Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการวิจัยเรื่อง การบริหารการจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1

รายงานการวิจัยเรื่อง การบริหารการจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1

Published by sitthisak403, 2021-09-07 02:55:28

Description: รายงานการวิจัยเรื่อง การบริหารการจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1

Search

Read the Text Version

รายงานการวิจยั เรอ่ื ง การบรหิ ารการจดั การขยะในโรงเรยี นแมก่ ๋งวทิ ยา สงั กัดสานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 คณะผ้วู จิ ัย นางพรณิชา ขัดฝ้ัน นายสิทธศิ ักด์ิ บญุ มา สานักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 สานักคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ ปกี ารศกึ ษา 2564

ก กติ ติกรรมประกาศ รายงานการวิจัยการบริหารการจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 โดยใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม 5 ร คร้ังน้ี สาเร็จได้ด้วย ความช่วยเหลือจาก ดร.เอกฐสิทธ์ิ กอบกา ผู้อานวยการกลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการจัด การศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ท่ีกรุณาตรวจสอบ ด้านการ วิเคราะห์ และรายงานการศึกษา ทาให้การศึกษาคร้ังน้ีสาเร็จลุล่วงไปด้วยดี จึงขอกราบขอบพระคุณ ไว้ ณ โอกาสนี้เปน็ อย่างสงู ขอกราบขอบพระคุณ นางศรีจันทร์ ทรายใจ ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ สานักงานเขต พื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ที่กรุณาตรวจสอบ ด้านการวิเคราะห์ และรายงาน การศกึ ษา ทาใหก้ ารศึกษาครั้งนีส้ าเร็จลุล่วงไปดว้ ยดี จงึ ขอกราบขอบพระคุณไว้ ณ โอกาสนี้ เปน็ อยา่ ง สูง ขอกราบขอบพระคุณ ดร.ศิริรัชญ์ ธิต๊ะ ผู้อานวยการโรงเรียนวัดน้าโท้ง สานักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ท่ีกรุณาตรวจสอบ ด้านการวิเคราะห์ และรายงานการศึกษา ทาให้การศึกษาครั้งนีส้ าเร็จลุล่วงไปดว้ ยดี จึงขอกราบขอบพระคณุ ไว้ ณ โอกาสนี้เปน็ อยา่ งสูง ขอขอบคุณคณะครู นักเรียนโรงเรียนบ้านแม่งาวใต้ ท่ีให้ความร่วมมือในการศึกษาในคร้ังนี้ เป็นอยา่ งดี คณุ ค่าและประโยชน์ใดที่พึงมีจากการศึกษาคร้ังน้ี ผูศ้ ึกษาขอมอบเป็นการตอบแทนพระคุณ บิดา มารดา ญาติพ่ีน้อง ครูอาจารย์ ท่ีได้อบรมส่ังสอนประสิทธิประสาทวิชาความรู้ ตลอดจนให้ กาลังใจท่ีดแี ก่ผู้ศกึ ษา พรณชิ า ขดั ฝัน้

ข เรื่อง รายงานการวิจยั การศกึ ษาการบริหารการจดั การขยะของโรงเรยี น แม่กง๋ วิทยา สังกดั สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ชอื่ ผู้รายงาน นางพรณิชา ขดั ฝน้ั ,นายสทิ ธิศกั ดิ์ บุญมา สถานทศ่ี ึกษา โรงเรยี นแมก่ ง๋ วิทยา อาเภอเมอื ง จงั หวดั ลาปาง สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ปที ่ีทาการศกึ ษา 2564 บทคดั ยอ่ การวิจัยครั้งนี้ มีวตั ถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบความรู้ ความเข้าใจ ของครูผสู้ อนกอ่ นและ หลังการใช้คู่มอื การบริหารการจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา เพ่ือศึกษาผลการดาเนินงานพัฒนา ระบบการบริหารจดั การขยะของโรงเรยี นแม่กง๋ วิทยา โดยใชร้ ปู แบบการบริหารจดั การแบบมีส่วนรว่ ม 5 ร และเพ่ือศกึ ษาความพึงพอใจชองครูผสู้ อนและคณะกรรมการสภานักเรยี นโรงเรียนแมก่ ๋งวิทยาท่ีมี ต่อการบริหารจัดการขยะแบบมีส่วนร่วม 5 ร โดยใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม 5 ร ประชากรท่ี ใช้ในการศึกษาในครั้งน้ี ได้แก่ ครูผู้สอน จานวน 21 คน คณะกรรมการสภานักเรียน จานวน 20 คน เคร่ืองมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการศึกษาคร้ังนี้ คือ 1) คู่มือการบริหารการจัดการขยะใน โรงเรียนแม่ก๋งวิทยา 2) แบบนิเทศ ติดตามการจัดกิจกรรมการแก้ปัญหาขยะในโรงเรียน 3) แบบสอบถามความพงึ พอใจของการบริหารการจัดการขยะในโรงเรียนแม่กง๋ วิทยา สังกัดสานักงานเขต พน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 สถิตทิ ใี่ ช้เป็นร้อยละ ค่าเฉลย่ี และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า การเปรียบเทียบความรู้ ความเข้าใจ ของครูผู้สอน ก่อนและหลังการใช้ ค่มู ือการบริหารการจดั การขยะในโรงเรยี นแมก่ ๋งวิทยา หลังการปฏิบตั ิ อยใู่ นระดบั ดมี าก ผลการประเมินติดตามการดาเนินการการบริหารการจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา โดยใช้รูปแบบการบริหารการจัดการแบบมีส่วนร่วม 5 ร พบว่า ขั้นตอนที่ 1 การร่วมศึกษาความ ต้องการ ทาให้ครูผู้สอนและคณะกรรมการสภานักเรียนรับทราบสภาพปัญหาปัจจุบันที่เกิดข้ึนใน โรงเรียนแม่ก๋งวิทยา ข้ันตอนท่ี 2 ร่วมวางแผน/ออกแบบ การบริหารจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋ง วทิ ยา ทาใหโ้ รงเรียนมีคู่มือการบริหารการจัดการขยะในโรงเรียน และครผู ู้สอนนักเรียน มีเป้าหมาย การจัดการขยะของโรงเรียน ข้ันตอนท่ี 3 ติดตามร่วมปฏิบัติ กิจกรรม การบริหารการจัดการขยะใน โรงเรียนแม่ก๋งวิทยา ทาให้ครูผู้สอนมีรูปวิธีการการจัดการเรียนการสอน สรุปแบบชัดเจน ได้อย่าง เหมาะสมกับนักเรียน นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการจัดการขยะ มีความตระหนัก มีวินัย ใน การจัดการบริหารขยะในโรงเรียน ข้ันตอนท่ี 4 ร่วมสรุปผลการดาเนินกิจกรรมการบริหารจัดการ ขยะของโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา ทาให้โรงเรียน มีข้อมูลเก่ียวกับการแก้ไขปัญหาและรายงานผลการ

ค แก้ไขปัญหา ขั้นตอนท่ี 5 ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทาให้ทราบวิธีการแก้ปัญหา ของครูผู้สอนและ นักเรยี น โรงเรยี นมวี ิธีการบรหิ ารจดั การขยะ และมีการเผยแพรผ่ ลงาน ผลการประเมินติดตามการจัดกิจกรรมการแก้ปัญหาขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา โดยใช้ หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม 5 ร ของครูผู้สอน คณะกรรมการสภานักเรียนพบว่า ในภาพรวม อยู่ ในระดับมาก ผลการประเมินความพึงพอใจของครูผู้สอน และคณะกรรมการสภานักเรียน ที่มีต่อการ บริหารการจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา โดยใช้รูปแบบการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม 5 ร พบว่า ในภาพรวมอยใู่ นระดับอยใู่ นระดบั มาก

ง หนา้ สารบัญ ก ข กิตตกิ รรมประกาศ ง บทคดั ย่อ ฉ สารบัญ ช สารบัญตาราง 1 สารบญั ภาพ 1 บทที่ 1 บทนา 3 3 1.1 ที่มาและความสาคัญ 3 1.2 วตั ถุประสงค์ 4 1.3 สมมตฐิ านการวจิ ยั 5 1.4 ขอบเขตของการวิจยั 6 1.5 นยิ ามศัพท์เฉพาะ 6 1.6 ประโยชน์ท่คี าดว่าจะไดร้ ับ 16 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัย 26 2.1 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวขอ้ งการบริหารจัดการแบบมีส่วนรว่ ม 32 2.2 แนวคดิ และทฤษฎีท่เี กย่ี วขอ้ งกบั ขยะในโรงเรียน 36 2.3 แนวคิดและทฤษฎีทเี่ กี่ยวข้องกับกระบวนการนิเทศ 42 2.4 แนวคิดและทฤษฎที ี่เก่ยี วข้องกับความพึงพอใจ 42 2.5 งานวิจยั ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง 42 บทท่ี 3 วิธกี ารดาเนนิ การวจิ ยั 42 3.1 ประชากร 44 3.2 เคร่อื งมือท่ีใชใ้ นการวิจัย 44 3.3 วธิ ดี าเนินการ 45 3.4 การเก็บรวบรวมข้อมลู 49 3.5 การวิเคราะห์ขอ้ มลู 47 3.6 สถิติที่นามาใช้ในการวเิ คราะห์ข้อมูล บทที่ 4 ผลและอภิปรายผลการวิจยั 4.1 ผลการเปรียบเทียบความรู้ ความเขา้ ใจ ก่อนและหลงั การใชค้ ู่มอื การบริหารการจัดการขยะในโรงเรียนแม่กง๋ วิทยา

จ สารบญั (ตอ่ ) หนา้ 47 4.2 ผลการดาเนนิ งานการบริหารการจดั การขยะในโรงเรียนแมก่ ง๋ วทิ ยา สงั กดั สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 49 โดยใช้รปู แบบการบริหารจดั การแบบมีส่วนรว่ ม 5 ร 51 4.3 ผลการจัดกจิ กรรมการแก้ปญั หาขยะในโรงเรยี นแมก่ ๋งวิทยา บทที่ 4 ผลและอภิปรายผลการวจิ ยั 52 52 4.4 ความพงึ พอใจของการบรหิ ารการจดั การขยะในโรงเรียนแม่กง๋ วิทยา 54 โดยใชห้ ลักการบรหิ ารแบบมีส่วนร่วม 5 ร 57 58 บทที่ 5 สรปุ ผลการวจิ ัย 63 5.1 สรุปผลการวจิ ยั 64 5.2 อภปิ รายผลการวิจยั 66 5.3 ขอ้ เสนอแนะ 78 บรรณานุกรม 89 ภาคผนวก ภาคผนวก ก รายช่อื ผู้เช่ียวชาญตรวจสอบเครือ่ งมือทีใ่ ชใ้ นการทาวจิ ัย ภาคผนวก ข เครือ่ งมือท่ีใชใ้ นการศกึ ษา ภาคผนวก ค ภาพกจิ กรรมการบรหิ ารการจดั การขยะในโรงเรยี นแมก่ ๋งวิทยา โดยใชห้ ลกั การบรหิ ารแบบมีสว่ นรว่ ม 5 ร ประวัตโิ ดยย่อผู้วิจยั

ฉ สารบญั ตาราง หน้า 47 ตารางที่ 4.1 แสดงผลการเปรยี บเทียบความรู้ ความเข้าใจของครูผสู้ อนโรงเรียนแม่กง๋ วิทยา 49 สงั กัดสานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 การใช้คู่มอื การบริหารการจัดการขยะในโรงเรียนแม่กง๋ วิทยา 51 ตารางท่ี 4.2 แสดงค่าเฉลี่ย (μ ) และค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน ผลการจัดกิจกรรมการแก้ปัญหาขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา โดยใชห้ ลกั การบรหิ ารแบบมสี ่วนรว่ ม 5 ร ของคณะกรรมการสภานกั เรยี นและคณะครผู ู้สอน โรงเรียนแม่กง๋ วิทยา สงั กัดสานักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 ตารางท่ี 4.3 แสดงค่าเฉล่ีย (μ ) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( ) ความพงึ พอใจ ของคณะกรรมการสภานกั เรียนและคณะครผู ้สู อน ในการบริหารจดั การขยะในโรงเรยี นแมก่ ๋งวทิ ยา สงั กัดสานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1

ช หน้า สารบัญภาพ 10 14 แผนภาพท่ี 2.1 องค์ประกอบของการบริหาร แผนภาพท่ี 2.2 รปู แบบการบริหารจัดการแบบมสี ว่ นรว่ ม 5 ร 21 28 ของสานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 29 แผนภาพท่ี 2.3 แนวคิดการจัดการขยะ Zero Waste แผนภาพท่ี 2.4 กรอบแนวคิดกระบวนการนเิ ทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) แผนภาพที่ 2.5 กรอบแนวคดิ การบรหิ ารจัดการขยะในโรงเรียน โดยใช้กระบวนการนเิ ทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Mode

บทท่ี 1 บทนำ 1.1 ควำมเป็นมำและสภำพปจั จบุ นั ปัญหำ สภาพปัญหาขยะกาลังเป็นปัญหาสาคัญระดับโลกหลายประเทศให้ความสนใจกับการ แก้ปัญหาขยะที่กาลงั กอ่ ใหเ้ กิดผลกระทบกับ ระบบต่าง ๆ อกี มากมายท้ังเศรษฐกิจ สังคม สงิ่ แวดลอ้ ม และผลกระทบโดยตรงกับสิ่งมีชีวิตทุกชีวิตท่ีดารงอยู่บนโลกใบน้ี สยามรัฐ (24 กันยายน 2561) ซ่ึง จากการสรุปสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย ปี 2561 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดล้อม (2562 : 35) พบว่า ปริมาณ ขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นทั่วประเทศในปี 2560 ประมาณ 27.40 ล้านตัน หรือ 75,046 ตันต่อวัน เพิ่มข้ึนร้อยละ 1.26 จากสภาพปัญหาข้างต้นรัฐบาลไทย มุ่งการ จัดการกับปัญหาขยะมูลฝอยท่ีสะสมอยู่เป็นจานวนมากอันส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและอาจเป็น อันตรายต่อ สุขภาพของประชาชน จึงควรกาหนดระเบียบการปฏิบัติราชการเพ่ือกาหนดข้ันตอนการ ดาเนนิ การในการแก้ปัญหาการจดั การ ขยะมูลฝอยให้เป็นระบบและมีประสิทธิภาพ แผนพัฒนาสังคม และเศรษฐกิจแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (2560-2564) ได้กล่าวถึงการนา ขยะท่ีเกิดขึ้นมาใช้ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 75 และสัดส่วนของขยะอันตรายจะต้องถูกกาจัดอย่างถูกต้องไม่น้อยกว่า ร้อยละ 30 กรอบ ยทุ ธศาสตรช์ าตริ ะยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) ในยุทธศาสตร์ชาติที่ 5 ด้านการสรา้ งการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับ ส่ิงแวดลอ้ ม สู่แผนแม่บทการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ (พ.ศ.2559-2564) ระบุมาตรการกาจัดขยะ มูลฝอยและของ เสียอันตราย ประกอบด้วย 3 มาตรการ ได้แก่ (1) มาตรการลดการเกิดขยะมูลฝอย และของเสียอันตรายที่แหล่งกาเนิด (2) มาตรการเพ่ิมศักยภาพการกาจัดขยะมูลฝอยและของเสีย อันตราย (3) มาตรฐานส่งเสริมการบริหารจัดการขยะและของเสีย อันตราย ในการนาหลักการด้าน 3R มาประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและส่ิงแวดล้อม ของ ประเทศ (กรมควบคุมมลพษิ ,2561) การบรหิ ารจดั การขยะเพ่อื ลดขยะมูลฝอยเป็นการช่วยลดการเพ่มิ ขน้ึ ของปรมิ าณขยะ ซึง่ มี วิธีการในการคัดแยกขยะดังนี้ 1. ขยะย่อยสลาย (ขยะอินทรีย์) เป็นของที่เน่าเสียและย่อยสลายได้ง่ายตามธรรมชาติ ได้แก่ เศษอาหาร เศษผัก เปลือกผลไม้ ใบไมแ้ ห้ง ซากสตั ว์ ฯลฯ บรหิ ารจดั การ ดังนี้ 1.1 จัดทาภาชนะกาจัดขยะเปียกของโรงเรยี น 1.2 ขดุ หลมุ ฝัง หรอื นาไปแปรรูปเป็นปุ๋ยอินทรยี ์ หรือน้าหมักอินทรยี ์ 1.3 นาไปเลี้ยงสัตว์

2 2. ขยะรีไซเคิล เป็นขยะท่ีสามารถคัดแยกเพื่อนาไปรีไซเคิลใหม่ได้ (นาไปขายได้) ได้แก่ แกว้ กระดาษ พลาสติก โลหะ/อโลหะ และยาง ฯลฯ ประชาชนคดั แยกและรวบรวมนาไปจาหน่าย ณ ธนาคารขยะของโรงเรยี น 3. ขยะมูลฝอยที่เป็นพิษหรือขยะอันตรายชุมชน เป็นขยะที่มีความเป็นอันตราย หรือมี ส่วนประกอบที่ เป็นสารที่เป็นอันตราย ได้แก่ ขวดหรือภาชนะใส่เคมีภัณฑ์ ถ่านไฟฉายใช้แล้ว แบตเตอร่ี กระป๋องสเปรย์บรรจุ สารเคมี ตลับหมึกใช้แล้ว หลอดไฟ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ฯลฯ ให้ นาไปรวบรวมไว้ ณ ที่ท้ิงขยะของโรงเรียน เพื่อองค์การบริหารส่วนตาบลบ้านเป้าจะได้ดาเนินการ ต่อไป 4. ขยะท่ัวไป เป็นขยะที่ไม่มีคุณสมบัติตามขยะ ๓ ประเภทข้างต้น โดยย่อยสลายยาก นาไป รีไซเคิลไม่ได้ หรือนาไปรีไซเคิลไม่คุ้มทุน และไม่เป็นอันตราย ได้แก่ ซอง/ถุงขนมขบเค้ียว ถุง บะหม่ีกึง่ สาเรจ็ รูป ถุงพลาสติก/กล่องโฟมเป้ือนอาหาร หลอดกาแฟ ซองกาแฟ ฯลฯ ให้กาจดั ตาม ความเหมาะสมโดยไม่กระทบตอ่ สิง่ แวดลอ้ ม 5. ปฏิเสธและลดการใช้ถุงพลาสติกและโฟม ร่วมกันใช้ถุงผ้า หรือถุงขนาดใหญ่ที่ย่อย สลายได้แทนการใช้ถุงพลาสตกิ และโฟม โรงเรียนแม่ก๋งวิทยาเป็นโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศึกษา ลาปาง เขต 1 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มี จานวนนักเรียน 151 คน บุคลากรทางการศึกษาจานวน 21 คน รวม 171 คน ในปีการศึกษา 2564 โรงเรียนได้ดาเนนิ การศึกษาปัญหาที่เกิดข้ึนจากการจัดการขยะในโรงเรียน พบว่าขยะท่ีเกิดข้ึนภายใน โรงเรียน คือ ขยะอินทรีย์ จาพวก เศษอาหาร เศษใบไม้ กิ่งไม้ ขยะรีไซเคิล จาพวก ขวดน้าพลาสติก กล่องนม ถุงนม และขยะขยะท่ัวไป จาพวกเศษพลาสติก ซึ่งมีจานวนของปริมาณขยะเพิ่มข้ึนอย่าง ตอ่ เนอ่ื งจึงส่งผลกระทบตอ่ สภาพแวดลอ้ มของโรงเรยี นโรงเรียนแมก่ ง๋ วทิ ยา ดังน้ัน การจัดกิจกรรมในการเสริมสร้างทักษะให้แก่คณะครู นักเรียน จึงเป็นแนวทางในการ สร้างสรรค์นวัตกรรมในการนาขยะจากการเหลือใช้กลับมาใช้ประโยชน์ได้อย่างมีคุณค่า และควร พัฒนาการจัดการขยะ ท่ีกาลังเป็นปัญหาระดับโรงเรียน และส่งผลต่อภาพลักษณ์ รวมถึงการคัดแยก ขยะ การลดการใช้ให้เหมาะสมกับการปฏิบัติงาน การบริการชุมชน ชุมชนท่ีเกิดสภาวะขาดความ เชื่อม่ันในการบริหารจัดการ การส่งเสริมพฤติกรรมการจัดการขยะ และสืบเน่ือง ต่อพฤติกรรมของ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในการเป็นต้นแบบท่ีดีในการพัฒนาพฤติกรรม ซึ่งเน้นการ บริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม 5 ร จานวน 5 ขั้นตอน คือ ข้ันตอนท่ี 1 ร่วมศึกษา ข้ันตอนท่ี 2 ร่วม วางแผน ขนั้ ตอนท่ี 3 รว่ มปฏบิ ัติ ข้ันตอน ท่ี 4 รว่ มสรปุ และขนั้ ตอนท่ี 5 รว่ มแลกเปลีย่ นเรียนรู้

3 ดว้ ยเหตุผลดังได้กล่าวมาข้างต้น จงึ ทาให้คณะผ้วู ิจยั การบริหารการจัดการขยะในโรงเรียนแม่ ก๋งวทิ ยา โดยใช้รูปแบบการบริหารแบบมีส่วนร่วม 5 ร จานวน 5 ข้ันตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 ร่วมศึกษา ขั้นตอนท่ี 2 ร่วมวางแผน ข้ันตอนท่ี 3 ร่วมปฏิบัติ ขั้นตอน ท่ี 4 ร่วมสรุป และข้ันตอนที่ 5 ร่วม แลกเปล่ียนเรียนรู้ ในการสร้างความตระหนักรู้ในการจัดการขยะเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์และการ จัดการบริหารขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา เพื่อให้ทราบถึงกระบวนการในการดาเนินงานอย่างมีส่วน รว่ มในทุกภาคสว่ น โดยเฉพาะอย่างย่ิงในการบรหิ ารจัดการขยะอินทรีย์ท่ที าให้โรงเรียนแม่ก๋งวิทยาได้ นามาใช้ประโยชน์ อาทิ การทาปุ๋ยหมักจากเศษใบไม้ เศษหญ้า การบริหารการจัดการขยะรีไซเคิล สามารถนามาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ อาทิ นามาขวดน้าพลาสติกมาประดิษฐ์เป็นกระถางต้นไม้ ส่วน การบริหารจัดการขยะทั่วไป ทาให้โรงเรียนเกิดความสะอาดและมีบรรยากาศท่ีดีต่อการเรียนรู้ นอกจากน้ียังเป็นการดาเนินกิจกรรมที่เสรมิ สร้างทักษะอาชพี ท่ีสามารถสร้างรายไดใ้ ห้แก่นักเรียนและ โรงเรียนได้อยา่ งยง่ั ยืน 1.2 วตั ถปุ ระสงค์ 1.2.1 เพื่อเปรียบเทียบความรู้ ความเข้าใจ ของครูผู้สอน ก่อนและหลังการใช้คู่มือการ บริหารการจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวทิ ยา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 1.2.2 เพื่อศึกษาผลการดาเนินงานพัฒนาระบบการบริหารจัดการขยะของโรงเรียนแม่ก๋ง วทิ ยา สังกดั สานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 โดยใช้รูปแบบการบรหิ ารจดั การ แบบมสี ่วนร่วม 5 ร 1.2.3 เพ่ือศึกษาความพึงพอใจชองครูผู้สอนและคณะกรรมการสภานักเรียนโรงเรียนแม่ก๋ง วทิ ยาทมี่ ตี ่อการบริหารจัดการขยะแบบมสี ่วนรว่ ม 5 ร 1.3 ขอบเขตกำรศึกษำ 1.3.1 ขอบเขตเนือ้ หา การศึกษาครั้งนี้ เป็นการศกึ ษาการบรหิ ารจัดการขยะ 3 ประเภท คอื 1) ขยะอินทรยี ์ 2) ขยะรไี ซเคิล 3) ขยะท่ัวไป 1.3.2 ขอบเขตดา้ นประชากร

4 1) ประชากรที่ใช้ในการศึกษาในคร้ังนี้เป็นครูผู้สอนและคณะกรรมการสภานักเรียน โรงเรียนแม่ก๋งวิทยา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ปีการศึกษา 2564 จาแนกเป็น (1) ครผู ูส้ อน จานวน 21 คน (2) คณะกรรมการสภานกั เรยี น จานวน 20 คน 1.3.3 ตวั แปร 1) ตัวแปรต้น คือ การบริหารจัดแบบมีส่วนร่วม 5 ร จานวน 5 ขั้นตอน คือ ขน้ั ตอนที่ 1 รว่ มศึกษา ขนั้ ตอนท่ี 2 รว่ มวางแผน ขน้ั ตอนที่ 3 ร่วมปฏิบตั ิ ข้ันตอนที่ 4 ร่วม สรปุ ขั้นตอนที่ 5 ร่วมแลกเปล่ียนเรียนรู้ 2) ตัวแปรตาม คือ 1) ความรู้ ความเข้าใจขยะ 2) การปฏบิ ัติงาน 3) ความพึงพอใจ 1.4 นยิ ำมศัพทเ์ ฉพำะ 1. การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม หมายถึง การบริหารจัดการขยะในโรงเรียน โดยเน้น การมีส่วนร่วมของบุคลากรในโรงเรียน ซึ่งเน้นการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม 5 ร จานวน 5 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 ร่วมศึกษา ขั้นตอนท่ี 2 ร่วมวางแผน ข้ันตอนท่ี 3 ร่วมปฏิบัติ ข้ันตอน ท่ี 4 รว่ มสรุป และขัน้ ตอนท่ี 5 รว่ มแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ 2. ร่วมศึกษา หมายถึง ผู้บริหารโรงเรียน ครูผู้สอน และนักเรียนร่วมกันศึกษาสภาพปัจจุบัน ปญั หาเกี่ยวกับขยะอินทรีย์ ขยะรีไซคเคิล ขยะทั่วไปในโรงเรียนแม่ก๋งวทิ ยา ว่ามีขยะประเภทใดบ้างที่ เป็นปัญหา และสาเหตุของปัญหาเกิด จากอะไร พร้อมกับศึกษาความต้องการของครูผู้สอนและ นกั เรยี น เพ่อื จะไดน้ ามาแก้ปัญหาขยะในโรงเรียน 3. ร่วมวางแผน หมายถึงผู้บริหารโรงเรียน ครูผู้สอน และนักเรียนนาเอาปัญหาในการ ดาเนินการจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยาร่วมกันประชุมวางแผน กาหนดตัวชี้วัดความสาเร็จ เพื่อ ออกแบบวิธีการ ส่ือ นวัตกรรม เครื่องมือการติดตามของโรงเรียน โดยบุคลากรในแต่ละกลุ่ม ร่วม วางแผนการดาเนินการขยะในโรงเรียนที่คาดว่าจะประสบผลสาเร็จตามโครงการและกิจกรรมต่าง ๆ เพอื่ นามาแก้ปญั หาขยะในโรงเรยี นแม่ก๋งวิทยา 4. ร่วมปฏิบัติ หมายถึงผบู้ ริหารโรงเรียน ครูผู้สอน และนักเรียนร่วมปฏิบัติงานตามนโยบาย โดยดาเนินการตามโครงการและกิจกรรมของกลุ่มต่าง ๆ และติดตามตรวจสอบ ประเมินผลโดยใช้ กระบวนการ 5

5 5. ร่วมสรุป หมายถึง ผู้บริหารโรงเรียน ครูผู้สอน และนักเรียน มาร่วมวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลและร่วมสรุปผลการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ท่ีโรงเรียนได้ดาเนินการว่าบรรลุ วัตถปุ ระสงคห์ รอื เปน็ ไปตามแผนงานทไ่ี ด้วางไว้ เพอื่ นามาปรับปรงุ /แก้ไข/พฒั นา ใหด้ ขี นึ้ ต่อไป 6. รว่ มแลกเปล่ียนเรยี นรู้ หมายถงึ ผู้บริหารโรงเรยี น ครูผ้สู อน และนักเรียนร่วมแลกเปลย่ี น เรียนรู้ ชื่นชมความสาเร็จของผู้บริหารโรงเรียน ครูและนักเรียนในผลงานที่รับผิดชอบและนาผลงาน ท่ีประสบความสาเร็จมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้และช่ืนชมความสาเร็จของงานร่วมกัน และโรงเรียนมีการ มอบรางวัลสาหรับพื้นที่ท่ีสามารถดาเนินการจัดการขยะได้ดี มีการเผยแพร่การปฏิบัติงานที่ดี ผ่าน เว็บไซต์และสารสนเทศของโรงเรียน ส่งข้อมลู เผยแพร่ไปท่ีสานักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษา ลาปาง เขต 1 7. ผลการจัดกิจกรรมการแก้ปัญหา หมายถึง ผลการจัดกิจกรรมการแก้ปัญหาขยะในโรงเรียนแม่ ก๋งวิทยา 8. ความพึงพอใจ หมายถึง ความพึงพอใจของผู้บริหาร ครูและบุคลากร นักเรียน ในการจัด การ แกป้ ญั หาขยะในโรงเรียนแมก่ ๋งวทิ ยา 9. ครูผู้สอน หมายถึง ครูผู้สอนโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา.สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 ปีการศกึ ษา 2564 ที่รว่ มการดาเนินการกจิ กรรมขยะ 10. คณะกรรมการสภานักเรียน หมายถึง คณะกรรมการนักเรยี นโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา.สังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ปีการศึกษา 2564 ท่ีร่วมการดาเนินการ กิจกรรมขยะ 1.5 ประโยชน์ทค่ี ำดวำ่ จะได้รับ ได้รูปแบบการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมในการการบริหารการจัดการขยะในโรงเรียน แม่ก๋งวิทยาเหมาะสมกับสภาพบริบทของโรงเรียนแม่ก๋งวิทยาส่งผลให้โรงเรียนมีทัศนียภาพและ สิง่ แวดล้อมท้ังในหอ้ งเรียนและนอกโรงเรยี นสวยงามร่มรื่น เออื้ ต่อการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน

บทที่ 2 เอกสารงานวจิ ัยทเี่ กย่ี วข้อง รายงานวิจัยการสํงเสริมการบริหารจัดการขยะในโรงเรียนแมํก๐งวิทยาโดยใช๎รูปแบบการบริหาร จัดการแบบมีสํวนรํวม 5 ร จานวน 5 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนท่ี 1 รํวมศึกษา ขั้นตอนท่ี 2 รํวมวางแผน ขั้นตอนท่ี 3 รํวมปฏิบัติ ข้ันตอนท่ี 4 รํวมสรุป และขั้นตอนที่ 5 รํวมแลกเปล่ียนเรียนรู๎ โดยได๎กาหนด สาระสาคัญประกอบดว๎ ยหวั ข๎อตามลาดบั ดังตอํ ไปนี้ แนวคดิ และทฤษฎีท่เี กย่ี วข๎อง 2.1 แนวคดิ และทฤษฎที ี่เกี่ยวข๎องการบรหิ ารจัดการแบบมสี วํ นรํวม 2.1.1 ความหมายของการบรหิ ารจัดการ 2.1.2 แนวคิดในการบรหิ ารจดั การ (management concepts) 2.1.3 องค๑ประกอบของการบรหิ ารจดั การ 2.1.4 แนวคิดด๎านการมสี วํ นรํวม 2.1.5 การบรหิ ารจัดการแบบมสี วํ นรํวมในการบรหิ ารจดั การขยะในโรงเรยี น 2.2 แนวคิดและทฤษฎีท่เี กี่ยวขอ๎ งกบั ขยะในโรงเรยี น 2.2.1 ความหมายของขยะ 2.2.2 ประเภทของขยะ 2.2.3 สาเหตทุ ี่ทาให๎เกิดปัญหาขยะในโรงเรียน 2.2.4 ผลกระทบทีเ่ กิดจากขยะในโรงเรียน 2.2.5 นโยบายสงํ เสริมและสนับสนุนการจดั การขยะของ สพฐ. สโํู รงเรียนปลอดขยะ 2.2.6 หลักการบริหารจัดการขยะในโรงเรียน 2.3 แนวคิดและทฤษฎีทเ่ี กี่ยวข๎องกับกระบวนการนเิ ทศ 3.3.1 ความหมายของการนเิ ทศ 3.3.2 กระบวนการนเิ ทศการศกึ ษา 3.3.3 กระบวนการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) 2.4 แนวคดิ และทฤษฎที เี่ กี่ยวขอ๎ งกบั ความพึงพอใจ 2.5 งานวิจัยทเี่ กย่ี วขอ๎ ง โดยเอกสารงานวจิ ัยท่ีเกี่ยวขอ๎ งมรี ายละเอยี ด ตอํ ไปนี้ 2.1 แนวคดิ และทฤษฎที เ่ี ก่ียวข้องกับการบรหิ ารจัดการ 2.1.1 ความหมายของการบรหิ ารจดั การ คาวํา “บริหารจัดการ” มาจากคาหลัก 2 คา คือ “บริหาร” และ“จัดการ” ซ่ึงท้ัง 2 คา มคี วามหมายตามทป่ี รากฏในพจนานุกรมฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. 2542 ดังนี้

7 คาวํา “บริหาร” เป็นคากิริยา มีหลายความหมาย ได๎แกํ ออกกาลัง ปกครอง ดาเนินการจัดการ ราชบณั ฑติ ยสถาน (2546 : 609) ในขณะทคี่ าวาํ “จัดการ” เป็นคากริ ิยาเชํนเดียวกัน มีความหมายวํา ส่ังงาน ควบคมุ งาน ดาเนินการ ราชบัณฑติ ยสถาน (2546 : 298) คาวํา “บริหาร” มาจากคาวํา“administrative” ซึ่งหมายถึง สิ่งที่สัมพันธ๑กับการจัดการ และงานซึ่งจาเป็นต๎องมีการควบคุมการบริหารงานให๎เป็นไปตามแผนหรือการจัดการอยํางเป็นระบบ เชํน การบริหารงาน การบริหารปัญหา เป็นต๎น (dictionary.cambridge.org, online) ในขณะที่คาวํา “การจัดการ” มาจากคาวํา“management” ซ่งึ หมายถงึ การควบคุมหรือการจัดการบางสิง่ อยํางเปน็ ระบบ (dictionary.Cambridge.org, online) โชติ บดีรัฐ (2558 : 3) ได๎สรุปความหมายจากนักวิชาการตําง ๆ ไว๎วํา “การบริหาร” เป็น กระบวนการของกิจกรรมท่ีตอํ เนือ่ งและประสานงานกันโดยทกุ ฝาุ ยเขา๎ มาชวํ ยเพอื่ ให๎บรรลุจุดมํุงหมาย ขององค๑การ วิรัช วิรัชนิภาวรรณ (2559 : 2 - 3) ได๎กลําวถึงความหมายของ “การบริหาร”ท่ีบางคร้ังเรียกวํา “การบริหารจัดการ” ไว๎ 2 แนวทาง โดยความหมายแรกเปน็ การนาปัจจยั ทมี่ สี วํ นสาคญั ตํอการบริหาร มาเปน็ แนวทางในการให๎ความหมายซึ่ง “การบรหิ ารหรือการบริหารจัดการ” หมายถึง การดาเนินงาน หรือการปฏบิ ตั ิใดๆ ของหนวํ ยงานภาครัฐ และ/หรือเจ๎าหน๎าท่ีของรัฐ (ถ๎าเป็นหนํวยงานภาคเอกชน หมายถึง ของหนวํ ยงานและ / หรือบคุ คล) ทีเ่ ก่ียวข๎องกับคน สิ่งของและหนํวยงาน เชํน (1) การบริหารคน (man) (2) การบริหารเงิน (money) (3) การบริหารวัสดุอุปกรณ๑ (material) (4) การบริหารงานท่ัวไป (management) (5) การบริหารการให๎บริการประชาชน (market) (6) การบริหารคุณธรรม (morality) (7) การบริหารข๎อมูลขําวสาร (message) (8) การบริหารเวลา (minute) และ (9) การบริหารการวัดผล (measurement) เป็นตน๎ จากความหมายท่ีกลําวถึงทั้งหมดข๎างต๎น แสดงให๎เห็นวํา “การบริหาร administration)” และ “การจัดการ (management)”เป็นคาที่มคี วามหมายใกล๎เคียงกันสามารถใช๎แทนกันได๎ “การบริหาร” นิยมใช๎ในภาครัฐสํวน “การจัดการ” นิยมใช๎ในภาคเอกชนหรือภาคธุรกิจนอกจากนี้ “การบริหารบางคร้ัง ก็เรยี กวาํ “การบริหารจัดการ” การให๎ความหมายของ “การบริหารจัดการ” น้ันได๎มีการนาหลักวิชาการ ดา๎ นการบริหาร มาเป็นกรอบในการกาหนดความหมายเพื่อให๎ความหมายครอบคลุมเนื้อหาสาระสาคัญ ทีเ่ กีย่ วกบั การบรหิ ารชัดเจน เข๎าใจงํายซง่ึ สรปุ ไดว๎ าํ การบริหารจัดการ หมายถึง การดาเนินงาน หรือการปฏิบัติใดๆ ของหนํวยงาน และ/หรือเจ๎าหนา๎ ท่ขี องหนวํ ยงานท่ีเกย่ี วข๎องกบั คนสิ่งของและหนวํ ยงาน 2.1.2 แนวคดิ ในการบริหารจัดการ (management concepts) การบริหารจัดการท่ีมีประสิทธิภาพจะต๎องมีการแบํงงานกันทาตามความเหมาะสมและ ความจาเป็นเพ่ือให๎การทางานของหนํวยงานบรรลุตามวัตถุประสงค๑ได๎มีผ๎ูกลําวถึงแนวคิด ในการ บรหิ ารไวต๎ ํางๆ ดงั นี้ สาคร สขุ ศรวี งศ๑ (2550 : 45) กลาํ วถงึ แนวคดิ การจัดการสามารถแบํงได๎ ดงั น้ี 1) แนวคดิ การจัดการเชงิ วทิ ยาศาสตร๑ 2) แนวคดิ การจดั การเชงิ บรหิ าร 3) แนวคดิ การจัดการเชิงพฤติกรรม 4) แนวคิดการจัดการเชิงปริมาณ 5) แนวคดิ การจัดการรวํ มสมัย

8 ศริวรรณ เสรีรัตน๑และคณะ (2552 : 19) ได๎กลําวไว๎ถึงแนวคิดในการบริหารจัดการโดย แบํงตามหนา๎ ท่ีของการบรหิ ารจดั การออกเป็น 4 หนา๎ ทคี่ ือ 1) การวางแผนเป็นขั้นตอนในการกาหนดวัตถุประสงค๑และพิจารณาถึงวิธีการที่ควร ปฏิบตั ิเพ่อื ใหบ๎ รรลุวตั ถุประสงค๑นัน้ ดังน้ันผ๎ูบริหารจึงต๎องตัดสินใจวําองค๑กรมีวัตถุประสงค๑อะไรในอนาคต และจะตอ๎ งดาเนนิ การอยาํ งไรเพ่ือให๎บรรลผุ ลสาเรจ็ ตามวัตถุประสงคน๑ น้ั ลกั ษณะการวางแผนมีดงั น้ี 1.1) การดาเนินการตรวจสอบตวั เอง เพอ่ื กาหนดสถานภาพในปัจจบุ นั ขององคก๑ าร 1.2) การสารวจสภาพแวดล๎อม 1.3) การกาหนดวัตถปุ ระสงค๑ 1.4) การพยากรณสถานการณ๑ในอนาคต 1.5) การกาหนดแนวทางปฏบิ ัตงิ านและความจาเปน็ ในการใชท๎ รพั ยากร 1.6) การประเมนิ แนวทางการปฏบิ ัติงานทว่ี างไว๎ 1.7) การทบทวนและปรับแผนเม่ือสถานการณ๑เปลี่ยนแปลงและผลลัพธ๑ของการควบคุม ไมเํ ปน็ ไปตามที่กาหนด 1.8) การติดตํอส่อื สารในกระบวนการของการวางแผนเปน็ ไปอยาํ งทว่ั ถึง 2) การจดั องค๑การ เป็นข้ันตอนในการจัดหาบคุ คลและทรพั ยากรทีใ่ ช๎สาหรับการทางานเพื่อให๎ บรรลุจดุ มุํงหมายในการทางานนั้นหรอื เปน็ การจดั แบํงงานและจดั สรรทรพั ยากรสาหรบั งานเพื่อให๎งาน เหลําน้ันสาเรจ็ การจดั องค๑ประกอบด๎วย 2.1) การระบแุ ละอธบิ ายงานทจ่ี ะถูกนาไปดาเนนิ การ 2.2) การกระจายงานออกเป็นหนา๎ ที่ 2.3) การรวมหน๎าที่ตํางๆ เข๎าเป็นตาแหนํงงาน 2.4) การอธบิ ายส่ิงที่จาเป็นหรือความต๎องการของตาแหนํงงาน 2.5) การรวมตาแหนํงงานตําง ๆ เป็นหนํวยงานท่ีมีความสัมพันธ๑อยํางเหมาะสมและ สามารถบริหารจดั การได๎ 2.6) การมอบหมายงาน ความรับผิดชอบและอานาจหนา๎ ท่ี 2.7) การทบทวนและปรับโครงสร๎างขององค๑กรเมื่อสถานการณ๑เปล่ียนแปลงและ ผลลพั ธ๑ของการควบคมุ ไมํเป็นไปตามท่กี าหนด 2.8) การตดิ ตํอส่อื สารในกระบวนการของการจัดองค๑เปน็ ไปอยํางทว่ั ถึง 2.9) การกาหนดความจาเป็นของทรพั ยากรมนุษย๑ 2.10) การสรรหาผู๎ปฏบิ ตั งิ านท่ีมีประสทิ ธภิ าพ 2.11) การคดั เลอื กจากบุคคลท่ีสรรหามา 2.12) การฝึกอบรมและพัฒนาทรัพยากรมนุษย๑ตําง ๆ 2.13) การทบทวนปรับคุณภาพและปริมาณของทรัพยากรมนุษย๑เมื่อสถานการณ๑ เปลย่ี นแปลงและผลลพั ธ๑ของการควบคมุ ไมเํ ป็นไปตามทีก่ าหนด 2.14) การติดตอํ สอื่ สารในกระบวนการของการจดั คนเข๎าทางานเป็นไปอยํางทว่ั ถึง 3) การจูงใจเปน็ ข้ันตอนในการกระต๎ุนให๎เกิดความกระตือรือร๎นและชักนาความพยายาม ของพนักงานให๎บรรลุเปูาหมายองค๑การซ่ึงจะเกี่ยวข๎องกับการใช๎ความพยายามของผ๎ูจัดการที่จะกระตุ๎น

9 ให๎พนักงานมศี กั ยภาพในการทางานสูง ดังนั้นการนาจะชํวยให๎งานบรรลุผลสาเร็จเสริมสร๎างขวัญและ จูงใจผใู๎ ตบ๎ งั คับบัญชาการนาประกอบดว๎ ย 3.1) การตดิ ตํอสื่อสารและอธิบายวตั ถุประสงค๑ให๎แกผํ ใู๎ ตบ๎ ังคับบัญชาได๎ทราบ 3.2) การมอบหมายมาตรฐานของการปฏิบตั ิงานตําง ๆ 3.3) ให๎คาแนะนาและให๎คาปรึกษาแกํผู๎ใต๎บังคับบัญชาให๎สอดคล๎องกับมาตรฐานของ การปฏบิ ตั งิ าน 3.4) การให๎รางวัลแกผํ ใู๎ ต๎บังคับบัญชาบนพน้ื ฐานของผลการปฏิบตั งิ าน 3.5) การยกยํองและสรรเสริญและการตาหนิติเตียนอยาํ งยุติธรรมและถูกต๎องเหมาะสม 3.6) การจัดหาสภาพแวดล๎อมมากระต๎ุนการจูงใจโดยการติดตอสื่อสารเพ่ือสารวจความต๎องการ และสถานการณก๑ ารเปลีย่ นแปลง 3.7) การทบทวน และปรับวิธีการของภาวะความเป็นผู๎นา เม่ือสถานการณ๑เปลี่ยนแปลงและ ผลลพั ธข๑ องงาน 4) การควบคุมเป็นการติดตามผลการทางาน และแก๎ไขปรับปรุงสิ่งที่จาเป็นหรือเป็นข้ันตอน ของการวัดผลการทางานและดาเนินการแกไ๎ ขเพ่ือให๎บรรลุผลทต่ี ๎องการซึ่งการควบคุม ประกอบด๎วย 1) การกาหนดมาตรฐาน 2) การเปรียบเทยี บและติดตามผลการปฏบิ ตั งิ านกับมาตรฐาน 3) การแก๎ไขความบกพรํอง 4) การทบทวนและปรับวิธีการควบคุม เม่ือสถานการณ๑เปล่ียนแปลงและผลลัพธ๑ของ การควบคมุ ไมเํ ป็นไปตามทกี่ าหนด 5) การติดตํอส่อื สารในกระบวนการของการควบคมุ เป็นไปอยํางท่ัวถึง โชติ บดีรัฐ (2558 : 43 - 50) ได๎กลําวถึง แนวคิดทางการบริหารโดยใช๎หลักเกณฑ๑ของ Taylor มีพ้ืนฐานอยํูบนหลักการท่ีสาคัญ 4 ประการ ได๎แกํ (1) การคิดค๎นและกาหนดสิ่งที่ดีท่ีสุด (2) การคัดเลือก และพัฒนาคนงาน (3) การพิจารณาอยํางรอบคอบเก่ียวกับวิธีทางานควบคํูกับการพิจารณาคนงานและ (4) การประสานงานอยาํ งใกลช๎ ิดระหวํางผู๎บริหารและคนงาน ซ่ึงผ๎ูบริหารตามแนวคิดของ Taylor จะมีความ เป็นผ๎ูนาอยํางแท๎จริง ต๎องรับภาระหนักกวําคนงาน ต๎องใช๎สมองคิดวิเคราะห๑ปัญหาของกลํุม จัดเตรียม และกาหนดวธิ ีการทางานท่ีดีกวาํ งาํ ยกวาํ และไดผ๎ ลมากกวาํ ให๎กับกลํุม สรปุ ไดว๎ ําแนวคิดดังกลําวข๎างต๎นจะพบวําการบริหารองค๑กรจะครอบคลุม เรื่องการทางาน เป็นทีมการมีสํวนรํวมในการตัดสินใจรํวมกัน ซ่ึงแตํละแนวคิดจะมีเปูาหมายไปในทิศทางเดียวกัน คือ การทางานให๎สาเร็จตามวัตถุประสงค๑ขององค๑กรแตํละแนวคิดตําง ๆ เหลําน้ีมีจุดมุํงเน๎นหรือ วธิ ีการจดั การเพ่ือไปให๎ถึงเปูาหมายแตกตาํ งกันไป 2.1.3 องค์ประกอบของการบริหารจดั การ ศจี อนันต๑นพคุณ (2552 : 2 - 3) กลําวถึง องค๑ประกอบของการบริหารวํา ประกอบด๎วย 3 สํวน ได๎แกํ ทรัพยากรการบริหารหรือปัจจัยการบริหาร (administrative resources) กระบวนการ บริหาร (administration process) และวัตถุประสงค๑ของการบริหาร (objective) ซ่ึงเขียนความสัมพันธ๑ ไดด๎ ังภาพที่ 2.1

10 ปจั จยั การบรหิ าร วัตถุประสงค๑ กระบวนการ (input) (objective) บริหาร (process) 4 M’s PODC Man Planning 4 E’s Money Organizing Economic Material Directing Efficiency Management Controlling Effectiveness Equity feed back ภาพที่ 2.1 องคป๑ ระกอบของการบรหิ าร ที่มา: ศจี อนันต๑นพคุณ (2552 : 3) วิรัช วิรัชนิภาวรรณ (2552 : 11 - 14) ได๎กลําวถึง ตัวชี้วัดในการบริหารจัดการวําแบํง ออกเป็น 3 สํวนได๎แกํ ปัจจัยนาเข๎า (input) ปัจจัยกระบวนการ (process) และปัจจัยผลผลิต (output) ตามรายละเอียดดังน้ี 1. ปัจจยั นาเขา๎ หมายถึง ตัวช้ีวัดการบริหารจัดการท่ีเป็นปัจจัยท่ีมีสํวนสาคัญตํอการบริหาร จัดการหรือประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ หรือทรัพยากรการจัดการ (management resources) โดยวิรัช วิรัชนิภาวรรณ ได๎รวบรวมตัวชี้วัดที่เป็นปัจจัยนาเข๎าไว๎ 9 กลุํม เร่ิมจาก 3M ถึง 11M เชํน 3M ประกอบด๎วย คนหรือการบริหารทรัพยากรมนุษย๑ (Man) เงินหรือการบริหารงบประมาณ (Money) และการบรหิ ารงานทัว่ ไป (Management) ทีถ่ ูกนาเข๎าไปในระบบการบริหารจดั การ 2. กระบวนการ หมายถึง ตวั ช้วี ดั การบรหิ ารจดั การทปี่ ระกอบดว๎ ยการดาเนินงานหลายขั้นตอน ทีห่ นวํ ยงานของรัฐและเจา๎ หน๎าที่ของรัฐพึงดาเนินการ หรือหมายถึง ตัวช้ีวัดท่ีประกอบด๎วยหลายข้ันตอน ท่ีอยํูในระบบการบริหารจัดการ โดยนาแตํละข้ันตอนมาใช๎เป็นเคร่ืองมือในการปรับเปล่ียนปัจจัยนาเข๎า ให๎เป็นปัจจัยนาออกหรอื ผลผลติ ตามเปาู หมายหรือวตั ถุประสงค๑ของหนวํ ยงานตํอไป 3. ปัจจัยนาออก หมายถึง ตัวช้ีวัดการบริหารจัดการท่ีเป็นผลลัพธ๑ ผลผลิต ผลการดาเนินงาน หรือเป็นจุดหมายปลายทาง (end(s)) เปูาหมาย (goal(s)) หรือวัตถุประสงค๑(objective(s)) ของหนํวยงานท่ี ออกมาจากกระบวนการในข้ันตอนท่ีสอง ตัวชี้วัดท่ีเป็นปัจจัยนาออกหรือเป็นเปูาหมายของหนํวยงานน้ี อาจแบงํ ออกเปน็ 2 ประเภท ได๎แกํ ตวั ช้ีวัดทม่ี ีเปูาหมายทม่ี ุํงแสวงหากาไร (profit) และตวั ชี้วดั ทีม่ ีเปาู หมาย ไมํมํุงแสวงหากาไร (non-profit) หรือแบํงเป็นตัวชี้วัดที่มีวัตถุประสงค๑เพื่อการผลิตสินค๎าหรือผลผลิต (products) และตวั ชวี้ ดั ท่มี ีวัตถปุ ระสงคเ๑ พ่ือใหบ๎ ริการ (services) กไ็ ด๎ ศิริพงษ๑ เศาภายน (2552 : 44 - 46) ได๎กลําวไว๎วําการที่จะมีระบบใดระบบหนึ่งข้ึนมาได๎ จะต๎องมสี วํ นประกอบหรือสิ่งตําง ๆ เป็นตัวปูอน โดยเรียกวํา“ข๎อมูล” เพื่อดาเนินงานสัมพันธ๑กันเป็น “กระบวนการ” เพ่ือให๎ได๎ “ผลลัพธ๑” ออกมาตามวัตถุประสงค๑ที่ต้ังไว๎ ดังน้ัน ภายในระบบหน่ึงจะสามารถ แบงํ องค๑ประกอบและหน๎าท่ี ไดด๎ ังน้ี

11 1. ข๎อมูล (Input) เป็นการตง้ั ปัญหาและวเิ คราะหป๑ ัญหา การตั้งวตั ถุประสงค๑ หรือเป็นการ ปูอนวตั ถุดิบตลอดจนขอ๎ มลู ตําง ๆ เพ่ือการแกป๎ ัญหาน้นั 2. กระบวนการ (Process) เป็นการรวบรวมและวิเคราะห๑ข๎อมูลที่ปูอนเข๎ามาเพื่อดาเนินการ ตามวตั ถปุ ระสงค๑ทีต่ ั้งไว๎ 3. ผลลัพธ๑ (Output) เป็นผลผลิตที่ได๎ออกมาภายหลังจากการดาเนินงานในข้ันของ กระบวนการส้ินสดุ ลง รวมถึงการประเมนิ ดว๎ ย สรุปได๎วําองค๑ประกอบของการบริหารจัดการไว๎ประกอบด๎วย ปัจจัยด๎านการบริหารหรือปัจจัย นาเข๎า (input) กระบวนการบริหารหรือกระบวนการ (process) และปัจจัยนาออกหรือปัจจัยผลผลิต (output) 2.1.4 แนวคดิ ดา้ นการมสี ่วนรว่ ม แนวคิดด๎านการมีสํวนรํวม การมีสํวนรํวมของประชาชน หมายถึงกระบวนการที่ ประชาชนหรือผ๎ูมีสํวนได๎เสีย มีโอกาสแสดงทัศนะแลกเปล่ียนข๎อมูลและความคิดเห็น หาทางเลือก และการตดั สินใจตาํ งๆ เก่ียวกบั โครงการท่ีเหมาะสมและเป็นทยี่ อมรับรํวมกัน ดวงใจ ปินตามูล (2555) กลําววําการมีสํวนรํวมของประชาชน คือกระบวนการส่ือสาร สองทางระหวํางบุคคลกลุํมบุคคล ชุมชน หรือประชาชน กับเจ๎าหน๎าที่ของรัฐผ๎ูดาเนินโครงการ หรือ นโยบายสาธารณะ หรือการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ซ่ึงการมีสํวนรํวมของประชาชนจะเกี่ยวข๎อง กับการรํวมในกระบวนการตัดสินใจ การรํวมในกระบวนการดาเนินการ และรํวมรับผลประโยชน๑โดย มีเปาู หมายของการมีสํวนรํวมของประชาชน คือการแลกเปลี่ยนข๎อมูลขําวสารระหวํางประชาชนและ ผ๎ูดาเนินโครงการ โดยการให๎ข๎อมูลตํอประชาชน และประชาชนแสดงความคิดเห็นตํอโครงการหรือ นโยบายเพ่ือประโยชน๑ตอํ การดารงชพี ทางเศรษฐกจิ และสงั คม แนวคิด ทฤษฎีเก่ียวกับการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการมูลฝอยการมีสวนรวม ของทุกภาคสวนนั้น เปนสวนหนึ่งของการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การเมืองประเทศชาติไปในทิศทาง ท่ีดีขึ้น แนวคิดการมีสวนรวมนั้นเกิด และอยูเคียงคูกับการปกครอง ระบอบประชาธิปไตย เนื่องจาก อานาจอธิปไตย เปนอานาจสูงสุด ในการปกครองประเทศ มาจากประชาชน และประชาชนเปนผูให ฉันทานุมัติตางๆ กับภาครัฐ ในการบริหารจัดการ เพ่ือใหเกิดความ โปรงใส และเปนไป ตามความตองการ แทจริงของประชาชน ซึ่งถือวาเปนการเขาไปมีสวนรวมอยางแทจริง (Authentic participation) ดังกลาวขางตน จงึ ไดนามาเปนแนวทางในการกาหนดยุทธศาสตร ในการพัฒนาประเทศ ตามแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 11 (พ.ศ.2555 - 2559) ซ่ึงมีเปาหมายการพัฒนาภายใตกระบวนการ มสี วนรวมของผูเกี่ยวของ จากทุกภาคสวนในสังคมไทย ที่ไดรวมพลังกันระดมความคิดกาหนดวิสัยทัศน รวมกันของสังคมไทย มุงพัฒนาสู “สังคมเขมแข็ง และมีดุลยภาพ” ใน 3 ดาน คือ สังคมคุณภาพ สังคม แหงภมู ปิ ญญา การรับรู สังคมสมานฉันท และ เอื้ออาทรตอกนั เพ่ือเสริมสรางระบบการบริหารจัดการ ที่ดีในทุกภาคสวนของสังคมไทย สนับสนุน กระบวนการกระจายอานาจใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นและ ชุมชน มีบทบาทในการพัฒนาทองถ่ินของตนเอง ภายใตระบบบริหารจัดการภาครัฐที่มีประสิทธิภาพ ยึด หลักการมีสวนรวม โปรงใส และพรอมที่จะรับการตรวจสอบจากสังคมโดยรวมการพัฒนาประเทศใน อนาคต เพื่อสรางโอกาสใหคนไทยคิดเปนทาเปน มีเหตุผล สามารถรับรูไดตลอดชีวิต พรอมรับการ เปลี่ยนแปลง สังคมสมานฉันท และเอื้ออาทรตอกันที่ดารงไวซึ่งคุณธรรม คุณคาของเอกลักษณท่ี พ่ึงพา

12 เก้ือกูลกัน ตลอดจนมีจารีตประเพณีที่ดีงาม ในการพัฒนาอยางตอเนื่อง และการทางานแบบพหุภาคี สามารถประยุกตใชในการทางานเชิงรุก เพื่อเสริมสรางความเขมแข็ง ไดอยางมีประสิทธิผลทั่วถึงใน ทุกพื้นที่ การมีสวนรวมถือวาเปนกลยุทธที่สาคัญเพื่อจุดมุงหมายในการพัฒนาท่ีย่ังยืนมีบทบาทอยางมาก เปนหัวใจสาคญั เพ่ือตอบสนองความตองการไดตรงจุดมากท่ีสุด อยางเปนรูปธรรม อันจะนาไปสูความอยูดี มีสุขของคนไทยทกุ คน ความหมายของการมสี วํ นรวํ ม การมีสวนรวมเปนเปาหมายของการพัฒนาสงั คมเพื่อ สืบทอดความยั่งยืนใหเกิดขึ้นอยางตอเน่ือง เปนองคประกอบสาคัญในกิจกรรมท่ีจะสรางความเจริญ กาวหนาใหเกิดข้ึน สาหรับ ความหมายของการมีสวนรวมนั้นมีนกั วิชาการหลายทานนาเสนอไวดงั น้ี อาภรณพันธ จันทรสวาง (2552 : 19) ใหความหมายวาการมสี วนรวมนน้ั กอใหเกดิ การ รวมตัวที่สามารถจะกระทาการตัดสินใจใชทรัพยากร และมีความรับผิดชอบในกิจกรรมที่จะกระทา ในกลุมเปนการเปดโอกาสใหไดรวมในการคิดริเริ่ม การตัดสินใจ รวมลงมือปฏิบัติและรวมรับผิดชอบ ในเรื่องราวตางๆ เพ่ือแกไขปญหาและนามาซ่ึงความเปนอยูที่ดีข้ึน เพ่ือตอบสนองความ ตองการของ ประชาชนที่จะชวยใหประสบความสาเร็จตามเปาหมายได การมีสวนรวมเปนผลมาจากการเห็นพอง ตองกันในเรือ่ งราวของความตองการและทิศทางของการเปลี่ยนแปลง จนเกิดความคิดริเริ่ม เพ่ือการปฏิบัติการ นัน้ ๆ เหตผุ ลเบอ้ื งแรกที่คนเรามารวมตวั กนั ได จะตองมีการตระหนักวาการกระทาท้ังหมดท่ีทาโดยกลุ ม หรอื โดยนามของกลุมนน้ั กระทาผานกลุมซง่ึ เปนเสมือนตวั นาใหบรรลถุ งึ ความเปลี่ยนแปลงได สาหรบั ทวที อง หงสวิวฒั น๑ (2553 : 2) ไดขยายความหมายของการมีสวนรวมวาเปนการพัฒนา ขีดความสามารถของคนในการจัดการควบคุมการใชการกระจายทรัพยากรที่ มีอยูอยางจากัดเพ่ือให เกดิ ประโยชนตอการดารงชีพ ทางเศรษฐกิจ และสังคมตามความจาเปนอยาง สมศักดิ์ศรี แสดงออกในการ ตัดสินใจกาหนดชวี ติ ของตนเอง เพ่ิมความสามารถในการควบคุม ทรัพยากร ท้ังน้ีตองเปนสิ่งท่ีทุกฝาย ไดริเร่ิมขึ้นมาเอง มิใชพฤติกรรมที่ถูกกาหนดข้ึนมาหรือช้ีนา โดยฝายรัฐบาลในกิจกรรมซึ่งมุงสูการ พัฒนาตามนโยบายของภาครัฐ การจะเกิดพลัง ความสามารถ ของกลุมที่ผนึกกาลังในการพัฒนา ทา ใหมีความรูสกึ เปนสวนหน่งึ ของงานพัฒนา และเปนเจาของ ผลิตผลของการพัฒนาน้ัน นอกจากน้นั นริ นั ดร จงวุฒเิ วศน๑ (2553 : 183) ยังกลาวเพม่ิ เติมวาการมสี วนรวมมีความเกย่ี วของ ทางดานจิตใจ และอารมณ Mental and Emotional Involvement) ซึ่งผล ดังกลาวเปนเหตุเรา ใหกระทา (contribution) บรรลุจุดมุงหมายของกลุมน้ัน กับทาใหเกิดความรูสกึ รวมรบั ผดิ ชอบกับเปา หมายดังกลาวดวย เปนองคประกอบสาคญั เพื่อใหเกิดประสิทธภิ าพในการวางแผนและการดาเนินการ ใหเกิดผลประโยชนสูงสุดในการมีสวนรวม การมีสวนรวมคือ การที่ทุกฝายไดเขาไปจัดการควบคุมการใช และการกระจายทรัพยากรท่ี มีอยูเพื่อประโยชนตอการดาเนินการทางเศรษฐกิจ และสังคม รวมกัน คดิ คนหาสาเหตขุ องปญหา และมีความเหน็ พองตองกนั ในการทจ่ี ะดาเนินการแกไขปญหาใหบรรลุตาม วัตถุประสงคหรือนโยบายที่วางไว เปนการมีสวนชวยเหลือโดยสมัครใจ เขารวมกับกระบวนการ ตัดสินใจ ตลอดจน รวมรับผลประโยชน และมีจุดสาคัญท่ีจะใหการมีสวนรวมเปนการปฏิบัติอยางแข็งขัน มีอานาจในการตัดสินใจ (Share Decision Making) เปนผูกาหนดนโยบาย (Policy Formulation) กาหนดเปาหมายแผนงาน (Participating on Formulating Objective and Plan) รวมดาเนินการ ในกระบวนการจัดการ (Participating on Management) รวมรับผิดชอบในเร่ืองตางๆ อันมีผลกระทบ

13 ถึงทกุ คนเพือ่ ประโยชนตอการดารงชพี ทางเศรษฐกจิ และสังคม ที่กอใหเกดิ สิ่งตางๆ รวมกันนั่นเองจาก ที่กลาวมา การมสี วนรวมมคี วามหมายเปน 2 นยั ดวยกันคอื 1.ความหมายอยางกวาง หมายถงึ การท่ีประชาชนเขาไปมีสวนรวมในการกาหนดนโยบาย ของประเทศ การบรหิ ารโดยผานกระบวนการหรือการเขาไปมีสวนรวมในการบริหารทองถิน่ และการเปน สมาชกิ สภาทองถ่ินดวย 2. ความหมายอยางแคบ คือ การทป่ี ระชาชนเขาไปชวยสนับสนุนงานซ่ึงเปนหนาท่ีของ เจาหนาที่ภาครัฐโดยกระทาการภายในกรอบของกฎหมายหรือนโยบายของรัฐ ดังน้ันจากท่ีกลาวมา จุดเร่ิมตนที่มีความสาคัญประการหนึ่ง ท่ีจะทาใหเกิดการมีสวนรวมของทุกฝาย ไดอยางกวางขวาง และมีประสิทธิภาพ คือ นโยบาย กฎ ระเบียบ วิธีการสงเสริมจากภาครัฐ หนวยงานท่ีเก่ียวของในงานวิจัย คร้ังนี้ถอื วาเปนสวนหนงึ่ ในปจจัยที่จะสงผลหรือมีอิทธิพลตอการมีสวนรวมการจัดการมูลฝอยในประเทศไทย ใหเกิดประสทิ ธิผล ซึง่ ผูวจิ ยั จะทาการหาความจรงิ ในเร่ืองน้ีตอไป รูปแบบการมีสวนรวม Cohen and Uphoff (2010 : 213 - 218) ไดอธิบายและวิเคราะห การมสี วนรวมโดยแบง ออกเปน 4 รูปแบบ คอื 1.การมีสวนรวมในการตดั สนิ ใจ ตัง้ แตในระยะเรมิ่ ของกจิ กรรมจนกระท่ังการดาเนิน กิจกรรมนั้นเสรจ็ ส้ินลง 2. การมีสวนรวมในการดาเนนิ กจิ กรรมซึง่ อาจเปนไปในรปู แบบของการเขารวมโดยการให๎มี การสนับสนนุ ทางดานทรัพยากร การเขารวมในการบริหาร และการเขารวมในการรวมแรงรวมใจ 3. การมสี วนรวมในผลประโยชน ท้งั ทางวัตถุ ทางสงั คมหรอื โดยสวนตัว 4. การมีสวนรวมในการประเมนิ ผล ซง่ึ นับเปนการควบคมุ และตรวจสอบการดาเนิน กิจกรรมทัง้ หมด สุรสั วดี หุนพยนต๑ (2549 : 17) ไดเสนอรปู แบบหรอื ชนดิ การมสี วนรวมทก่ี อใหเกิด ผลดีตอ กระบวนการพัฒนาไว 4 รปู แบบ ซึง่ ไดแก การมสี วนรวมในการตัดสนิ ใจ (Decision making) ประกอบไปดวย 3 ขน้ั ตอนคอื 1. ริเรมิ่ ตัดสนิ ใจ ดาเนนิ การตดั สินใจ และตัดสินใจปฏิบัติการ 2. การมีสวนรวมในการปฏิบัติการ (Implementation) ประกอบดวยการสนับสนุน ดานทรัพยากร การบรหิ าร และการประสานขอความรวมมอื 3.การมีสวนรวมในผลประโยชน๑ (Benefits) ไมวาจะเปนทางดานวัตถุผล ทางสังคม หรอื ผลประโยชนสวนตวั 4. การมีสวนรวมในการประเมนิ ผล (Evaluation) ปจจัยท่ีมีความสัมพันธ๑ตํอพฤติกรรม การมสี วนรวมของผูเกี่ยวของ พฤติกรรมการเขามามีสวนรวม เปนปรากฏการณที่สลับซับซอน ขึ้นอยู กับปจจยั หลายอยาง ที่มนี ้าหนกั ความสาคัญ มากนอยตางกนั ซง่ึ Mcclosky (2008:12) ไดอธบิ ายไวดังนีค้ ือ 1. ปจจัยทางดานสิ่งแวดลอมสังคม เชนระดับการศึกษา อาชีพ รายได เชื้อชาติ เพศ ระยะเวลาที่อยูอาศัย การเปลี่ยนแปลงทางสังคม สิ่งเหลานี้มีความเกี่ยวของสัมพันธกับการมีสวนรวม ดวยความสมคั รใจของทกุ คน

14 2. ปจจัยทางดานจิตวิทยา ของการเขามามีสวนรวม ท่ีขึ้นอยูกับวา มีการใหผลประโยชน หรือผลตอบแทนอยางไรบาง ท่ีสามารถตอบสนองความตองการ เชน การมีอานาจ การแขงขัน ความสาเรจ็ ความสัมพันธกับผูอน่ื สถานภาพท่สี ูงขน้ึ การยอมรับจากสงั คม เปนตน 3. ปจจัยดานส่ิงแวดลอมภายนอก เชน นโยบายของแตละรัฐบาล มักมีความแตกตําง ในดานความตองการที่มีบทบาทมากหรือนอย ไมเทากัน การท่ีประชาชนจะตัดสินใจเขามารวม รับผิดชอบในโครงการหรือกิจกรรมตางๆ ข้ึนอยูกับปจจัยสวนบุคคล ปจจัยทางเศรษฐกิจ และสังคม ไดแก อายุ เพศ สถานภาพในครอบครัว ระดับการศึกษา สถานภาพทางสังคม ชั้นทางสังคม ศาสนา อาชีพ รายได และทรัพยสิน สถานภาพทางเศรษฐกิจ ความเชี่ยวชาญ ความเช่ือ ค านิยม นิสัย ประเพณใี นชมุ ชน ทมี่ ีผลตอการมีสวนรวม เชนเดยี วกนั แนวทางในการจดั การแบบมสี วนรวม การมสี วํ นรํวมของประชาชน หมายถึงกระบวนการที่ประชาชนหรือผู๎มีสํวนเกี่ยวข๎องได๎ แสดงความคดิ เหน็ แลกเปลย่ี นข๎อมูลและเสนอแนะเทคนิค วิธีการ หาทางเลือกและการตัดสินใจตํางๆ เก่ยี วกบั โครงการการบริหารจดั การขยะในโรงเรียนและโครงการ/ กิจกรรมอ่ืนๆท่ีเหมาะสมและเป็นที่ ยอมรับรวํ มกัน 2.1.5 การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม 5 ร ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 การบริหารจัดการแบบมีสํวนรํวมของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1ใช๎รูปแบบการบริหารจัดการแบบมีสํวนรํวม 5 ร ดังนี้ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 (2562 : 6) รวํ ม รํวมศกึ ษา I แลกเปลี่ยน รวํ ม การบรหิ าร วางแผน รํวมสรปุ จัดการแบบมี ส่วนร่วม 5 ร รวํ ม ปฏบิ ตั ิ แผนภาพที่ 2.2 รูปแบบการบรหิ ารจดั การแบบมีส่วนรว่ ม 5 ร ของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1

15 การบริหารจดั การแบบมสี ํวนรํวม หมายถึง การบรหิ ารจดั การขยะในโรงเรียน โดยเน๎น การมีสํวนรํวมของบุคลากรในโรงเรียน ซ่ึงเน๎นการบริหารจัดการแบบมีสํวนรํวม 5 ร จานวน 5 ขน้ั ตอน คอื ข้ันตอนที่ 1 รวํ มศกึ ษา ขนั้ ตอนที่ 2 รํวมวางแผน ขั้นตอนท่ี 3 รํวมปฏิบัติ ขั้นตอน ที่ 4 รวํ มสรุป และขั้นตอนที่ 5 รํวมแลกเปล่ยี นเรียนร๎ู 1.รํวมศึกษา หมายถึง ผ๎ูบริหารโรงเรียน ครูผู๎สอน และนักเรียนรํวมกันศึกษาสภาพ ปัจจุบันปญั หาของขยะในโรงเรียน วํามีขยะประเภทใดบ๎างท่เี ปน็ ปญั หา และสาเหตุของปัญหาเกิดจาก อะไร พร๎อมกับศกึ ษาความตอ๎ งการของครูผ๎ูสอนและนักเรียนในการทจ่ี ะแกป๎ ญั หาขยะในโรงเรียน 2. รํวมวางแผน หมายถึง ผ๎ูบริหารโรงเรียน ครูผู๎สอน และนักเรียน รํวมวางแผน เมื่อ พบปัญหาหาวิธีแก๎ปัญหาเรียงปัญหาจากมากมาหาน๎อย การทางานที่คาดวําจะประสบความสาเร็จ ตามกรอบในการวจิ ัยดา๎ นการอนุรักษ๑ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล๎อม ( การบริหารจัดการขยะใน โรงเรยี น ) 1) การจัดการขยะมูลฝอยประเภทตําง ๆ ได๎แกํ มูลฝอยติดเชื้อ ขยะพลาสติก ขยะอินทรีย๑ ขยะอันตรายขยะอิเล็กทรอนิกส๑ 2) การจัดการในเชิงนโยบาย เชํนการสร๎างกลไกให๎เกิดความรํวมมือ ระหวํางสานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษา โรงเรียนและชุมชน 3) การสร๎างความรู๎ความเข๎าใจโดยเน๎นการ สรา๎ งจิตสานกึ ในการจัดการขยะให๎กับนักเรียนและบุคลากรทุกระดับ โดยนาข๎อมูลท่ีได๎จากการศึกษา มารํวมวางแผนการทางานใหเ๎ หมาะสมกบั สภาพบรบิ ทของสถานศึกษา 3. รํวมปฏิบัติ หมายถึง ผู๎บริหารโรงเรียน ครูผ๎ูสอน และนักเรียนรํวมกัน มีสํวนรํวม ปฏิบัติงาน ลงมือปฏิบัติงานตามท่ีได๎วางแผนหรือออกแบบไว๎ ประเมินผล และสะท๎อนผล การปฏิบัติงาน เปน็ ระยะ ในการอนรุ ักษท๑ รัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล๎อม การบริหารจัดการขยะในโรงเรียน การจัดการ ขยะมูลฝอยประเภทตําง ๆ ได๎แกํ มูลฝอยติดเชื้อ ขยะพลาสติก ขยะอินทรีย๑ ขยะอันตรายขยะ อิเลก็ ทรอนิกส๑ 4. รํวมสรุป หมายถึงผู๎บริหารโรงเรียน ครูผ๎ูสอน และนักเรียนรํวมกัน ตําง ๆ รํวมกัน สรุปผลการดาเนนิ งาน มีสํวนรํวมในวิเคราะห๑ขอ๎ มลู สงั เคราะหข๑ ๎อมลู และสรุปผลการบริหารจัดการขยะ ในโรงเรยี น การปฏบิ ัตงิ านในแตํละขน้ั ตอนวาํ บรรลวุ ตั ถปุ ระสงค๑หรือเปน็ ไปตามที่วางแผนหรือไมํ เพ่ือจะได๎ นามาปรับปรุง/แก๎ไข/พัฒนาให๎ดีขึ้นตํอไป ถ๎าไมํสาเร็จก็วางแผนและออกแบบวิธีการ/นวัตกรรมใหมํ จบกระบวนการ PDCA 5. รํวมแลกเปล่ียนเรียนรู๎ หมายถึง ผู๎บริหารโรงเรียน ครูผ๎ูสอน และนักเรียนรํวมกัน แลกเปลี่ยนเรียนรู๎ ชื่นชมความสาเร็จของการบริหารจัดการขยะในโรงเรียน และ ตามกรอบภารกิจ งานประสบความสาเร็จ พร๎อมกบั ยกยอํ งเชดิ ชูเกียรติ และเผยแพรํการปฏิบัติงานท่ีดี (Best practice) สสูํ าธารณชน ผาํ น Website ระบบ ICT และสารสนเทศของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 การบริหารจัดการแบบมีสํวนรํวมในการสํงเสริมวิจัยในการบริหารจัดการขยะใน โรงเรียน โดยเน๎นการมีสํวนรํวมของผู๎บริหาร ครู นักเรียน บุคลากรในโรงเรียน ซึ่งเน๎นการบริหาร จดั การแบบมีสํวนรํวม 5 ร รํวมศึกษา รํวมวางแผน รํวมปฏิบัติ รํวมสรุป และ รํวมแลกเปลี่ยนเรียนรู๎ สร๎างกลไกให๎เกิดความรํวมมือระหวํางสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา โรงเรียนและชุมชน ตามกรอบ ภารกจิ งานให๎ประสบความสาเร็จ สามารถนามาเปน็ แบบอยํางได๎

16 2.2 แนวคดิ และทฤษฎที ีเ่ กีย่ วขอ้ งกับขยะในโรงเรียน 2.2.1 ความหมายของขยะ ขยะหรือขยะมูลฝอย เป็นคาท่ีมักจะใช๎ในความหมายเดียวกัน เป็นปัญหาที่สาคัญของ ชุมชนและสงั คม โดยปรมิ าณของขยะจะเพมิ่ ขึ้นตามการขยายตัวของประชากรและเศรษฐกิจ ถ๎ามีการ จัดการท่ีไมํเหมาะสมหรือไมํถูกหลักสุขาภิบาลก็จะเป็นสาเหตุที่ทาให๎เกิดปัญหาสุขภาพอนามัยของ ประชาชน ปัญหาส่ิงแวดล๎อม ปัญหา ความไมํเป็นระเบียบเรียบร๎อยของชุมชนซ่ึงมีผู๎ให๎ความหมาย ของขยะตาํ งๆดงั น้ี ราชบัณฑติ ยสถาน (2552 : ) ไดใ๎ หค๎ วามหมาย ขยะ วําหมายถงึ หยากเยอ่ื หรือเศษสง่ิ ของท่ีท้ิงแล๎ว รวมท้ัง เศษกระดาษ เศษอาหาร ถงุ พลาสติก ภาชนะท่ใี สอํ าหาร มลู สัตว๑ ซากสัตว๑ หรือสิ่งใดๆ ท่ีไมํต๎องการ มักใช๎รํวมกับคาวํา มูลฝอย ซ่ึงหมายถึง เศษกระดาษ เศษผ๎า เศษอาหาร เศษสินค๎า ถุงพลาสติก ภาชนะ ท่ีใสํอาหาร เถ๎า มูลสัตว๑ หรือซากสัตว๑ รวมทั้งส่ิงอื่นใดท่ีเก็บกวาดจากถนน ตลาด ท่ีเลี้ยงสัตว๑ หรือที่อ่ืน คาวํา ขยะ จึงมีความหมายเชํนเดียวกับคาวํา มูลฝอย และมักจะใช๎รํวมกันเป็น ขยะมูลฝอย คาวํา ขยะ และ ขยะมูลฝอย กรมควบคุมมลพิษ (2555 : 8) ได๎กลําวไว๎วํา ขยะ ตามความหมายของกรมควบคุมมลพิษ หมายถึง ส่งิ ตาํ งๆ ที่ไมํต๎องการใช๎ หรือวสั ดุทใ่ี ชแ๎ ลว๎ ซึ่งเกิดจากกิจกรรมตํางๆในชุมชน การดาเนินชีวิต ท้ังในครัวเรือน และจากการประกอบอาชีพ ได๎แกํ เศษอาหาร เศษไม๎ กระดาษ พลาสติก เศษแก๎ว ขวด กระปอ๋ ง รวมถงึ วัสดขุ องใชท๎ ่ีชารุด และสง่ิ ของทีต่ ๎องการทิ้ง ยุพดี เสตพรรณ (2544) ได๎กลําวถึงขยะมูลฝอยวํา หมายถึง เศษส่ิงของท่ีไมํต๎องการแล๎ว สิ่งของที่ชารุดเสียหายใช๎ไมํได๎หรือเส่ือมคุณภาพ ต๎องกาจัดทาลายหรือสิ่งของท่ีต๎องท้ิงหรือแจกจําย ให๎แกํผอ๎ู ่ืน เชนํ เศษกระดาษ เศษอาหาร ขวดแกว๎ พลาสตกิ ซากสตั ว๑ ซากรถยนต๑ เปน็ ตน๎ สรุปได๎วําขยะ หมายถงึ ส่งิ ตํางๆท่ีไมตํ ๎องการใช๎ หรอื วสั ดทุ ใี่ ชแ๎ ลว๎ ซง่ึ เกิดจากกิจกรรมตํางๆ ซึ่งในการศึกษาคร้ังนี้ ขยะในโรงเรียน หมายถึง ส่ิงตํางๆที่ไมํต๎องการใช๎ หรือวัสดุท่ีใช๎แล๎วซึ่งเกิดจาก กจิ กรรมตํางๆในโรงเรียน ได๎แกํ เศษอาหาร เศษไม๎ กระดาษ พลาสตกิ เศษแก๎ว ขวด กระป๋อง รวมถึง วสั ดุของใชท๎ ช่ี ารดุ และส่งิ ของท่ีต๎องการทิ้ง 2.2.2 ประเภทของขยะ 1.2.1 การจาแนกประเภทตามคุณลักษณะและองค๑ประกอบซึ่งอาณัติ ต๏ะปินตา (2553 :) ไดจ๎ าแนก ดังน้ี 1) การจาแนกตามลักษณะทางกายภาพ เป็นการจาแนกขยะมูลฝอยตามลักษณะท่ี ปรากฏและมองเห็นจากภายนอก ซงึ่ สามารถจาแนกออกได๎ดงั นี้ 1.1) ขยะเปียก (garbage) หมายถงึ ขยะมูลฝอยทเี่ ป็นสารอินทรีย๑ชนิดตํางๆและมี ความช้ืนสูงสามารถยํอยสลายได๎งํายโดยกระบวนการทางชีวภาพ เชํน เศษอาหาร เศษพืชผักและ ผลไม๎ เศษหญ๎า เป็นต๎น ดังนั้นจึงจาเป็นต๎องทาการเก็บขนและนาไปกาจัดทาลายหลายอยํางรวดเร็ว เพอื่ ปูองกนั กลิน่ เหมน็ จากการเนําเสยี ของขยะประเภทนี้ 1.2) ขยะแห๎ง (rubbish and trash) หมายถึง ขยะมูลฝอยที่เกิดข้ึนในรูปของสารอินทรีย๑ และสารอนินทรีย๑ ซง่ึ มคี วามช้ืนตา่ ยํอยสลายด๎วยกระบวนการทางชีวภาพได๎ยาก เชํน กระดาษ กลํองกระดาษ

17 เศษก่ิงไม๎ใบไม๎ เศษยาง เศษผ๎า เศษแก๎วหรือขวดแก๎ว เศษหนังหรือผลิตภัณฑ๑หนัง เศษพลาสติกเศษ กระป๋องโลหะ เปน็ ต๎น 1.3) เถ๎า (ash) หมายถึง ซากของแข็งท่ีเหลือจากการเผาไหม๎ของเช้ือเพลิงประเภทฟืน หรอื ถํานหินทีใ่ หพ๎ ลังงานความร๎อนทั้งในบา๎ นพักอาศัย ในอาคาร หรอื ในโรงงานตํางๆ ฯลฯ 1.4) เศษส่ิงกํอสร๎าง (demolition and construction waste) หมายถึง ขยะมูล ฝอยท่เี กดิ จากการกํอสร๎างหรือการรื้อถอน อาคาร เชํน เศษเหล็ก เศษอิฐ เศษปูนซีเมนต๑ เศษกระเบ้ืองเซรามิก เศษทอํ พีวีซี เศษสายไฟ เศษหนิ และเศษไม๎ เปน็ ตน๎ 1.5) ซากสัตว๑ตํางๆ (dead animal) หมายถึงซากสัตว๑ตํางๆทั้งที่เกิดขึ้นในชุมชน เชนํ สตั วเ๑ ลย้ี งตามบ๎านเรอื นทต่ี ายลงจากภาคเกษตรกรรม เชนํ ซากสตั ว๑ในฟารม๑ ปศุสตั ว๑ตํางๆ ที่อาจตายลง จากการเกิดโรคระบาดและจากภาคอุตสาหกรรม เชํน เศษชิ้นสํวนของสัตว๑ที่เหลือจากโรงงานผลิต อาหารสาเร็จรูปหรืออาหารกระปอ๋ ง เป็นตน๎ 1.6) ตะกอนจากระบบบาบัดน้าเสีย (sludge) หมายถึง กากตะกอนท่ีเกิดจากการ บาบัดน้าเสียในระบบบาบัดน้าเสียของชุมชนหรือภายในโรงงานทั้งหลาย โดยอาจมีลักษณะเป็นของแข็ง หรือกึ่งของแข็งมีทั้งสํวนท่ีสามารถยํอยสลายได๎และยํอยสลายไมํได๎ด๎วยขบวนการทางชีวภาพ กากตะกอน เหลํานหี้ ากปลํอยทิ้งไวโ๎ ดยไมกํ าจดั อาจถูกชะลา๎ งลงสแูํ หลงํ น้าหรือไหลซึมลงสํชู ้นั น้าใตด๎ นิ ได๎ 1.7) ซากผลิตภณั ฑ๑เครื่องใชไ๎ ฟฟูาและอปุ กรณ๑อิเล็กทรอนิกส๑ (Waste from Electronic Equipment,WFEE) หมายถึง ขยะที่เกิดข้ึนจากภาคธุรกิจซ่ึงผลิตสินค๎าประเภทผลิตภัณฑ๑เครื่องใช๎ไฟฟูา และอุปกรณ๑อิเล็กทรอนิกส๑ออกมาจาหนํายในตลาด และเมื่อสินค๎าเหลํานั้นเส่ือมสภาพหรือหมดอายุ การใช๎งานลงก็กลายเป็นขยะท่ีต๎องนาไปกาจัดทาลาย ซึ่งสํวนใหญํมักจะมีขนาดใหญํละมีน้าหนักมาก ขยะประเภทน้ี ได๎แกํ ซากต๎ูเย็น เคร่ืองรับโทรทัศน๑ เครื่องเสียง เครื่องซักผ๎า เคร่ืองปรับอากาศ เคร่ือง คอมพิวเตอรแ๑ ละอปุ กรณ๑คอมพิวเตอร๑ เป็นตน๎ 2) การจาแนกตามองคป๑ ระกอบ เป็นการจาแนกตามลักษณะของขยะมูลฝอยวําประกอบ ไปด๎วยวัตถใุ ดบ๎าง และวัตถุนั้นมีประโยชน๑ท่ีจะนากลับมาใช๎ใหมํได๎อีกหรือไมํโดยอาจจาแนกออกเป็น ประเภทตาํ งๆไดด๎ งั นี้คือ 2.1) ขยะอินทรีย๑ (Organic Waste) ไดแ๎ กํ ขยะมูลฝอยท่สี ามารถยํอยสลายได๎ด๎วย ขบวนการทางชีวภาพโดยมีจุลินทรีย๑ทาหน๎าท่ียํอยสลาย เชํน เศษอาหาร เศษพืชผักและผลไม๎ เศษ หญ๎าเศษใบไมแ๎ ละกิง่ ไม๎ รวมท้ังซากสัตว๑และมลู สัตว๑ตํางๆเป็นต๎น ขยะประเภทน้ีสามารถนากลับมาใช๎ ประโยชน๑ได๎ในรูปของการนามาทาปุ๋ยหมัก 2.2) ขยะท่ีนากลับมาใช๎ประโยชน๑ได๎ (recycle waste) ได๎แกํ ขยะมูลฝอยที่มี นามาแปรรูปเพื่อใช๎ประโยชน๑ได๎อีก เชํน แก๎ว กระดาษ โลหะ เหล็ก พลาสติก อะลูมิเนียม หนังและยาง เปน็ ต๎น ขยะประเภทนเี้ มื่อนามาทาการคัดแยกผํานกระบวนการแปรรูปแล๎วสามารถนามาเป็นวัตถุดิบ เพ่ือใช๎ในการผลิตสินค๎า หรืออาจนาไปเป็นสํวนผสมกับวัตถุดิบใหมํเพื่อลดปริมาณการใช๎ ทรพั ยากรธรรมชาตลิ งได๎ 2.3) ขยะทนี่ ากลับมาใช๎ประโยชน๑ไมํได๎ (non recycle waste) ได๎แกํ ขยะมูลฝอย ท่ีไมํสามารถนากลับมาใช๎ประโยชน๑ได๎อีก เชํน เศษผ๎า เศษอิฐและเศษปูนจากการกํอสร๎าง เศษวัสดุ ตํางๆจากการร้ือถอนอาคาร เถ๎าจากการเผาไหม๎เชื้อเพลิงตลอดจนเศษชิ้นสํวนของผลิตภัณฑ๑ไฟฟูาและ

18 อุปกรณ๑อิเล็กทรอนิกส๑บางชนิด เป็นต๎น ขยะเหลําน้ีไมํมีศักยภาพในการนากลับมาใช๎ได๎อีกจึงต๎อง นาไปฝงั กลบทาลายยังสถานที่ฝังกลบเทาํ นน้ั 2.4) ขยะตดิ เช้อื (infectious waste) ไดแ๎ กํ ขยะมูลฝอยท่มี เี ชื้อโรคปนเปื้อนอยูํซึ่ง จะทาใหเ๎ กดิ อนั ตรายตํอสขุ ภาพอนามยั ของมนษุ ยไ๑ ด๎ เชํน เนอ้ื เยอ่ื หรือช้ินสํวนอวัยวะตํางๆรวมทั้งวัสดุ ที่สัมผสั กบั ผป๎ู ุวย เชนํ สาลี ผ๎าพนั แผล เขม็ ฉดี ยา มดี ผาํ ตดั และเสือ้ ผ๎าผู๎ปุวย เปน็ ต๎น 1.2.2 การจาแนกตามแนวทางการจัดการซ่ึงกรมควบคุมมลพิษ (2558 : 21 - 22) ได๎จาแนก ออกเป็น 4 ประเภท ได๎แกํ 1) ขยะยํอยสลาย (compostable waste) คือ ขยะที่เนําเสียและยํอยสลายได๎เร็ว สามารถนามาหมกั ทาปุ๋ยได๎ เชํน เศษผกั เปลอื กผลไม๎ เศษอาหาร ใบไม๎ เศษเนื้อสัตว๑ เปน็ ตน๎ 2) ขยะรีไซเคิล (recyclable waste) คือ บรรจุภัณฑ๑ หรือวัสดุเหลือใช๎ ซึ่งสามารถ นากลบั มาใช๎ประโยชนใ๑ หมไํ ด๎ เชํน แกว๎ กระดาษ เศษพลาสตกิ กลํองเครื่องด่ืมแบบยู เอช ที กระป๋อง เคร่อื งดื่ม เศษโลหะ อะลมู ิเนียม เป็นต๎น 3) ขยะอันตราย (hazardous waste) คือ ขยะท่ีมีองค๑ประกอบหรือปนเปื้อนวัตถุ อันตรายชนิดตํางๆ ได๎แกํ วัตถุระเบิด วัตถุไวไฟ วัตถุออกซิไดซ๑ วัตถุมีพิษ วัตถุท่ีทาให๎เกิดโรค วัตถุ กรรมมันตรังสี วัตถุท่ีทาให๎เกิดการเปล่ียนแปลงทางพันธุกรรม วัตถุกัดกรํอน วัตถุท่ีกํอให๎เกิดการ ระคายเคือง วัตถุอยํางอ่ืนไมํวําจะเป็นเคมีภัณฑ๑หรือส่ิงอ่ืนใดท่ีอาจทาให๎เกิดอันตรายแกํบุคคล สัตว๑ พืช ทรัพย๑สินหรือสิ่งแวดล๎อม เชํน ถํานไฟฉาย หลอดฟลูออเรสเซนต๑ แบตเตอรี่โทรศัพท๑เคลื่อนท่ี ภาชนะบรรจุสารกาจัดศัตรูพืช กระปอ๋ งสเปรย๑บรรจสุ หี รอื สารเคมี เปน็ ตน๎ 4) ขยะท่ัวไป (general waste) คือ ขยะประเภทอ่ืนนอกเหนือจากขยะยํอยสลาย ขยะรีไซเคิลและขยะอันตราย มีลักษณะที่ยํอยสลายยากและไมํคุ๎มคําสาหรับการนากลับมาใช๎ประโยชน๑ใหมํ เชํน หํอพลาสติกใสํขนม ถุงพลาสติกบรรจุผงซักฟอก พลาสติกหํอลูกอม ซองบะหมี่กึ่งสาเร็จรูป ถุงพลาสตกิ เปือ้ นเศษอาหาร โฟมเป้ือนอาหาร ฟอยล๑เปอื้ นอาหาร เปน็ ตน๎ 2.2.3 สาเหตุทีท่ าให้เกิดปัญหาขยะในโรงเรยี น ปัญหาขยะเป็นปัญหาที่สาคัญของโรงเรียน แม๎วําในโรงเรียนตํางๆ จะมีการรณรงค๑ให๎แยก ขยะเพื่อทิ้งลงในถังแตํละประเภท ซ่ึงทางโรงเรียนได๎จัดเตรียมถังขยะแยกประเภทไว๎แล๎ว แตํก็ยัง พบวํามอี ีกหลายปัญหาทย่ี งั เกิดขนึ้ อยํู ซง่ึ สาเหตุสาคญั ท่ที าให๎เกดิ ปญั หาขยะในโรงเรยี นมีดังน้ี 1. ขยะเป็นส่ิงตํางๆท่ีไมํต๎องการใช๎ ซึ่งขยะในโรงเรียนเป็นปัญหาสาคัญตํอส่ิงแวดล๎อมและ สุขภาพทั้งทางตรง และทางอ๎อมของนักเรียน ทั้งน้ีขึ้นอยํูกับ ปริมาณของขยะ และการจัดการขยะ ซง่ึ สุนีย๑ มัลลกิ ะมาลย๑ (2553 : 34) ได๎กลาํ วถงึ สาเหตทุ ่ที าใหเ๎ กดิ ปญั หาขยะในโรงเรยี นมดี ังนี้ 1.1 ความมักงํายและขาดความสานกึ ถึงผลเสยี ทจ่ี ะเกิดข้ึนเป็นสาเหตุท่ีพบบํอยมากซึ่งจะเห็น ได๎จากการทง้ิ ขยะลงตามพ้นื หรือแหลํงน้าโดยไมํทิ้งลงในถังรองรับท่ีจัดไว๎ให๎และโรงงานอุตสาหกรรม บางแหํงลกั ลอบนาสง่ิ ปฏกิ ลู ไปท้ิงตามทีว่ ํางเปลาํ 1.2 การผลิตหรือใช๎ส่ิงของมากเกินความจาเป็น เชํน การผลิตสินค๎าที่มีกระดาษหรือ พลาสตกิ หุ๎มหลายๆช้ัน และการซือ้ ส้นิ ค๎าโดยหํอแยกหรือใสํถงุ พลาสติกหลายถุง ทาให๎มีขยะปรมิ าณมาก

19 1.3 การเก็บและทาลาย หรือนาขยะไปใช๎ประโยชน๑ไมํมีประสิทธิภาพ จึงมีขยะตกค๎าง กองหมักหมมและสํงกลน่ิ เหมน็ ไปท่วั บรเิ วณจนกํอปัญหามลพิษให๎กับสง่ิ แวดลอ๎ ม นอกจากนี้สมไทย วงษ๑เจริญ (2561 : 24) ได๎กลําววําสาเหตุที่ทาให๎เกิดปัญหาขยะในโรงเรียน เกิดจากการดาเนินกิจวัตรของนักเรียนในโรงเรียนมักกํอให๎เกิดส่ิงของที่ไมํต๎องการใช๎ หรือวัสดุท่ีใช๎ แล๎วซ่ึงเกิดจากกิจกรรมตํางๆ ในโรงเรียน ซึ่งปริมาณของขยะในโรงเรียนจะมากน๎อยข้ึนอยูํกับปัจจัย ดังนี้ 2.1 ปริมาณขยะมูลฝอยท่ีเกิดขึ้นในแตํละวันมีมากกวําความสามารถที่จะจัดเก็บ และ ขยะมลู ฝอยที่เก็บได๎ กจ็ ะนาไปกองไว๎กลางแจ๎ง ให๎ยํอยสลายตามธรรมชาติ ซ่ึงกํอให๎เกิดปัญหาสิ่งแวดล๎อม มีขยะมูลฝอยเพียงสํวนน๎อยที่ถูกนาไปกาจัดอยํางถูกหลักสุขาภิบาล โดยการถมท่ีลํุมนาไปทาปุ๋ยหมัก และเผาในเตาเผาขยะ สํวนขยะทต่ี กค๎างไมํสามารถจัดเก็บได๎ยังกํอให๎เกิดความสกปรกและสํงกล่นิ เหม็น 2.2 การท้ิงขยะมูลฝอยไมํถูกท่ี คือ ไมํทิ้งขยะมูลฝอยลงในภาชนะที่จัดเตรียมไว๎รองรับขยะ แตทํ งิ้ ตามความสะดวก เชํน ตามถนนหนทาง ห๎องเรียน หรอื สนามเด็กเลํน เป็นต๎น ซึ่งกํอให๎เกิดความ สกปรกของสถานท่ีนัน้ ๆ ทาให๎ทอํ ระบายน้าอุดตนั 2.3 การทิ้งขยะมูลฝอยโดยไมํแยกประเภทขยะมูลฝอย เชํน เศษอาหาร เศษกระดาษ ขยะมูลฝอยท่ียํอยสลายยาก โฟม ถุงพลาสติก โลหะ หรือขยะมูลฝอยท่ีเป็นอันตราย เชํน ของมีคม เศษแกว๎ และขยะมูลฝอยตดิ เชือ้ มาทิง้ รวมกนั ทาให๎เกิดปัญหาในการแยกขยะมูลฝอย และการทาลาย สรุปได๎วํากิจกรรมตํางๆ ในโรงเรียนสํงผลให๎เกิดส่ิงของท่ีไมํต๎องการใช๎และขยะในโรงเรียน สาเหตุเนื่องมาจากการขาดความสานึก การผลิตหรือใช๎สิ่งของมากเกินความจาเป็น การทิ้งขยะมูล ฝอยไมํถกู ที่ การทง้ิ ขยะมูลฝอยโดยไมแํ ยกประเภทขยะมูลฝอย ซ่ึงสาเหตุสาคัญที่ทาให๎เกิดปัญหาขยะ ในโรงเรียน 2.2.4 ผลกระทบทีเ่ กิดจากขยะในโรงเรียน จากการทบทวนวรรณกรรมพบวํา ขยะในโรงเรียนมีผลกระทบตํอสิ่งแวดล๎อมและสุขภาพ ทงั้ ทางตรงและทางออ๎ มของนักเรยี นได๎ ซ่ึงสรุปผลกระทบได๎ดงั น้ี สานักระบาดวทิ ยา (2557 : 22) 1. ผลกระทบตํอสุขภาพรํางกายโดยตรง ทาให๎เกิดการเจ็บปุวย เกิดโรคทางเดินหายใจ โรคภมู ิแพ๎ทางด๎านผวิ หนังโพรงจมกู และตา โรคระบบทางเดินอาหาร โรคทางระบบประสาทและกล๎ามเน้ือ เชํน ปวดศีรษะ คลืน่ ไส๎ 2. ผลกระทบตํอสุขภาพทางออ๎ ม ขยะเป็นแหลํงสะสมเพาะพันธ๑ุของสัตว๑และพาหะนาโรค ดังนี้ แมลงวันเป็นพาหะนาโรคระบบทางเดินอาหาร อหิวาตกโรค บิด ไทฟอยด๑ นอกจากน้ีแมลงวัน ยังเป็นแหลํงเพาะพันธุ๑ของไขํหนอนพยาธิ และเชื้อโปรโตซัว สัตว๑กัดแทะ เชํน หนูเป็นพาหะนาโรคสํูคน เชํน โรคฉี่หนู หรือโรคเลปโตสไปโรซิส นอกจากนี้หนูยังเป็นแหลํงอาศัยของปรสิตภายนอกรํางกาย เชนํ หมดั ไร โลน เหา และสามารถแพรํสคูํ นได๎ 3. ผลกระทบตํอจิตใจ เชํน เกิดความราคาญ ความเครียด จากความสกปรก ฝุนละอองตํางๆ และขาดสมาธิ 4. ผลกระทบทางสิ่งแวดล๎อม ทาให๎เกิดมลพิษของน้า มลพิษของดิน และมลพิษของอากาศ เน่ืองจากขยะสํวนท่ีขาดการเก็บรวบรวม หรือไมํนามากาจัดให๎ถูกวิธี ปลํอยท้ิงค๎างไว๎ เมื่อมีฝนตกลง

20 มาจะไหลชะนาความสกปรก เชื้อโรค สารพิษจากขยะไหลลงสํูแหลํงน้า ทาให๎แหลํงน้าเนําเสีย และ นอกจากนข้ี ยะยังสงํ ผลกระทบตอํ คณุ ภาพดนิ โดยเฉพาะขยะอนั ตราย เชํน ถํานไฟฉาย ซากแบตเตอร่ี หลอดฟลอู อเรสเซนต๑ ซึ่งมีปรมิ าณโลหะหนักประเภทปรอท แคดเมียม ตะก่วั จานวนมาก สารอินทรีย๑ ในขยะเมื่อมีการยํอยสลาย จะทาให๎เกิดสภาพความเป็นกรดในดิน เม่ือฝนตกชะกองขยะจะทาให๎น้า เสียจากกองขยะไหลปนเป้ือนดินทาให๎เกิดมลพิษของดิน ถ๎ามีการเผาขยะกลางแจ๎งจะเกิดควันท่ีมี สารพิษทาให๎คุณภาพของอากาศเสีย สํวนมลพิษทางอากาศจากขยะอาจเกิดข้ึนได๎ท้ังจากมลสารท่ีมี อยใํู นขยะและแก๏สหรอื ไอระเหยทมี่ กี ลิ่นเหม็นจากการเนาํ เป่ือยและสลายตัวของอนิ ทรีย๑สาร 5. ทาให๎เสียภาพลักษณ๑ของโรงเรียน การจัดการขยะที่ดี มีความเป็นระเบียบเรียบร๎อย ยํอมแสดงถึงความเจริญและวัฒนธรรมของโรงเรียน หากการจัดการขยะไมํดียํอมกํอให๎เกิดความไมํ นาํ ดูขาดความสวยงาม สกปรก และไมํเป็นระเบียบ สํงผลกระทบตํอภาพรวมของโรงเรยี น นอกจากนี้พัชรพล ไตรทิพย๑ (2559 : 41) กลําววํา ปัญหาที่เกิดข้ึนจากการมีปริมาณขยะ มูลฝอยและของเสียอันตรายมากข้ึนในชุมชนและโรงเรียนไมํสามารถเก็บรวบรวมและนาไปกาจัด อยาํ งมปี ระสทิ ธิภาพได๎กอํ ให๎เกิดผลกระทบตํอสภาพแวดล๎อมในด๎านตํางๆมากมายหากไมํมีการจัดการขยะ ให๎ถูกต๎องเหมาะสมยํอมจะกํอให๎เกิดผลกระทบตํอสิ่งแวดล๎อมและสุขภาพและอาจเกิดเป็นสาเหตุของ การเกิดโรคระบาดได๎ จากท่ีกลําวมาจะเห็นได๎วําขยะในโรงเรียนเป็นปัญหาสาคัญตํอสิ่งแวดล๎อมและสุขภาพ ท้ังทางตรงและทางอ๎อมของนักเรียน ทั้งนี้ข้ึนอยูํกับปริมาณของขยะและการจัดการขยะดังน้ันการบริหาร จดั การขยะในโรงเรยี นจงึ มีความสาคญั เพือ่ ลดปญั หาที่อาจสํงผลกระทบตอํ สุขภาพนักเรียนในโรงเรียน 2.2.5 นโยบายสง่ เสริมและสนบั สนุนการจดั การขยะของ สพฐ. สู่โรงเรียนปลอดขยะ นโยบายรัฐบาลและแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหํงชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 - 2564) ได๎กาหนดให๎การบูรณาการเชิงยุทธศาสตร๑ ประเด็นการบริหารจัดการขยะและส่ิงแวดล๎อมจึงได๎มี การบูรณาการหนวํ ยงานท่ีเกี่ยวขอ๎ งด๎านการบริหารจดั การขยะ โดยสานกั งานคณะกรรมการการศึกษา ขน้ั พนื้ ฐานเป็นหนวํ ยงานหลกั ทเี่ ก่ียวขอ๎ งในการสร๎างพลเมืองที่มีคุณภาพในการให๎ความรู๎ สร๎างเจตคติ นาไปสํูการมีความตระหนักและมีจิตสานึกท่ีดีในด๎านการจัดการขยะ โดยมุํงเน๎นการสร๎างจิตสานึก ท่ีสาคัญใน 2 ประเด็นหลัก คือ การสร๎างจิตสานึกลดปริมาณขยะ ให๎เหลือเฉลี่ย 1 กิโลกรัมตํอคน ตํอวันและการใช๎ประโยชน๑จากขยะ สร๎างจิตสานึกและอนุรักษ๑ส่ิงแวดล๎อม โดยสํงเสริมสนับสนุน ให๎สานักงานเขตพื้นท่ี สานักงานคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด และสถานศึกษาดาเนินการ ตามแนวทางดังนี้ 1. การดาเนนิ การตามแนวทางการจัดการขยะ Zero Waste school ซ่ึงเป็นปรัชญาท่ีสํงเสริม การหมุนเวียนทรัพยากรกลับมาใช๎ใหมํ เพ่ือเป็นการใช๎ทรัพยากรอยํางมีประสิทธิภาพและเป็นการลด ปริมาณของเสียที่เกิดข้ึนให๎น๎อยที่สุด โดยใช๎หลักการของ 3 Rs (Reduce, Reuse, Recycle) รวมทั้ง การออกแบบผลติ ภณั ฑ๑ใหส๎ ามารถนากลับมาใช๎ใหมํได๎เกือบท้ังหมด เพื่อเป็นการลดปริมาณของเสียท่ี สงํ ไปกาจดั โดยวธิ กี ารฝงั กลบและเตาเผาทาลายให๎มปี รมิ าณนอ๎ ยทีส่ ุด รายละเอียดดงั แผนภาพท่ี 2.3

21 แผนภาพท่ี 2.3 แนวคดิ การจัดการขยะ Zero Waste ทมี่ า: Zero Waste แนวทางการลดขยะให๎เหลอื ศูนย๑ การลดปริมาณขยะรูปแบบของ 3 Rs ในสถานศกึ ษามดี ังนี้ 1. กาหนดนโยบายด๎านการจดั การขยะตามรูปแบบของโรงเรยี น ZERO WASTE 2. สํงเสริมการจัดกิจกรรมการคัดแยก ขยะ4 ประเภท ได๎ขยะทั่วไป ขยะยํอย สลาย ขยะรไี ซเคลิ และขยะอนั ตราย 3. สํงเสริมกิจกรรม 1A3R ลดขยะในสถานศึกษา 1A3R คือ กลยุทธ๑ในการจัดการกับ ขยะมูลฝอยทีเ่ รม่ิ ต๎นที่จะมีขยะเกิดขนึ้ ประกอบดว๎ ยขนั้ ตอนตงั้ แตํการงด - เลิก ลด ใช๎ซ้าและหมุนเวียน กลับมาใช๎ใหมํเป็นหลักการแก๎ปัญหาขยะแบบประหยัด ที่ไมํต๎องอาศัยงบประมาณทางราชการใดๆ แตตํ อ๎ งอาศยั ความต้ังใจ เสียสละเวลา รวมทั้งงบประมาณสํวนตัว โดยมคี วามหมาย ดังนี้ 3.1 Avoid หรืองด – เลิก เป็นการงดหรือเลิกการบริโภคที่เป็นอันตรายตํอผ๎ูบริโภค โดยตรงการบรโิ ภคที่เป็นอนั ตรายตํอผู๎อ่นื และตอํ ระบบนเิ วศ โดยจะต๎องงดหรอื เลิกบรโิ ภค 3.1.1 ผลิตภัณฑ๑ท่ีใช๎แล๎วทง้ิ เลย 3.1.2 ผลติ ภัณฑท๑ ี่เปน็ อันตรายตอํ ผใู๎ ชแ๎ ละระบบนิเวศ 3.1.3 ผลิตภณั ฑท๑ ที่ าจากสตั วป๑ าุ หรือช้นิ สํวนของสัตว๑ปาุ ทกุ ชนิด 3.1.4 กจิ กรรมท่ีทาให๎เกดิ อันตรายตอํ ชีวติ มนษุ ย๑และสภาพแวดล๎อม 3.2 Reduce หรือลดการบริโภคท่ีจะทาให๎เกิดการรํอยหรอของทรัพยากรท่ีมีอยูํ อยํางจากัด ทรัพยากรที่ใช๎แล๎วหมดไป รวมทั้งทรัพยากรที่ทดแทนใหมํได๎บางชนิดก็ต๎องลดการใช๎ เนื่องจากทาให๎เกดิ การเสยี สมดุลของระบบนิเวศ โดยการลดการใชท๎ รัพยากร ดังนี้ 3.2.1 ทรัพยากรทใี่ ชแ๎ ลว๎ หมดไป 3.2.2 ทรัพยากรทีท่ ดแทนใหมไํ ด๎ 3.2.3 ผลิตภัณฑ๑ที่เม่ือนามาใช๎ จะทาให๎เกดิ ความเสยี หายตํอระบบนเิ วศ 3.2.4 ผลติ ภณั ฑ๑ที่ได๎จากขบวนการผลติ ทตี่ ๎องใชพ๎ ลังงานมาก

22 3.3 Reuse หรอื ใช๎ซา้ - ใช๎แล๎วใช๎อีกเป็นอีกทางเลือกหนึ่งของการบริโภคอยํางเหมาะสม เพือ่ ลดการรอํ ยหรอของทรัพยากรที่มีอยํู และลดการปลํอยมลพิษสํูสภาพแวดล๎อม โดยการนาผลิตภัณฑ๑ และทรัพยากรกลับมาใช๎ใหมํในลักษณะท่ีเหมือนเดิม ไมํมีการเปล่ียนรูปทรงด๎วยการหลอม บด แยก ใดๆ เพอื่ หลกี เล่ยี งการสญู เสยี พลงั งาน เชนํ 3.3.1 เสอ้ื ผา๎ ทุกชนิด 3.3.2 ภาชนะบรรจทุ ี่ทาดว๎ ยแก๎วทุกชนิด 3.3.3 ภาชนะบรรจอุ ่ืน ๆ เชํน ลงั กระดาษ ลงั พลาสตกิ ฯลฯ 3.3.4 กระดาษ 3.4 Recycle หรอื หมุนเวยี นกลับมาใหมํผลิตภัณฑ๑บางชนิดแม๎จะมีความคงทนแตํกลับ มอี ายกุ ารใชง๎ านสั้น มีปริมาณการใช๎มากทาให๎หมดเปลืองทรพั ยากรและพลังงานอยาํ งรวดเร็ว จึงควร ใช๎ผลิตภัณฑ๑หรือบรรจุภัณฑ๑ประเภทนี้อยํางระมัดระวังและให๎เกิดประโยชน๑ค๎ุมคํามากท่ีสุดเพื่อลด ปริมาณของเสียที่จะถํายเทสูํสภาพแวดล๎อม และเม่ือเลิกใช๎แล๎วควรจะจัดการเพ่ือนาเอาทรัพยากรที่ คร้ังหนึ่งถูกแปรเปลี่ยนเป็นผลิตภัณฑ๑ดังกลําว หมุนเวียนกลับมาใช๎ใหมํ ซ่ึงจะต๎องผํานกระบวนการ หลอมละลาย บด อัด ฯลฯ ผลติ ภัณฑท๑ ี่สามารถนามาหมนุ เวียนกลับมาใช๎ใหมไํ ด๎ มีดงั น้ี 3.4.1 แก๎ว ไดแ๎ กํ ขวดแก๎วตาํ ง ๆ ท้งั ทม่ี ีสีใส สนี ้าตาลและสเี ขยี ว 3.4.2 กระดาษ ได๎แกํ กระดาษหนังสือพิมพ๑ กลํองกระดาษ ถุงกระดาษ สมุด กระดาษสานกั งาน หนงั สอื ตําง ๆ 3.4.3 โลหะ ไดแ๎ กํ วสั ดุหรือเศษเหลก็ ทุกชนิด กระป๋องอลมู ิเนียม ทองแดง ทองเหลือง 3.4.4 พลาสตกิ ได๎แกํ ขวดน้าพลาสตกิ ใส ขวดนา้ พลาสติกสีขาวขํุน ถุงพลาสติก เหนยี วภาชนะพลาสตกิ ตาํ ง ๆ (กะละมัง ถงั น้า ขวดแชมพู) รวมถึงบรรจภุ ัณฑ๑ทีม่ สี ัญลักษณ๑รไี ซเคิล นอกจากน้ีเนื้อหาเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ซ่งึ เป็นหลกั สูตรแกนกลางของประเทศ มจี ดุ ประสงค๑ทีจ่ ะพัฒนาผูเ๎ รยี นให๎เปน็ คนดี มีปัญญา มีคุณภาพ ชีวิตที่ดีสามารถดารงชีวิตอยํางมีความสุขได๎บนพ้ืนฐานของความถนัดและคว ามสามารถของแตํละ บุคคลซึ่งปัญหาขยะมูลฝอยเป็นปัญหาหนึ่งด๎านสิ่งแวดล๎อมที่อยูํรอบตัวเราและสังคม ปัจจุบันการเรียน การสอนของครูจะต๎องปรับเปลี่ยนในหลายด๎าน เพื่อทาให๎เด็กเกิดทักษะ ความคิดรวบยอด และเจต คติท่ีดีตํอการอนุรักษ๑ส่ิงแวดล๎อม สามารถนาปัญหาส่ิงแวดล๎อมมาแก๎ไขด๎วยตนเอง เพื่อประโยชน๑สุข ของตนเองและสังคม เกษม จันทร๑แก๎ว (2558 : 142 – 143) ได๎กลําวถึงการจัดการเรียนการสอนเพ่ือสร๎างความร๎ู พ้ืนฐานไปสูํกระบวนการส่ิงแวดล๎อม และกระบวนการวิทยาศาสตร๑ควบคูํกันไปเพ่ือสร๎างจิตสานึก สิ่งแวดลอ๎ ม โดยมขี ัน้ ตอนในการสอดแทรก 5 ขั้น เพ่ือให๎ให๎ผ๎ูเรียนเกิดความรู๎ เจตคติ ความสานึก การตอบโต๎ และทกั ษะทางส่ิงแวดล๎อมทถ่ี ูกต๎อง ดงั น้ี 1. ความรู๎ (Knowledge) ทางส่ิงแวดล๎อมน้ันต๎องเป็นความร๎ูในแนวกว๎าง ซ่ึงเป็นฐานสาคัญ ของจิตสานึกทางสิ่งแวดล๎อม หมายความวํา รู๎หลายสาขาหรือเร่ืองที่เกี่ยวข๎องกับความรู๎ เฉพาะทาง ส่ิงแวดล๎อมนั้น ๆ นอกจากน้ีการร๎ูจักผสมผสาน (Integration) ก็เป็นอีกเรื่องหน่ึงท่ีสาคัญเชํนกันที่จะ กํอให๎เกิดความร๎ูทางสิ่งแวดล๎อมในแนวกว๎าง ซ่ึงหมายถึงการที่ความร๎ูเฉพาะด๎านนั้นมีการเชื่อมโยงกับ ความรู๎ทางด๎านอื่น ๆ ในลักษณะและทิศทางอันเป็นสิ่งสาคัญของจิตสานึกที่ต๎องปลูกฝัง ทั้งน้ีเพ่ือจะเป็น

23 ความรู๎อยํางมีเหตุผล สามารถสร๎างมโนภาพที่เป็นธรรมชาติของส่ิงน้ัน ปัญหาและเหตุของปัญหาแนวทางแก๎ไข แผนการแกไ๎ ขและอืน่ ๆ ได๎ 2. เจตคติ (Attitudes) เป็นระดับความเข๎มข๎นของเน้ือหาสาระของจิตสานึกทางสิ่งแวดล๎อม ตํอจากความร๎ู หมายความวํา ต๎องมีความรู๎อยํางถูกต๎องตามหลักการ คือ รู๎กว๎างและร๎ูการผสมผสาน ซงึ่ ต๎องมีการได๎เห็น หรอื สัมผัสของจรงิ และรวํ มกจิ กรรมกบั กิจกรรมเสรมิ ท่ผี ๎ูบริหารวางแผนไว๎โดยเชื่อวํา การได๎เห็นความเป็นจริง ปรากฏการณ๑ พฤติกรรมในสิ่งเหลําน้ัน รวมทั้งได๎มีการรํวมกิจกรรมก็สามารถ มเี จตคตทิ ถี่ ูกต๎องและมน่ั คงตลอดไป 3. ความสานึก (Awareness) เป็นระดับความเข๎มข๎นของเน้ือหาสาระในระดับที่สามของการ สร๎างจิตสานึกทางสิ่งแวดล๎อมโดยการกาหนดกระบวนรายวิชา รายละเอียดรายวิชาให๎มีเน้ือหาถึงข้ันละเอียด ผูเ๎ รยี นจะมคี วามร๎ูอยาํ งลกึ ซ้งึ เข๎าใจอยํางฝังแนํน อีกท้ังต๎องสร๎างบทปฏิบัติการ อาจทดลองในห๎องปฏิบัติการ ทดลองในพ้นื ทจ่ี ริง ทากจิ กรรมรํวม เขยี นรายงานบทปฏิบตั ิการ ทารายงาน เสนอผลงานตํอหนา๎ กลมุํ ผู๎เรียน เป็นต๎น 4. การตอบโต๎ (Sensitivity) ในทางสง่ิ แวดลอ๎ ม หมายความวํา เมื่อเกิดเหตุการณ๑ใด หรือสิ่งใดบังเกิดขึ้น ประสาทหรือความรู๎ที่ได๎สะสมไว๎จะมีการตอบโต๎โดยอัตโนมัติ แตํถ๎าไมํมีการตอบโต๎เลย หมายถึงวํา การสร๎าง ความสานึกหรือจิตสานึกยังไมํอยํูในเกณฑ๑ท่ีใช๎ได๎ วิธีการสร๎างให๎เกิดอาการตอบโต๎ หรือเกิดความร๎ูสึกก็คือ การสร๎างพัฒนาการโดยการฝึกหัดทา หรือฝึกให๎ทา อาจเป็นการบังคับจากกฎหมาย การให๎ความรู๎ ฝกึ โดยการสมคั รใจและเต็มใจรบั การฝึกหัด 5. ทักษะ (Skills) เปน็ ระดบั สูงสดุ ในเนื้อหาสาระของการสร๎างจิตสานึกทางส่ิงแวดล๎อมเป็นระดับ ที่สร๎างทักษะการทาได๎อยํางถูกต๎องและชานาญการ วิธีการสร๎างทักษะที่มีประสิทธิภาพ คือการฝึกทา ฝกึ หดั ทา ฝึกการเขียน ฝึกบรรยาย ฝึกการเสนอผลงานฝึกสอน และฝกึ เป็นผด๎ู าเนินการในเฉพาะเรื่องน้ัน ๆ ตามเวลาท่เี หมาะสม การทดสอบปรมิ าณและคณุ ภาพจากผทู๎ รงคณุ วุฒกิ ส็ ามารถทราบได๎ สรุปได๎วําปัญหาขยะมูลฝอยเป็นปัญหาหนึ่งด๎านส่ิงแวดล๎อมท่ีอยํูรอบตัวเราและสังคม ในปัจจบุ นั ความก๎าวหน๎าดา๎ นเทคโนโลยี ไมํหยุดนิ่ง ทาให๎มนุษย๑ต๎องปรับตัวเองให๎เข๎ากับสภาพท่ีเปล่ียนไป การเรียนการสอนของครูจะต๎องปรับเปลี่ยนในหลายด๎าน เพื่อทาให๎เด็กเกิดทักษะ ความคิดรวบยอด และเจตคติที่ดีตํอการอนุรักษ๑ส่ิงแวดล๎อม สามารถนาปัญหาสิ่งแวดล๎อมมาแก๎ไขด๎วยตนเอง โดยสอดแทรก เน้ือหาเก่ียวกับส่ิงแวดล๎อมเพ่ือสร๎างจิตสานึกทางส่ิงแวดล๎อมเพื่อให๎ให๎ผ๎ูเรียนเกิดความร๎ู เจตคติและทักษะ ทางสิ่งแวดล๎อมทีถ่ ูกต๎อง 2.2.6 หลักการบรหิ ารจดั การขยะในโรงเรยี น กรมสงํ เสริมคุณภาพส่ิงแวดลอ๎ ม (2554 : 22 - 23) ระบุวําการบริหารจัดการขยะ คือ การที่ลด ปริมาณขยะมูลฝอยท่ีต๎องทาลายด๎วยระบบตําง ๆ ให๎เหลือน๎อยท่ีสุด และนาขยะมูลฝอยมาใช๎ประโยชน๑ ได๎ไมํวําจะเป็นการใช๎ซ้า และแปรรูปนามาใช๎ใหมํ (Reuse & Recycle) รวมถึงการกาจัด ที่เกิดผลพลอยได๎ เชํน ปุย๋ หมัก หรือพลังงาน โดยสรปุ วธิ ีการดาเนนิ การตามแนวทางของกรมสํงเสรมิ คุณภาพส่ิงแวดลอ๎ ม ดงั น้ี 1. การลดปริมาณขยะมลู ฝอย (Reduce) สามารถทาได๎ดังตอํ ไปน้ี 1.1 การลดปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดจากการใช๎สินค๎า ควรเลือกใช๎สินค๎าท่ีมีความ คงทนถาวร หรอื มีอายุการใช๎งานทยี่ าวนาน และเลอื กใชส๎ นิ ค๎าชนดิ เดมิ 1.2 การลดปริมาณวัสดุเลือกใช๎วัสดุท่ีมีบรรจุภัณฑ๑ขนาดใหญํ แทนบรรจุภัณฑ๑ขนาด เล็ก เพือ่ ลดปริมาณของบรรจุภัณฑท๑ ่จี ะกลายเปน็ ขยะมลู ฝอย

24 2. การนากลบั มาใช๎ (Reuse) คอื การนาขยะมูลฝอยทเี่ ป็นเศษวสั ดุนากลับมาใช๎ซ้าอกี คร้งั เปน็ การนามาใช๎ประโยชน๑ใหมํ เชํน การนาขวดนา้ ด่ืม การนาขวดน้าหวาน การนาขวดตาํ ง ๆ นากลับมาใสํนา้ ตาล เปน็ การนาสง่ิ ของตําง ๆ เหลาํ นี้มาใช๎ซา้ หลาย ๆ ครง้ั กอํ นจะนาไปทิ้ง 3. การนากลับมาแก๎ไข (Repair) เปน็ การนาวสั ดุอุปกรณท๑ ชี่ ารุดเสียหาย ซึ่งจะท้ิงเป็นมูล ฝอยมาซํอมแซมใช๎ใหมํ เชํน เก๎าอี้ 4. การแปรสภาพ หรือนากลับมาใช๎ใหมํ (Recycle) เป็นการนาวัสดุที่เหลือใช๎มาผลิต ให๎เป็นสินค๎าใหมํ โดยนาขยะมูลฝอยมาแปรรูปตามที่ต๎องการ และนากลับมาใช๎ประโยชน๑อีกคร้ัง อยํางเชนํ พลาสตกิ กระดาษ ขวด โลหะตาํ ง ๆ นากลับมาหลอมใหมํ 5. การหลีกเลี่ยงการใช๎วัสดุที่กํอให๎เกิดมลพิษ เป็นการหลีกเล่ียงการใช๎วัสดุที่ยํอยสลาย ทาลายยาก หรอื วัสดุที่ใชเ๎ พียงครัง้ เดียวแลว๎ ทิ้ง เชํน โฟม โดยปฏิเสธการใชผ๎ ลติ ภัณฑท๑ ผ่ี ิดวัตถุประสงค๑ นอกจากน้ี กรมสงํ เสริมคุณภาพสิ่งแวดล๎อม (2555 : 11) ได๎กาหนดยุทธศาสตร๑ที่เกี่ยวข๎อง กับการจัดการขยะตามโครงการ Clean Land โดยมีเปูาหมายเพื่อให๎มีการจัดการขยะท่ีดีตั้งแตํการ เก็บรวบรวมกาจัดขยะทั่วไปและขยะอันตรายมีการลดปริมาณขยะและการนาขยะกลับมาใช๎ใหมํ (Recycle) และการเพ่ิมพื้นที่สีเขียวในเขตเมืองโดยนาหลักการผ๎ูกํอมลพิษเป็นผ๎ูจําย (Polluter Pays Principle: PPP) มาใช๎อยํางเหมาะสมยุทธศาสตร๑การจัดการขยะมีวัตถุประสงค๑ของการดาเนินการ 6 ประการคือ 1. มีการจดั การขยะอยํางถกู สุขลกั ษณะ 2. มกี ารจัดการขยะอันตรายอยาํ งถูกสุขลักษณะ 3. ลดการผลิตขยะและการกาจัดขยะ 4. เพม่ิ พ้นื ทส่ี เี ขยี วในเขตเมอื ง 5. สร๎างความรบั ผดิ ชอบและความเป็นเจา๎ ของตอํ สิ่งแวดล๎อม 6. มีการพฒั นาบคุ ลากรทีเ่ กี่ยวข๎อง พูนสุข อุดม (2552 : 23) กลําววํา หลักการบริหารจัดการขยะในโรงเรียนให๎ย่ังยืนโดยใช๎ กระบวนการสอนสิ่งแวดล๎อมศึกษาซ่ึงเป็นกระบวนการทางการศึกษาเพ่ือพัฒนาประชากรให๎เกิด ความร๎ูความเข๎าใจเกี่ยวกับส่ิงแวดล๎อมให๎มีความตระหนักตํอปัญหาสิ่งแวดล๎อมและสานึกในคุณคํา ของทรัพยากรธรรมชาติ มํุงพัฒนาศักยภาพของมนุษย๑ให๎มีความชานาญเกี่ยวกับการแก๎ไขปัญหา พรอ๎ มท่ีจะมีสํวนรํวมในการแก๎ไขปัญหาสิ่งแวดล๎อม สามารถดารงชีวิตอยํูอยํางประสานสอดคล๎องกับ ธรรมชาติได๎ดังน้ันส่ิงแวดล๎อมศึกษาจึงครอบคลุมหลายมิติ ทั้งมิติทางทรัพยากรธรรมชาติ มิติทางสังคม และวัฒนธรรม มิติทางความเชื่อ และจิตวิญญาณ มิติทางเศรษฐกิจ และมิติทางเทคโนโลยี เน่ืองจาก ธรรมชาติของเนื้อหาสิ่งแวดล๎อมศึกษาสอดแทรกและเกี่ยวข๎องอยูํกับทุกรายวิชา สาคัญอยํูที่ผ๎ูสอน จะต๎องเข๎าใจ และตระหนัก ในความสาคัญ ของสิ่งแวดล๎อมศึกษา แล๎วนามาสอนแบบบูรณาการ สอดแทรกเข๎าไปในเน้ือหาและกิจกรรมส่ิงแวดล๎อมศึกษาให๎สอดคล๎องและเหมาะสมโดยมํุงเปูาหมาย หลัก 5 ประการ ได๎แกํ สร๎างความรู๎ความเข๎าใจ ความตระหนักเจตคติ ทักษะ และการมีสํวนรํวม เกี่ยวกับสิ่งแวดลอ๎ มและปัญหาสิง่ แวดล๎อม โดยกาหนดแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมส่ิงแวดล๎อม ศกึ ษาในสถานศึกษา ดงั น้ี

25 1. กาหนดนโยบายและแผนปฏบิ ตั ิท่ีสํงเสริมการอนุรักษ๑สิ่งแวดล๎อมบุคลากรในสถานศึกษา นักเรียนและชุมชนมีสํ วนรํ วมในการก าหนดนโยบายและรํวมจั ดทาแผนพัฒน าส่ิ งแวดล๎ อมของ สถานศึกษา 2. จดั กจิ กรรมการเรียนการสอนท่ีบูรณาการส่ิงแวดล๎อมศึกษา มีการบูรณาการส่ิงแวดล๎อม ศกึ ษาในแตํละกลํุมประสบการณ๑ และครูผู๎สอนจะต๎องเขียนแผนการสอนที่ระบุ วัตถุประสงค๑ เน้ือหา และกิจกรรมทางสิ่งแวดล๎อมไปพร๎อม ๆ กับวัตถุประสงค๑ เนื้อหาและกิจกรรมท่ีมีอยูํแล๎วในหลักสูตร สาหรบั แนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยการบูรณาการน้ันครูต๎องเก่ียวกับส่ิงแวดล๎อม โดยใหผ๎ เู๎ รยี นมคี วามรู๎และเข๎าใจเกยี่ วกับปัญหา สาเหตุและผลกระทบของปัญหา สิ่งแวดล๎อม สอนใน สง่ิ แวดล๎อม โดยนาผู๎เรียนเข๎าไปศึกษาในสภาพแวดล๎อมจริง เชํน ในชุมชน ในปุา เพ่ือให๎นักเรียนเกิด ความซาบซงึ้ และทศั นคตทิ ่ดี ีตํอการอนรุ ักษ๑ และสอนเพื่อสิ่งแวดล๎อมโดยให๎ผ๎ูเรียน ได๎นาไปปฏิบัติจริง เพือ่ ใหเ๎ กดิ การอนุรักษ๑สิ่งแวดลอ๎ ม ซึ่งกจิ กรรมการเรยี นการสอนต๎องเน๎นให๎ผเ๎ู รยี นเปน็ ศูนย๑กลาง 3.การจัดการอาคารเรียน บริเวณสถานศึกษา และห๎องเรียนที่เอื้อตํอการเรียนการสอน สง่ิ แวดลอ๎ มศกึ ษา มกี ารวางแผนผังของสถานศึกษา จัดห๎องเรียน อาคารเรียนและบริเวณสถานศึกษา ให๎สะอาด รํมร่ืน สวยงาม จัดให๎มีสถานที่พักผํอนหยํอนใจ มีการทาเกษตรกรรมผสมผสาน ท้ังนี้ เพื่อให๎เอ้ือและเป็นส่ือในการเรียนการสอนส่ิงแวดล๎อมศึกษาเอื้อและเป็นสื่อในการเรียนการสอน สิ่งแวดลอ๎ มศึกษา 4. บุคลากรในสถานศึกษา และนักเรียนมีสํวนรํวมในกิจกรรมทางสิ่งแวดล๎อม สถานศึกษา ควรเปิดโอกาสให๎บุคลากร และนักเรียนมีสํวนรํวมในการวางแผนการดาเนินกิจกรรมและการ ประเมินผลการดาเนินงานดา๎ นสงิ่ แวดลอ๎ มของสถานศกึ ษา 5. ชมุ ชน องค๑กรและหนํวยงานที่เกย่ี วขอ๎ ง มสี วํ นรํวมในการจดั กจิ กรรมทางส่งิ แวดล๎อมของ สถานศกึ ษา สถานศกึ ษาเปิดโอกาสให๎ชุมชน และหนํวยงานท่ีเกี่ยวข๎องมีสํวนรํวมในการวางแผน และ พฒั นาการจัดกจิ กรรมทางส่งิ แวดล๎อมรวมทัง้ การจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษา 6. มีการจัดการและการกาจัดขยะ มีนโยบายและมาตรการเกี่ยวกับการจัดการและการ กาจัด ขยะ และสามารถนาไปปฏิบัติจริง เชํน ลดการซ้ือสินค๎าที่กํอให๎เกิดขยะ จัดหาถังขยะ จัดหาถัง แยก ประเภทขยะ นาขยะทใี่ ช๎แล๎วกลับมาใชใ๎ หมํ หรือนาไปกาจดั อยาํ งถูกวธิ ี 7. มีการประหยัดพลังงาน กาหนดมาตรการในการประหยัดพลังงานในสถานศึกษาและ ดาเนินการอยํางจริงจัง เชํน เลือกใช๎อุปกรณ๑ไฟฟูาท่ีประหยัดพลังงาน และตรวจสอบบารุงรักษาให๎ใช๎ การไดด๎ อี ยํเู สมอ จดั สภาพแวดล๎อมทีเ่ อ้อื ตอํ การประหยัดพลงั งาน เชนํ ตัดแตํงต๎นไม๎รอบอาคารตําง ๆ ให๎โปรํงเพ่ือให๎อาคารได๎รับแสงจากภายนอก ภายในอาคารควรใช๎สีที่สวําง เพ่ือลดการใช๎พลังงาน ไฟฟูา รณรงค๑ให๎นักเรียนและบุคลากรในสถานศึกษาชํวยกันประหยัดพลังงาน ท้ังในสถานศึกษาและ ชมุ ชน 8. มีการประหยัดน้า กาหนดมาตรการในการประหยัดน้า และดาเนินการอยํางจริงจัง เชํน มี การบาบัดน้าเสีย นานา้ ท่ีผาํ นการใช๎หรือบาบัดแล๎วมาใช๎อยํางเหมาะสม กักเก็บน้าจากธรรมชาติไว๎ อุปโภคและบริโภค สารวจ ซํอม บารุง รักษาอุปกรณ๑ตําง ๆ ให๎ใช๎การได๎ดีอยูํเสมอรณรงค๑ให๎นักเรียน และบุคลากรในสถานศึกษาชํวยกนั ประหยัดนา้ ท้ังในสถานศึกษาและชุมชน

26 9. มีการจดั กิจกรรมสิ่งแวดล๎อมศึกษาเพ่ือสํงเสริมหลักสูตร สถานศึกษาสนับสนุนให๎มี การจัดกิจกรรม ส่ิงแวดล๎อมศึกษาเพ่ือเสริมหลักสูตร เชํน การจัดตั้งชมรมสิ่งแวดล๎อมการศึกษานอก สถานที่ การจัด นิทรรศการ การแสดงละคร การใช๎เสียงตามสาย และการประกวดตําง ๆ ทางสิ่งแวดล๎อม เชํน การวาดภาพ การเขยี นบทกลอน การประกวดคาขวัญการโต๎วาที 10. มีการประเมินผลการดาเนินงานด๎านส่ิงแวดล๎อมศึกษา บุคลากรในสถานศึกษา นักเรียน และชุมชน มีสํวนรํวมในการติดตามประเมินผล และนาผลการประเมินไปปรับปรุงการดาเนินงาน ทางดา๎ นส่ิงแวดล๎อมศึกษา สรุปได๎วําหลักการบริหารจัดการขยะในโรงเรียนควรเลือกวิธีการที่เหมาะสมของในแตํละพ้ืนที่ โดยกระทาควบคํูกันไป ท้ังการลดปริมาณขยะมูลฝอย การนากลับไปใช๎ใหมํ และการกาจัดขยะมูลฝอย การสร๎างจิตสานึก หรือจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่บูรณาการส่ิงแวดล๎อมศึกษา ซ่ึงสานักงานเขต พ้นื ที่การศึกษาและสถานศึกษาในสงั กัด การดาเนินงานด๎านการลด และคัดแยกขยะมูลฝอยในอาคาร และพ้นื ทีข่ องหนวํ ยงานเพ่อื เปน็ แบบอยํางท่ีดีตอํ ภาคเอกชนและประชาชนให๎มีสํวนรํวมในการปูองกัน และแก๎ไขปัญหาขยะมูลฝอย ขยะพลาสติกและโฟมในภาพรวมของประเทศอยํางตํอเนื่อง โดยใช๎ หลักการ 3R คือ ใช๎น๎อยหรือลดการใช๎ (Reduce) ใช๎ซ้า (Reuse) และแปรรูปใช๎ใหมํ (Recycle) ในการจัดการขยะทเ่ี กิดขนึ้ 2.3 แนวคดิ และทฤษฎที ีเ่ ก่ยี วขอ้ งกับกระบวนการนิเทศ 2.3.1 ความหมายของการนเิ ทศ คาวํานิเทศ (Supervision) แปลวํา การให๎ความชํวยเหลือแนะนา หรือปรับปรุง ดังน้ัน การนิเทศการศึกษาก็นําจะหมายถึงการให๎ความชํวยเหลือแนะนา หรือปรับปรุงเกี่ยวกับการศึกษา โดยเฉพาะในโรงเรียนไดม๎ ีผู๎ใหค๎ วามหมายคาวาํ การนเิ ทศการศึกษา ไว๎แตกตํางกนั ดังน้ี ชุมศักด์ิ อินทร๑รักษ๑ (2551 : 206) ได๎กลําวถึงความหมายของการนิเทศการศึกษาวํา หมายถึง กระบวนการสํงเสริม แนะนา ชี้นา ปรึกษา หารือ ประสาน มอบหมายความรับผิดชอบและปรับปรุง พัฒนาเพ่ือคณุ ภาพของผ๎ูเรียน ชวนพิศ คาดสนิท (2553 : 10) ได๎ให๎คาจากัดความของการนิเทศวํา หมายถึง การชี้แนะ แนะนา การปรึกษาหารือ การวางแผนรํวมกันและให๎ความรํวมมือในการพัฒนาเพ่ือให๎เกิดผลดี และบรรลุตามวัตถุประสงค๑ ปรียาพร วงศอ๑ นตุ รโรจน๑ (2553 : 223 - 224) ได๎กลําวถึงความหมาย การนิเทศการศึกษา วําหมายถึง การนิเทศที่มีการริเร่ิมและจัดดาเนินการโดยบุคลากรภายในสถานศึกษา และในหลาย โอกาสก็เชิญบคุ ลากรภายนอกเป็นวทิ ยากรมารวํ มโครงการ มทั นยี า นะตะ (2554 : 12) กลําววําการนิเทศ หมายถึง การชํวยเหลือ แนะนาช้ีแจง รํวมมือ ให๎บริการและการปรับปรุงการสอนให๎ดีข้ึน ซึ่งจะอาศัยความรํวมมือซึ่งกันและกันระหวํางผู๎นิเทศ และครูผ๎ูสอน ตลอดจนผู๎เก่ียวข๎อง กับการศึกษา โดยต้ังอยํูบนหลักแหลํงมนุษยสัมพันธ๑ เพ่ือให๎ การดาเนินการจัดการเรียนการสอน เป็นไปอยํางมีประสิทธิภาพ เกิดประโยชน๑สูงสุดตํอนักเรียน อันเป็นเปูาหมายสงู สดุ ของการจัดการศกึ ษา

27 วัชรา เลําเรียนดี (2550 : 8) กลําววํา การนิเทศเป็นกระบวนการสอนเป็นกระบวนการ หนง่ึ ของการจดั การศึกษาที่มํุงปรับปรุงกระบวนการสอน กระบวนการเรียนรู๎ในช้ันเรียน และสํงเสริม พัฒนาความเจริญก๎าวหน๎าในวิชาชีพครูท่ีสํงผลโดยตรงตํอผลการเรียนรู๎ของนักเรียน หรือการพัฒนา พฤติกรรมการจัดการเรียนการสอนต๎องอาศัยวิธีการหลากหลายวิธี และวิธีการหน่ึงที่จะชํวยเหลือ ครูผ๎ูสอน ให๎สามารถ ปรับปรุง และพัฒนาตนเอง พัฒนางานการจัดการเรียนการสอน ในวิชาชีพ ของตนเองได๎อยํางตอํ เนอื่ ง และเกดิ ประสทิ ธิผลสูงสดุ ตอํ นักเรียน สรุปไดว๎ าํ การนิเทศการสอน หมายถงึ แนวทางในปฏิบัตงิ านนิเทศทสี่ งํ เสริม สนับสนุนและ ชํวยเหลือท่ีสํงผลให๎ครูผ๎ูสอนได๎เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการสอนโดยผํานการให๎คาแนะนา สะท๎อนความคิดจากผู๎เช่ียวชาญ เพื่อให๎ครูผ๎ูสอนมีความรู๎ความสามารถ โดยให๎เกิดผลตํอการเรียน ของนักเรยี นอยาํ งมคี ณุ ภาพ 2.3.2 กระบวนการนิเทศการศึกษา กระบวนการนิเทศการศึกษาเป็นกิจกรรมที่ต๎องปฏิบัติเป็นลาดับข้ันตอน ซ่ึงมีนักการศึกษา ไดน๎ ากระบวนการนเิ ทศการศกึ ษาหลาย ๆ รูปแบบมาประยุกต๑ใช๎ในการนิเทศภายในสถานศึกษาซึ่งทาให๎ การนิเทศการศกึ ษามปี ระสิทธิภาพ ดังนี้ ปรียาพร วงศ๑อนุตรโรจน๑ (2553 : 227) ได๎เสนอกระบวนการการนิเทศการศึกษามี 5 ขั้นตอนจะต๎องดาเนนิ การอยํางเป็นข้ันตอนและตอํ เนื่องกันดังนี้ ขน้ั ท่ี 1 วางแผนการนเิ ทศ (Planning – P) เปน็ ขัน้ ที่ผ๎บู ริหาร ผ๎นู เิ ทศ และผู๎รบั การนิเทศ จะทาการประชุมปรึกษาหารือเพ่ือให๎ได๎มาซึ่งปัญหาและความต๎องการ จาเป็นจะต๎องมีการนิเทศ รวมท้ังวางแผนถงึ ข้นั ตอนการปฏิบตั งิ านเก่ยี วกบั การนเิ ทศท่ีจะจัดขนึ้ อีกดว๎ ย ข้ันท่ี 2 ให๎ความรู๎ในสิ่งท่ีจะทา (Informing - I) เป็นขั้นตอนของการให๎ความรู๎ความเข๎าใจ ถึงสิ่งที่จะดาเนินการวําจะต๎องอาศัยความรู๎ ความสามารถอยํางไรบ๎าง จะมีข้ันตอนในการดาเนินการ อยํางไร และทาอยาํ งไรจงึ จะทาใหผ๎ ลงานออกมาอยาํ งมีคุณภาพ ขัน้ ที่ 3 การปฏิบตั ิ (Doing – D) ประกอบดว๎ ยการปฏิบตั ิงานใน 3 ลักษณะดงั ตอํ ไปนี้ 3.1 การปฏิบัติงานของผ๎ูรับการนิเทศ เป็นข้ันที่ผู๎รับการนิเทศลงมือปฏิบัติตาม ความรู๎ความสามารถที่ไดจ๎ ากการดาเนนิ งานในขั้นท่ี 2 3.2 การปฏิบัติงานของผู๎ให๎การนิเทศ ข้ันน้ีผ๎ูให๎การนิเทศจะทาการนิเทศ และ ควบคุมคณุ ภาพให๎งานสาเร็จออกมาทันตามกาหนดเวลาและมคี ุณภาพสงู 3.3 การปฏิบัติงานของผ๎ูสนับสนุนการนิเทศ ผู๎บริหารจะให๎บริการสนับสนุน ในเรื่องวสั ดุอุปกรณ๑ ตลอดจนเครอ่ื งใชต๎ ําง ๆ ทีจ่ ะชวํ ยให๎การปฏิบตั ิงานเป็นไปอยํางไดผ๎ ล ข้ันที่ 4 การสร๎างขวัญ และกาลังใจ (Reinforcing – R) ขั้นนี้เป็นขั้นตอนการเสริม กาลังใจของผู๎บริหารเพ่ือให๎ผ๎ูรับการนิเทศมีความมั่นใจ และเกิดความพึงพอใจในการปฏิบัติงานข้ันน้ี อาจจะดาเนนิ ไปพร๎อม ๆ กนั กับผูร๎ ับการนเิ ทศกาลงั ปฏบิ ัติงานหรอื ปฏิบตั ิงานได๎เสร็จสิ้นลงไปแล๎ว ข้ันที่ 5 ประเมินผลผลิตของการดาเนินงาน (Evaluation - E) เป็นข้ันที่ผ๎ูนิเทศทาการ ประเมินผลการดาเนินการซึ่งผํานไปแล๎ววําเป็นอยํางไร หลังจากประเมินผลการนิเทศหากพบวํา มปี ญั หา หรืออปุ สรรคอยํางหนง่ึ อยํางใดท่ีทาให๎การดาเนินงานไมํไดผ๎ ลกส็ มควรจะต๎องทาการปรบั ปรงุ แก๎ไข

28 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2553 :) ได๎กาหนดรูปแบบกระบวนการ นเิ ทศการสอน 5 ขน้ั ตอน ดงั นี้ ขน้ั ที่ 1 การศึกษาสภาพปัจจบุ นั ปัญหาและความต๎องการ การศึกษาสภาพปัจจุบันปัญหา และความต๎องการเป็นขั้นเร่ิมต๎นที่จะได๎ข๎อมูลจากการศึกษาเพ่ือนาไปประกอบการตัดสินใจวางแผน และกาหนดทางเลอื กตอํ ไป ขั้นท่ี 2 การวางแผนและกาหนดทางเลือก การวางแผน คือ การพิจารณาและตัดสินใจ อยํางมีเหตุผลตามหลักการทางวิทยาศาสตร๑ในการกาหนดวัตถุประสงค๑ และเปูาหมายที่พึงประสงค๑ ซึ่งรวมถึงการกาหนดการเลอื กการปฏบิ ัติรายละเอียดขั้นตอนการทางานอยํางมีระบบที่สะดวกแกํการ ปฏิบัติและเปน็ ทางเลือกทด่ี ีที่สดุ ขั้นที่ 3 การสร๎างส่ือเคร่ืองมือและพัฒนาวิธีการสาหรับศึกษานิเทศก๑ทุกคนต๎องสร๎าง ทักษะเหลํานี้ให๎มีขึ้นประจาตัว เพราะถือได๎วําเป็นกระบวนการหลักที่สาคัญมีความจาเป็นตํอการ นิเทศการศึกษาเปน็ ตวั แปรสาคัญที่จะทาให๎การนิเทศการศึกษาประสบความสาเร็จหรือความล๎มเหลว ข้ันที่ 4 การปฏิบัติการนิเทศสามารถทาได๎ 2 ลักษณะ คือ การนิเทศเพื่อตรวจสอบและ เพอื่ สงํ เสรมิ คณุ ภาพการศึกษาจากลักษณะดังกลําวน้ี ได๎กาหนดวิธีการนิเทศออกเป็น 2 วิธี คือ นิเทศ ทางตรง หมายถึง การออกนิเทศด๎วยตนเอง และนิเทศทางอ๎อม หมายถึง การนิเทศด๎วยเครื่องมือ นิเทศตาํ งๆ ตลอดจนใหผ๎ ๎ูอ่ืนทาการนิเทศแทน ขั้นที่ 5 การประเมินผลและรายงานผลการประเมินผล ซึ่งเป็นข้ันตอนในการตรวจสอบ การปฏิบัติงาน รวบรวมปัญหาท่ีปฏิบัติในแตํละข้ันเพ่ือหาทางแก๎ไข การประเมินข้ันสุดท๎าย เป็นการ เปรียบเทียบผลงานวําบรรลุจุดประสงค๑ที่วางไว๎มากน๎อยเพียงใดการรายงานผลเป็นข้ันตอนสุดท๎าย หลงั จากกระบวนการนิเทศได๎เสร็จสิน้ ลงเพื่อแจง๎ ให๎ผ๎ูเกย่ี วข๎องทราบและเผยแพรํ สรุปวําการนากระบวนการนิเทศไปใช๎ให๎เกิดประโยชน๑ จะบรรลุผลตามจุดมํุงหมายที่ กาหนดไว๎น้ันต๎องมีการประยุกต๑หลักการและทฤษฏีเข๎ากับบริบทของโรงเรียน ต๎องมีการวางแผน การ ปฏิบัติงาน การจัดโครงสร๎างของการดาเนินงาน บทบาทในฐานะผ๎ูนาการควบคุมการปฏิบัติงานและ การประเมนิ ผลซ่งึ จะชวํ ยให๎สามารถพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาไดอ๎ ยาํ งแท๎จรงิ 2.3.3 การนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) กระบวนการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) ของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ในการสํงเสริมการบริหารจัดการขยะในโรงเรียนเปูาหมาย โดยใช๎รูปแบบ การนเิ ทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) มี 5 ขัน้ ตอน ดังนี้ ดร.เอกฐสทิ ธิ์ กอบกา (2562 : 6) แผนภาพท่ี 2.4 กรอบแนวคิดกระบวนการนเิ ทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) ศกึ ษาสภาพ และความตอ้ งการ (Assessing Needs : A) การวางแผนการนเิ ทศ (Planning : P)

29 แผนภาพที่ 2.4 กรอบแนวคิดกระบวนการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) (ตอํ ) การให้ความรู้ก่อนการนเิ ทศ (Informing : I) การนิเทศแบบโคช้ (Coaching : C) การประเมนิ ผลการนเิ ทศ (Evaluating : E) แผนภาพท่ี 2.5 กรอบแนวคิดการบริหารจดั การขยะในโรงเรียน โดยใช๎กระบวนการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) กรอบแนวคดิ การนิเทศการบรหิ ารจดั การขยะในโรงเรียนโดยใชก๎ ระบวนการนเิ ทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE) Model) ศกึ ษาสภาพ และความต้องการ ศกึ ษาสภาพปัจจบุ นั /ปัญหาและ (Assessing Needs : A) ความตอ้ งการ กาหนดตัวชี้วดั ความสาเรจ็ (KPI) การวางแผนการนเิ ทศ สร้างส่อื /นวัตกรรม และเคร่อื งมือการนิเทศ (Planning : P) กาหนดกจิ กรรมและปฏทิ ินการนเิ ทศ การให้ความรู้กอ่ นการนเิ ทศ ส่งเสรมิ /พฒั นาความรู้ท่ีเก่ียวขอ้ ง (Informing : I) งานนโยบายสาคัญตา่ งๆ

30 แผนภาพที่ 2.5 กรอบแนวคดิ การบริหารจดั การขยะในโรงเรียน โดยใช๎กระบวนการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) (ตํอ) กรอบแนวคดิ การนิเทศการบริหารจัดการขยะในโรงเรียนโดยใชก๎ ระบวนการนเิ ทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE) Model) การนเิ ทศแบบโค้ช ปฏบิ ัติการนเิ ทศ Coaching เพอื่ กระต้นุ ให้ (Coaching : C) ผู้บรหิ ารสถานศึกษา ครผู สู้ อน และบคุ ลากรท่ีเกยี่ วขอ้ ง วเิ คราะหป์ ญั หา/เลือกแนว/ กาหนดแนวทางการแก้ปัญหา/ วางแผน/ ดาเนินการแก้ปัญหา/ วิเคราะห์ และสรุปผล/ แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ /ชืน่ ชม รวบรวม วเิ คราะห์ และสังเคราะหผ์ ลการนเิ ทศ ตรวจสอบ ไม่มคี ณุ ภาพ ปรบั ปรุง/ และประเมนิ ผลการนิเทศ มีคณุ ภาพ พฒั นา สรปุ และจดั ทารายงานผลการนิเทศ การประเมนิ ผลการนเิ ทศ นาเสนอและเผยแพรผ่ ลการนเิ ทศ (Evaluating : E) (จัดนิทรรศการแลกเปลีย่ นเรียนรู้/ยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รติ/Website ฯลฯ) 2.3.4 การส่งเสริมการบริหารจัดการขยะในโรงเรียนโดยใช้รูปแบบการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) ของสานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 การสํงเสริมการบริหารจัดการขยะในโรงเรียนโดยใช๎รูปแบบการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 มีความสาคัญตํอการพัฒนา ปรับปรุงและเพิ่ม ประสิทธิภาพ ในการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เพ่ือให๎ผ๎ูบริหารสถานศึกษา ครูผู๎สอน และบุคลากร ทางการศึกษามีความร๎ู ความเข๎าใจการบริหารจัดการขยะในโรงเรียนปลอดขยะ บูรณาการทุกกลํุมสาระ สามารถจดั การเรียนรูไ๎ ดอ๎ ยาํ งมปี ระสิทธิภาพ รวมทั้งการบริหารจัดการขยะ ในโรงเรียนปลอดขยะ และ ปัญหาอ่ืนๆ ที่สํงผลตํอคุณภาพการศึกษา โดยใช๎รูปแบบการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) เป็นการ นิเทศอยาํ งเป็นระบบประกอบด๎วยคํูมือการนเิ ทศบรหิ ารจัดการขยะในโรงเรียนปลอดขยะมี 5 ขัน้ ตอนดงั นี้ ข้ันตอนที่ 1 ศึกษาสภาพ และความต้องการ(Assessing Needs : A)ศึกษาสภาพ ปัจจุบัน/ปัญหา และความต๎องการของศึกษานิเทศก๑ ผู๎บริหารสถานศึกษา ครูผ๎ูสอน และบุคลากร

31 ที่เกี่ยวข๎องเก่ียวกับประเด็นสาคัญตําง ๆ ของงานตามแนวนโยบายแหํงรัฐกระทรวงศึกษาธิการ และ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ข้ันตอนที่ 2 การวางแผนการนิเทศ (Planning : P) ดาเนินการวางแผนการนิเทศ ติดตามรํวมกนั ระหวํางศึกษานเิ ทศก๑ ผบ๎ู รหิ ารสถานศกึ ษา ครูผ๎ูสอน และบคุ ลากรทเ่ี กย่ี วขอ๎ ง ดงั น้ี 2.1 กาหนดตัวชว้ี ดั (KPI) 2.2 จัดทาสื่อและเคร่ืองมือการนเิ ทศ ตดิ ตาม 2.3 จดั ทาปฏทิ ินการนเิ ทศ ตดิ ตาม ขั้นตอนที่ 3 การให้ความรู้ก่อนการนิเทศ (Informing : I) ประชุมเชิงปฏิบัติการให๎ ความรู๎เก่ียวกับประเด็นสาคัญตําง ๆ ของงานนโยบายแหํงรัฐกระทรวงศึกษาธิการ และสานักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน ข้ันตอนท่ี 4 การนิเทศแบบโค้ช (Coaching : C) ดาเนินการนิเทศแบบโค๎ช ศึกษานเิ ทศก๑ ได๎ดาเนินการรวํ มกบั ทมี บรหิ าร คณะอนุกรรมการ ก.ต.ป.น. ผู๎บริหารสถานศึกษา และ ครวู ชิ าการ เพื่อกระต๎ุนให๎ผบ๎ู ริหารสถานศกึ ษา ครูผู๎สอน และบุคลากรทเี่ กย่ี วข๎อง ดาเนนิ การดงั นี้ 4.1 วเิ คราะหป๑ ญั หา 4.2 เลือกแนวทางในการแก๎ปัญหา 4.3 กาหนดเปูาหมายความสาเร็จ 4.4 วางแผนการแกป๎ ัญหา 4.5 ดาเนินการแกป๎ ัญหาตามแผนที่วางไว๎ ในแตลํ ะกจิ กรรมทไี่ ดก๎ าหนดไว๎ 4.6 วิเคราะห๑ และสรปุ ผลการดาเนินงาน 4.7 แลกเปลย่ี นเรียนร๎ู ช่ืนชมความสาเร็จ และขอ๎ เสนอแนะในการดาเนินงาน ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการนิเทศ (Evaluating : E) การประเมินผลการนิเทศ ดาเนนิ การ ดงั นี้ 5.1 รวบรวม วิเคราะห๑ สงั เคราะห๑ผลการนิเทศ 5.2 ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการนิเทศ 5.3 สรปุ และจัดทารายงานผลการนิเทศ ตดิ ตาม 5.4 จัดกจิ กรรมแลกเปล่ียนรู๎ และชนื่ ชมความสาเรจ็ 5.5 ยกยํองเชิดชูเกียรติแกํสถานศึกษา ผ๎ูบริหารสถานศึกษา ครูผู๎สอน และบุคลากรที่ เก่ียวข๎องท่ีมกี ารปฏบิ ตั งิ านทีด่ ี 5.6 เผยแพรํผลงานการปฏิบัติงานท่ีดี สูํสาธารณชนผําน Website ระบบ ICT และ สารสนเทศของสานักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1

32 2.4 แนวคิดและทฤษฎที ี่เก่ยี วข้องกบั กบั ความพงึ พอใจ 2.4.1 ความหมายของความพึงพอใจ ความพึงพอใจเป็นกระบวนการท่ีเกิดข้ึนจากการรับรู๎ทางบวกและการประเมินคุณภาพของ การบริการอันเป็นสิ่งท่ีผ๎ูรับบริการคาดหวังไว๎วําจะได๎รับจากการให๎บริการ จากการศึกษาค๎นคว๎างาน เอกสารและแนวคิดทฤษฎที ีเ่ กย่ี วขอ๎ งกบั ความพงึ พอใจ ไดม๎ ีผใู๎ หค๎ วามหมายของความพงึ พอใจไว๎ดังนี้ สมบูรณ๑ ชิตพงศ๑ (2554 : 52) ได๎กลําววําความพึงพอใจ หมายถึง ความร๎ูสึกของบุคคล ที่มตี อํ งานทีป่ ฏิบัติในทางบวก คือ ร๎ูสึกชอบ พอใจ หรือเจตคติตํองาน เกิดจากการได๎รับการตอบสนอง ความต๎องการทั้งทางด๎านวัตถุและด๎านจิตใจ เป็นความรู๎สึกท่ีมีความสุขหลังจากที่ได๎รับความสาเร็จ ตามความตอ๎ งการหรอื แรงจูงใจ สุรางค๑ โค๎วตระกูล (2553 : 82 - 83) ได๎กลําวถึงความพึงพอใจไว๎วํา เป็นความรู๎สึกชอบ หรอื พึงพอใจท่ีมีตํอองค๑ประกอบและสิ่งจูงใจในด๎านตําง ๆ เม่ือได๎รับการตอบสนอง ซ่ึงเป็นความร๎ูสึก ข้ันสุดทา๎ ยท่ไี ดร๎ ับผลสาเรจ็ ตามวัตถุประสงค๑ ลว๎ น สายยศ และอังคณา สายยศ (2553 : 95) ไดส๎ รุปความหมายของความพึงพอใจวําเป็น ความรู๎สึกพึงพอใจในการรํวมกิจกรรม ขั้นตอบสนองตอนแรก ๆ เป็นเพียงยินยอมและเต็มใจทาแตํอาจจะ ไมํพึงพอใจก็ได๎ ซ่ึงความร๎ูสึกในขั้นน้ีจึงลึกลงไปอีกเป็นการยินยอมแบบเต็มใจและพึงพอใจจนเกิด ความสนุกสนาน เชํน สนุกกับบทละคร วิทยุ โทรทัศน๑ สนุกกับการสนทนาเร่ืองใดเรื่องหนึ่ง สนุกกับ การเลํนเกมตัวเลข การแสดงความสนุกสนานพอใจนั้น บางคนอาจจะแสดงออกมาให๎เห็นได๎อยําง เปดิ เผยก็ได๎ การประเมนิ ดา๎ นความพงึ พอใจ จงึ ต๎องระวงั ในการสอบวดั ไวใ๎ หด๎ ี บุญเรยี ง ขจรศลิ ป์ (2554 : 70) ไดก๎ ลําวถงึ เรือ่ งเกย่ี วกบั การวดั ความพึงพอใจโดยสรุป ไว๎วํา การวัดความพงึ พอใจ เป็นการวดั ดา๎ นทศั นคติ หรือเจตคติทีเ่ ป็นนามธรรมเปน็ การแสดงออก ที่คํอนข๎างซับซ๎อน ยากที่จะวัดได๎โดยตรง ดังน้ันการวัดความพึงพอใจจึงใช๎การวัดโดยอ๎อมด๎วยการวัดความคิดเห็นของ บุคคลเหลํานั้นแทน แตํการวัดความพึงพอใจจะมีขอบเขตจากัด คือ การวัดจะเกิดความคลาดเคล่ือน ได๎ตลอดเวลาที่วัด ถ๎าบุคคลนั้น ๆ แสดงความคิดเห็นไมํตรงกับความร๎ูสึกที่แท๎จริงซ่ึงความคลาดเคลื่อน ดงั กลาํ วยอํ มเกิดขนึ้ ไดเ๎ ป็นธรรมดาของการวัดทวั่ ๆ ไป ราชบัณฑติ ยสถาน (2556 : 775) ไดใ๎ หค๎ วามหมายของความพึงพอใจวํา หมายถึง พอใจ ชอบใจ ทิศนา แขมมณี (2558 : 59) กลําวไว๎วํา ความพึงพอใจเป็นการแสดงออกทางพฤติกรรม ที่เป็นนามธรรม ไมสํ ามารถมองเหน็ เป็นรูปรํางได๎ การท่ีเราจะทราบวําบุคคลใดมีความพึงพอใจหรือไมํ สามารถสังเกตโดยการแสดงออกทค่ี ํอนข๎างสลบั ซบั ซ๎อนและต๎องมีส่ิงเร๎า จากความหมายของความพึงพอใจดังท่ีกลําวมาแล๎วสรุปได๎วํา ความพึงพอใจ หมายถึง ความร๎ูสึกนึกคิดของบุคคลตํอสิ่งเร๎าที่มากระทบ ทาให๎เกิดการสัมผัสในการรับร๎ู มีผลทางด๎านบวกคือ ทาให๎เกิดความสุข ความพอใจ และผลทางดา๎ นลบทาให๎เกดิ ความทุกข๑และความไมํพอใจ 2.4.2 การสรา้ งเคร่อื งมือและวิธกี ารวัดความพึงพอใจ แบบวัดความพึงพอใจเป็นเครื่องมือชนิดหนึ่งที่สร๎างข้ึนเพ่ือใช๎ในการวัดความคิดเห็น หรือวัดความจริงท่ีเราไมํทราบ อันจะทาให๎ได๎มาซ่ึงข๎อเท็จจริงทั้งในอดีต ปัจจุบัน และการคาดคะเน เหตุการณ๑ในอนาคตสวํ นใหญจํ ะอยํใู นรปู ของขอ๎ คาถามเป็นชุด ๆ เพื่อวัดสิ่งท่ีต๎องการวัด โดยมีคาถาม

33 เป็นตวั กระตุน๎ และเรงํ เรา๎ ใหบ๎ คุ คลตอบออกมา นับวําเป็นเคร่ืองมือที่นิยมใช๎สาหรับการวัดด๎านจิตพิสัย (Affective Domain) ในการสร๎างเครื่องมือวัดความพึงพอใจต๎องสร๎างเคร่ืองมือให๎มีความเที่ยงตรง และมีคําความเชื่อม่ัน ซึ่งเป็นคุณลักษณะสาคัญและจาเป็นอยํางยิ่งของเคร่ืองมือวิจัย ได๎มีผ๎ูที่กลําวถึง ขน้ั ตอนการสรา๎ งตามคุณลกั ษณะของแบบวัดความพงึ พอใจ ดงั น้ี 2.4.2.1 แบบสอบถามความพึงพอใจท่ีจะนามาวิเคราะห๑เพื่อสรุปผลการวิจัย จะต๎องเป็น แบบสอบถามที่มีความสมบูรณ๑ มีความเช่ือถือได๎ ต๎องมีขั้นตอนในการสร๎างดังน้ี (สุรางค๑ โค๎วตระกูล, 2553 : 91 - 92) 1) วิเคราะห๑ลักษณะของข๎อมูลที่ต๎องการ โดยวิเคราะห๑จากจุดประสงค๑ในการวิจัย กาหนดโครงสร๎างเนอื้ หาของแบบสอบถาม 2) ศกึ ษาวิธสี รา๎ งแบบสอบถาม แล๎วนามากาหนดรปู แบบของคาถาม 3) เขียนแบบสอบถามฉบับรําง ตามโครงสร๎างเนื้อหาของแบบสอบถามในข้ันท่ี 1) และตามหลกั ในการสรา๎ งและรูปแบบที่กาหนดไว๎ในข้นั ที่ 2) 4) นาแบบสอบถามไปให๎ผ๎ูเชี่ยวชาญในด๎านที่จะศึกษาและด๎านวัดผลพิจารณา ความถูกต๎อง ความเทยี่ งตรงของข๎อคาถามแตลํ ะข๎อ นามาพจิ ารณาแก๎ไขให๎เหมาะสม 5) นาแบบสอบถามไปทดลองใช๎กับผู๎ท่ีมีลักษณะคล๎ายกลุํมตัวอยํางเพ่ือพิจารณา ข๎อคาถามตํางๆ อาจพจิ ารณาเกีย่ วกบั เวลาในการตอบดว๎ ย แล๎วนาขอ๎ มูลเหลาํ นนั้ มาพิจารณาปรับปรุง แบบสอบถาม 6) พิมพ๑แบบสอบถามฉบับจริง ซ่ึงหลังจากปรับปรุงในขั้นท่ี 5) แล๎วในการพิมพ๑ ฉบับจริงจะต๎องคานึงถึงความชัดเจนในการอธิบายจุดประสงค๑และวิธีตอบและพิจารณาความถูกต๎อง ในเน้อื หาสาระและการพมิ พ๑ จดั รูปแบบการพมิ พใ๑ หส๎ วยงาม ความเชอ่ื ถือได๎ของแบบสอบถาม 2.4.2.2 สร๎างตามขั้นตอนการวิจัยทางสังคมศาสตร๑ ซ่ึงสังคมศาสตร๑เป็นศาสตร๑ท่ีวําด๎วย พฤตกิ รรมทางสงั คมของมนุษย๑ หรือปรากฏการณ๑ หรือปฏิกิริยา ตลอดจนความรู๎สึกนึกคิดของมนุษย๑ และสังคม ซึ่งเกิดขึ้นอยํูตลอดเวลาการประเมินความพึงพอใจโดยใช๎แบบสอบถามเป็นการประเมิน เพื่อเข๎าใจพฤติกรรมและความรู๎สึกนึกคิดของบุคคลที่มีผลท้ังทางบวกทาให๎เกิดความสุข ความพอใจ และผลทางลบท่ีจะทาให๎เกิดความทุกข๑และความไมํพอใจโดยพวงรัตน๑ ทวีรัตน๑(2550 : 66) ได๎กลําวถึง ขัน้ ตอนในการสรา๎ งดังนี้ 1) กาหนดจุดมุํงหมายของแบบวัด โดยผ๎ูสร๎างจะต๎องระบุจุดมํุงหมายของแบบวัด ให๎ชัดเจน ระบใุ ห๎ไดว๎ าํ แบบวดั จะถูกนาไปใช๎ในเร่ืองอะไร 2) กาหนดประเด็นหลัก หรือพฤติกรรมหลักท่ีจะวัดให๎ครบถ๎วนครอบคลุมวําจะมี ประเดน็ อะไรบา๎ ง หรอื อาจเรยี กวําเป็นการกาหนดกรอบแนวคิดหรอื โครงสรา๎ งของแบบวัด 3) กาหนดชนิด หรือรูปแบบของแบบวัดโดยต๎องเลือกให๎เหมาะสมกับเรื่องท่ีจะวัด และลกั ษณะของกลมุํ เปูาหมายทจี่ ะใชส๎ อบถาม 4) กาหนดจานวนข๎อคาถาม โดยอาจกาหนดในเบื้องต๎นวําต๎องการจะให๎แบบวัด มีความยาวมากนอ๎ ยเพยี งใด และคลมุ ประเด็นหลกั ประเดน็ ยํอยอยาํ งไรบ๎าง

34 5) สร๎างข๎อคาถามตามจุดมํุงหมาย ชนิดหรือรูปแบบ จานวนข๎อในประเด็นตํางๆ ทกี่ าหนดไว๎ตามโครงสร๎างของแบบวดั 6) ตรวจทานเพ่ือแก๎ไขปรับปรุง แบํงออกเป็น 2 ตอน คือ ตอนแรกตรวจทานโดย ผู๎สรา๎ งแบบวดั เอง ตอนท่ีสองตรวจสอบ พิจารณาใหค๎ าแนะนาและวิจารณโ๑ ดยผ๎เู ชย่ี วชาญ 7) นาแบบวัดไปทดลอง การนาไปทดลองใช๎ (Try out) ควรนาไปทดลองกับกลุํมที่ มลี กั ษณะเหมือน หรอื ใกลเ๎ คียงกบั กลมํุ ทจี่ ะไปเก็บรวบรวมข๎อมลู จรงิ 8) วิเคราะห๑แบบวัด โดยการนาผลจากการไปทดลองมาวิเคราะห๑เพื่อหาคุณภาพ และปรบั ปรงุ ขอ๎ คาถามในสวํ นทีย่ งั มีขอ๎ บกพรํองตาํ ง ๆ 9) จดั พิมพแ๑ บบสอบถาม เพือ่ เตรยี มนาไปใชจ๎ ริงตอํ ไป 2.4.2.3 การสร๎างแบบวัดความพึงพอใจผู๎สร๎างจะต๎องสร๎างเคร่ืองมือให๎มีความเที่ยงตรง และมีคาํ ของความเชือ่ มัน่ ซ่งึ เปน็ คณุ ลักษณะท่สี าคัญและจาเป็นอยาํ งยง่ิ ของเครื่องมือวิจัยท่ีมีคุณภาพ โดยบุญเรยี ง ขจรศลิ ป์ (2554 : 81) ได๎กลําวถึงขัน้ ตอนการสร๎างแบบวดั ตามคณุ ลักษณะทด่ี ีของ ดังน้ี 1) กาหนดวัตถปุ ระสงค๑ของการสรา๎ งแบบสอบถาม 2) ระบเุ น้อื หาหรอื ประเดน็ หลกั ท่จี ะถามให๎ครอบคลุมวัตถปุ ระสงค๑ท่ีจะประเมิน 3) กาหนดประเภทของคาถามโดยอาจจะเป็นคาถามปลายเปิดหรอื ปลายปิด 4) รํางแบบสอบถาม โครงสร๎างแบบสอบถามอาจแบํงเปน็ 3 ตอน คอื 4.1) ตอนท่ี 1 ข๎อมูลเบอ้ื งตน๎ /ขอ๎ มลู ทวั่ ไป 4.2) ตอนที่ 2 ข๎อมลู หลกั เกี่ยวกับเร่อื งท่จี ะถาม 4.3) ตอนที่ 3 ขอ๎ เสนอแนะ 5) ตรวจสอบขอ๎ คาถามวําครอบคลมุ เรอ่ื งทจ่ี ะวดั ตามวัตถุประสงค๑หรือไมํ 6) ให๎ผูเ๎ ช่ียวชาญตรวจสอบความเท่ียงตรงเนอ้ื หาและภาษาที่ใช๎ 7) ทดลองใชแ๎ บบสอบถามเพอ่ื ดคู วามเป็นปรนัย ความเช่ือมน่ั และเพ่อื ประมาณเวลาที่ใช๎ 8) ปรับปรงุ แก๎ไข 9) จัดพิมพ๑และทาคมูํ อื 2.4.2.4 การสร๎างแบบวัดความพึงพอใจจาเป็นต๎องใช๎เคร่ืองมือท่ีมีคุณภาพ เพ่ือให๎ได๎ ข๎อมูลสาหรับใช๎ในการวิเคราะห๑และสรุปผลท่ีดี ซึ่งทิศนา แขมมณี (2558 : 69) ได๎กลําวถึงการสร๎าง เครื่องมือและการตรวจสอบคุณภาพเคร่อื งมือ โดยมีขน้ั ตอน ดงั น้ี 1) ขั้นท่ี 1 กาหนดเนื้อหาที่ใช๎วัดความพึงพอใจที่ต๎องการวัด โดยการเขียนนิยาม ซง่ึ สามารถกระทาดังน้ี 1.1) การศกึ ษาเอกสารทเ่ี ก่ยี วขอ๎ ง และกาหนดนิยาม 1.2) สัมภาษณ๑บคุ คลท่เี กย่ี วข๎อง อยํางนอ๎ ย 5 คน 2) ขั้นที่ 2 เลือกประเดน็ ทวี่ ดั ความพอใจ และกาหนดวธิ กี ารวดั 2.1) ประเด็นการวัดความพอใจโดยให๎เลือกมาจากกรอบเนื้อหาที่กาหนดไว๎ใน ข้นั ที่ 1

35 2.2) วิธีวัดความพอใจ โดยท่ัว ๆ ไปนิยมใช๎วิธีการจัดอันดับคุณภาพ 5 ระดับ และประเด็นในการวัดความพอใจเป็นทางบวก คือ พอใจอยํางย่ิง พอใจมาก พอใจสมควร พอใจน๎อย หรือคํอนขา๎ งไมํพอใจ พอใจน๎อยเป็นอยํางยิ่ง หรือไมํพอใจคํอนข๎างมาก ถ๎าความพอใจทางลบคะแนน ระดับความพอใจจะเปน็ ตรงข๎ามกบั ท่ีกาหนดไว๎ 3) ข้ันที่ 3 จดั ทาความพอใจฉบบั ราํ ง 4) ข้ันท่ี 4 การทดลองกับกลํุมยํอยประมาณ 3 - 5 คน เพื่อตรวจสอบความตรง เชงิ โครงสรา๎ งระหวํางข๎อคาถามในแตํละพฤติกรรมที่ต๎องการวัด 5) ข้ันที่ 5 ให๎ผู๎เช่ียวชาญประมาณ 3-5 ทําน เพื่อตรวจสอบความตรงเฉพาะหน๎า และความตรงเชิงเนอ้ื หา 6) ข้นั ท่ี 6 ทดลองภาคสนาม เพือ่ วิเคราะหป๑ รบั ปรงุ คุณภาพแบบวดั ความพอใจ 7) ขั้นท่ี 7 การนาไปใชจ๎ ริง 2.4.2.5 แบบสอบถาม (Questionnaire) เป็นชุดของคาถามท่ีผ๎ูวิจัยกาหนดข้ึนเพื่อใช๎วัด คุณลักษณะ เจตคติหรือความคิดเห็นของบุคคล โดยใช๎ข๎อคาถามเป็นตัวกระต๎ุนหรือส่ิงเร๎าให๎ผ๎ูให๎ข๎อมูล ได๎แสดงการตอบสนองตามความร๎ูสึกของตนเอง ซึ่งในการสร๎างแบบสอบถามท่ีมีคุณภาพ มีหลักการ ท่ีควรพิจารณาดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด, 2556 : 72 - 78) 1) กาหนดทิศทางของเจตคติ (Direction) มี 2 ทิศทาง คือ 1.1) เจตคติเชิงนิมาน หรอื เจตคตดิ า๎ นบวก (Positive) เปน็ ความโน๎มเอียง ของ อารมณ๑ในทางชอบ ถึงพอใจ คล๎อยตามหรือเห็นด๎วยทาให๎บุคคลอยากแสดงออกหรือปฏิบัติหน๎าท่ี ในทางทด่ี ีตํอสิง่ นัน้ ๆ 1.2) เจตคติเชิงนิเสธ หรือ เจตคติทางด๎านลบ (Negative) เป็นความโน๎มเอียง ทางด๎านอารมณใ๑ นลกั ษณะไมํพึงพอใจ เกลยี ดหรอื ตํอตา๎ น ไมเํ ห็นดว๎ ย ทาใหบ๎ ุคคลเกิดความเบ่ือหนําย และหนีให๎หาํ งจากวตั ถนุ น้ั หรือสภาพนน้ั ๆ 2) กาหนดระดบั ของเจตคติ (Magnitude) หมายถึง การท่ีบุคคลแสดงความร๎ูสึก ตํอสิ่งใดส่ิงหน่ึงนั้นอาจมีความรู๎สึกเพียงผิวเผิน หรือเล็กน๎อย หรือลํุมลึก เจตคติระดับผิวเผินจะไมํมี ความคงท่เี ปล่ยี นแปลงงําย สํวนเจตคตริ ะดบั กลํุมลํมุ ลึกจะคงทนถาวรและเปลีย่ นแปลงยาก 3) กาหนดความเขม๎ ของเจตคติ (Intensity) หมายถึง ปริมาณของความร๎ูสึกหรือ มีความคิดเห็น ท่ีมีตํอสิ่งหน่ึงสิ่งใด ซ่ึงจะปรากฏในรูปของความรู๎สึกตํอสิ่งน้ันมากน๎อยเพียงใด ในการ วัดเจตคตินนั้ ไดม๎ นี ักจติ วิทยาสรา๎ งมาตรวดั ไว๎หลายรปู แบบ ทน่ี ิยมแพรํหลาย ดังน้ี 3.1) มาตรวดั เจตคตติ ามวธิ ขี องลิเคทิ (Likert Scale) 3.2) มาตรวัดเจตคติตามวธิ ีของเทอสโตน (Thustone Scale) 3.3) มาตรวัดเจตคติตามวธิ ีของออสกูด (Osgood’s Scale) 3.4) มาตรวดั เจตคตติ ามวธิ ขี องกตั ตแ๑ มน (Guttman Scale) 4) กาหนดประเภทของคาถามโดยอาจจะเปน็ คาถามปลายเปดิ หรือปลายปิด 5) ราํ งแบบสอบถาม โครงสรา๎ งแบบสอบถามอาจแบงํ เปน็ 3 ตอน คือ 5.1) ตอนท่ี 1 ข๎อมลู เบอื้ งต๎น/ข๎อมูลทั่วไป

36 5.2) ตอนที่ 2 ข๎อมูลหลักเก่ียวกับเรื่องทจี่ ะถาม 5.3) ตอนท่ี 3 ข๎อเสนอแนะ 6) สรา๎ งข๎อคาถามที่มีความเที่ยงตรง ครอบคลุม และสาคัญตํอประเด็นที่ต๎องการ เทําน้ัน ไมคํ วรกาหนดข๎อคาถามท่ีมีจานวนมากแตไํ มํมีประโยชน๑ในการตอบคาถามการวิจัยซ่ึงจะทาให๎ ผ๎ใู ห๎ข๎อมูลเกิดความเบอ่ื หนาํ ยในการใหข๎ อ๎ มลู 7) ตรวจสอบคุณภาพ เพื่อตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเน้ือหาเป็นการให๎คะแนน ความสอดคลอ๎ งหรือความเหมาะสมของข๎อคาถาม โดยผู๎เชี่ยวชาญจานวน 3 - 5 คน และจะต๎องนาไป ทดสอบใชก๎ บั ผ๎ทู ีเ่ กย่ี วข๎องหรอื กลํมุ ตัวอยําง เพอื่ หาคาํ ดัชนที บี่ งํ ชี้คุณภาพของแบบสอบถาม 8) นาแบบสอบถามมาหาคําความเชื่อม่ัน โดยวิธีการตรวจสอบความสอดคล๎อง ภายใน (Internal Consistency Method) เปน็ วธิ ีการคานวณความแปรปรวนของคะแนนแตํละสํวน และความแปรปรวนของคะแนนรวม 9) จดั พิมพ๑แบบสอบถามฉบบั สมบรู ณ๑เพื่อนาไปใช๎จริง ในการสร๎างแบบวัดความพึงพอใจที่มีตํอการบริหารจัดการขยะในโรงเรียน โดยใช๎รูปแบบ การนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) โรงเรียนปลอดขยะ โดยการใช๎มาตราสํวนประมาณคํา (Rating Scale) 5 ระดับแบบลิเคิร๑ท (Likert Scales) (บุญชม ศรีสะอาด, 2556 : 72 - 78) โดยมีเกณฑ๑ระดับความพึง พอใจ ดงั นี้ คําเฉลยี่ ระดบั ความพึงพอใจ 4.51-5.00 พึงพอใจในระดับมากที่สุด 3.51-4.50 พึงพอใจในระดบั มาก 2.51-3.50 พึงพอใจในระดบั ปานกลาง 1.51-2.50 พึงพอใจในระดบั น๎อย 1.00-1.50 พงึ พอใจในระดับนอ๎ ยทสี่ ดุ 2.5 งานวจิ ัยทเ่ี ก่ยี วข้อง 2.5.1 งานวิจยั ในประเทศ จากการศึกษางานวิจัยในประเทศเก่ียวกับพฤตกิ รรมการจัดการขยะมลู ฝอย สรุปได๎ดังนี้ เบ็ญจม๑ คาเมอื ง (2558) ได๎ทาการศึกษาเรื่อง การบริหารงานท่ัวไปในสถานศึกษา ขัน้ พ้ืนฐาน สังกดั สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลพบรุ ี เขต 2 ผลการศกึ ษา พบวํา 1) การดาเนินงาน การบริหารงานทวั่ ไปของสถานศึกษาขนั้ พ้ืนฐานสงั กดั สานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต 2 พบวํา การดาเนินการในระดับมากเมื่อพิจารณาเป็นรายด๎าน พบวํา ด๎าน ที่มีการปฏิบัติสูงสุด คือ ด๎านการประชาสัมพันธ๑การศึกษา ด๎านท่ีมีการปฏิบัติต่าสุด คือ ด๎านการจัดระบบการควบคุมภายใน หนํวยงาน 2) ผลการเปรียบเทียบการบริหารงานท่ัวไปในสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สังกัดสานักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต 2 จาแนกตามเพศ โดยภาพรวม และรายด๎านมีการปฏิบัติ ไมํแตกตํางกัน 3) ผลการเปรยี บเทียบความคิดเห็นของบคุ ลากรเกี่ยวกับการบริหารงานทั่วไปในสถานศึกษา ขน้ั พนื้ ฐาน สังกดั สานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาลพบุรี เขต 2 จาแนกตามขนาดของสถานศึกษา

37 โดยภาพรวมมีการปฏิบัติไมํแตกตํางกัน เม่ือพิจารณารายด๎าน พบวํา ด๎านงานเทคโนโลยีและระบบ เครือขํายสารสนเทศและด๎านการสํงเสริมงานกิจการนักเรียนปฏิบัติแตกตํางกันอยํางมีนัยสาคัญทาง สถติ ทิ ี่ระดับ .05 สมัคร๑ ร๎ูรักดี (2554) ได๎ทาการศึกษาเรื่อง รูปแบบการบริหารโดยใช๎โรงเรียนเป็นฐาน สาหรบั โรงเรยี นประถมศึกษาขนาดเลก็ สงั กัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาตราด ผลการศึกษา พบวํา รูปแบบ การบริหารทเี่ หมาะสม คือ รปู แบบการจดั การเรยี นรแู๎ บบบูรณาการ อานาจ หน๎าท่ีของคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ได๎แกํ ให๎ความเห็น ข๎อเสนอแนะ ให๎ความเห็นชอบ ประเมินผล ตรวจสอบ ติดตามผลการบริหารกลุํมงาน ประชาสัมพันธ๑ จัดหา สนับสนุน สร๎างภาคีเครือขําย สนับสนุนปัจจัย ทางการศึกษา องค๑คณะในการบริหารกลํุมงาน ประกอบด๎วย ผ๎ูอานวยการสถานศึกษาเป็นประธาน ผแ๎ู ทนชมุ ชน ผ๎แู ทนครู ท่ปี รกึ ษา ผ๎ูเชี่ยวชาญ นกั วิชาการ ผแู๎ ทนองค๑การปกครองสํวนท๎องถิ่น ตัวแทน นักเรียน ผ๎ูแทนศิษย๑เกํา ผ๎ูแทนผู๎ปกครอง แนวทางในการดาเนินงานกลุํมงานวิชาการ ประกอบด๎วย จัดทาหลักสูตรและแผนการจัดการเรียนร๎ูแบบบูรณาการ พัฒนาครูแหลํงเรียนรู๎ใช๎รูปแบบการประเมินผล การเรียนร๎ูทหี่ ลากหลาย กาหนดมาตรฐานการเรียนร๎ูตามความเหมาะสม พัฒนาปรับปรุงการประกัน คุณภาพภายในอยํางตํอเน่ือง กลํุมงานทรัพยากรบุคคล ประกอบด๎วย การสรรหาบุคลากรตามกรอบ อัตรากาลัง ขอการสนับสนุนบุคลากรจากชุมชน ประเมินผลการปฏิบัติงาน พิจารณาความดี ความชอบ ด๎วยความยุติธรรม สนับสนุนปัจจัยในการปฏิบัติงาน กลํุมงานงบประมาณ ประกอบด๎วย จัดทา งบประมาณแบบมํุงเน๎นผลงาน ระดมทรัพยากรจากชุมชน ต้ังคณะกรรมการควบคุมการใช๎งบประมาณ รายงานผลการใช๎งบประมาณ กลุํมงานบริหารท่ัวไป ประกอบด๎วย กาหนดนโยบายตามบริบทของ สถานศึกษา จัดทาแผนยุทธศาสตร๑ สร๎างภาคีเครือขํายพัฒนาการศึกษา จัดจ๎างครูธุรการ จัดระบบ บริการแบบเบด็ เสร็จในจุดเดียว กชธนณัฐ คาอินทร๑ (2561) ได๎ทาการศึกษาเรื่อง การบริหารโดยใช๎โรงเรียนเป็นฐาน ในโรงเรยี นประถมศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาชัยนาท ผลการศึกษา พบวํา 1) การบริหารโดยใช๎โรงเรียนเป็นฐานในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศึกษาชัยนาท โดยภาพรวม คําเฉล่ีย 3.69 อยูํในระดับมาก ด๎านที่มีคําเฉลี่ยสูงสุด คือ ด๎านหลักการ บริหารตนเอง รองลงมา คือ ด๎านหลักการกระจายอานาจ และรองลงมา คือด๎านหลักการตรวจสอบ และถวํ งดุล 2) การบรหิ ารโดยใช๎โรงเรียนเป็นฐาน ในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศึกษาชัยนาท ด๎านที่มีคําเฉลี่ยต่าสุด คือ ด๎านหลักการมีสํวนรํวม ข๎อท่ีมีคําเฉล่ีย ต่าสดุ คอื คณะกรรมการสถานศึกษามีสํวนรํวมในการบริหารจัดการศึกษาของสถานศึกษา รองลงมา คอื ด๎านหลกั การคืนอานาจการจัดการศึกษาให๎แกํประชาชน ข๎อที่มีคําเฉลี่ยต่าสุด คือ คณะกรรมการ สถานศกึ ษา กากับและติดตามการดาเนินงานตามแผนของสถานศึกษา 3) การบริหารโดยใช๎โรงเรียน เป็นฐานในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาชัยนาท ตามความ คิดเห็นของผู๎บริหารสถานศึกษา จาแนกตามขนาดของสถานศึกษา โดยภาพรวมและรายด๎าน พบวํา มีการปฏิบตั แิ ตกตํางกันอยาํ งมนี ัยสาคัญทางสถติ ทิ ีร่ ะดับ .01 โดยทส่ี ถานศึกษาขนาดใหญํมีการปฏิบัติ มากกวาํ สถานศกึ ษาขนาดกลางและสถานศกึ ษาขนาดเล็กตามลาดบั น๎องนชุ เก๎าลมิ้ (2550) ไดศ๎ กึ ษากระบวนการเรียนรู๎ และปัจจัยท่สี นบั สนนุ กระบวนการ

38 จัดการขยะของโรงเรียนบ๎านกโิ ลสาม ตาบลทาํ แยก อาเภอเมืองสระแก๎วจังหวดั สระแก๎ว พบวํากระบวนการ เรียนร๎ูการจัดการขยะ แบํงออกเป็น 5 ขั้นตอน คือ การรับรู๎และตระหนักในปัญหา การคิดวิเคราะห๑ ปญั หา การกาหนดแนวทางแกป๎ ญั หา การดาเนินการแกไ๎ ขปญั หาและการประเมินผล การแก๎ไขปัญหา สาหรบั ลกั ษณะการเรยี นรกู๎ ารจัดการขยะของนักเรียนโรงเรียนบ๎านกิโลสามเป็นการเรียนร๎ูท่ีเกิดข้ึนใน ระบบโรงเรียน และการเรียนร๎ูทีเ่ กิดข้ึนในวถิ ีชีวิต โดยรปู แบบกระบวนการ เรียนร๎ูสอดคล๎องกับทฤษฎี องค๑การเรียนรู๎ของ Peter M. Senge ตามหลักการสาคัญ 5 ประการคือการเป็นนายเหนือตน (Personal Mastery) ภาพจาลองความคิด หรือ กรอบความเช่ือ (Mental Model) การสร๎างวิสัยทัศน๑รํวม (Shared Vision) การเรียนร๎ูรํวมกันเป็นทีม (Term Learning) และ วิธีคิดกระบวนระบบ (Systems Thinking) ปัจจัย ทีส่ นับสนุนกระบวนการเรียนรู๎ในการจัดการขยะ ได๎แกํ รูปแบบการจัดการการเรียนการสอนท่ีเอื้อให๎ เกิดการเรียนรู๎ บทเรียนการเผชิญปัญหารํวมกันในอดีต หลักการทางานแบบมีสํวนรํวมระหวํางโรงเรียน กับชมุ ชน รปู แบบการบริหารงานของโรงเรยี น การไดร๎ บั การสนบั สนนุ จากภาครฐั การมีสํวนสนับสนุน ของบุคลากรในกิจกรรมด๎าน ตํางๆ และ แรงจูงใจที่ได๎รับด๎านการมีสํวนรํวมระหวํางโรงเรียนและชุมชน ในการจัดการขยะในโครงการธนาคารขยะมีความสอดคล๎องกับรูปแบบการมีสํวนรํวมของ Cohen and Uphoff ซ่ึงแบํงการมีสํวนรํวมเป็น 4 ลักษณะ คือ การมีสํวนรํวมตัดสินใจ (Decision Making) การมีสํวนรํวม ปฏิบัติการ (Implementation) การมีสํวนรํวมในผลประโยชน๑ (Benefits) และการมีสํวนรํวมในการ ประเมินผล (Evaluation) และเม่ือผู๎วิจัยทาการศึกษาผลประโยชน๑ที่เกิดจากกระบวนการเรียนร๎ูการ จดั การขยะ ในโครงการธนาคารขยะของโรงเรียนบ๎านกิโลสาม พบวํา ประโยชน๑ที่เกิดขึ้นแบํง ออกเป็น 3 ด๎าน คือ ด๎านนักเรียน ด๎านโรงเรียนและด๎านชุมชนและครอบครัว โดยด๎านนักเรียน กํอให๎เกิดประโยชน๑ ในการสรา๎ งอตั ลักษณะพึงประสงค๑ ทาให๎นักเรียนเกิดกระบวนการเรียนรู๎และ 40 องค๑ความรู๎ด๎านการ จัดการขยะ และทาให๎เกิดเครือขํายการแลกเปล่ียนเรียนร๎ูท้ังภายในและภายนอก โรงเรียน ในด๎าน โรงเรียนกํอให๎เกิดประโยชน๑ในการกํอเกิดนวัตกรรมในการสร๎างกระบวนการ เรียนรู๎และนวัตกรรม ในการแกป๎ ญั หาขยะและมีงบประมาณสาหรบั สนับสนุนการเรียนการสอน ด๎านผลประโยชน๑ตํอชุมชน และครอบครัวกํอให๎เกิดประโยชน๑ในการทาให๎ชุมชนมีสภาพแวดล๎อมที่ดี ทาให๎ชาวบ๎านในชุมชน มีเงินทุนหมุนเวียนที่ได๎จากการฝากเงินออมทรัพย๑ ซ่ึงสํงผลตํอ ความสามารถในการพ่ึงพาตนเองได๎ ข๎อค๎นพบท่ีได๎จากการวิจัย ในกระบวนการเรียนการสอนของครูได๎สร๎างบทเรียนท่ีเน๎นประสบการณ๑ จริง โดยครอู อกแบบกิจกรรมให๎นักเรียนได๎ฝึกปฏิบัติเพ่ือ สร๎างคุณลักษณะที่พึงประสงค๑และกิจกรรม น้นั เป็นกจิ กรรมที่มวี ิธีการมองหาคุณคําจากส่งิ ท่ีเปน็ ปญั หา รวมทั้งการสร๎างวิสัยทัศน๑เร่ืองใดๆ ก็ตาม ท่ีครูต๎องการด๎วยการทดลองให๎นักเรียนเห็นจนประสบผลสาเร็จเป็นรูปธรรม และมีกิจกรรมในเชิงปฏิบัติ อยาํ งตํอเนอื่ งสมา่ เสมอสาหรับ ข๎อเสนอแนะเพื่อนาไปดาเนินการตํอ คือ ควรจัดให๎มีการเรียนรู๎ในรูปแบบเวที แลกเปล่ียนเรียนรู๎ใน การดาเนินงานด๎วยการจัดเป็นพื้นที่สาธารณะสาหรับผ๎ูมีสํวนเกี่ยวข๎องทุกฝุาย เพื่อสร๎าง ประสบการณ๑เรียนร๎ูรํวมกัน รวมทั้งผ๎ูบริหารโรงเรียนควรเป็นผ๎ูนาในการเปล่ียนแปลงในเร่ืองตํางๆ ที่กํอให๎เกิดประโยชน๑กับโรงเรียนและชุมชน นอกจากนี้ครูควรจัดการเรียนการสอนที่เน๎นบทบาท ของนักเรียนโดยการสอนด๎วยการฝึกปฏิบัติจากประสบการณ๑จริง โดยจัดให๎มีการศึกษา ค๎นคว๎า คิด วเิ คราะห๑ ลงมือปฏบิ ตั ิ และสรุปองค๑ความรดู๎ ๎วยตัวนกั เรียนเอง พฒั นศักดิ์ จันทร๑สมุด (2550) ไดศ๎ ึกษาพฤตกิ รรมการมสี ํวนรํวมในการจัดการขยะมลู ฝอย

39 ของนิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม พบวํา นิสิตมีแรงจูงใจสํวนบุคคลในการมีสํวนรํวมในการจัดการ ขยะมูลฝอย และการรบั รู๎ข๎อมูลขําวสารในการจัดการขยะมลู ฝอยอยใู นระดบั ปานกลาง และการมีสํวน รํวมในการจัดการขยะมูลฝอย อยูํในระดับน๎อยท่ีสุด โดยนิสิตท่ีเพศ อายุ ระดับการศึกษาคณะหรือ หนํวยงานตาํ งกนั มพี ฤตกิ รรมการมสี ํวนรวํ มในการจัดการขยะมูลฝอยตาํ งกัน อวยพร มีชยั (2553) ไดศ๎ ึกษาการสร๎างจิตสานกึ ของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอย ของเทศบาลตาบลเวียงสระ อาเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร๑ธานี โดยประเมินผลการสร๎างจิตสานึก จากการเปลี่ยนแปลงการจัดการขยะมูลฝอย การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและวิถีการดาเนินชีวิตประจาวัน ท่ีระดับบุคคลในครัวเรือน การมีสํวนรํวมของประชาชน ซึ่งกระบวนการสร๎าง จิตสานึก สรุปได๎เป็น 4 สํวน คือ 1) การออกแบบระบบการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชน ประกอบด๎วย ระบบโครงสร๎าง ในการจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาล ตั้งแตํการจัดการขยะมูลฝอย การลดปริมาณขยะมูลฝอย การคดั แยกขยะมลู ฝอย ระบบการเก็บขนขยะมูลฝอย การกาจัดขยะมูลฝอย 2)กระบวนการ บทบาท หน๎าที่ของผู๎เก่ียวข๎องกับการจัดการระดับครัวเรือน ระดับหนํวยงาน องค๑กร เชํน ระดับครัวเรือน ใชห๎ ลกั การจัดการขยะมูลฝอยแบบครบวงจร ระดับเทศบาล มีการ วางแผน การจัดองค๑กร การจัดหา บุคลากร การจัดสรรงบประมาณ เน่ืองจากการเตรียมการในเร่ือง ดังกลําวจะทาให๎เกิดความพร๎อมใน การจดั การขยะมลู ฝอย มรี ปู แบบของการจดั การทเ่ี หมาะสม ทาให๎เกิดประสิทธิภาพในการจัดการขยะ มูลฝอย 3) กระบวนการพัฒนาการมีสํวนรํวมของชุมชน (การสร๎างชุมชนต๎นแบบ) ให๎ชุมชนเข๎ามามี สํวนรํวมและรํวมมือในการจัดการขยะมูลฝอย แบํงหน๎าที่และมอบหมายให๎ทาหน๎าท่ีในแตํละฝุาย 4) กระบวนการเปล่ยี นแปลงหรอื ผลลัพธ๑ หรือ ผลกระทบท่ีเกิดข้ึนระดับบุคคล ครัวเรือน ชุมชน และ ระดับองค๑กร หนํวยงาน ทาให๎ครัวเรือนมีรายได๎จากขยะมูลฝอย ลดปริมาณขยะในชุมชน ชุมชนมี ความสะอาด เป็นระเบียบเรียบร๎อย ชุมชน เกิดรักใครํ ความสามัคคีกํอให๎เกิดความรํวมมือและมีสํวน รวํ มในชมุ ชน เทศบาล รวมทงั้ เกดิ ภาพลกั ษณท๑ ดี่ ตี อํ เทศบาล ดาราวรรณ บวั วัฒนา (2550) ได๎ศึกษาการถาํ ยทอด ความรู๎เรื่องการจัดการขยะในกลุํม นักเรียนอาชีวศึกษา โดยถํายทอดองค๑ความร๎ูเร่ืองการจัดการขยะผํานกิจกรรม เชํน กิจกรรมละลาย พฤติกรรม การคัดแยกขยะ การประเมินราคาขยะ และการสาธิตการทาปุ๋ยหมัก จากน้ันให๎นักเรียน ทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ พบวํา นักเรียนกลํุมตัวอยํางมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกํอนและหลัง ถาํ ยทอดความรแู๎ ตกตํางกันอยํางมีนยั สาคัญทีร่ ะดบั 0.05 แสดงวาํ การถาํ ยทอดความรู๎เร่ืองการจัดการขยะ มีประสิทธิภาพทาให๎นักเรียนกลุํมตัวอยํางมีความรู๎เพิ่มขึ้น และนักเรียนแสดงความคิดเห็นวําการ ถํายทอดความรเู๎ รอื่ งการจดั การขยะมีความเหมาะสมในระดับมาก ไพลิน หงษเ๑ จรญิ (2550) ได๎เสนอแนวทางการจัดการขยะมลู ฝอยในโรงเรียนโพนทองพทิ ยา อาเภอเมอื ง จังหวดั ชัยภูมิ ดังนี้ 1) สงํ เสริมและปลกู จิตสานึกในการดแู ลรักษาส่ิงแวดลอ๎ ม และการท้งิ ขยะมูลฝอย 2) ให๎ความรู๎เก่ยี วกับเรื่องขยะมูลฝอย ไดแ๎ กํโทษของการทงิ้ ขยะไมถํ ูกทก่ี ารคดั แยก ขยะมูลฝอย การใชป๎ ระโยชน๑จากขยะ 3) การสร๎างเตาเผาขยะมลู ฝอย 4) สอดแทรก ความร๎เู กีย่ วกับขยะมูลฝอยในชั่วโมงเรียน 5) สํงเสรมิ ให๎ใชว๎ สั ดุธรรมชาติหรือวสั ดุท่ยี ํอยสลายงําย

40 6) จัดกจิ กรรมเกี่ยวกบั การอนรุ ักษส๑ ่ิงแวดล๎อมและการใชป๎ ระโยชน๑จากขยะมลู ฝอย วิชชา ชาครพิพัฒน๑ (2550, บทสรปุ ) ไดศ๎ ึกษาพลงั งานไฟฟูาจากขยะมูลฝอย สรุปไดว๎ าํ การกาจัดขยะของกรุงเทพมหานคร ใช๎วิธีการ 2 วิธี คือ การทาปุ๋ยหมักด๎วยวิธี Compost ใช๎ขยะ ประมาณ 1,000 ตันตํอวัน และใช๎ระบบฝังกลบที่บํอฝังกลบอาเภอกาแพงแสน จังหวัดนครปฐม และ บอํ ฝังกลบ อาเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา การฝังกลบเป็นวิธีการกาจัดขยะที่งํายและต๎นทุน ตา่ กวําวิธีอื่น มีการนามาผลิตกระแสไฟฟูาจากก๏าซชวี ภาพ แตใํ นระยะยาวจะมีปัญหาจากพื้นท่ีฝังกลบ และจะสํงกลิน่ เหม็นรบกวน ดังนั้นการกาจัดขยะโดยใช๎เทคโนโลยีระบบ Anaerobic Digestion และ ระบบเผาทาลายด๎วยความร๎อน ยํอมเป็นสิ่งที่เป็นไปได๎ในอนาคตอันใกล๎ การผลิตพลังงานไฟฟูาท่ีได๎ จากระบบกาจดั ขยะมูลฝอยจะมคี วามเป็นไปได๎มากขึ้น ปาจรีย หละตา (2550 : บทคัดยอ) ไดทาการศึกษาเร่อื ง พฤตกิ รรมการจดั การขยะ ของครอบครัวรมิ ทะเลสาบสงขลา เทศบาลตาบลสงิ หนคร จงั หวดั สงขลา มวี ตั ถุประสงคเพื่อ 1) ศกึ ษา พฤติกรรมการจัดการขยะ ของครอบครวั ริมทะเลสาบสงขลา เทศบาล ตาบลสงิ หนคร จงั หวดั สงขลา และ 2) ศึกษาความสมั พนั ธระหวางคุณลกั ษณะของหวั หนาครอบครวั กบั พฤติกรรมการ จดั การขยะ ของครอบครัวรมิ ทะเลสาบสงขลา กลุมตัวอยางเปนหัวหนาครอบครัวท่ีอาศัยอยูในชุมชน ริมทะเลสาบสงขลา ในเขตเทศบาลตาบลสิงหนคร จังหวัดสงขลา จานวน 392 คน ซึ่งไดมาโดยวิธีการสุม แบบหลายข้ันตอน เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย เปนแบบสอบถาม ที่ผูวิจัยไดพัฒนาข้ึน จานวน 1 ฉบับ และสถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก คาเฉลี่ย คารอยละ คาเบ่ียงเบนมาตรฐาน การทดสอบไคสแควร และการทดสอบคาที ผลการศึกษา พบวา 1) ครอบครวั ในชุมชนริมทะเลสาบสงขลา ในเขต เทศบาลตาบลสิงหนคร จงั หวดั สงขลา มีพฤติกรรมการจัดการขยะถกู ตองตามหลกั สุขลกั ษณะใน ระดบั สงู และ 2) คณุ ลักษณะของหวั หนาครอบครัวท่มี คี วามสัมพันธกบั พฤตกิ รรมการจัดการขยะ ของ ครอบครัว ที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติ 0.05 ประกอบดวย 4 ปจจัย คือ เพศ อายุ อาชีพ และ ระดับความรู เก่ียวกับการจัดการขยะของหัวหนาครอบครวั สวนคณุ ลักษณะอีก 3 ประการ คือ ระดับ การศึกษา ระดับรายได และระดับการรับรูขาวสารในการจัดการขยะไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรม การจัดการ ขยะของครอบครัวในชุมชนริมทะเลสาบสงขลา จากงานวิจัยที่ได๎กลําวมาผู๎วิจัยเห็นวําปัญหาขยะที่เกิดข้ึนนั้นล๎วนเป็นปัญหาจากพฤติกรรม การละทิ้ง การเพิกเฉยตํอปัญหา เพราะคิดวําไมํใชํหน๎าท่ี ไมํมีสํวนได๎สํวนเสียจากการแก๎ปัญหา ถ๎าหากจะแก๎ปัญหาการจัดการขยะให๎บรรลุตามวัตถุประสงค๑ได๎นําจะเป็นการรํวมมือรํวมใจ ผ๎ูวิจัยจึง หาแนวทางที่เหมาะสมในการจดั การปัญหาขยะในโรงเรียนเปูาหมายโดยวิธีการมีสํวนรํวมผ๎ูบริหาร ครู นักเรยี น ชุมชน 2.2 งานวจิ ัยตา่ งประเทศ จากการศกึ ษางานวิจยั ทเี่ กยี่ วข๎องกบั พฤตกิ รรมการจัดการขยะมูลฝอย สรุปไดด๎ งั น้ี ไดยาร๑ (Dyar.1976 : 110-111) ได๎ศึกษา ทัศนคติและพฤติกรรมเกี่ยวกับ ส่ิงแวดล๎อมนักเรียนเกรด 7 (Assesing the environmental attitude and behavior of a

41 seventh grade school population) โดยมีวัตถุประสงค๑เพ่ือศึกษาทัศนคติ และพฤติกรรมของเด็ก นักเรียน ตามตัวแปรภูมิลาเนาเดิม ความสามารถในการเรียนและฐานะทางเศรษฐกิจ กลํุมตัวอยําง เปน็ นกั เรียนเกรด 7จานวน 637 คน ซ่ึงแตกตํางกนั ในด๎านภูมิลาเนาเดิม เขตเมือง เขตฉานเมือง และ เขตชนบทผลการวิจัยพบวํา เด็กที่อยํูในเขตชนบทมีความหํวงกังวลตํอปัญหาสิ่งแวดล๎อมมากที่สุด สวํ นเดก็ ที่อยใูํ นเขตเมอื งมีความกงั วลตํอปญั หาส่ิงแวดลอ๎ มน๎อยทสี่ ดุ เด็กท่ีมีความสามารถในการเรียน ในระดบั สงู และกลางมีความหํวงกังวลตํอปัญหาสิ่งแวดล๎อมมากกวําเด็กท่ีมีความสามารถในการเรียน ในระดบั ตา่ ฐานะทางเศรษฐกิจมีผลกระทบตอํ ทศั นคติ และพฤติกรรมเพียงเล็กน๎อยเด็กผ๎ูหญิงมีระดับ ทศั นคติ และพฤติกรรมทางส่งิ แวดล๎อมต่ากวาํ เดก็ ผ๎ชู ายเลก็ น๎อย วอลส๑ (Wals. 1991) ได๎ทาการวิจัยเร่ือง “การรับร๎ูของวัยรุํนกับธรรมชาติ และ หัวข๎อสิ่งแวดล๎อม : ความเก่ียวพันธ๑ของการศึกษาส่ิงแวดล๎อมในเมือง” (Young adolescent’ percptions of nature and environment education in urban settings) โดยมีวัตถุประสงค๑ เพอื่ สนับสนุนความเขา๎ ใจท่ดี ีในการรับร๎ูของนกั เรียนโรงเรียนขนาดกลางเก่ียวกับความสัมพันธ๑ระหวําง ความคดิ และทฤษฎกี ับหวั ขอ๎ สิ่งแวดล๎อมและธรรมชาติ ผลการวิจัยพบวํานักเรียนจะแสดงความสนใจ เกย่ี วกับหัวข๎อสง่ิ แวดลอ๎ มแตกตาํ งตามระดับความเข๎าใจ 3 ระดับคอื 1. มลพษิ ทีส่ ามารถสมั ผัส รส กล่นิ และการมองเหน็ 2. มลพิษท่ีเคล่อื นไหวและสะสมอยรํู อบ ๆ ทไี่ มํสามารถมองเหน็ 3. มลพิษที่เปน็ ปญั หาทางการเมอื ง จากการศกึ ษางานวิจัยทเี่ กย่ี วขอ๎ งกับ พบวาํ เพศหญงิ มแี นวโน๎มท่ีจะแสดงพฤติกรรม ด๎านส่ิงแวดล๎อมอยํางถูกต๎องเหมาะสมกับนักเรียนชาย ผ๎ูวิจัยจึงต้ังสมมุติฐานในการวิจัยครั้งน้ีวํา นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 ท่ีมีเพศแตกตาํ งกนั มีพฤติกรรมการจดั การขยะมูลฝอยแตกตํางกันการ รับร๎ขู ๎อมูลขําวสารสํงผลถึงพฤตกิ รรมการจัดการขยะมูลฝอย โดยบุคคลท่ีมีการรับรู๎ข๎อมูลขําวสารมาก มแี นวโนม๎ ที่จะมีการจดั การขยะมูลฝอยในระดบั ดี ผวู๎ จิ ัยจงึ ต้งั สมมตุ ฐิ านในการวิจยั ครั้งนว้ี าํ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 มีการรับร๎ูข๎อมูลขําวสารแตกตํางกันมีพฤติกรรมการ จัดการขยะมูลฝอยแตกตํางกนั และเจตคติเป็นปัจจัยท่ีสํงผลถึงพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอย โดย ผู๎ท่ีมีเจตคติที่ดีตํอส่ิงแวดล๎อมหรือมีเจตคติเชิงบวก จะมีพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในระดับดี ในการวิจัยคร้ังนี้ผู๎วิจัยจึงต้ังสมมุติฐานการวิจัยคร้ังนี้วํา นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 มีเจตคติตํอ การจดั การขยะมลู ฝอยตาํ งกันมพี ฤติกรรมการจดั การขยะมลู ฝอยแตกตํางกนั

บทที่ 3 วิธดี ำเนนิ กำร การศึกษาการบริหารจัดการขยะของโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 คณะผูว้ ิจัยมวี ิธีดาเนินการ ดงั นี้ 3.1 ประชำกร ประชากรท่ีใช้ในการศึกษาในครั้งน้ีเป็นครูผู้สอนและคณะกรรมการสภานักเรียนโรงเรียน แม่ก๋งวิทยา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ปีการศึกษา 2564 จานวน 41 คน จาแนกเปน็ 1) ครผู ู้สอน จานวน 21 คน 2) คณะกรรมการสภานกั เรยี น จานวน 20 คน 3.2 เคร่อื งมือท่ีใช้ในกำรศึกษำ เคร่ืองมอื ทใ่ี ช้ในการวิจัยครง้ั น้ี ประกอบด้วย 3.2.1 คมู่ อื การบรหิ ารการจดั การขยะในโรงเรียนแม่กง๋ วิทยา 3.2.3 แบบนเิ ทศ ติดตามการจดั กจิ กรรมการแก้ปัญหาขยะในโรงเรียน 3.2.4 แบบสอบถามความพึงพอใจของการบริหารการจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา สังกัดสานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 3.3 วิธดี ำเนินกำร การบริหารจัดการขยะของโรงเรียนแม่ก่งวิทยา สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 มวี ิธดี าเนินการ ดงั นี้ 3.3.1 ค่มู ือการบรหิ ารจัดการการบริหารการจดั การขยะในโรงเรียนแม่กง๋ วทิ ยา 1) ศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎที เ่ี กย่ี วข้องกับการจัดทาคมู่ ือการบริหารจัดการขยะ 2) ยกร่างคู่มือการบริหารการจดั การขยะในโรงเรยี นแม่กง๋ วิทยา 3) นาร่างคู่มือการบริหารการจัดการขยะในโรงเรียนแม่ก๋งวิทยา เสนอต่อผู้เช่ียวชาญ จานวน 3 คน เพอื่ ตรวจสอบความเป็นไปได้ ความเหมาะสม และความเป็นประโยชน์ แล้ววิเคราะห์ หาค่า IOC ประกอบดว้ ย (1) ดร.เอกฐสิทธ์ิ กอบกา ผ้อู านวยการกลมุ่ นเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผล การจัดการศึกษา สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 (2) นางศรจี นั ทร์ ทรายใจ ศึกษานเิ ทศก์ วิทยาฐานะชานาญการพิเศษ สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1