากรใน องคก์ รกบั ความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการจัดการขยะ สอดคล้องกับ จันทรรัตน์ บวชขุนทด และคณะ (2558) ผลการศึกษาพบว่า พนักงาน มีระดับความรู้ ความ เข้าใจเกี่ยวกับการ คัดแยกขยะอยู่ใน ระดับต่า มีทัศนคติของพนักงานต่อการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง อยู่ในระดับปานกลาง และมี พฤติกรรม การคดั แยกขยะทิ้งก่อน อย่ใู นระดบั ปานกลาง ในดา้ นการดาเนนิ การทดี่ ีมผี ลกับการจดั การขยะ 2. ผลการดาเนินงานการบริหารการจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา โดยใช้รูปแบบการ บริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม 5 ร สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1

55 เม่อื พิจารณาผลการดาเนินงานการร่วมศึกษาความต้องการ จุดเด่น จุดด้อยในการบริหารจัดการขยะ จุดเด่นโรงเรียนมีความพร้อมของอุปกรณ์ และบุคลากร โรงเรียนมีจุดด้อย บุคลากรขาดวินัย นกั เรยี นขาดความรับผิดชอบ ครูผู้สอนไม่สอดแทรกการจัดการขยะในโรงเรียนอย่างจริงจัง ผลการ ดาเนินงานติดตามร่วมวางแผน/ออกแบบ การบริหารจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา โดยได้ ดาเนินงานศึกษาสภาพปัญหา ผู้บริหาร ครูผู้สอน นักเรียน นาปัญหามาศึกษา วิเคราะห์ และสรุป กาหนดเป้าหมายความสาเร็จ จัดทาคู่มือการบริหารจัดการขยะในโรงเรียน ผลท่ีได้รับจากร่วม วางแผน/ออกแบบการบรหิ ารจัดการขยะในโรงเรยี นแมก่ ง๋ วิทยา ทาใหโ้ รงเรียนมเี ป้าหมายการจัดการ ขยะของครูผู้สอน มีวิธีการจัดการขยะของนักเรียน มีคู่มือการบริหารจัดการขยะ ผลการ ดาเนินงานร่วมปฏิบัติกิจกรรม การบริหารจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา โดยได้ดาเนินงานให้ ครูผู้สอน นักเรียน นาคู่มือการกาจัดขยะไปให้ความรู้ท้ังในรูปแบบการเรียนการสอนในชั่วโมงและ การแนะแนว ให้นักเรียนชี้แจงรูปแบบการดาเนินงานโดยยึดคู่มือการบริหารจัดการขยะในโรงเรียน แม่ก๋งวิทยา ผลที่ได้รับจากการร่วมปฏิบัติ กิจกรรมการบริหารจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา ทาให้ครูผู้สอนมีรูปวิธีการการจัดการเรียนการสอน สรุปแบบชัดเจน ได้อย่างเหมาะสมกับนักเรียน และนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการจัดการขยะ มีความตระหนัก มีวินัย ในการจัดการบริหาร ขยะในโรงเรียน และผู้วิจัยได้นิเทศติดตาม การปฏิบัติงานของนักเรียน ผลการดาเนินงานร่วม สรุปผลการดาเนินกิจกรรมการบริหารจัดการขยะของในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา โดยได้ดาเนินงานให้ ผู้วิจัยนาข้อมูลท่ีรวบรวมมาจากการร่วมศึกษาความต้องการ จากการจัดกิจกรรมโดยดูผลงานมา วิเคราะห์ สรุป ประเมินผลการดาเนินการจัดการขยะของโรงเรียน ผลที่ได้รับจากการร่วมสรุปผล การดาเนินกิจกรรมการบริหารจัดการขยะของในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา ทาให้มีข้อมูลเกี่ยวกับการ แก้ไขปัญหาและรายงานผลการแก้ไขปัญหา มีผลการร่วมแลกเปล่ียนเรียนรู้ โดยได้การดาเนินงาน ใหค้ รผู ูส้ อนแต่ละคนมาแลกเปลี่ยนในชั้นเรียน ให้ข้อเสนอแนะ และนักเรียนนาผลงานมาแลกเปล่ียน เรียนรู้ นาเสนอผลการจัดการขยะ นาเสนอวธิ ีการแลกเปล่ยี นระหว่างชั้นเรยี น และโรงเรียนประเมิน ความสาเร็จ เสริมสร้างกาลังใจ ผลท่ีได้รับจากการร่วมแลกเปล่ียนเรียนรู้ ทาให้ทราบวิธีการ แกป้ ญั หา ของครูผสู้ อนและนกั เรยี น โรงเรียนมีวิธีการบริหารจัดการขยะ และมีการเผยแพร่ผลงาน สอดคลอ้ งกับใชร้ ปู แบบการบริหารจดั การขยะแบบมีส่วนร่วม 5 ร ของ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศึกษาลาปาง เขต 1 (2562 : 6) เน้นการมีส่วนร่วมของบุคลากรในโรงเรียน ซ่ึงเน้นการ บริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม 5 ร จานวน 5 ข้ันตอน คือ ขั้นตอนท่ี 1 ร่วมศึกษา ข้ันตอนที่ 2 ร่วม วางแผน ข้ันตอนที่ 3 ร่วมปฏิบัติ ข้ันตอน ที่ 4 ร่วมสรุป และขั้นตอนที่ 5 ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ พัฒนศักดิ์ จันทร์สมุด (2550) ได้ศึกษาพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย ของนิสิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม พบว่า นิสิตมีแรงจูงใจส่วนบุคคลในการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูล ฝอย และการรบั รขู้ อ้ มูลขา่ วสารในการจัดการขยะมูลฝอยอยใู นระดับปานกลาง และการมีส่วนร่วมใน การจัดการขยะมูลฝอย อยู่ในระดับน้อยท่ีสุด โดยนิสิตที่เพศ อายุ ระดับการศึกษาคณะหรือ หน่วยงานตา่ งกัน มีพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยต่างกัน สอดคล้องกับรูปแบบ การมีส่วนร่วมของ Cohen and Uphoff ซึ่งแบ่งการมีส่วนร่วมเป็น 4 ลักษณะ คือ การมีส่วนร่วม ตัดสินใจ (Decision Making) การมีส่วนร่วม ปฏิบัติการ (Implementation) การมีส่วนร่วมใน ผลประโยชน์ (Benefits) และการมีส่วนร่วมในการ ประเมินผล (Evaluation) สอดคล้องกับ ยุทธวีร์

56 แก้วทองใหญ่ (2561) ผลการวจิ ัยพบว่าการจัดการกับปัญหาสิ่งแวดล้อมในสถานศึกษามาจากการบูร ณาการงาน การประสานงานความรว่ มมอื กบั ทุกฝ่ายในการร่วมแก้ปัญหาจากทุกฝ่ายเป็นรูปแบบการ จดั การขยะและส่ิงแวดลอ้ มในสถานศึกษาที่ดี 3. การประเมินติดตามการจัดกิจกรรมการแก้ปัญหาขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา ผลการ แบบประเมนิ ตดิ ตามการจัดกิจกรรมการแก้ปัญหาขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา โดยใช้หลักการบริหาร แบบมีส่วนร่วม 5 ร ของคณะกรรมการสภานักเรียนและคณะครูผู้สอน โรงเรียนแม่ก๋งวิทยา สังกัด สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 พบว่า ในภาพรวม อยู่ในระดับมาก เม่ือ พิจารณาในแต่ละด้าน ส่วนใหญ่อยู่ในระดับมาก โดยท่ีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การสร้างจิตสานึกในการ จดั การขยะใหก้ บั นักเรยี น ทุกระดบั ช้นั มีคา่ เฉลี่ยสูงสดุ และมนี กั เรียนรจู้ ักวิธีการแยกขยะ มีค่าเฉล่ีย ต่าสุด ควรมีการส่งเสริมและปลูกจิตสานึกในการดูแลส่ิงแวดล้อม และการทิ้งขยะมูลฝอย และ สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับขยะมูลฝอยในชั่วโมงเรียนให้แก่กับนักเรียนเพิ่มขึ้น และมีการติดตาม ประเมินผลการจัดการขยะอย่างสม่าเสมอ สอดคล้องกับ กระบวนการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ในการส่งเสริมการบริหาร จัดการขยะในโรงเรียนเป้าหมาย โดยใช้รูปแบบการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) มี 5 ข้ันตอนโดยเร่ิมจากการศึกษาสภาพปัจจุบันปัญหา และนามาวางแผนการนิเทศ การให้ความรู้ก่อน การนเิ ทศ การนิเทศแบบโคช้ และการประเมินผลการนเิ ทศ สอดคล้องกบั ไพลิน หงษ์เจริญ (2550) ได้ เสนอแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยในโรงเรียนโพนทองพิทยา อาเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ ส่งเสริม และปลูกจิตสานึกในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม และการท้ิงขยะมูลฝอย ให้ความรู้เก่ียวกับเร่ืองขยะ มูลฝอย ได้แกโ่ ทษของการท้งิ ขยะไม่ถูกที่การคัดแยกขยะมูลฝอย การใช้ประโยชน์จากขยะ การสร้าง เตาเผาขยะมูลฝอย สอดแทรก ความรู้เกยี่ วกับขยะมูลฝอยในชั่วโมงเรียน ส่งเสริมให้ใช้วัสดุธรรมชาติ หรอื วสั ดุท่ีย่อยสลายง่าย จดั กิจกรรมเกย่ี วกับการอนุรักษส์ ่ิงแวดลอ้ มและการใช้ประโยชน์จากขยะมูล ฝอย 4. ความพึงพอใจของคณะกรรมการสภานักเรียนและครูผู้สอนในการบริหารการจัดการ ขยะในโรงเรยี นแม่ก๋งวิทยา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 พบว่า ใน ภาพรวม คณะกรรมการสภานักเรียนและครูผู้สอนในการบริหารจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา มีความพึงพอใจในการจัดการบริหารขยะของโรงเรียนแม่ก๋ง อยู่ในระดับมาก เม่ือพิจารณาในแต่ละ ด้าน โดยที่การดาเนินกิจกรรมมีความเข้าใจง่าย มีค่าเฉลี่ยสูงสุด และมีการสามารถนาความรู้จาก กิจกรรม นามาปรับใช้ในชีวิตประจาวันได้ขยะ มีค่าเฉลี่ยต่าสุด โรงเรียนควรให้ความรู้ความเข้าใจ และปรับทัศนคติและจิตสานึกในการในการดาเนินกิจกรรมการบริหารจัดการขยะให้แก่นักเรียนให้ มากขนึ้ สอดคล้องกบั การวิจยั ของ ราเชนทร์ นพณัฐวงศกร (2559) ผลการวิจัยพบว่า ความพึงพอใจ ของประชาชนต่อการบริหารงานจัดการขยะมูลฝอยของ สานักงานเขตหนองแขมในภาพรวมอยู่ใน ระดับปานกลาง ปัจจัยท่ีมีผลต่อความพึงพอใจของประชาชนท่ีมีต่อการบริหารจัดการขยะมูลฝอย มากที่สุด คือด้านความรู้ความเข้าใจในการเก่ียวกับการบริหารจัดการขยะมูลฝอย ปัญหาและ อุปสรรคสาคัญในการบริหารจัดการขยะมูลฝอย คือ ทัศนคติ และจิตสานึกของประชาชนท่ีมีต่อการ บริหารจดั การขยะมูลฝอย มีความสอดคล้องกบั อสิ รภาพ มาเรือน (2556) ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบ การจัดการขยะของชุมชนชาวเขา ประกอบด้วย 1) การวิเคราะห์ปัญหา และศักยภาพของชุมชน 2)

57 การพฒั นาสมรรถนะแกนนาชมุ ชน 3) การนาโครงการไปสู่การปฏบิ ัติ 4) การประเมินผล ชุมชนมีการ ปรับทัศนคติและพฤตินิสัยในการจัดการขยะที่ถูกต้อง มีการขับเคล่ือนอย่างต่อเน่ืองไปสู่กิจกรรม สรา้ งสรรคอ์ ่นื ๆ สง่ ผลทาใหป้ ริมาณขยะหลงั การดาเนนิ การลดลง รอ้ ยละ 39.37 สภาพแวดล้อมของ ชมุ ชนไดร้ บั การพัฒนาให้น่าอยู่ และประชาชนมคี วามพงึ พอใจต่อการดาเนินงาน ร้อยละ 100 ข้อเสนอแนะ จากการศึกษากระบวนการการดาเนินงานการบริหารจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา ผ้วู จิ ัยมีข้อเสนอแนะดงั น้ี 1. การดาเนินกิจกรรมเรื่อง การบริหารจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา ไปใช้กับกลุ่ม ตัวอย่าง ผู้บรหิ ารต้องมคี วามเข้าใจในกิจกรรมทกุ ข้ันตอน และสามารถควบคุมกลุ่มตัวอย่างให้ดาเนิน ตามกจิ กรรมท่ีวางไว้ เพ่อื ใหเ้ กดิ ผลสัมฤทธิ์ 2. การประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เร่ืองการบริหารจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา ควรมี การรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่นักเรียนอย่างต่อเน่ือง เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธ์ิในการเรียนรู้ท่ี เพิ่มขึ้นและยั่งยนื 3. ควรมีการติดตามผลการดาเนินงาน เร่ืองการบริหารจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา โดยมีการติดตามประเมนิ ผลการปฏิบัติของกลุ่มตัวอย่างอย่างต่อเน่ือง เพ่ือนาผลการประเมินท่ีได้ไป ปรับปรุงแก้ไขกระบวนการการดาเนินกิจกรรมให้สมบูรณ์ยิ่งข้ึน และเกิดผลการเรียนรู้แบบย่ังยืน ในทางปฏิบัติ 4. การสร้างกระบวนการทางสิ่งแวดล้อมโดยการศึกษารูปแบบกระบวนการดาเนินกิจกรรม เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพที่ดีและเหมาะสมกับผู้เรียน ควรให้คณะครูและนักเรียนมีส่วนร่วมในการ สร้างรูปแบบ และเทคโนโลยีการถ่ายทอดองค์ความรู้ต้ังแต่แรกเริ่มและกระทาบ่อยคร้ัง เพ่ือจะได้ รบั ทราบการเปลี่ยนแปลงของประชากรกลุ่มเป้าหมายมากข้ึน และสามารถนามาปรับปรุงให้มีความ เหมาะสมและตรงกับความตอ้ งการของกลุม่ เปา้ หมายมากทสี่ ุด

58 บรรณานกุ รม กชธนณัฐ คำอนิ ทร.์ (2561). การบรหิ ารโดยใช้โรงเรียนเปน็ ฐานในโรงเรยี นประถมศกึ ษา สังกัด สานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาชัยนาท. วทิ ยำนิพนธศ์ ึกษำศำสตรมหำบัณฑติ มหำวิทยำลัยเวสเทริ น์ . เกษม จันทร์แก้ว.(2558).วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม. ภำควิชำวิทยำศำสตร์ส่ิงแวดล้อม คณะส่ิงแวดล้อม มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์. กรมควบคุมมลพิษ. (2555). การจัดการขยะมูลฝอย. แผนจัดกำรมลพิษ พ.ศ.2555-2559.กรุงเทพฯ: กองแผนงำนและประเมินผลกรมควบคุมมลพษิ . กรมควบคุมมลพิษ. (2558). รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย พ. ศ. 2558 . กรุงเทพฯ: กองแผนงำนและประเมนิ ผลกรมควบคมุ มลพษิ . กรมส่งเสริมคุณภำพส่ิงแวดล้อม. (2554). คู่มือการจัดการขยะมูลฝอยและเทคโนโลยีการแปรรูป ขยะมูลฝอยใหเ้ ป็นพลงั งานสาหรบั ท้องถน่ิ . กรุงเทพฯ: กรมควบคมุ มลพษิ . กรมส่งเสริมคุณภำพสิ่งแวดล้อม. (2555). การจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน. กรุงเทพฯ: กรมสง่ เสริม คณุ ภำพส่ิงแวดล้อม กระทรวงทรพั ยำกรธรรมชำติและสิง่ แวดล้อม. กรมส่งเสริมคุณภำพส่ิงแวดล้อม. (2561). มาตรฐานสานักงานสีเขียว (Green Office Standard). กรุงเทพฯ: กรมส่งเสริมคุณภำพส่ิงแวดลอ้ ม. กรมส่งเสริมคุณภำพส่ิงแวดล้อม. (2562). ลด เลิก พลาสติก.กรุงเทพฯ : กรมส่งเสริมคุณภำพ ส่งิ แวดลอ้ ม. ชุมศักดิ์ อินทรร์ ักษ์. (2551) . การบริหารงานวิชาการและการนิเทศภายในสถานศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 5. ภำควิชำกำรบริหำรกำรศึกษำ คณะศึกษำศำสตร์ มหำวิทยำลัยสงขลำนครินทร์วิทยำเขต ปตั ตำน.ี โชติ บดีรฐั . (2558). เทคนคิ การบรหิ าร.กรงุ เทพฯ : จุฬำลงกรณม์ หำวิทยำลัย. ชวนพิศ คำดสนิท. (2554).ปัญหาและแนวทางการพัฒนาการนิเทศการสอนในโรงเรียน ประถมศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 2. งำนนิพนธ์ กศ.ม. ชลบุรี : มหำวทิ ยำลัยบูรพำ. ดำรำวรรณ บัววัฒนำ. (2550). ผลการถา่ ยทอดความรเ้ รอ่ื งการจดั การขยะแกน่ ักเรียนอาชีวศึกษา ู โรงเรียนดรุณากาญจนบุรีบริหารธุรกิจ จังหวัดกาญจนบุรี. วิทยำนิพนธ์วิทยำศำสตร มหำบณั ฑิต (วิทยำศำสตรส์ ง่ิ แวดลอ้ ม) มหำวิทยำลยั เกษตรศำสตร.์ ทศิ นำ แขมมณี. (2558). ศาสตรก์ ารสอนองคค์ วามรเู้ พื่อการจัดกระบวนการเรียนรทู้ มี่ ีประสทิ ธิภาพ. พมิ พค์ ร้ังท่ี 18. กรุงเทพฯ : จฬุ ำลงกรณม์ หำวิทยำลัย.

59 บรรณานกุ รม (ต่อ) ทวีทอง หงษ์วิวัฒน์. (2553). การมีส่วนร่วมของประชาชน. กรุงเทพฯ: ศูนย์ศึกษำนโยบำย สำธำรณสุข มหำวทิ ยำลัยมหดิ ล. นิรันดร์ จงวุฒิเวศย์. (2553). วิธีการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ : ศักด์ิโสภำกำรพิมพ์. น้องนุช เก้ำลิ้ม. (2550) กระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะของโรงเรียน กรณีศึกษาโรงเรียน บ้านกิโลสาม ตาบลท่าแยก อาเภอเมืองสระแก้ว จังหวัดสระแก้ว : วิทยำนิพนธ์ มหำวทิ ยำลยั มหดิ ล/กรงุ เทพฯ. บญุ เรียง ขจรศิลป์.(2554).สถติ ิวิจัย 1. พิมพ์คร้ังท่ี 11. คณะศึกษำศำสตร์. กรุงเทพฯ : มหำวิทยำลัย เกษตรศำสตร์. บญุ ชม ศรสี ะอำด. (2556). หลกั การวิจยั เบื้องต้น . พมิ พ์ครั้งท่ี 9. กรงุ เทพฯ : สวุ ริ ิยำสำสน์ .า เบ็ญจม์ คำเมอื ง. (2558). การบรหิ ารงานทว่ั ไปในสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน สงั กดั สานักงานเขตพ้ืนที่ การศกึ ษาประถมศึกษา ลพบรุ ี เขต 2 . วำรสำรวิทยำลัยนครรำชสีมำ ฉบับพเิ ศษ “กำ้ วสูท่ ศวรรษที่ 2 : วิทยำลยั นครรำชสีมำ” ปำจรีย์ หละตำ. (2550) พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของครอบครัวริมทะเลสาบสงขลา. เทศบาลตาบลสงิ หนคร จงั หวัดสงขลา . มหำวทิ ยำลยั สุโขทยั ธรรมำธริ ำช/นนทบุรี. ปรยี ำพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2553) . จติ วิทยาการบรหิ ารงานบุคคล. กรุงเทพฯ. : ศนู ยส์ ือ่ กรุงเทพฯ. พัชรพล ไตรทิพย์. (2559). การพัฒนาหลักสูตรการจัดการขยะเพื่อส่งเสริมการรู้ส่ิงแวดล้อมของ นักเรียนประถมศึกษาตอนปลายโรงเรียนเทศบาลบ้านค้อ. วิทยำนิพนธ์ปริญญำวิทยำ ศำสตรมหำบณั ฑติ สำขำสิง่ แวดล้อมศกึ ษำ, มหำวทิ ยำลยั มหำสำรคำม. พัฒนศักด์ิ จันทร์สมุด. (2550). พฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการจัดการมูลฝอยของนิสิต มหาวิทยาลัย มหาสารคาม [วิทยำนิพนธ]์ . มหำสำรคำม : มหำวิทยำลยั . พูนสุข อุดม. (2552). สิง่ แวดล้อมศกึ ษา (พิมพค์ รงั้ ท่ี 2). สงขลำ : มหำวทิ ยำลัยทักษิณ. ไพลิน หงษ์เจริญ. (2550). การพัฒนาแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยในโรงเรียนโพนทองพิทยา อาเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ. วิทยำนิพนธ์ ศิลปศำสตรมหำบัณฑิต สำขำกำรวิชำยุทธศำสตร์ กำรพฒั นำ มหำวิทยำลยั รำชภฏั ชยั ภูม.ิ พวงรัตน์ ทวีรัตน์. (2550). วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และทางสังคมศาสตร์. พิมพ์คร้ังท่ี 8. กรงุ เทพฯ : มหำวทิ ยำลยั ศรีนครินทรวโิ รฒประสำนมิตร. ภัทรกร ภำรำ. (2562). การพัฒนาส่ือมัลติมีเดีย เรื่อง การรณรงค์การคัดแยกขยะ. สำรนิพนธ์ ปรญิ ญำตรี สำขำวชิ ำบรหิ ำรธรุ กจิ (คอมพิวเตอร์ธรุ กิจ). กรุงเทพฯ :มหำวิทยำลัยรำชภฏั ธนบุรี.

60 บรรณานุกรม (ต่อ) มัทนียำ นะตะ. (2554).ความต้องการการนิเทศการสอนภาษาอังกฤษ ระดับประถมศึกษา อาเภอ กมลาไสย สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษากาฬสินธ์ุ เขต 1. ศิลปศำสตรมหำบัณฑิต สำขำ ภำษำอังกฤษเพื่อกำรสื่อสำรในงำนอำชีพ มหำวิทยำลยั รำชภฏั มหำสำรคำม. ยทุ ธ ไกยวรรณ.์ (2551). การวางแผนและการควบคมุ การผลติ . กรงุ เทพฯ : ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ. ยพุ ดี เสตพรรณ. (2557). มลพิษส่งิ แวดล้อม: ปัญหา. กรงุ เทพฯ : พิศษิ ฐกู ำรพมิ พ.์ รำชบัณฑติ ยสถำน. (2546). พจนานกุ รมฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ : นำนมีบุค๊ ส.์ รำชบณั ฑิตยสถำน. (2546). พจนานกุ รมฉบับราชบญั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2546. กรงุ เทพฯ : รำชบัณฑิตยสถำน. (2556). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธนั วาคม 2554. กรุงเทพฯ: รำชบณั ฑิตยสถำน. ล้วน สำยยศ และอังคณำ สำยยศ. (2553). เทคนิคการวิจัยทางการศึกษา. พิมพ์คร้ังที่ 11. กรุงเทพฯ: สวุ รี ิยำสำสน์ . วิชชำ ชำครพิพัฒน์. (๒๕๕๐). พลังงานไฟฟ้าจากขยะมูลฝอย. [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก : http://www.mea.or.th/internet/hdd/Vitcha.pdf. (วันทคี่ น้ ข้อมูล : 21 กนั ยำยน 2553) วิรัช วิรัชนิภำวรรณ. (2559).50 แนวคิด ตัวชี้วัด ตัวแบบของการบริหารจัดการ และการบริหาร จดั การที่ย่ังยนื . กรงุ เทพฯ: โฟร์เพซ. วชั รำ เลำ่ เรียนดี. การนเิ ทศการสอน. นครปฐม : ภำควิชำหลกั สูตรและวธิ สี อน คณะศึกษำศำสตร์ มหำวิทยำลยั ศิลปำกร, 2550. วนั ชยั มีชำติ. (2552). การบริหารองคก์ าร.(พิมพคั์รง้ ที่ 5). กรุงเทพฯ: สำมลดำ. ศจี อนันตน์ พคณุ . (2552), กลวิธกี ารบริหารงานอย่างมีประสิทธภิ าพ. สงขลำ: ชลบุตรกรำฟฟิก. ศิริพงษ์ เศำภำยน. (2552).หลกั และกระบวนการบรหิ ารการศึกษา : ทฤษฎแี ละแนวปฏิบตั ิ.กรงุ เทพฯ: ศริ ิวรรณ เสรีรัตนแ์ ละคณะ. (2552) การบรหิ ารการตลาดยุคใหม.่ กรงุ เทพฯ : ธรรมสำร. ศิริพงษ์ เศำภำยน. (2552). หลักและกระบวนการบรหิ ารการศกึ ษา: ทฤษฎีและแนวปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: บคุ๊ พอยท.์ สำคร สุขศรีวงศ์. (2550). การจัดการ:จากมุมมองนกั บรหิ าร (พมิ พ์ครง้ั ที่ 3). กรุงเทพฯ : จพี ีไซเบอร์. สำนักงำนนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม. (2561). แผนแม่บทบูรณาการจัดการ ความหลากหลายทางชีวภาพ พ.ศ. 2558 – 2564. กระทรวงทรัพยำกรธรรมชำติและ สง่ิ แวดลอ้ ม.

61 บรรณานกุ รม (ต่อ) สำนักงำนคณะกรรมกำรพัฒนำกำรเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ สำนักนำยกรัฐมนตรี. (2561). สรุปสาระ สาคัญแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564). กรุงเทพฯ: สำนกั งำนคณะกรรมกำรพัฒนำกำรเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชำติ สำนกั นำยกรัฐมนตร.ี สำนักจัดกำรกำกของเสยี และสำรอันตรำย กรมควบคุมมลพิษ. (2561). รายงานสถานการณ์ขยะมูลฝอย ชุมชนของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2560. กรงุ เทพฯ: กรมควบคุมมลพษิ . สำนักงำนสถติ ิแหง่ ชำติ. (2562).รายงานประจาปี 2562 สานักงานสถติ แิ หง่ ชาติ. กรงุ เทพฯ: ธนำเพรส. สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน. (2560). เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการ ขับเคลือ่ นนโยบายการจดั การขยะในสถานศึกษาสู่การปฏิบัติท่ีย่ังยืน “โรงเรียนปลอดขยะ สัญจร” ในระดับภูมิภาค. กรงุ เทพฯ : สำนักพฒั นำนวัตกรรมกำรจัดกำรศกึ ษำ. สำนักระบำดวิทยำ. (2557). การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ. กรุงเทพฯ : เจ้ำพระยำ กำรพมิ พ์. สุนีย์ มัลลิกะมำลย์. (2553).การจัดการขยะชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ: รูปแบบและมาตรการทาง สังคม เศรษฐศาสตร์และกฎหมายเพื่อการแก้ไขปัญหาขยะชุมชน คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ : จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย. สมไทย วงษ์เจรญิ . (2561). คัดแยกขยะเพือ่ รไี ซเคิล. กรงุ เทพฯ : วงษ์พำณชิ ยจ์ ำกัด. สุรำงค์ โค้วตระกูล. (2553). จิตวิทยาการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ : จุฬำลงกรณ์ มหำวิทยำลัย. สมบูรณ์ ชิตพงศ์. (2554). การวิจัยการประเมินผลทางการศึกษา. ภำควิชำกำรประเมินผลและวิจัย คณะศึกษำศำสตร.์ สงขลำ : มหำวทิ ยำลยั ทกั ษิณ. สมัคร รู้รักดี . (2554). รูปแบบการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานสาหรับโรงเรียน ประถมศึกษา ขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาตราด. วิทยานิพนธ์การศึกษา มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ : มหำวทิ ยำลัยบูรพำ. สุรัสวดี หุ่นพยนต์. (2549). สตรีกับบทบาทในการเข้าร่วมองค์การบริหาร ส่วนตาบล (อบต. : บริบททำงสังคม วัฒนธรรมและกำรเมือง.รำยงำนกำรวิจัย สำนักบัณฑิตอำสำสมัคร มหำวิทยำลยั ธรรมศำสตร์, อำณัติ ต๊ะปินตำ (2553). ความรูเ้ บอ้ื งต้นเกี่ยวกบั การจัดการขยะมูลฝอย. กรงุ เทพมหำนคร : จฬุ ำลงกรณ์มหำวิทยำลัย.

62 บรรณานุกรม (ตอ่ ) อวยพร มีชยั . (2553). การสรา้ งจติ สานกึ ของประชาชนในการจดั การขยะมูลฝอยของเทศบาล ตาบล เวยี งสระ อาเภอเวยี งสระ จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี. กำรศึกษำอสิ ระรัฐประศำสนศำสตร มหำบัณ ฑติ สำขำวชิ ำกำรปกครองทอ้ งถนิ่ วทิ ยำลัยกำรปกครองทอ้ งถ่ิน : มหำวิทยำลยั ขอนแกน่ . เอกฐสทิ ธ์ิ กอบกำ. ( 2560). การพฒั นารปู แบบการนิเทศการจดั กจิ กรรม และประเมินการอา่ นคดิ วเิ คราะห์ และเขียนของครผู ู้สอนโรงเรียนขยายโอกาสทางการศกึ ษาในเขตภาคเหนอื ตอนบน,วทิ ยำนพิ นธ์ ปร.ด., มหำวิทยำลยั นอร์ท - เชียงใหม่, เชยี งใหม่ เอกฐสทิ ธิ์ กอบกำ. ( 2562). คู่มือการดาเนินงานคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศึกษา (ก.ต.ป.น.) : รูปแบบกำรบริหำรจัดกำรแบบมีสว่ นร่วม สำนกั งำน เขตพน้ื ทีก่ ำรศึกษำประถมศกึ ษำลำปำง เขต 1 Dyar, N. A. 1976. Assesing the environmental attitudes and Lehavior of a seventh grade school population. Dissertation Abstracts International. New York : Harperand Brothers จนั ทรรัตน์ บวชขุนทด และคณะ. (2558). พฤติกรรมการคัดแยกขยะของพนักงานบริษัทไดอะเรซิน (ไทยแลนด์) จากัดอาเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วิทยำลัยนครรำชสีมำ จังหวัด นครรำชสีมำ. วลัยลักษณ์ อัตธีรวงศ.์ (2558). ทศั นคตแิ ละพฤตกิ รรมเก่ียวกับการจดั การขยะมลู ฝอยของนักศกึ ษา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. สถำบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ำ เจ้ำคณุ ทหำรลำดกระบัง. ยทุ ธวรี ์ แกว้ ทองใหญ.่ (2561). รูปแบบการจัดการส่ิงแวดล้อมเชิงพทุ ธในสถานศกึ ษา Model of Environmental Management in Buddhist Perspective in Education Institutes. คณะครศุ ำสตร์ มหำวิทยำลัยมหำจฬุ ำลงกรณรำชวทิ ยำลัย. อสิ รภำพ มำเรือน. (2558). กระบวนการสร้างความรว่ มมือทางสังคมระหว่างชุมชนชาวเขาเผ่ามง้ เผ่าเม่ียน เผ่าล้ัว เพ่ือการจัดการขยะอย่างย่ังยืน ในพ้ืนที่ตาบลป่ากลาง อาเภอปัว จังหวัดน่าน. วำรสำรวิชำกำรสำธำรณสขุ ปีท่ี 4 ฉบับท่ี 1มกรำคม – กมุ ภำพันธ์ 2558. รำเชนทร์ นพณฐั วงศกรและคณะ. (2559). ความพงึ พอใจของประชาชนต่อการบริหารจดั การ ขยะมูลฝอยของสานักงานเขตหนองแขม กรุงเทพมหานครสาคร. หลักสูตรบริหำรธุรกิจ มหำบณั ฑติ , มหำวิทยำลยั เอเชยี อำคเนย.์

63 ภาคผนวก ภาคผนวก ก รายชื่อผเู้ ชี่ยวชาญตรวจสอบเครอื่ งมือที่ใชใ้ นการทาวิจยั ภาคผนวก ข เคร่อื งมอื ท่ีใช้ในการจดั การเรยี นร้แู ละการเกบ็ รวบรวมข้อมูล ภาคผนวก ค ภาพกจิ กรรมการบริหารการจัดการขยะในโรงเรยี นแม่กง๋ วทิ ยา โดยใช้หลักการบรหิ ารแบบมีส่วนร่วม 5 ร

64 ภาคผนวก ก รายชือ่ ผเู้ ช่ียวชาญตรวจสอบเครื่องมือที่ใชใ้ นการทาวจิ ัย

65 1. ดร.เอกฐสิทธิ์ กอบกา รายนามผูเ้ ชีย่ วชาญ 2. นางศรีจันทร์ ทรายใจ 3. ดร.ศิริรัชญ์ ธิตะ๊ ผอู้ านวยการกลุ่มนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผล การจดั การศกึ ษา สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ศึกษานเิ ทศก์ชานาญการพิเศษ สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา ประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 ผ้อู านวยการชานาญการพิเศษ โรงเรียนวดั นา้ โท้ง อาเภอเมอื ง จงั หวัดลาปาง สานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1

66 ภาคผนวก ข เครอ่ื งมอื ทใี่ ช้ในการศกึ ษา 1. แบบทดสอบความรู้ ความเขา้ ใจ ก่อนและหลงั การใชค้ มู่ อื การบริหารการจัดการขยะใน โรงเรยี นแม่กง๋ วิทยา 2. แบบประเมินตดิ ตามการจดั กิจกรรมการแก้ปญั หาขยะในโรงเรียนแมก่ ๋งวิทยา 3. แบบประเมินความพงึ พอใจการบรหิ ารการจัดการขยะในโรงเรยี นแมก่ ๋งวทิ ยา

67 แบบทดสอบความรู้ ความเข้าใจ ก่อนการใชค้ ่มู อื การบริหารการจัดการขยะในโรงเรียนแม่กง๋ วทิ ยา สานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 คาชี้แจง : แบบทดสอบปรนัย 20 ข้อ 20 คะแนน ให้นักเรยี นเขยี นเครื่องหมายกากบาท (X) ลงในกระดาษคาตอบท่เี หน็ วา่ ถกู ทสี่ ดุ เพียงข้อเดียว 1. ข้อใดเป็นสาเหตุทส่ี าคญั ท่สี ุดของการเกิดปัญหาขยะมูลฝอย ก. เกิดจากความมักงา่ ยและขาดความสานกึ ถึงผลเสียที่เกดิ ขน้ึ ข. การผลิตหรือใชส้ งิ่ ของมากเกินความจาเป็น ค. การเกบ็ และทาลายไม่ถูกวธิ ี ง. การนาภาชนะไปใชป้ ระโยชน์ไม่มปี ระสิทธิภาพ 2. ข้อใดเป็นการกาจดั ขยะทถ่ี ูกสุขลักษณะ ก. การทงิ้ ขยะข้างทาง การสาดไว้ใต้โคนตน้ ไม้ ข. การนาพลาสติกและโฟมไปเผาหรือทิ้งลงแม่น้า ค. การขุดหลุมฝงั หา่ งจากแมน่ ้า นาเศษอาหารไปทาปยุ๋ หมัก ง. ทง้ิ รวม ๆ กันทกุ ประเภท 3. ขอ้ ใดคอื วธิ กี ารในการชว่ ยลดปริมาณขยะในสถานศกึ ษา ก. รบั ประทานอาหารให้หมดเพ่ือลดเศษอาหาร ข. ใชแ้ ก้วน้าแทนแกว้ พลาสตกิ ค. คัดแยกขยะก่อนนาไปท้งิ ง. ถกู ทกุ ข้อ 4. ขยะมีก่ปี ระเภท ก. 2 ประเภท ข. 3 ประเภท ค. 4 ประเภท ง. 5 ประเภท 5. ขอ้ ใดคือขยะเปียกท้ังหมด ก. ถุงพลาสตกิ เปยี กน้า ใบตอง เศษกระดกู ไก่ ข. เศษอาหาร เปลอื กผลไม้ ใบไมส้ ด ค. ขวดนา้ อดั ลม ขวดพลาสติก เศษเหล็ก ง. ข้อ ก. และ ข. ถกู ต้อง

68 6. ข้อใดคอื ขยะแห้งท้งั หมด ก. ขวดนา้ อัดลม ขวดพลาสติก เศษเหล็ก ข. กระป๋อง ถุงพลาสตกิ เปยี กน้า ยางรถยนต์ ค. เศษกระดาษเปียกน้า ขวดน้ามนั พชื เศษผา้ ง. ถกู ทุกขอ้ 7. ข้อใดคอื ขยะอันตราย ก. ถ่านไฟฉาย กระป๋องยาฆา่ แมลง หลอดไฟ ข. เศษแก้ว หลอดไฟ ตะปู ค. เปลือกทเุ รียน ตะปู หลอดไฟ ง. ถา่ นหนิ เปลือกทุเรยี น เศษแกว้ 8. ข้อใดคือโทษที่เกดิ จากขยะ ก. ทาใหเ้ กิดนา้ เนา่ เสีย ข. มกี ลิ่นเหม็นไมส่ วยงาม ค. เป็นแหล่งเพาะพันธเ์ุ ช้อื โรค ง. ถกู ทกุ ขอ้ 9. ขยะในข้อใดสามารถนาไปรีไซเคลิ ได้ (การนากลบั มาใช้ใหม่) ก. ถุงขนมคบเคียว กระดกู ไก่ มูลสตั ว์ ข. กระดาษลัง ขวดพลาสติก เศษเหลก็ ค. เปลือกลกู อม เศษผ้า หลอดยาสฟี นั ง. เปลือกส้ม เศษเหล็ก เศษกระดาษ 10. ขยะชนิดใดทส่ี ามารถนากลบั มาทาเปน็ ปุ๋ยหมกั ได้ ก. เปลอื กผลไม-้ เศษอาหาร ข. เศษใบไม-้ เศษอาหาร ค. ถุงพลาสตกิ -ซากสัตว์ ง. มูลสตั ว์-ขวดนา้ พลาสตกิ 11. โรคทเี่ กดิ จากขยะคอื ก. ไขม้ าลาเรยี ข. ไข้หวดั ค. เอดส์ ง. อจุ จาระรว่ ง

69 12. สาเหตทุ ี่เกิดปญั หาขยะ คอื อะไร ก. ขาดความร่วมมอื ข. ความเห็นแก่ตัว ค. ขาดความรู้ และความรบั ผดิ ชอบ ง. ถกู ทกุ ข้อ 13. ก่อนกาจัดขยะ ข้นั ตอนใดควรทาเป็นอนั ดบั แรก ก. พจิ ารณาวา่ ขยะประเภทใดยังใช้ประโยชน์ได้แลว้ คดั แยกกอ่ นทิ้ง ข. นาขยะทุกชนดิ ไปเกบ็ ไวท้ ีม่ ิดชดิ ค. ขาขยะทกุ ชนดิ ทิ้งรวมกนั ง. ล้างมือให้สะอาด 14. ขอ้ ใดเป็นการกาจัดขยะทีไ่ ดป้ ระโยชน์มากที่สดุ ก. เผาในที่เผาขยะ ข. ทิ้งในถงั ขยะ ค. นาขยะเปียกไปทาปยุ๋ หมัก ง. นาไปขาย 15. ข้อใดจดั วา่ เปน็ การคดั แยกขยะมูลฝอยพิษ/ขยะอันตราย กอ่ นทง้ิ ลงในถงั ขยะถกู ตอ้ งท่สี ดุ ก. ถ่านไฟฉาย กระปอ๋ งสเปรย์ ข. กระป๋องยาฆา่ แมลง กระปอ๋ งน้าอดั ลม ค. เขม็ ฉดี ยา โฟม ง. เศษอาหาร ถุงน้าเกลอื 16. ขยะที่ย่อยสลายได้และสามารถนาไปทาปุย๋ หมัก เชน่ ผักและผลไม้ เศษอาหาร ใบไม้ ควรใช้ถงั ขยะสอี ะไร ก. ถงั ขยะสีน้าเงนิ ข. ถังขยะสเี ขยี ว ค. ถงั ขยะสีเหลือง ง. ถงั ขยะสีแดง 17. ขอ้ ใดคือการเลอื กใช้สิ่งของท่ีไมท่ าลายสิง่ แวดลอ้ ม ก. กลอ่ งโฟม ข. ใบตอง ค. กระดาษ ง. ถงุ พลาสติก

70 18. ข้อใดเป็นขยะมลู ฝอยทใี่ ช้เวลาย่อยสลายนานทสี่ ดุ ก. กระดาษ ข. โฟม ค. ซากสัตว์ ง. ใบไม้ 19. ข้อใดเปน็ การคัดแยกขยะมาใช้ประโยชน์ใหม่ ก. Reduce ข. Rerse ค. Recycle ง. Reject 20. ขอ้ ใดไม่ใชก่ ารนาขยะมาใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ ก. การนาแกนกระดาษชาระ ใช้เก็บถงุ เท้า หรอื ชดุ ชน้ั ในให้เปน็ ระเบยี บ ข. การนาขวดซปุ ไกส่ กดั ใส่เครื่องเทศ เครอื่ งปรุง ค. การนาขวดนา้ อดั ลมมาทาเปน็ กระถางดอกไม้ ง. การนาผกั มาปรุงอาหาร ***********************************************************************************

71 แบบทดสอบความรู้ ความเข้าใจ หลังการใช้คมู่ ือการบรหิ ารการจดั การขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา สานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 คาชแ้ี จง : แบบทดสอบปรนัย 20 ข้อ 20 คะแนน ให้นักเรยี นเขยี นเคร่ืองหมายกากบาท (X) ลงในกระดาษคาตอบทีเ่ ห็นวา่ ถกู ทีส่ ุดเพยี งขอ้ เดียว 1. ขยะชนดิ ใดท่ีสามารถนากลบั มาทาเปน็ ปยุ๋ หมักได้ ก. เปลอื กผลไม้-เศษอาหาร ข. เศษใบไม-้ เศษอาหาร ค. ถุงพลาสตกิ -ซากสตั ว์ ง. มลู สตั ว์-ขวดนา้ พลาสติก 2. โรคที่เกดิ จากขยะคือ ก. ไข้มาลาเรยี ข. ไขห้ วดั ค. เอดส์ ง. อจุ จาระร่วง 3. สาเหตุทีเ่ กิดปัญหาขยะ คืออะไร ก. ขาดความรว่ มมือ ข. ความเห็นแก่ตวั ค. ขาดความรู้ และความรบั ผดิ ชอบ ง. ถูกทกุ ขอ้ 4. ก่อนกาจดั ขยะ ข้ันตอนใดควรทาเป็นอันดับแรก ก. พิจารณาวา่ ขยะประเภทใดยังใชป้ ระโยชน์ได้แลว้ คัดแยกกอ่ นท้งิ ข. นาขยะทุกชนดิ ไปเก็บไวท้ ่ีมดิ ชดิ ค. ขาขยะทุกชนิดทิ้งรวมกนั ง. ล้างมอื ใหส้ ะอาด 5. ขอ้ ใดเปน็ การกาจัดขยะท่ไี ด้ประโยชนม์ ากท่ีสดุ ก. เผาในท่เี ผาขยะ ข. ท้ิงในถังขยะ ค. นาขยะเปียกไปทาปุ๋ยหมัก ง. นาไปขาย

72 6. ข้อใดจัดวา่ เปน็ การคัดแยกขยะมลู ฝอยพษิ /ขยะอนั ตราย ก่อนทง้ิ ลงในถังขยะถกู ตอ้ งทสี่ ุด ก. ถ่านไฟฉาย กระปอ๋ งสเปรย์ ข. กระป๋องยาฆ่าแมลง กระปอ๋ งนา้ อัดลม ค. เขม็ ฉดี ยา โฟม ง. เศษอาหาร ถงุ น้าเกลือ 7. ขยะทยี่ ่อยสลายไดแ้ ละสามารถนาไปทาปุ๋ยหมัก เช่น ผกั และผลไม้ เศษอาหาร ใบไม้ ควรใช้ถงั ขยะ สีอะไร ก. ถังขยะสนี ้าเงนิ ข. ถงั ขยะสีเขยี ว ค. ถังขยะสีเหลอื ง ง. ถงั ขยะสีแดง 8. ข้อใดคอื การเลอื กใช้สิ่งของที่ไม่ทาลายสง่ิ แวดล้อม ก. กลอ่ งโฟม ข. ใบตอง ค. กระดาษ ง. ถงุ พลาสตกิ 9. ข้อใดเปน็ ขยะมลู ฝอยท่ใี ช้เวลายอ่ ยสลายนานทส่ี ุด ก. กระดาษ ข. โฟม ค. ซากสตั ว์ ง. ใบไม้ 10. ขอ้ ใดเปน็ การคัดแยกขยะมาใช้ประโยชน์ใหม่ ก. Reduce ข. Rerse ค. Recycle ง. Reject 11. ขอ้ ใดไมใ่ ชก่ ารนาขยะมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ก. การนาแกนกระดาษชาระ ใชเ้ ก็บถุงเทา้ หรือชดุ ช้ันในใหเ้ ปน็ ระเบยี บ ข. การนาขวดซปุ ไกส่ กดั ใสเ่ คร่ืองเทศ เครือ่ งปรุง ค. การนาขวดน้าอัดลมมาทาเป็นกระถางดอกไม้ ง. การนาผกั มาปรุงอาหาร

73 12. ขอ้ ใดเปน็ สาเหตทุ สี่ าคัญที่สดุ ของการเกดิ ปัญหาขยะมูลฝอย ก. เกิดจากความมักงา่ ยและขาดความสานึกถึงผลเสยี ทเ่ี กิดขน้ึ ข. การผลติ หรอื ใช้สิง่ ของมากเกนิ ความจาเปน็ ค. การเก็บและทาลายไมถ่ ูกวิธี ง. การนาภาชนะไปใช้ประโยชนไ์ มม่ ีประสทิ ธิภาพ 13. ข้อใดเปน็ การกาจัดขยะที่ถกู สขุ ลกั ษณะ ก. การทงิ้ ขยะขา้ งทาง การสาดไวใ้ ต้โคนตน้ ไม้ ข. การนาพลาสตกิ และโฟมไปเผาหรอื ท้งิ ลงแม่น้า ค. การขุดหลมุ ฝงั ห่างจากแม่นา้ นาเศษอาหารไปทาปุ๋ยหมกั ง. ท้งิ รวม ๆ กันทกุ ประเภท 14. ข้อใดคือวธิ กี ารในการช่วยลดปริมาณขยะในสถานศึกษา ก. รับประทานอาหารใหห้ มดเพอ่ื ลดเศษอาหาร ข. ใชแ้ กว้ น้าแทนแกว้ พลาสติก ค. คัดแยกขยะกอ่ นนาไปทิ้ง ง. ถกู ทุกข้อ 15. ขยะมกี ป่ี ระเภท ก. 2 ประเภท ข. 3 ประเภท ค. 4 ประเภท ง. 5 ประเภท 16. ขอ้ ใดคือขยะเปียกท้งั หมด ก. ถงุ พลาสตกิ เปียกนา้ ใบตอง เศษกระดูกไก่ ข. เศษอาหาร เปลอื กผลไม้ ใบไม้สด ค. ขวดน้าอัดลม ขวดพลาสติก เศษเหล็ก ง. ข้อ ก. และ ข. ถูกต้อง 17. ข้อใดคอื ขยะแหง้ ทั้งหมด ก. ขวดนา้ อดั ลม ขวดพลาสติก เศษเหล็ก ข. กระป๋อง ถุงพลาสตกิ เปียกน้า ยางรถยนต์ ค. เศษกระดาษเปยี กนา้ ขวดน้ามันพืช เศษผ้า ง. ถูกทุกขอ้

74 18. ข้อใดคือขยะอนั ตราย ก. ถ่านไฟฉาย กระปอ๋ งยาฆ่าแมลง หลอดไฟ ข. เศษแก้ว หลอดไฟ ตะปู ค. เปลือกทเุ รียน ตะปู หลอดไฟ ง. ถ่านหิน เปลอื กทเุ รียน เศษแกว้ 19. ข้อใดคือโทษที่เกิดจากขยะ ก. ทาให้เกดิ นา้ เนา่ เสีย ข. มกี ลน่ิ เหมน็ ไม่สวยงาม ค. เป็นแหลง่ เพาะพันธุ์เชื้อโรค ง. ถูกทุกข้อ 20. ขยะในข้อใดสามารถนาไปรีไซเคลิ ได้ (การนากลบั มาใชใ้ หม)่ ก. ถงุ ขนมคบเคยี ว กระดกู ไก่ มูลสตั ว์ ข. กระดาษลงั ขวดพลาสตกิ เศษเหล็ก ค. เปลอื กลูกอม เศษผา้ หลอดยาสีฟัน ง. เปลอื กสม้ เศษเหล็ก เศษกระดาษ ***********************************************************************************

75 แบบประเมนิ ติดตามการจดั กจิ กรรมการแกป้ ญั หาขยะในโรงเรียนแมก่ ง๋ วทิ ยา โรงเรียนแมก่ ๋งวิทยา สานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 คาช้ีแจง : โปรดทาเคร่ืองหมาย  ลงในช่อง  ถึงผลการดาเนินงานการจัดกิจกรรมการแก้ไข ปญั หาขยะในโรงเรียนแมก่ ่งวิทยา สานักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ตามความ เปน็ จริง มรี ะดับการประเมนิ ดังนี้ ระดับการปฏิบัติ 5 หมายถึง มากท่ีสดุ ระดับการปฏิบตั ิ 4 หมายถงึ มาก ระดับการปฏิบัติ 3 หมายถงึ ปานกลาง ระดบั การปฏบิ ตั ิ 2 หมายถึง นอ้ ย ระดับการปฏบิ ัติ 1 หมายถึง น้อยทส่ี ุด รายการประเมนิ ระดับการประเมนิ 12345 1. ครูผสู้ อนสร้างความรู้ ความเขา้ ใจ ในการจัดกจิ กรรมการแกไ้ ขปญั หา ขยะ 2. ครผู ู้สอนและนักเรียนรว่ มกนั วิเคราะห์สภาพปญั หาปจั จุบนั ของขยะท่ี เกิดขึน้ ในโรงเรียนแมก่ ง๋ วิทยา 3. ครูผู้สอนและนักเรียนรว่ มกนั วางแผนการดาเนินกจิ กรรมและรว่ มกัน กาหนดวธิ ีการแก้ไขปัญหาขยะ 4. ครูผู้สอนและนกั เรียนจัดกิจกรรมการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ 5. ครูผูส้ อนและนกั เรียนมีสว่ นรว่ มในการกาหนดเป้าหมายการแก้ไข ปัญหาขยะในโรงเรยี น 6. ครูผู้สอนและนกั เรียนในชน้ั เรียนสรุปวิธกี ารแก้ไขปัญหาขยะ 7. ครผู ้สู อนบรู ณาการการจัดการขยะในแผนการสอนและในกลุ่มสาระ วชิ าตา่ ง ๆ 8. ครูผสู้ อนบูรณาการในกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน คือ ชมุ นมุ ลูกเสือ แนะ แนวและกิจกรรมลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้ 9. ครผู ูส้ อนใชส้ ือ่ นวัตกรรมในการกจิ กรรมการเรียนการสอนในการแก้ไข ปัญหาขยะ 10. ครูผสู้ อนแสดงตัวอย่างวิธกี ารจดั การขยะ

76 รายการประเมนิ ระดับการประเมิน 12345 11. นักเรยี นรูจ้ ักวธิ กี ารแยกขยะ 12. นักเรียนทุกคนในชัน้ เรียนร่วมกจิ กรรมการแก้ไขปัญหาขยะ 13. นักเรยี นนาเสนอผลการแกไ้ ขปัญหาขยะ 14. ครผู สู้ อนและนักเรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การสร้างจติ สานึกในการ จัดการขยะ 15. เมื่อดาเนินกิจกรรมการแก้ไขปัญหาขยะเสร็จเรยี บรอ้ ยแล้วห้องเรยี น และรอบบรเิ วณอาคารเรยี น สะอาด ร่มร่ืน และเหมาะสมตอ่ การเรียนรู้ 16. ครูผสู้ อนและนักเรยี นเผยแพร่ผลงานการดาเนินงานการแกไ้ ขปัญหา ขยะ ขอ้ ค้นพบ / จุดเดน่ และสิ่งท่ีดาเนินการพฒั นา / ปรบั ปรุงใหด้ ขี ้ึน 1. กจิ กรรมท่เี ป็นจดุ เด่นสามารถนาเป็นแบบอย่างแกส่ ถานศกึ ษาอื่น ๆ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………….……………………………………………………………………………………………………………………… 2. สงิ่ ทตี่ ้องดาเนนิ การพัฒนาและปรับปรงุ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………….……………………………………………………………………………………………………………………… 3. ข้อเสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………….………………………………………………………………………………………………………………………

77 แบบประเมนิ ความพึงพอใจการบรหิ ารการจดั การขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา โรงเรียนแมก่ ๋งวิทยา สานักงานเขตพืน้ การการศกึ ษาประถมศึกษาลาปาง เขต1 คาแนะนา : ใหท้ าเคร่ืองหมาย ลงในชอ่ งท่ีตรงกับระดบั ความพงึ พอใจ ตอนท่ี 1 ข้อมูลผู้ประเมนิ 1. สถานภาพ .......... นกั เรยี น .......... ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา 2. เพศ .......... ชาย .......... หญิง ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจ การบริหารขยะ เกณฑ์การใหค้ ะแนน คะแนน 5 = มากทส่ี ดุ , คะแนน 4 = มาก, คะแนน 3 = ปานกลาง. คะแนน 2 = น้อย และ 1= น้อยทสี่ ดุ ข้อ ประเด็น ระดับความพึงพอใจ 54321 1 การแจง้ ข้อมลู เก่ยี วกบั ขัน้ ตอนและระยะเวลาการให้ดาเนินกจิ กรรม 2 มกี ารดาเนินกิจกรรมตามระยะเวลาที่ต้งั ไว้ 3 การจดั กจิ กรรมในโครงการการจดั การบริหารขยะฝึกนิสยั รักษาความ สะอาด 4 การดาเนนิ กจิ กรรมมีความเข้าใจง่าย 5 การดาเนนิ กิจกรรมมีการให้คาแนะนาและตอบข้อซกั ถามได้เป็นอยา่ งดี 6 ไดเ้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมตรงตามความต้องการ 7 ไดเ้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมและได้รบั ข้อมลู ที่เป็นประโยชน์ 8 สามารถนาความรู้จากกิจกรรม นามาปรับใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ได้ 9 มกี ารดาเนนิ การทเ่ี ป็นมิตร ความสภุ าพเรยี บร้อยและความเตม็ ใจในการ รว่ มดาเนนิ กิจกรรม 10 รายละเอียดของกิจกรรมมีความชดั เจนและเข้าใจง่าย ข้อเสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………

78 ภาคผนวก ค ภาพกิจกรรมการบรหิ ารการจัดการขยะในโรงเรยี นแม่กง๋ วทิ ยา โดยใชห้ ลักการบรหิ ารแบบมีสว่ นร่วม 5 ร

79 รวมภาพการดาเนินงานวิจัย เรอ่ื ง การบรหิ ารการจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวทิ ยา สงั กัดสานักงานเขตพ้นื ทกี ารศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 ผ้บู ริหาร คณะครู ประชุมเพ่ือพูดคยุ ปัญหาขยะท่เี กิดข้ึนในโรงเรยี นแม่ก๋งวทิ ยา

80 ประชมุ คณะกรรมการสภานักเรียนในการพดู ถงึ ปญั หาการจดั การขยะในโรงเรยี นแมก่ ๋งวทิ ยา

81 คณะกรรมการสภานกั เรยี นในแต่ละระดบั ช่วงช้นั สารวจขยะในโรงเรยี นแม่กง๋ วทิ ยา

82 ให้ความรู้เกย่ี วกับการจัดการขยะ

83 รว่ มกันทาจดุ คดั แยกขยะในโรงเรยี นแมก่ ง๋ วิทยา

84 กิจกรรมขยะอนิ ทรียจ์ ากเศษอาหาร

85 กิจกรรมเสวียนย่อยสลาย

86 กล่องนม/ถงุ นมเพื่อถงุ ดา

87 กจิ กรรมขยะจากขวดพลาสติก (ประดิษฐ์กระถางดอกไม้)

88 กจิ กรรมการกาจดั ขยะท่วั ไป

89 ประวัตโิ ดยย่อผู้วิจยั ช่ือ - ช่ือสกลุ นางพรณิชา ขดั ฝัน้ วนั เดือน ปี เกิด 19 มนี าคม พ.ศ.2511 สถานทเี่ กดิ อําเภอห้างฉัตร จังหวัดลาํ ปาง สถานทอ่ี ยู่ปจั จุบัน 544 หมู่ 1 ตาํ บลกลว้ ยแพะ อําเภอเมือง จังหวดั ลําปาง 52000 ตาํ แหนง่ หนา้ ที่การงานปจั จุบัน ผู้อาํ นวยการโรงเรยี นแม่ก๋งวิทยา สถานทท่ี ํางานปจั จบุ ัน โรงเรียนแม่ก๋งวิทยา 148 หมู่ 3 ถนนลําปาง-เมืองปาน ตาํ บลบา้ นเปา้ อาํ เภอเมือง ประวตั กิ ารศึกษา จงั หวัดลาํ ปาง 52100 พ.ศ. 2525 มัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรยี นหา้ งฉตั รวทิ ยา พ.ศ. 2528 ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ (สาขาเลขานุการ) วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาลําปาง พ.ศ. 2534 ศลิ ปศาสตรบณั ฑติ (เอกการจัดการทัว่ ไป) วทิ ยาลัยครูลําปาง จังหวัดลาํ ปาง พ.ศ. 2539 ประกาศนยี บัตรวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมธริ าช จังหวัดนนทบุรี 2547 ครุศาสตรมหาบัณฑติ (การบริหารการจัดการศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏลาํ ปาง จงั หวัดลาํ ปาง

90 ประวัติโดยยอ่ ผวู้ ิจยั ชื่อ - ช่ือสกลุ นายสทิ ธิศกั ด์ิ บญุ มา วัน เดือน ปี เกิด 12 เมษายน พ.ศ. 2539 สถานทเ่ี กดิ อําเภอเมือง จงั หวัดลาํ ปาง สถานทอี่ ยู่ปัจจุบัน 139 หมู่ 7 ตาํ บลบ้านร้อง อําเภองาว จงั หวดั ลําปาง 52110 ตาํ แหนง่ หนา้ ที่การงานปจั จุบัน ครผู ชู้ ่วยโรงเรยี นแม่กง๋ วิทยา สถานทที่ ํางานปัจจบุ ัน โรงเรยี นแม่กง๋ วทิ ยา 148 หมู่ 3 ถนนลาํ ปาง-เมอื งปาน ตาํ บลบา้ นเปา้ อําเภอเมือง ประวัติการศึกษา จังหวัดลาํ ปาง 52100 พ.ศ. 2550 ประถมศึกษา โรงเรียนบา้ นแมง่ าวใต้ พ.ศ. 2553 มัธยมศกึ ษาตอนต้น โรงเรยี นผาแดงวทิ ยา พ.ศ. 2556 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย (วทิ ย์-คณิต) โรงเรยี นประชาราชวิทยา พ.ศ. 2562 ปริญญาตรี ครศุ าสตรบณั ฑติ (สาขาวชิ าภาษาไทย) มหาวิทยาลยั ราชภฏั ลําปาง