Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความจำของมนุษย์

ความจำของมนุษย์

Published by อาริยา เกษม, 2022-06-24 09:40:37

Description: ความจำของมนุษย์

Search

Read the Text Version

ความจำของมนุษย์ อาริยา เกษม

ความจำของมนุษย์? ความจำของมนุษย์เกิดจากการทำงานร่วมกันของความจำ 3 ส่วน เริ่มตั้งแต่ข้อมูล ถูกส่งจากหน่วยความจำที่ เกี่ยวกับความรู้สึก ไปยังหน่วยความจำระยะสั้นโดยเลื อกเฉพาะตัวกระตุ้นที่มนุษย์กำลังให้ความสนใจเท่านั้น และข้อมูลที่จะถูกส่งต่อไปยังหน่วยความจำระยะยาวจะเป็นข้อมูลที่เกิดจากการถูกกระตุ้นมายังหน่วยความ จำระยะสั้นอย่างบ่อยครั้ง

หน่วยความจำของมนุย์ หน่วยความจำของมนุษย์ แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ หน่วยความจำเกี่ยว หน่วยความจำระยะสั้น หน่วยความจำระยะยาว กับความรู้สึก ความจำซึ่งเราตั้งใจจดจำไว้ ความจำที่เราทบทวนอยู่เสมอ ทำให้ การรับรู้ด้วยความรู้สึกผ่าน ชั่วคราวไม่กี่นาที และถ้าไม่มี เปลี่ยนจากความจำระยะสั้นมาเป็ น การมองเห็น การได้ยิน การทบทวนความทรงจำก็จะลืม ความจำระยะยาว ซึ่งอาจอยู่ได้นาน เป็ นต้น ไปได้เช่นกัน เป็นปี หรือตลอดชีวิตก็ได้

การจดจำ การจัดเก็บหรือการจำได้จะต้องมี ข้อมูลจากหน่วยความจำระยะสั้นย้ายไป จัดเก็บในหน่วยความจำระยะยาว ซึ่งอาจ เกิดจากการท่องจำข้อมูล การจำได้นั้นจะ ขึ้นอยู่กับปริมาณการเรียนรู้เป็ นสัดส่วน โดยตรงกับปริมาณเวลาที่ใช้ไปในการ เรียน และเวลาที่ใช้เรียนจะได้ผลที่สุด ถ้ามีการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และการจำ จำยากกว่าถ้าจากลุ่มของคำที่แทน แนวคิด แต่จะง่ายกว่าถ้าจากลุ่มของ แทนที่แทนวัตถุ

การลืม การลืมข้อมูล เกิดจากข้อมูลในหน่วยความจำ ค่อยๆสลายไปอย่างช้าๆ ซึ่งมี 2 ทฤษฏี คือ ทฤษฎีที่ 1 ข้อมูลเก่าจะถูกทับด้วยข้อมูลใหม่ เช่น เมื่อเปลี่ยนเบอร์โทรศัพท์ใหม่ก็ยากที่จะจำ เบอร์โทรศัพท์เก่าได้ ทฤษฎีที่ 2 ข้อมูลเก่าอาจถูกขวางไว้ด้วย ข้อมูลใหม่ เช่น เวลาขับรถ มักจะขับกลับไปที่ เดิม (สถานที่ไม่คุ้นชิน)

การดึงข้อมูลกลับมา การดึงข้อมูลกลับมาแบ่งได้เป็น การหวนระลึก ได้และ การจำแนกได้ - การหวนระลึกได้นั้นตัวข้อมูลสามารถถูกสร้าง ขึ้นอีกครั้งจากหน่วยความจำจากการแนะนำ การใบ้ หรือบอกเป็นนัย - การจำแนกได้นั้น ตัวข้อมูลได้ให้ข้อมูลที่ถูก พบเห็นมาก่อน ข้อมูลมักจะมีความซับซ้อนน้ อย กว่าการหวนระลึกได้ ที่สาคัญคือ ตัวข้อมูลนั้น คือคาใบ้

เทคนิคและวิธีพัฒนาความจำ 1. พยายามตั้งสมาธิ 3. เลือกจำเฉพาะ เมื่อปฏิบัติกิจกรรม ข้อมูลที่สำคัญเท่า ที่จำเป็ นเท่านั้น ต่าง ๆ 4. ควรมีสมุดบันทึก 2. พยายามนึกสร้างภาพ พกติดตัวตลอดเวลา ในใจเมื่อต้องจดจำสิ่ง เพื่อใช้จดข้อมูลต่าง ๆ หนึ่งสิ่งใด และถ้าภาพ กันลืม ประทับใจก็ยิ่งทำให้จดจำ ได้ง่ายขึ้น

5. พยายามจัดหมวดหมู่ 6. ทำทุกเรื่องด้วยสติ 7. พยายามลดความ สิ่งของไว้เป็นพวก ๆ เก็บ และรอบคอบ ถ้าไม่ ตึงเครียด เช่น หา เป็ นที่เป็ นทางเพื่ อความ แน่ใจก็ตรวจทานอีก งานอดิเรกทำในยาม สะดวกในการใช้งานและ ครั้งเพื่อป้ องกันความ ว่าง , ออกกำลังกาย , นั่งสมาธิ เป็นต้น ไม่สับสน ผิดพลาด

ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดอาการสมองเสื่อม 1. รับประทานยาหลาย ๆ 2. ดื่มเครื่องดื่มที่ 4. มีอาการเครียดเป็น 6. เป็นโรคหลอดเลือด ชนิดพร้อมกัน และยาบาง มีแแอลกอฮอล์ติดต่อ ประจำ และมีอาการซึมเศร้า สมอง ชนิดอาจมีผลข้างเคียงต่อ กันเป็ นระยะเวลานาน 5. มีอาการของโรค สมอง 3. ได้รับอุบัติเหตุที่ส่ง ต่อมไธรอยด์ ผลกระทบกระเทือน ศีรษะ

จบการนำเสนอ ขอบคุณคะ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook