Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการ ARการใช้โปรแกรมตารางคำนวณเบื้องต้น

โครงการ ARการใช้โปรแกรมตารางคำนวณเบื้องต้น

Published by Jirawan Malasai, 2017-08-29 11:19:16

Description: โครงการ ARการใช้โปรแกรมตารางคำนวณเบื้องต้น

Search

Read the Text Version

โครงการ “Augmented Reality ” เร่ือง การใช้โปรแกรมตารางคานวณเบือ้ งต้น นางสาวดวงจินดา กจิ จานนท์ นายอนิรุธ จีรังกูลโครงงานนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของวชิ าโครงการ รหสั วชิ า 3204 – 6001 ตามหลกั สูตรประกาษนียบัตรวชิ าชีพช้ันสูง แผนกคอมพวิ เตอร์ธุรกจิ สาขางานการพฒั นาเวบ็ เพจ วทิ ยาลยั เทคนิคจันทบุรี ปี การศึกษา 2559

หัวข้อโครงการ: “Augmented Reality เร่ือง การใชโ้ ปรแกรมตารางคานวณเบ้ืองตน้ ”โดย : นางสาวดวงจินดา กิจจานนท์: นายอนิรุธ จีรังกูลครูทป่ี รึกษา: นางจิรวรรณ มะลาไสยสาขาวชิ า: คอมพิวเตอร์ธุรกิจสาขางาน : การพฒั นาเวบ็ เพจปี การศึกษา: 2559 บทคดั ย่อ ปัจจุบนั ไดม้ ีเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เขา้ มาช่วยในการดาเนินการให้มีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึนสร้างความแปลกใหมน่ ่าสนใจ ซ่ึงเทคโนโลยี Augmented Reality (AR) เป็ นเทคโนโลยที ่ี ผสานเอาโลกแห่งความเป็ นจริง (Real) เขา้ กบั โลกเสมือน (Virtual) โดยผา่ นทางอุปกรณ์ Webcam,กลอ้ งโทรศพั ทม์ ือถือ , Computer รวมกบั การใช้ software ต่างๆ ซ่ึงจะทา้ ใหภ้ าพท่ีเห็น ในจอภาพจะเป็ นobject (คน,สตั ว,์ สิ่งของ,สตั วป์ ระหลาด,ยานอวกาศ) 3 มิติ ซ่ึงมีมุมมอง ถึง 360 องศา ดงั น้นั ผจู้ ดั ทาจึงไดน้ าเทคโนโลยี Augmented Reality (AR) มาจดั ทาเป็ นสื่อการเรียนการสอนเร่ือง การใชโ้ ปรแกรมตารางคานวณเบ้ืองตน้ ใหก้ บั นกั ศึกษาระดบั ประกาศนียบตั รวิชีพ (ปวช.)จานวน 2 หอ้ ง ในแผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วทิ ยาลยั เทคนิคจนั ทบุรี หรือผคู้ นทวั่ ไปที่สนใจไดศ้ ึกษาโดยใช้ โปรแกรม Microsoft Excel , โปรแกรม Adobe InDesign ,โปรแกรม Adobe Photoshop ,โปรแกรม Microsoft Word และแอพพลิเคชน่ั Pixlive maker เป็ นเทคโนโลยที ่ีช่วยในการปฏิบตั ิดาเนินงานตามโครงการ

Diploam thesis topic: “Augmented Reality Technology for SpreadsheetsProgram”By : Miss Duangchinda Kijjanon : Mr. Anirut GerungkunConsultan Teacher : Mrs. Jirawan MalasaiMajor : Business ComputerBranch: Web Page DevelopmentYear : 2016 Abstract There is now new technology to assist in the implementation of the efficiency even more.Create a new interest This is Augmented Reality (AR) technology. Merges the real world (Real)to the virtual world (Virtual) equipment via webcam, mobile camera, computer, combined withsoftware which will make the image. On the object (people, animals, objects, monsters,spaceships), three-dimensional, with a view to 360 degrees. So, who do Augmented Reality (AR) Technology to create learning and teaching usingspreadsheets preliminary. Students who study in diploma can make (vocational certificate) infront of two computer rooms. Chanthaburi Province or people who are interested to study byusing Microsoft Excel, the program Adobe InDesign, a program Adobe Photoshop, MicrosoftWord and Apple applications Pixlive maker is a technology that allows for the implementation ofthe project.

ใบรับรองโครงการ “Augmented Reality เร่ือง การใชโ้ ปรแกรมตารางคานวณเบ้ืองตน้ ”โดย นางสาวดวงจินดา กิจจานนท์ครูที่ปรึกษาสาขาวชิ า นายอนิรุธ จีรังกลูสาขางานปี การศึกษา นางจิรวรรณ มะลาไสย คอมพิวเตอร์ธุรกิจ การพฒั นาเวบ็ เพจ 2559 ไดร้ ับอนุมตั ิให้นบั โครงการน้ีเป็ นส่วนหน่ึงของวิชาโครงการ รหัสวิชา 3204 - 6001หลกั สูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพช้นั สูง สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ สาขางานพฒั นาเวบ็ เพจวทิ ยาลยั เทคนิคจนั ทบุรี หวั หนา้ แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ (นางพีรญาดุนขนุ ทด)คณะกรรมการสอบโครงการ ประธานกรรมการ (นางจิรวรรณ มะลาไสย) กรรมการ กรรมการ (นางพรี ญา ดุนขนุ ทด )(นางสาวสุดาจิต มณีโชติ)(นายวเิ ชียร ประเสริฐสกลุ ) (นายจิระพงษจ์ นั ทร์ประเสริฐ)รองผอู้ านวยการฝ่ ายวชิ าการ ผอู้ านวยการวทิ ยาลยั เทคนิคจนั ทบุรีวนั ที่.........../............/........... วนั ท่ี.........../............/...........

ช่ือ: “Augmented Reality เรื่อง การใชโ้ ปรแกรมตารางคานวณเบ้ืองตน้ ”ผู้รับผดิ ชอบ :นางสาวดวงจินดา กิจจานนท์ :นายอนิรุธจีรังกลูครูทปี่ รึกษาโครงการ : นางจิรวรรณ มะลาไสยสาขาวชิ า: คอมพิวเตอร์ธุรกิจสาขางาน: การพฒั นาเวบ็ เพจปี การศึกษา: 2559หลกั การและเหตุผล ปัจจุบนั ไดม้ ีเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เขา้ มาช่วยในการดาเนินการให้มีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึนสร้างความแปลกใหมน่ ่าสนใจ ซ่ึงเทคโนโลยี Augmented Reality (AR) เป็ นเทคโนโลยีที่ ผสานเอาโลกแห่งความเป็ นจริง (Real) เขา้ กบั โลกเสมือน (Virtual) โดยผา่ นทางอุปกรณ์ Webcam, กลอ้ งโทรศพั ทม์ ือถือ, Computer รวมกบั การใช้ software ต่างๆ ซ่ึงจะทา้ ให้ภาพท่ีเห็น ในจอภาพจะเป็ นobject (คน,สัตว,์ ส่ิงของ,สัตวป์ ระหลาด,ยานอวกาศ) 3 มิติ ซ่ึงมีมุมมอง ถึง 360 องศา ดงั น้นั ผจู้ ดั ทาจึงไดน้ าเทคโนโลยี Augmented Reality (AR) มาจดั ทาเป็ นส่ือการเรียนการสอนเรื่อง การใชโ้ ปรแกรมตารางคานวณเบ้ืองตน้ ให้กบั นกั ศึกษาระดบั ประกาศนียบตั รวชิ ีพ (ปวช.)จานวน 2 หอ้ ง ในแผนกคอมพวิ เตอร์ธุรกิจ วทิ ยาลยั เทคนิคจนั ทบุรี หรือผคู้ นทว่ั ไปที่สนใจไดศ้ ึกษาโดยใช้ โปรแกรม Microsoft Excel, โปรแกรม Adobe InDesign ,โปรแกรม Adobe Photoshop ,โปรแกรม Microsoft Word และแอพพลิเคชนั่ Pixlive makerเป็ นเทคโนโลยีที่ช่วยในการปฏิบตั ิดาเนินงานดงั กล่าว

เป้ าหมาย จากการปฏิบตั ิดาเนินงานทา Augmented Reality เร่ือง การใชโ้ ปรแกรมตารางคานวณเบ้ืองตน้ ในรูปแบบสื่อการเรียนการสอนในวชิ าโปรแกรมตารางคานวณ เพื่อใชส้ าหรับสอนใหก้ บันักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) จานวน 2 ห้อง ในแผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจวิทยาลัยเทคนิคจนั ทบุรีหรือให้ผูค้ นทว่ั ไปท่ีสนใจไดศ้ ึกษา ซ่ึงการจดั ทาส่ือการเรียนการสอนดงั กล่าวใชร้ ะยะเวลา 18 สัปดาห์ ในการปฏิบตั ิดาเนินงาน เพื่อทาให้สื่อการเรียนการสอนที่จะเผยแพร่น้นั อยใู่ นรูปแบบของ 3 มิติ สร้างสรรคท์ าใหส้ ื่อการเรียนการสอนออกมาในรูปแบบใหม่ที่ผคู้ นทว่ั ๆ ไปไม่คุน้ เคย ทาให้มีความน่าสนใจมากข้ึน เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนการสอนเพราะผเู้ รียนจะเกิดความสนใจกวา่ ส่ือการเรียนการสอนในรูปแบบเดิมๆ และให้นกั ศึกษาสามารถนาเทคโนโลยี Augmented Reality (AR) ที่มีความแปลกใหมไ่ ปประยกุ ตใ์ ชก้ บั ส่ือตา่ งๆ ไดอ้ ีกดว้ ยวตั ถุประสงค์1. เพ่ือช่วยให้ขอ้ มูลทางวชิ าการซ่ึงเป็ นสื่อท่ีใชป้ ระกอบการเรียนการสอนที่นามาแพร่เผยมีความน่าสนใจมากยงิ่ ข้ึน2. เพ่ือนาเทคโนโลยี Augmented Reality (AR) เรื่อง การใชโ้ ปรแกรมตารางคานวณเบ้ืองตน้ มาเผยแพร่เป็ นส่ือการเรียนการสอนให้กบั นกั ศึกษาระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวช.) หรือผคู้ นทวั่ ไปท่ีสนใจไดศ้ ึกษา 3. เพ่ือนาเทคโนโลยี Augmented Reality (AR) เรื่อง การใชโ้ ปรแกรมตารางคานวณ มาเผยแพร่เป็ นกรณีศึกษาในการใช้ เทคโนโลยี Augmented Reality (AR) เพื่อให้นกั ศึกษาหรือผคู้ นทวั่ ไปไดร้ ู้จกั เทคโนโลยสี มยั ใหมด่ งั กล่าว สามารถนาไปตอ่ ยอดใชป้ ระโยชน์อื่นๆ ได้ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะได้รับ 1. ไดส้ ่ือ Augmented Reality (AR) เรื่อง การใชโ้ ปรแกรมตารางคานวณเบ้ืองตน้ มีการเผยแพร่ใหก้ บั นกั ศึกษาระดบั ประกาศนียบตั ร (ปวช.) หรือผคู้ นทว่ั ไปท่ีสนใจ 2. ไดพ้ ฒั นาและไดแ้ สดงออกถึงความคิดริเริ่มสร้างสรรคใ์ นการทาขอ้ มูลทางวิชาการในรูปแบบใหม่ท่ีมีความน่าสนใจมากข้ึน

ปฏิทนิ ปฏบิ ัติงาน กจิ กรรม ระยาเวลาดาเนินการ (สัปดาห์)1.เสนอหวั เรื่องโครงการ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 182. กาหนดการทางาน,ศึกษาความเป็ นไปได้3. จดั ทาหนงั สือขออนุญาตโครงการ AR /โครงสร้าง AR4. จดั ทาโครงสร้าง AR5. ดาเนินการจดั ทา AR6. ประเมินผลการทา AR7. สรุปผลการทา AR8. ตรวจสอบการจดั ทา AR9.พฒั นาและปรับปรุงแกไ้ ข10. จดั ทารูปเล่มโครงการ11. นาเสนอผลงาน (นางสาวดวงจินดา กิจจานนท)์ นกั ศึกษาแผนกคอมพวิ เตอร์ธุรกิจ หวั หนา้ โครงการ (นางจิรวรรณ มะลาไสย) ครูที่ปรึกษาโครงการ

บันทกึ ข้อความส่วนราชการ........วทิ ยาลยั เทคนิคจนั ทบุรี............................................................................................ท่ี.....................................................................วนั ที่.........๕........มิถุนายน.....๒๕๕๙..........................เรื่อง.............ขอความอนุเคราะห์ขอขอ้ มลู ...........................................................................................เรียน ครูสุดาจิต มณีโชติ เนื่องดว้ ยแผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วทิ ยาลยั เทคนิคจนั ทบุรี ไดก้ าหนดใหน้ กั ศึกษาจดั ทาโครงการในรายวชิ าโครงการ รหสั วชิ า 3201 – 8501 ผสู้ อนโดย นางจิรวรรณ มะลาไสย กลุ่มของขา้ พเจา้ ไดจ้ ดั ทาโครงการ “Augmented Reality ครูแผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ” โดยกลุ่มของขา้ พเจา้ ไดร้ ับมอบหมายให้ทาผลงานทางวิชาการของครูสุดาจิต มณีโชติ ครูแผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ เพ่อื นาขอ้ มูลการสอนของครูมาจดั ทาโครงการ ในการน้ีขา้ พเจา้ จึงขอความอนุเคราะห์ขอขอ้ มูลจาก ครูสุดาจิต มณีโชติและขอขอบคุณมาณ โอกาสน้ีท่ีใหค้ วามอนุเคราะห์จึงทาใหโ้ ครงการสาเร็จลุล่วงไปไดด้ ว้ ยดี จึงเรียนมาเพื่อโปรดพจิ ารณาอนุญาต (นางสาวดวงจินดา กิจจานนท)์ นกั ศึกษาแผนกคอมพวิ เตอร์ธุรกิจ ประธานโครงการ (นางจิรวรรณ มะลาไสย) คุณครูท่ีปรึกษาโครงการ

กติ ตกิ รรมประกาศ การศึกษาดว้ ยตนเองฉบบั น้ีสาเร็จลงดว้ ยความกรุณาอยา่ งยงิ่ จากครูจิรวรรณ มะลาไสย ครูนราธิป วิชยั ประดิษฐ์ และครูแผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจทุกท่าน ที่ไดใ้ หค้ าแนะนา ปรึกษาตลอดจนตรวจแกไ้ ขขอ้ บกพร่องต่าง ๆ ดว้ ยความเอาใจใส่เป็ นอยา่ งย่งิ จนการศึกษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเองสาเร็จสมบรูณ์ได้ ผศู้ ึกษาคน้ ควา้ ขอขอบพระคุณเป็นอยา่ งสูงไว้ ณ ท่ีน้ี ขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดาทาไดใ้ หแ้ นวคิดในการศึกษาตลอดมา กราบขอบพระคุณคณาอาจารยผ์ ปู้ ระสาทวิชา ญาติพี่นอ้ ง ท่ีคอยใหค้ วามช่วยเหลือและคอยเป็ นกาลงั ใจ อนั เป็ นพลงัสาคญั ที่ทาใหเ้ กิดความมุ่งมนั่ ความพยายามที่จะทาการศึกษาคน้ ควา้ ฉบบั น้ีจนเสร็จสมบรูณ์ คุณประโยชน์อนั พึงมีมาจากการศึกษาคน้ ควา้ ฉบบั น้ี ผศู้ ึกษาขอน้อมบูชาและอุทิศให้กบัพระคุณบิดามารดา บุพการี และบูรพาจารยท์ ่ีได้ช้ีแนะและวางพ้ืนฐานการศึกษา จนได้รับความสาเร็จสมดงั ความมุ่งหมายทุกประการ คณะผจู้ ดั ทา

สารบญั หน้า กเรื่อง คบทคดั ยอ่ ฉกิตติกรรมประกาศ ชสารบญั ตารางสารบญั ภาพ 1บทที่ 1 บทนา 2 2 1.1 หลกั การและเหตุผล 2 1.2 เป้ าหมาย 3 1.3 วตั ถุประสงค์ 1.4 ขอบเขต 4 1.5 ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะไดร้ ับ 25บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวขอ้ ง 2.1 การใชโ้ ปรแกรม Microsoft Excel 43 2.2 การใชแ้ อพพลิเคชน่ั Pixlive Maker 44บทท่ี 3 วธิ ีการดาเนินงานและพฒั นาระบบ 45 3.1 ศึกษาและรวบรวมขอ้ มลู ต่างๆ 46 3.2 กาหนดโครงร่างของสื่อ 57 3.3 การกาหนดการเช่ือมโยงสื่อ 58 3.4 ออกแบบส่ือแต่ละหนา้ 59 3.5 สร้างส่ือ 3.6 สมคั รสมาชิกเพือ่ สร้างสื่อ 61 3.7 สร้างแบบสอบถามความคิดเห็นที่มีตอ่ สื่อ 62บทท่ี 4 ผลการดาเนินงาน 73 4.1ผลการพฒั นาโครงงาน 4.2ตวั อยา่ งผลงานส่ือ 4.3 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลแบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อส่ือ

สารบัญ (ต่อ) หน้าเรื่อง 76บทท่ี 5 สรุปผลการดาเนินงานและขอ้ เสนอแนะ 76 77 5.1วตั ถุประสงคข์ องโครงงาน 77 5.2สรุปผลการดาเนินงานโครงงาน 78 5.3 ปัญหาและอุปสรรค 5.4 ขอ้ เสนอแนะบรรณานุกรมภาคผนวกภาคผนวก ก บนั ทึกขอ้ ความ บทคดั ยอ่ ภาษาองั กฤษ เอกสารรับรองโครงการ รายงานความกา้ วหนา้ ของโครงการภาคผนวก ข แบบประเมินความคิดเห็น สรุปผลการประเมินความคิดเห็น

สารบญั ตารางตารางท่ี หน้า2-1 ตารางการพิมพแ์ ละการแกไ้ ข 222-2ตารางการเลือกเซลล์ 232-3 ตารางการเคล่ือนที่ไปยงั เซลลต์ ่างๆ 242-4 ตารางการจดั การเก่ียวกบั ไฟล์ 243-1 เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนแบบสอบถามความคิดเห็น 593-2 เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนของแบบประเมินความพงึ พอใจของเวบ็ ไซต์ 604-1 แสดงค่าร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถามจาแนกตามเพศ 734-2 แสดงคา่ เฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดบั ความพงึ พอใจ และลาดบั ที่ของผตู้ อบ 74 แบบสอบถามท่ีมีต่อส่ือ

สารบญั ภาพ หน้า 5ภาพท่ี 5 2-1 ภาพอา้ งอิงถึงช่องตาราง 6 2-2 ภาพประกอบของหนา้ จอ 7 2-3 ภาพแทบ็ และกลุ่มของหนา้ โปรแกรม 7 2-4 ภาพนาเคอร์เซอร์ไปที่ cell 7 2-5 ภาพพมิ พค์ าวา่ วราวรรณ 8 2-6 ภาพพมิ พข์ อ้ มูลตามตวั อยา่ ง 8 2-7 ภาพคลิกป่ ุมลบ 8 2-8 ภาพคลิกลา้ งท้งั หมด 9 2-9 ภาพพิมพข์ อ้ มลู ตามตวั อยา่ ง 9 2-10 ภาพคลิกเลือก 9 2-11 ภาพคลิกป่ ุมลา้ ง 10 2-12 ภาพคลิกลา้ งท้งั หมด 10 2-13 ภาพพิมพข์ อ้ มลู ตามตาแหน่ง 10 2-14 ภาพคลิกป่ ุมคาสัง่ คดั ลอก 11 2-15 ภาพแสดงการเกิดเส้นประ 11 2-16 ภาพแสดงการคดั ลอกขอ้ ความ 12 2-17 ภาพตวั เลือกการวาง 12 2-18 ภาพเซลล์ B2 13 2-19 ภาพเลือกบริเวณท่ีตอ้ งการยา้ ย 13 2-20 ภาพนาเคอร์เซอร์ไปวางท่ีเส้นขอบ 13 2-21 ภาพกดเมาส์คา้ ง เพื่อลากยา้ ย 14 2-22 ภาพปล่อยเมาส์ 14 2-23 ภาพนาเคอร์เซอร์วางที่เส้นขอบ 2-24 ภาพนาเคอร์เซอร์วางท่ีหวั คอลมั น์ 14 2-25ภาพเคอร์เซอร์เปลี่ยนเป็ นลูกศรสองหวั

สารบญั ภาพ (ต่อ) หน้า 15ภาพที่2-26 ภาพความกวา้ งคอลมั น์ท่ีเล่ือน 15 152-27 ภาพเลือกคอลมั นท์ ่ีตอ้ งการ 162-28 ภาพปรับความกวา้ งของคอลมั น์ 162-29 ภาพปล่อยเมาส์เม่ือไดค้ อลมั น์ท่ีตอ้ งการ 162-30 ภาพการปรับความสูงของแถว 172-31 ภาพเลือกคอลมั น์ C และ D 172-32 ภาพคลิกคาสงั่ ลบ 172-33 ภาพขอ้ มูลถดั ไปเขา้ มาแทนที่ 182-34 ภาพเมื่อกดป่ ุม Delete 182-35 ภาพคลิกท่ีช่ือของคอลมั น์ 182-36 ภาพคลิกป่ ุมแทรก 192-37 ภาพเม่ือคลิก 1 คร้ัง 192-38 ภาพช้ีแทบ็ Scroll bar 202-39 ภาพเมื่อคลิก 1 คร้ัง 202-40 ภาพกดเมาส์และลากแบ่งหนา้ จอ 212-41 ภาพยกเลิกการแบ่งหนา้ จอ 212-42 ภาพเลือกป่ ุมตรึงแนว 252-43 ภาพยกเลิกการตรึงแนว 252-44 ภาพหนา้ ล็อกอินเขา้ แอพพลิเคชน่ั Pixlive maker 262-45 ภาพใส่พาสเวริ ์ดเพื่อล็อกอินเขา้ สู่แอพพลิเคชนั่ 262-46 ภาพหนา้ ต่างแนะนาข้นั ตอนการใชง้ าน 272-47 ภาพคลิกป่ ุม Create a new Content เพอ่ื สร้างสื่อ 272-48 ภาพคลิกป่ ุม Create a new Content เพ่ือสร้างสื่อ 282-49 ภาพหนา้ เลือกไฟลเ์ พ่อื สร้างส่ือ 282-50 ภาพหนา้ เลือกไฟลร์ ูปภาพที่ตอ้ งการ2-51 ภาพตวั อยา่ ง Marker ที่ใช้

สารบัญภาพ (ต่อ) หน้า 28ภาพที่ 292-52 ภาพข้นั ตอนการปรับขนาดไฟล์ 292-53 ภาพการต้งั ช่ือสื่อ 302-54 ภาพคลิกเขา้ สู่การแกไ้ ขสื่อต่อไป 302-55 ภาพหนา้ ตา่ งการใชง้ านเบ้ืองตน้ 312-56 ภาพคลิกข้นั ตอนต่อไปเร่ือยๆ จนเสร็จสิ้น 312-57 ภาพหนา้ จอสาหรับแกไ้ ขสื่อ 322-58 ภาพส่วนเน้ือหาที่จะแทรก 322-59 ภาพเน้ือหาท่ีจะแทรก 332-60 ภาพเน้ือหาที่จะแทรก 332-61 ภาพเน้ือหาท่ีจะแทรก 332-62 ภาพเลือกส่ือที่ตอ้ งการจากส่วนเน้ือหาที่จะแทรก 342-63 ภาพส่ือท่ีจะแสดงบน Marker 342-64 ภาพไอคอนบนั ทึกสื่อ 342-65 ภาพเขา้ ไปตาแหน่งท่ีเก็บไฟลท์ ี่ส่งออกจาก SketchUp 352-66 ภาพการบีบอดั ไฟล์ 352-67 ภาพเลือกไอคอน 3D Model 362-68 ภาพลากไฟลท์ ่ีรวมแลว้ วางไวบ้ ริเวณ (Drag and Drop) 362-69 ภาพเลือกไฟลท์ ี่ตอ้ งการใช้ 372-70 ภาพแสดงตวั อยา่ งโมเดล 372-71 ภาพโมเดลสามมิติถูกแทรกไปบน Marker 372-72 ภาพไอคอนบนั ทึกสื่อ 382-73 ภาพกดที่เมนู Properties 382-74 ภาพกาหนดคา่ การแสดงผล 392-75 ภาพคลิกท่ีเมนู My Contents> Content list 392-76 ภาพสื่อ AR ท่ีเผยแพร่แลว้ จะมีไอคอนถูกตอ้ ง แสดงสถานะอยู่ 402-77 ภาพปกติส่ือ AR ที่สร้างของ Pixlive จะมีสถานะเผยแพร่โดยอตั โนมตั ิอยแู่ ลว้2-78ภาพคลิกกลบั ไปที่หนา้ หลกั ผา่ นกดคลิกที่เมนู Dashboard เพื่อดู QR Code

สารบัญภาพ (ต่อ) หน้า 40ภาพที่ 41 2-79 ภาพวธิ ีใชง้ านสื่อ AR ของPixliveMaker 41 2-80 ภาพ Download แอปพลิเคชน่ั PixLive Player 42 2-81 ภาพเมื่อนากลอ้ งไปสแกน QR Code 44 2-82 ภาพเมื่อนากลอ้ งไปจบั ภาพ Marker 45 3-1 ภาพโครงร่างของสื่อ 45 3-2ภาพกาหนดการเชื่อมโยง 46 3-3 ภาพหนา้ การเรียกใชโ้ ปรแกรม 48 3-4 ภาพหนา้ ส่วนประกอบหนา้ จอ 49 3-5 ภาพหนา้ ส่วนประกอบของแผน่ งาน 50 3-6 ภาพหนา้ แทบ็ หนา้ แรก 51 3-7 ภาพหนา้ แทบ็ แทรก 52 3-8 ภาพหนา้ แทบ็ เคา้ โครงหนา้ กระดาษ 53 3-9 ภาพหนา้ แทบ็ สูตร 54 3-10 ภาพหนา้ แทบ็ ขอ้ มูล 55 3-11 ภาพหนา้ แทบ็ ตรวจทาน 56 3-12 ภาพหนา้ แทบ็ มุมมอง 57 3-13 ภาพหนา้ การออกจากโปรแกรม 57 3-14 ภาพหนา้ จอการล๊อกอินเขา้ สู่แอพพลิเคชนั่ Pixlive maker 58 3-15 ภาพหนา้ จอเขา้ ใชง้ านเวบ็ แอพพลิเคชน่ั Pixlive maker 58 3-16 ภาพสมคั รการเป็นสมาชิก 62 3-17 ภาพหลงั จากการสมคั รสมาชิก 63 4-1 ภาพผลงานสื่อการเรียนการสอน หนา้ การเรียกใชโ้ ปรแกรม 64 4-2 ภาพผลงานสื่อการเรียนการสอน หนา้ ส่วนประกอบหนา้ จอ 65 4-3 ภาพผลงานสื่อการเรียนการสอน หนา้ ส่วนประกอบของแผน่ งาน 66 4-4ภาพผลงานสื่อการเรียนการสอน หนา้ แทบ็ หนา้ แรก 67 4-5ภาพผลงานส่ือการเรียนการสอน หนา้ แทบ็ แทรก 4-6 ภาพผลงานสื่อการเรียนการสอน หนา้ แทบ็ เคา้ โครงหนา้ กระดาษ

สารบญั ภาพ (ต่อ) หน้า 68ภาพท่ี 69 4-7 ภาพผลงานสื่อการเรียนการสอน หนา้ แทบ็ สูตร 70 4-8 ภาพผลงานสื่อการเรียนการสอน หนา้ แทบ็ ขอ้ มูล 71 4-9 ภาพผลงานส่ือการเรียนการสอน หนา้ แทบ็ ตรวจทาน 72 4-10 ภาพผลงานสื่อการเรียนการสอน หนา้ แทบ็ มุมมอง 4-11 ภาพผลงานส่ือการเรียนการสอน หนา้ การออกจากโปรแกรม

บทที่ 1 บทนา ในปัจจุบนั มีเทคโนโลยสี ารสนเทศไดม้ ีบทบาทสาคญั ต่อมนุษยใ์ นสังคม เป็ นตวั ช่วยในการพฒั นาประเทศให้มีความเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว การติดต่อสื่อสารกนั ล้วนแต่มีการใช้เทคโนโลยเี ขา้ มามีส่วนร่วมเป็ นจานวนที่เพ่ิมข้ึนเร่ือยๆ ซ่ึงการเรียนการสอนในปัจจุบนั ก็ตอ้ งมีการอาศยั ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศดงั กล่าวมาช่วยเพื่อใหก้ ารเรียนการสอนในปัจจุบนั มีความน่าสนใจกวา่ เดิม และสามารถทาให้ผูเ้ รียนหรือผูท้ ี่สนใจเกิดความสนใจต่อส่ือท่ีใชป้ ระกอบการเรียนการสอนมากยงิ่ ข้ึน ท้งั ยงั เป็นการใหผ้ เู้ รียนหรือผทู้ ่ีสนใจไดร้ ู้จกั เทคโนโลยใี หม่ท่ีสามารถนาไปต่อยอดนาไปใช้งานต่างๆ ให้เกิดประโยชน์ต่อไปได้ เทคโนโลยีใหม่ดงั กล่าวส่วนใหญ่จะนามาช่วยในรูปแบบสื่ออธิบายการเรียนการสอนในวชิ าน้นั ๆ ซ่ึงจะทาใหผ้ เู้ รียนเกิดความเขา้ ใจต่อการเรียนมากยง่ิ ข้ึน และช่วยกระตุน้ ใหผ้ เู้ รียนมีความสนใจกวา่ การเรียนการสอนในรูปแบบเดิมๆ ไดอ้ ีกดว้ ย1.1หลกั การและเหตุผล ปัจจุบนั ไดม้ ีเทคโนโลยีใหม่ๆ ท่ีเขา้ มาช่วยในการดาเนินการให้มีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึนสร้างความแปลกใหม่น่าสนใจ ซ่ึงเทคโนโลยี Augmented Reality (AR) เป็ นเทคโนโลยที ี่ ผสานเอาโลกแห่งความเป็ นจริง (Real) เขา้ กบั โลกเสมือน (Virtual) โดยผา่ นทางอุปกรณ์ Webcam, กลอ้ งโทรศพั ทม์ ือถือ , Computer รวมกบั การใช้ software ต่างๆ ซ่ึงจะทา้ ใหภ้ าพท่ีเห็น ในจอภาพจะเป็ นobject(คน,สตั ว,์ สิ่งของ,สตั วป์ ระหลาด,ยานอวกาศ) 3 มิติ ซ่ึงมีมุมมอง ถึง 360 องศา ดงั น้นั ผจู้ ดั ทาจึงไดน้ าเทคโนโลยี Augmented Reality (AR) มาจดั ทาเป็ นส่ือการเรียนการสอนเร่ือง การใชโ้ ปรแกรมตารางคานวณเบ้ืองตน้ ใหก้ บั นกั ศึกษาระดบั ประกาศนียบตั รวิชีพ (ปวช.)จานวน 2 หอ้ ง ในแผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วทิ ยาลยั เทคนิคจนั ทบุรี หรือผคู้ นทวั่ ไปท่ีสนใจไดศ้ ึกษาโดยใช้ โปรแกรม Microsoft Excel, โปรแกรม Adobe InDesign ,โปรแกรม Adobe Photoshop ,โปรแกรม Microsoft Word และแอพพลิเคชนั่ Pixlive makerเป็ นเทคโนโลยที ่ีช่วยในการปฏิบตั ิดาเนินงานตามโครงการ

1.2 เป้ าหมาย จากการปฏิบตั ิดาเนินงานทา Augmented Reality เร่ือง การใชโ้ ปรแกรมตารางคานวณเบ้ืองตน้ ในรูปแบบสื่อการเรียนการสอนในวชิ าโปรแกรมตารางคานวณ เพ่ือใชส้ าหรับสอนให้กบันักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) จานวน 2 ห้อง ในแผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจวิทยาลยั เทคนิคจนั ทบุรีหรือให้ผูค้ นทวั่ ไปที่สนใจไดศ้ ึกษา ซ่ึงการจดั ทาส่ือการเรียนการสอนดงั กล่าวใชร้ ะยะเวลา 18 สัปดาห์ ในการปฏิบตั ิดาเนินงาน เพ่ือทาให้สื่อการเรียนการสอนที่จะเผยแพร่น้นั อยใู่ นรูปแบบของ 3 มิติ สร้างสรรคท์ าใหส้ ื่อการเรียนการสอนออกมาในรูปแบบใหม่ท่ีผคู้ นทว่ั ๆ ไปไม่คุน้ เคย ทาให้มีความน่าสนใจมากข้ึน เพ่ือใหเ้ กิดประโยชน์ต่อการเรียนการสอนเพราะผเู้ รียนจะเกิดความสนใจกวา่ สื่อการเรียนการสอนในรูปแบบเดิมๆ และใหน้ กั ศึกษาสามารถนาเทคโนโลยี Augmented Reality (AR) ท่ีมีความแปลกใหมไ่ ปประยกุ ตใ์ ชก้ บั ส่ือตา่ งๆ ไดอ้ ีกดว้ ย1.3 วตั ถุประสงค์ 1.3.1 เพื่อช่วยให้ขอ้ มูลทางวิชาการซ่ึงเป็ นส่ือที่ใช้ประกอบการเรียนการสอนท่ีนามาแพร่เผยมีความน่าสนใจมากยง่ิ ข้ึน 1.3.2 เพ่ือนาเทคโนโลยี Augmented Reality (AR) เร่ือง การใชโ้ ปรแกรมตารางคานวณเบ้ืองตน้ มาเผยแพร่เป็ นส่ือการเรียนการสอนให้กบั นกั ศึกษาระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวช.)หรือผคู้ นทว่ั ไปที่สนใจไดศ้ ึกษา 1.3.3 เพือ่ นาเทคโนโลยี Augmented Reality (AR) เร่ือง การใชโ้ ปรแกรมตารางคานวณ มาเผยแพร่เป็ นกรณีศึกษาในการใช้ เทคโนโลยี Augmented Reality (AR) เพื่อให้นกั ศึกษาหรือผคู้ นทวั่ ไปไดร้ ู้จกั เทคโนโลยสี มยั ใหมด่ งั กล่าว สามารถนาไปต่อยอดใชป้ ระโยชนอ์ ื่นๆ ได้1.4 ขอบเขต การศึกษาคน้ ควา้ คร้ังน้ีผจู้ ดั ทาไดก้ าหนดขอบเขตการศึกษาคน้ ควา้ ไวด้ งั ต่อไปน้ี 1.4.1 สถานท่ี แผนกคอมพวิ เตอร์ธุรกิจ วทิ ยาลยั เทคนิคจนั ทบุรี 1.4.2 ขอบเขตดา้ นขอ้ มลู การศึกษาคน้ ควา้ คร้ังน้ีไดก้ าหนดขอ้ มลู ไว้ 2 ลกั ษณะดงั น้ี1.4.2.1 ขอ้ มูลเอกสารต่างๆ ที่เก่ียวกบั โปรแกรม Microsoft Excel เช่น เอกสารวชิ าการของครูที่ขอความอนุเคราะห์1.4.2.2 เป็นขอ้ มลู ภาคสนาม ขอ้ มูลที่ไดจ้ ากการสอบถามขอ้ มลู จากครูที่ขอความอนุเคราะห์1.4.2.3 เป็นขอบเขตดา้ นเน้ือหา ผจู้ ดั ทาไดก้ าหนดขอบเขตดา้ นเน้ือหาเกี่ยวกบั สื่อการเรียนการสอนเรื่อง การใชโ้ ปรแกรมตารางคานวณเบ้ืองตน้1.5 ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะได้รับ

1.5.1 ไดส้ ่ือAugmented Reality (AR) เร่ือง การใชโ้ ปรแกรมตารางคานวณเบ้ืองตน้ มีการ เผยแพร่ใหก้ บั นกั ศึกษาระดบั ประกาศนียบตั ร (ปวช.) หรือผคู้ นทว่ั ไปท่ีสนใจ 1.5.2 ไดพ้ ฒั นาและไดแ้ สดงออกถึงความคิดริเริ่มสร้างสรรคใ์ นการทาขอ้ มูลทางวชิ าการในรูปแบบใหมท่ ี่มีความน่าสนใจมากข้ึน

บทที่ 2 เอกสารท่ีเกย่ี วข้อง ผูจ้ ัดทาพัฒนาระบบได้ทาการศึกษาข้อมูลเก่ียวกับโปรแกรมตารางคานวณเบ้ืองต้น( Microsoft Excel ) , แอพพลิเคชน่ั Pixlive Makerไดท้ าการศึกษาขอ้ มูลเบ้ืองตน้ ของโปรแกรมและแอพพลิเคชน่ั ดงั กล่าววา่ คืออะไร มีความสาคญั ตอ่ การใชง้ านอยา่ งไร ซ่ึงก็มีหวั ขอ้ ดงั ตอ่ ไปน้ี 2.1การใชโ้ ปรแกรม Microsoft Excel 2.2การใชแ้ อพพลิเคชน่ั Pixlive Maker2.1 การใช้โปรแกรม Microsoft Excel โปรแกรม Microsoft Excel เป็ นโปรแกรมหน่ึง ที่จดั อยใู่ นชุด Microsoft Office โปรแกรมMS Excel มีช่ือเสียงในดา้ น การคานวณเก่ียวกบั ตวั เลข และการทาบญั ชี ต่าง ๆ การทางานของโปรแกรม ใชต้ ารางตามแนวนอน (rows) และแนวต้งั (columns) เป็ นหลกั ซ่ึงเราเรียกโปรแกรมในลกั ษณะน้ีวา่ เป็ น Spread Sheetไฟลข์ อง Excel เปรียบเสมือนหนงั สือ 1 เล่ม ที่ประกอบไปดว้ ยหนา้หลายๆ หนา้ ไฟลข์ อง Excel เรียกวา่ เป็ นสมุดงาน (Workbook) และในแต่ละหนา้ เรียกวา่ เป็ น แผน่งาน (Worksheet) ในแต่ละแผน่ งาน จะแบ่งออกเป็ นตาราง ซ่ึงประกอบไปดว้ ย ช่องตาราง จานวนมาก ซ่ึงเรียกวา่ เซลล์ (Cell) เซลลค์ ือส่วนตดั กนั ของแถวและคอลมั น์ ใน แผน่ งานหน่ึง ๆ ของ Excel2010 จะมีแถวท้งั หมด 1,048,576 แถว และ จะมี คอลมั น์ท้งั หมด จานวน 16,384 คอลมั น์ โดยเรียงช่ือตามตวั อกั ษรภาษาองั กฤษ ต้งั แต่ A จนถึง Z และ ต่อดว้ ย AA จนถึง AZ, BA จนถึง BZ ไปจนถึงXFD และในสมุดงานหน่ึง ๆ จะมีแผน่ งานไดจ้ านวนมาก ข้ึนอย่กู บั หน่วยความจาที่มีอยใู่ นเคร่ืองคอมพิวเตอร์ในแต่ละช่องตาราง หรือ Cell จะบรรจุขอ้ มูลต่าง ๆ เราพิมพข์ อ้ มูลลงในช่องตาราง แต่ละช่องl เช่นพิมพข์ อ้ ความ พมิ พต์ วั เลข เป็นตน้ เมื่อเวลาจะอา้ งอิงถึงขอ้ มูล เราก็อา้ งอิงถึง ช่องตารางโดยการระบุ คอลมั น์และแถว เช่น B4 หมายถึงช่องตารางท่ีตรงกบั คอลมั น์ B และ แถวที่ 4 ดงั ภาพ

ภาพที่ 2-1 ภาพอา้ งอิงถึงช่องตาราง 2.1.1 ส่วนประกอบหนา้ จอของโปรแกรม Microsoft Excelส่วนประกอบหลกั ท่ีควรรู้จกัดงั น้ี ภาพที่ 2-2 ภาพประกอบของหนา้ จอ ส่วนบนของหนา้ จอคือแถบริบบิ้น ซ่ึงประกอบไปดว้ ย แทบ็ ต่าง ๆ โดยปกติจะมี จานวน 7แทบ็ ไดแ้ ก่ หนา้ แรก แทรก เคา้ โครงหนา้ กระดาษ สูตร ขอ้ มูล ตรวจทาน และมุมมอง และในแต่ละแทบ็ จะประกอบไปดว้ ยกลุ่มตา่ ง ๆ ซ่ึงจะมีคาส่ังที่มกั จะใชด้ ว้ ยกนั รวมอยใู่ นกลุ่มเดียวกนั ดงั ภาพ

ภาพที่ 2-3ภาพแทบ็ และกลุ่มของหนา้ โปรแกรม - แฟ้ ม แทบ็ แฟ้ ม เป็นแทบ็ พิเศษไมถ่ ือเป็นแถบบนริบบิ้นเพราะใชจ้ ดั การเก่ียวกบั ไฟล์ หรือแฟ้ ม เช่น การเปิ ด-ปิ ดไฟล์ การสร้างไฟลใ์ หม่ การบนั ทึกไฟล์ ตลอดจนการต้งั ค่าตวั เลือกต่าง ๆ เป็ นตน้ - หน้าแรก เป็ นแท็บท่ีรวมลกั ษณะการใชง้ านทว่ั ๆ ไป เช่น การคดั ลอก การวาง การกาหนดตวั อกั ษร การจดั รูปแบบ การกรองขอ้ มูล ตลอดจนการคน้ หาขอ้ มูล เป็นตน้ - แทรก เป็ นแท็บสาหรับแทรก ตาราง ภาพ รูปร่างอตั โนมตั ิ อกั ษรศิลป์ สัญลกั ษณ์ การเชื่อมโยง เป็นตน้ - เคา้ โครงหนา้ กระดาษ เป็ นแท็บสาหรับการต้งั ค่ากระดาษเพ่ือพิมพอ์ อกทางเครื่องพิมพ์เช่น ต้งั ระยะขอบกระดาษ กาหนดขนาดกระดาษ พมิ พแ์ นวต้งั หรือแนวนอน เป็นตน้ - สูตร ใชแ้ ท็บน้ีเมื่อตอ้ งการคานวณค่าต่าง ๆ เช่น การรวมการเรียกใชส้ ูตรของ Excel เป็ นตน้ - ขอ้ มลู แทบ็ น้ีใชส้ าหรับการรับขอ้ มลู จากภายนอกเพื่อมาวเิ คราะห์ใน Excel เช่น นาขอ้ มูลจาก ฐานขอ้ มลู Access เป็นตน้ นอกจากน้ี ยงั ใชส้ าหรับการจดั การกบั ขอ้ มูลจานวนมาก ๆ เช่น การเรียงขอ้ มลู การกรองขอ้ มลู การจดั กลุ่มขอ้ มลู เป็นตน้ - ตรวจทาน เป็ นแท็บหรับการตรวจตวั สะกดการันต์ ตลอดจนการจดั การเกี่ยวกบั แผน่ งานเช่น การป้ องกนั การแกไ้ ขขอ้ มลู บนแผน่ งาน เป็นตน้ - มุมมอง เป็ นแท็บสาหรับแสดงแผน่ งานในมุมมองต่าง ๆ เช่น แบบปกติ แบบเต็มหน้ากาหนดใหม้ ีหรือไม่มีเส้นตาราง ยอ่ /ขยาย ตลอดจนการแบง่ หนา้ จอออกเป็นส่วน ๆ เป็นตน้ 2.1.2 การป้ อนขอ้ มลู ลงเซลลข์ อ้ มูลในเซลล์ มีท้งั ตวั เลขและตวั อกั ษร ตวั เลขสามารถนาไปคานวณค่าต่าง ๆ ไดโ้ ดยการระบุตาแหน่งของตวั เลข โดยปกติตวั เลขจะจดั ชิดขวาของเซลล์ สาหรับขอ้ ความหรือตวั อกั ษร จะจดั ชิดซ้าย ในกรณีที่มีท้งั ขอ้ ความและตวั เลขภายในเซลล์เดียวกนั Excel

จะถือวา่ เป็ นขอ้ ความ ไม่สามารถนาไปคานวณได้ ดงั น้นั ถา้ ตอ้ งการนาตวั เลขไปคานวณ ตอ้ งพิมพ์ตวั เลขน้นั ๆ ในเซลลข์ องตวั เอง และอา้ งถึงในการคานวณการป้ อนขอ้ มลู ลงใน Cell ทาได้ ดงั น้ี 2.1.2.1 นาเคอร์เซอร์ไปที่ cell A1 แลว้ คลิก 1 คร้ัง ภาพที่ 2-4 ภาพนาเคอร์เซอร์ไปที่ cell 2.1.2.2 พิมพค์ าวา่ วราวรรณ ในช่อง A1 ภาพที่ 2-5 ภาพพมิ พค์ าวา่ วราวรรณ 2.1.2.3 ถา้ พมิ พผ์ ดิ ใหก้ ดป่ ุม Backspace เพอ่ื ลบทีละตวั อกั ษร และพมิ พใ์ หม่ 2.1.2.4 พมิ พเ์ สร็จแลว้ กดป่ ุม Enter 2.1.3การลบขอ้ มูล การลบขอ้ มูลจะทาให้ขอ้ มูลน้ันหายไป และขอ้ มูลท่ีอยใู่ นเซลล์อื่นมาแทนที่ ดงั ตวั อย่างตอ่ ไปน้ี 2.1.3.1 พมิ พข์ อ้ มลู ตามตวั อยา่ งตอ่ ไปน้ี ภาพที่ 2-6 ภาพพมิ พข์ อ้ มูลตามตวั อยา่ ง 2.1.3.2 คลิกเลือก เซลล์ A2

2.1.3.3 บนแถบไปที่แทบ็ หนา้ แรก ->กลุ่มเซลล์ คลิกป่ ุม ลบ ดงั ภาพ ภาพท่ี 2-7 ภาพคลิกป่ ุมลบ 2.1.3.4 คลิกลา้ งท้งั หมด จะไดผ้ ลดงั น้ี ภาพท่ี 2-8ภาพคลิกลา้ งท้งั หมด จะเห็นวา่ ช่ือสมศกั ด์ิหายไป และขอ้ มูลเล่ือนข้ึนมาแทนที่ (ถา้ สังเกตใหด้ ี จะเห็นวา่ ขอ้ มูลเกิดการผิดพลาด ขอ้ มูลเดิม วิศนุ อายุ 30 เมื่อลบสมศกั ด์ิออกไป ทาใหข้ อ้ มูลเล่ือนในเซลล์ขา้ งล่างข้ึนมาแทนท่ี) 2.1.4 การลา้ งขอ้ มลู 2.1.4.1 พิมพข์ อ้ มลู ตามตวั อยา่ งตอ่ ไปน้ี ภาพที่ 2-9ภาพพิมพข์ อ้ มูลตามตวั อยา่ ง 2.1.4.2 คลิกเลือก เซลล์ A2

2.1.4.3 บนแถบไปท่ีแทบ็ หนา้ แรก ->กลุ่มเซลล์ คลิกป่ ุม ลา้ ง ดงั ภาพ ภาพที่ 2-10ภาพคลิกเลือก 2.1.4.4 บนแถบไปท่ีแทบ็ หนา้ แรก ->กลุ่มเซลล์ คลิกป่ ุม ลา้ ง ดงั ภาพ ภาพที่ 2-11ภาพคลิกป่ ุมลา้ ง 2.1.4.5คลิกลา้ งท้งั หมด จะไดผ้ ลดงั น้ี ภาพท่ี 2-12ภาพคลิกลา้ งท้งั หมด2.1.5 การคดั ลอกและการวางขอ้ มูล

2.1.5.1 พิมพข์ อ้ มูลในเซลลต์ ามตาแหน่งดงั ภาพ ภาพท่ี 2-13ภาพพมิ พข์ อ้ มูลตามตาแหน่ง 2.1.5.2 ใชเ้ มาส์ลากต้งั แต่ A1 ถึง D4 (A1:D4) เพอ่ื กาหนดบริเวณที่ตอ้ งการคดั ลอก (หรือ คลิกเมาส์ภายในบริเวณขอ้ มูล แลว้ กด Ctrl + * กไ็ ด)้ 2.1.5.3 ท่ีแทบ็ หนา้ แรก กลุ่มคลิปบอร์ด คลิกป่ ุมคาสง่ั คดั ลอก ภาพท่ี 2-14ภาพคลิกป่ ุมคาสั่งคดั ลอก 2.1.5.4 จะเกิดเส้นประ เหมือนมดเดินรอบ ๆ บริเวณที่เลือก ภาพท่ี 2-15ภาพแสดงการเกิดเส้นประ 2.1.5.5 นาเมาส์ไปวางบริเวณที่ตอ้ งการวางส่วนท่ีคดั ลอกน้ี เช่น B6 2.1.5.6 แทบ็ หนา้ แรก กลุ่มคลิปบอร์ด คลิกป่ ุมคาสัง่ วาง

2.1.5.7 ขอ้ ความท่ีคดั ลอกจะมาปรากฏ ดงั ภาพ ภาพท่ี 2-16ภาพแสดงการคดั ลอกขอ้ ความ 2.1.5.8 สังเกตุดูที่มุมล่างดา้ นขวา จะเห็นมีป่ ุมทางลดั (Shortcut) ใหค้ ลิกที่ลูกศรหรือกดป่ ุม Ctrl 2.1.5.9 จะเกิดตวั เลือกในการวางอีกหลายลกั ษณะ ดงั น้ี ภาพท่ี 2-17 ภาพตวั เลือกการวาง - วาง เป็นการวางแบบปกติ ถา้ ขอ้ มูลท่ีคดั ลอกเป็นสูตรจะคดั ลอกสูตรและมีการปรับปรุงการ อา้ งอิงตามลกั ษณะของสูตรน้นั นอกจากน้นั ยงั มีตวั เลือกอ่ืนเช่น วางโดยไม่มีเส้นตาราง หรือวางแบบสลบั แถวและคอลมั น์ เป็นตน้

- วางค่า เป็ นการคดั ลอกและวางสิ่งที่เห็นปรากฏในเซลล์น้นั ๆ ถา้ เซลล์น้นั มีสูตร Excel จะ ตดั สูตรออกไป เหมือนการพมิ พป์ ้ อนขอ้ ความตามปกติ - ตัวเลอื กการวางอนื่ ๆ สามารถวางแบบเช่ือมโยง หรือ วางเป็ นภาพ เพื่อนาไปใชเ้ ป็ นกราฟิ ก ประกอบโปรแกรมอ่ืน หรือเพ่อื การนาเสนองาน เป็นตน้ 2.1.6 การยา้ ยขอ้ มูล การยา้ ยขอ้ มูล ในกรณีที่จะยา้ ยขอ้ มูล ให้ลากแถบสว่างให้ครอบคลุมบริเวณท่ีตอ้ งการยา้ ยเสียก่อน จากน้นั จึงใชเ้ มาส์คลิกท่ีขอบ แลว้ ลากไปยงั ตาแน่งท่ีตอ้ งการ ตวั อย่าง ท่ีเซลล์ B2 ถึง B5 (B2:B5) มีชื่อ 4 ช่ือ ตอ้ งการยา้ ยขอ้ มลู น้ี ไปยงั ตาแหน่ง C2 ถึง C5 ทาได้ดงั น้ี ภาพท่ี 2-18 ภาพเซลล์ B2 2.1.6.1 เลือกบริเวณขอ้ มลู ท่ีตอ้ งการยา้ ย โดยใชเ้ มาส์คลิกท่ีตาแหน่ง B2 คลิกเมาส์คา้ งไวแ้ ลว้ ลากลงมาที่ตาแหน่ง B5 แลว้ ปล่อยเมาส์ ภาพที่ 2-19 ภาพเลือกบริเวณท่ีตอ้ งการยา้ ย 2.1.6.2 นาเคอร์เซอร์ไปวางท่ีเส้นขอบ จะเห็นเคอร์เซอร์เปล่ียนรูปเป็นลูกศร สี่ทิศทาง แสดงวา่ เคลื่อนยา้ ยได้

ภาพท่ี 2-20 ภาพนาเคอร์เซอร์ไปวางที่เส้นขอบ 2.1.6.3 กดเมาส์คา้ งไว้ แลว้ ลากไปที่ตาแหน่งท่ีตอ้ งการยา้ ย ในท่ีน้ีคือ คอลมั น์ Cขอใหส้ งั เกต กรอบส่ีเหล่ียม ซ่ึงจะเป็นบริเวณที่ขอ้ มลู ท่ีถูกยา้ ยจะมาปรากฎ ภาพท่ี 2-21 ภาพกดเมาส์คา้ ง เพ่ือลากยา้ ย 2.1.6.4 ปล่อยเมาส์ ขอ้ มลู จะถูกยา้ ยตามที่ตอ้ งการ ภาพที่ 2-22 ภาพปล่อยเมาส์ 2.1.7 การปรับความกวา้ งของคอลมั น์ การปรับความกวา้ งคอลมั นเ์ ดียวในการทางานกบั Excel มกั จะมีการปรับความ กวา้ งของคอลมั น์ใหเ้ ป็นไปตามรูปแบบที่ตอ้ งการ เช่น แบบฟอร์ม ตารางตา่ ง ๆ เป็นตน้

2.1.7.1 ถา้ ตอ้ งการขยายความกวา้ งหรือ ลดความกวา้ งของคอลมั น์ แต่ละคอลมั น์ให้นาเคอร์เซอร์ ไปวางไวท้ ี่เส้นขอบ ของคอลมั น์ท่ีตอ้ งการขยาย เม่ือเคอร์เซอร์เปล่ียนรูปร่างเป็ นลูกศร 2 หวั ดงั ภาพ ใหก้ ดเมาส์คา้ งไว้ แลว้ ลากไปทางซา้ ยหรือทางขวา ไดต้ ามตอ้ งการ ภาพที่ 2-23 ภาพนาเคอร์เซอร์วางที่เส้นขอบ 2.1.7.2 ถา้ ในกรณีที่ขอ้ มูลตวั เลขในช่อง Cell มีลกั ษณะ ##### แสดงว่า ความกวา้ งของ ช่อง Cell นอ้ ยไป ใหน้ าเคอร์เซอร์ไปวางที่หวั คอลมั น์ และลากออกไป หรือดบั เบิ้ลคลิกที่หวั ของคอลมั น์ กไ็ ด้ ภาพที่ 2-24 ภาพนาเคอร์เซอร์วางที่หวั คอลมั น์ 2.1.7.3 ถา้ ตอ้ งการใหข้ ยายความกวา้ งของเซลลใ์ ห้ครอบคลุมความยาวของขอ้ มูลในทุกเซลล์ของคอลมั น์น้นั ๆ ให้นาเคอร์เซอร์ไปวางที่บริเวณหัวของคอลมั น์และเมื่อเคอร์เซอร์เปล่ียนเป็นลูกศรสองหวั ใหด้ บั เบิล้ คลิก ดงั ภาพ ภาพที่ 2-25ภาพเคอร์เซอร์เปล่ียนเป็นลูกศรสองหวั 2.1.7.4 จะไดค้ วามกวา้ งของคอลมั น์ที่ครอบคลุมความยาวของขอ้ มลู ที่มีในคอลมั น์น้นั เช่น

ภาพท่ี 2-26 ภาพความกวา้ งคอลมั น์ท่ีเล่ือน 2.1.8 การปรับคอลมั นค์ วามกวา้ งหลายคอลมั น์ ในการจดั ทาแบบฟอร์มตาราง มกั จะตอ้ งมีการจดั ความกว้างของคอลมั น์หลายคอลมั น์ให้เท่าๆ กนั เช่น ตารางปฏิบตั ิงานล่วงเวลา ตารางคะแนนนกั เรียน เป็ นตน้ การจดั ความกวา้ งของคอลมั นห์ ลาย ๆ คอลมั น์ มีดงั น้ี 2.1.8.1 เลือกคอลมั น์ท่ีตอ้ งการทาใหค้ วามกวา้ งเท่ากนั โดยคลิกและลากบริเวณหวั คอลมั น์ ภาพที่ 2-27 ภาพเลือกคอลมั น์ที่ตอ้ งการ 2.1.8.2 ปรับความกวา้ งของคอลมั น์ ดงั ภาพ ภาพท่ี 2-28 ภาพปรับความกวา้ งของคอลมั น์ 2.1.8.3 เม่ือปล่อยเมาส์จะไดค้ อลมั น์ที่เทา่ กนั ตามที่เลือก

ภาพที่ 2-29 ภาพปล่อยเมาส์เม่ือไดค้ อลมั นท์ ่ีตอ้ งการ 2.1.9 การปรับความสูงของแถว การปรับความสูงของแถว ทาเช่นเดียวกบั การปรับความกวา้ งของคอลมั น์ คือนาเคอร์เซอร์ไปวางไวท้ ่ีเส้นระหวา่ งแถวที่หวั แถว และลากเพ่อื กาหนดความสูง ดงั ภาพ ภาพท่ี 2-30 ภาพการปรับความสูงของแถว 2.1.10 การลบคอลมั น์และแถว เราสามารถลบ คอลมั นท์ ้งั คอลมั น์ หรือ ลบแถวท้งั แถวได้ สมมติวา่ ตอ้ งการ คอลมั น์ C และ D มีวธิ ีการ ดงั น้ี 2.1.10.1 คลิกเลือกคอลมั น์ C และ D ดงั ภาพ ภาพที่ 2-31 ภาพเลือกคอลมั น์ C และ D 2.1.10.2 ไปท่ีแทบ็ หนา้ แรก กลุ่มเซลล์ และคลิกคาสงั่ ลบ

ภาพที่ 2-32 ภาพคลิกคาส่งั ลบ 2.1.10.3 จะเห็นวา่ ขอ้ มูลในคอลมั น์ C และ D จะถูกลบ และขอ้ มูลถดั ไปจะเขา้ มาแทนที่ ดงั ภาพ ภาพท่ี 2-33 ภาพขอ้ มูลถดั ไปเขา้ มาแทนที่ 2.1.10.4จากขอ้ 1 ถา้ ตอ้ งการลา้ งขอ้ มูล โดยไม่มีการเลื่อนขอ้ มูลในคอลมั น์ถดั ไปมาแทนท่ีขอ้ มูลเดิม ให้กดป่ ุม Delete บนแป้ นพิมพ์ จะลา้ งขอ้ มูลโดยไม่เล่ือนขอ้ มูลมาแทนที่ ดงัภาพ ภาพที่ 2-34 ภาพเม่ือกดป่ ุม Delete 2.1.10.5 เมื่อลบไปแลว้ แต่เปล่ียนใจไม่ลบ ใหค้ ลิกท่ีรูป บนแถบเครื่องมือด่วน เพื่อขอขอ้ มูลท่ีลบไปแลว้ คืนมาเหมือนเดิม 2.1.11 การแทรกคอลมั น์ และแถว บางคร้ัง เราอาจตอ้ งการเพ่ิม หรือ แทรก คอลมั น์ ก็สามารถทาได้ โดยขอ้ มลู จะถูกแยกออกไปอีก 1 คอลมั น์ การเพ่มิ คอลมั น์ ทาดงั น้ี 2.1.11.1คลิกท่ีชื่อของคอลมั น์ จะเกิดแถบสวา่ งยาวตลอดคอลมั น์

ภาพที่ 2-35 ภาพคลิกที่ช่ือของคอลมั น์ 2.1.11.2 ไปที่ แทบ็ หนา้ แรก กลุ่มเซลล์ คลิกคาสั่ง แทรก ภาพที่ 2-36 ภาพคลิกป่ ุมแทรก 2.1.11.3 คลิก 1 คร้ัง คอลมั น์ใหม่จะแทรกเขา้ ทางขวาของคอลมั น์ที่ถูกเลือก จากภาพ จะสงั เกตเห็นวา่ ขอ้ มลู เดิมถูกยา้ ยไปอีกคอลมั น์ และช่ือของคอลมั น์ จะยงั คงเรียงเหมือนเดิม ภาพท่ี 2-37 ภาพเม่ือคลิก 1 คร้ัง 2.1.11.4 การแทรกแถวกท็ าเช่นเดียวกนั โดยคลิกท่ีหวั แถวที่ตอ้ งการแทรก และไป ที่แทบ็ หนา้ แรก กลุ่มเซลล์ และคลิกคาสงั่ แทรก2.1.12 การแบง่ หนา้ จอ เนื่องจาก Excel เป็ น Sheet ใหญ่ บางทีเราตอ้ งการดูขอ้ มูลจากหลาย ๆ แห่งพร้อม ๆ กนัหรือ ตอ้ งการดูหวั ตารางเพ่อื ทาใหก้ ารกรอกขอ้ มูลถูกตอ้ ง ดงั น้นั เราจึงมีความจาเป็ นตอ้ งแบ่งหนา้ จอExcel ออกเป็นส่วน ๆ ซ่ึงสามารถ เล่ือน หรือ Scroll ดูไดท้ ุกส่วน ซ่ึงมีวธิ ีการดงั น้ี

2.1.12.1 ที่มุมบนดา้ นขวาต่อจาก Scroll bar และดา้ นล่างของหนา้ จอ จะมีแถบสาหรับแบ่งหนา้ จอ ดงั ภาพ ภาพท่ี 2-38 ภาพช้ีแทบ็ Scroll bar 2.1.12.2 เม่ือนาเคอร์เซอร์ไปวางท่ีตรงน้ี เคอร์เซ่อร์จะเปลี่ยนเป็ นรูปลูกศรสองทาง ซ่ึงแสดงวา่ สามารถลากแบ่งได้ ภาพที่ 2-39 ภาพเมื่อคลิก 1 คร้ัง 2.1.12.3 ให้กดเมาส์และลากแบ่งหนา้ จอไดด้ งั ภาพ จะเห็นวา่ สามารถเลื่อนแต่ละส่วนไดอ้ ยา่ งอิสระจากกนั ในภาพจะเห็นวา่ คอลมั น์ B ถูกเล่ือนหายไป ทาให้คอลมั น์ ชื่อ-สกุล และท่ีอยู่ มาอยู่ใกล้กนั ทาให้ดูขอ้ มูลไดช้ ัดเจนไม่ตอ้ งเลื่อนไปมา ส่วนในแนวนอน จะเห็นขอ้ มูลถูกซ่อนออกไปหลายรายการ ทาใหส้ ะดวกในการเปรียบเทียบขอ้ มลู ท่ีมีความยาวมาก ๆ

ภาพท่ี 2-40 ภาพกดเมาส์และลากแบง่ หนา้ จอ 2.1.12.4 ยกเลิกการแบง่ หนา้ จอ โดยการใชเ้ มาส์ลากเส้นแบ่งไปเก็บไวท้ ี่ดา้ นขา้ งหรือดา้ นบน-ล่าง ภาพท่ี 2-41 ภาพยกเลิกการแบ่งหนา้ จอ2.1.13 การตรึงแนวหนา้ จอ ทางเลือกของการแบ่งหนา้ จออีกอยา่ งหน่ึงคือการทาให้หนา้ จอส่วนหน่ึงไม่เคล่ือนไหว ซ่ึงต่างจากการแบ่งหนา้ จอ ที่หนา้ จอทุกส่วนสามารถเคล่ือนไหวไดด้ ว้ ยการใช้ Scroll bar แต่การตรึงแนวหน้าจอจะทาให้ส่วนท่ีถูกตรึง ไม่เคล่ือนที่ มีประโยชน์ในการทาให้ส่วนหัวของตารางคงที่ในขณะที่ส่วนท่ีเติมขอ้ มูลเคล่ือนที่ไปไดเ้ ร่ือย ๆ การตรึงแนวทาไดท้ ้งั แนวนอนและแนวต้งั วธิ ีการการตรึงแนวหนา้ จอไปท่ีแทบ็ มุมมอง กลุ่มหนา้ ตา่ ง คลิกตรึงแนว จะเกิดเมนูยอ่ ยให้เลือก

Shortcut ความหมาย/การกระทา ภาพที่ 2-42 ภาพเลือกป่ ุมตรึงแนว2.2.13.1 ตรึงแนว จะตรึงแนว ณ ตาแหน่งของเคอเซอร์ โดยตรึงท้งั แนวนอนและแนวต้งั2.2.13.2 ตรึงแถวบนสุด เป็ นการตรึงแนว แนวนอนแถวบนสุด2.2.13.3 ตรึงคอลมั นแ์ รก เป็ นการตรึงแนว แนวต้งั คอลมั น์แรก2.2.13.4 การยกเลิกการตรึงแนว ใหค้ ลิกท่ีคาสั่ง ตรึงแนว และคลิกยกเลิก ภาพท่ี 2-43 ภาพยกเลิกการตรึงแนว2.1.14 การใช้ Keyboard shortcut ที่ควรทราบ ตารางที่ 2-1 ตารางการพมิ พแ์ ละการแกไ้ ข

การพมิ พแ์ ละการแกไ้ ขCtrl + Enter ออกจากโหมดป้ อนคา่ หรือแกไ้ ข โดยไม่เปลี่ยนตาแหน่งเซลล์SFh2ortcutการเลือกเแซกลไ้ลข์ ขอ้ มูลในเซลล์CAtlrtl++E*nter เลือกบเซงั ลคลบั ท์ ข่ีต้ึนิดบกรนั รทท้งัดั หใมหดมใ่เชน่นเซมลีขลอ้เ์ ดมียลู วใกนนั เซลล์ A1 ถึง A20 ขณะน้ีเคอร์เซอร์อยทู่ ่ีF12 บนั ทึกเป็นCtrl + C คดั ลอกเซลลท์ ่ีกาลงั ถูกเลือกEsc ยกเลิกการคดั ลอกCtrl + V วางเซลลท์ ี่คดั ลอกCtrl + X ตดั เซลลท์ ่ีกาลงั ถูกเลือกCtrl + Alt + V ถา้ มีการคดั ลอกขอ้ มลู ไวแ้ ลว้ จะแสดงหนา้ ตา่ งการวางแบบพเิ ศษ ตารางที่ 2-2 ตารางการเลือกเซลล์

เซลล์ A5 ถา้ กด Ctrl คา้ งไวแ้ ละ กดเคร่ืองหมาย * บริเวณ A1 ถึง A20 จะถูกเลือก ขอ้ มูลท่ีไม่ติดกบั ขอ้ มลู ชุดน้ี จะไม่ถูกเลือกCtrl + A เลือกพ้ืนทีท้งั หมดของชุดขอ้ มูลน้นั ๆ ถา้ กด Ctrl + a อีกคร้ัง จะเป็นการเลือกแผน่ งานท้งั หมดCtrl + Shift ขยายพ้ืนที่การเลือกเซลลจ์ นถึงจุดสิ้นสุดของชุดขอ้ มูล (ชุดขอ้ มูลคือบริเวณที่ไมม่ ี+ ป่ ุมลูกศร เซลลว์ า่ งคนั่ ) เลือกบริเวณพ้ืนท่ีสี่เหล่ียม ต้งั แต่เซลลแ์ รกท่ีคลิกไว้ ครอบคลุมถึงบริเวณที่คลิกShift + คลิก เช่น คลิกท่ีเซลล์ B5 และ ไป Shift + คลิก ท่ีเซลล์ E30 บริเวณท่ีถูกเลือกคือ B5:E30Shift + ป่ ุม ขยายพ้ืนท่ีการเลือกเซลลอ์ ีก 1 เซลล์ ตามแนวทิศทางลูกศรลูกศร ตารางที่ 2-3 ตารางการเคลื่อนท่ีไปยงั เซลลต์ ่างๆShortcutการเคล่ือนที่ไปยงั เซลลต์ ่าง ๆCtrl + G หรือ เปิ ดหนา้ จอใหพ้ ิมพต์ าแหน่งเซลลท์ ่ีตอ้ งการไป

F5Home เลื่อนไปยงั เซลลแ์ รกของแถวน้นัป่ ุมลูกศร เลื่อนตาแหน่งไปยงั เซลล์ ซา้ ย ขวา บน ล่าง ตามแนวทิศทางลูกศร เลื่อนตาแหน่งไปยงั เซลลร์ ิมสุดของพ้ืนท่ีขอ้ มลู ชุดน้นั ถา้ ไม่มีขอ้ มลู จะเลื่อนCtrl + ป่ ุมลูกศร ไปยงั ตาแหน่งบนสุด ล่างสุด ซา้ ยสุด ขวาสุด ของแผน่ งาน ตามแนวทิศทาง ลูกศรPageDown/Up เล่ือนตาแหน่งข้ึน-ลง คร้ังละ 1 หนา้ ตารางที่ 2-4 ตารางการจดั การเกี่ยวกบั ไฟล์Shortcutการจดั การเก่ียวกบั ไฟล์Ctrl + F4 ปิ ดโปรแกรมCtrl + N เปิ ดไฟลใ์ หม่2.2 การใช้แอพพลเิ คชั่น Pixlive Maker 2.2.1 การสมคั รบญั ชีผสู้ ร้างของ Pixlive Maker 2.2.1.1 เขา้ ไปท่ีเวบ็ ไซต์ http://www.pixlivemaker.com จากน้นั กดที่ป่ ุม Registerเพื่อลงทะเบียน

ภาพท่ี 2-44 ภาพหนา้ ล็อกอินเขา้ แอพพลิเคชน่ั Pixlive maker 2.2.1.2 กรอกขอ้ มูลบญั ชี จากน้นั กดท่ีช่องส่ีเหล่ียมหนา้ I agree with term of useเพือ่ ยอมรับเง่ือนไขการใช้ เสร็จแลว้ กดป่ ุม Registe เพื่อลงทะเบียนขอ้ มูลบญั ชี 2.2.1.3 หากดาเนินการละทะเบียนสาเร็จ จะมีขอ้ ความแสดงความยินดีปรากฏดงัภาพ ใหก้ ดที่ป่ ุม Log in ภาพที่ 2-45 ภาพใส่พาสเวริ ์ดเพือ่ ล็อกอินเขา้ สู่แอพพลิเคชน่ั 2.2.1.4 เมื่อเขา้ สู่บญั ชีคร้ังแรกจะมีหนา้ ต่างแนะนาข้นั ตอนใชง้ านส่ือ AR ของPixliveปรากฏข้ึนมา หากเขา้ ใจแลว้ ใหก้ ดป่ ุม x เพื่อปิ ดหนา้ ตา่ ง

ภาพที่ 2-46 ภาพหนา้ ตา่ งแนะนาข้นั ตอนการใชง้ าน 2.2.2การสร้าง Marker ใน Pixlive 2.2.2.1 หลงั จากเขา้ สู่ระบบ ไปท่ีหนา้ หลกั ของบญั ชี (Dashboard) ใหค้ ลิกที่ป่ ุม +หรือ บริเวณขอ้ ความ Create a new Content เพื่อสร้างสื่อ AR ภาพที่ 2-47 ภาพคลิกป่ ุม Create a new Content เพอ่ื สร้างส่ือ 2.2.2.2 ต่อมาใหเ้ ลือกประเภทของเน้ือหา ใหเ้ ลือกท่ี Image AR เพอ่ื สร้างสื่อ ARแบบใชร้ ูปภาพเป็นฐาน (Marker Based AR)

ภาพท่ี 2-48 ภาพคลิกป่ ุม Create a new Content เพ่อื สร้างสื่อ 2.2.2.3 ใหก้ ดท่ีขอ้ ความ Click or drop image / PDF here เพ่ือเปิ ดหนา้ ต่างเลือกไฟล์ หรือลากและวางไฟล์ บริเวณน้ี โดย Pixliveอนุญาตใหใ้ ชไ้ ฟลร์ ูปภาพและไฟล์ PDF มาเป็นMarker ไดเ้ ทา่ น้นั ภาพท่ี 2-49 ภาพหนา้ เลือกไฟลเ์ พ่อื สร้างส่ือ 2.2.2.4 เลือกไฟลท์ ่ีจะนามาเป็น Marker (ไฟลร์ ูป หรือไฟล์ PDF) โดยตอ้ งมีความละเอียดมากกวา่ 480x480 Pixels และควรมีลกั ษณะตามหลกั การออกแบบตวั Marker แลว้ กดป่ ุมOpen

ภาพท่ี 2-50 ภาพหนา้ เลือกไฟลร์ ูปภาพที่ตอ้ งการ ภาพที่ 2-51 ภาพตวั อยา่ ง Marker ท่ีใช้ 2.2.2.5 ตอ่ มาจะเขา้ สู่ข้นั ตอนการปรับขนาดและกาหนดส่วน (Crop) หากไม่ตอ้ งการแกไ้ ขใหก้ ดป่ ุมContinueเพือ่ ไปยงั ข้นั ตอนต่อไป ภาพที่ 2-52 ภาพข้นั ตอนการปรับขนาดไฟล์ 2.2.2.6 ต่อมาเป็ นการต้งั ค่าสื่อ AR ท่ีช่อง Content name ให้ต้งั ช่ือสื่อ AR จากน้นัใหก้ ดป่ ุม Continue เพื่อไปยงั ข้นั ตอนต่อไป

ภาพท่ี 2-53 ภาพการต้งั ช่ือส่ือ 2.2.2.7 กดที่ Pixlive Editor เพ่ือเขา้ สู่ข้นั ตอนการเพม่ิ และแกไ้ ขส่ือ AR ต่อไป ภาพที่ 2-54 ภาพคลิกเขา้ สู่การแกไ้ ขส่ือต่อไป 2.2.3การแทรกส่ือใน PixliveMaker 2.2.3.1 เมื่อเขา้ สู่ข้นั ตอนการเพิ่มและแกไ้ ขสื่อ AR คร้ังแรกจะมีหนา้ ต่างแนะนาการใชง้ านเบ้ืองตน้ ใหก้ ดที่ป่ ุม Take the Tour เพ่อื ดูการแนะนา

ภาพที่ 2-55 ภาพหนา้ ตา่ งการใชง้ านเบ้ืองตน้ 2.2.3.2 ดูและกด Click to continue หรือคลิกเมาส์ซา้ ยไปเร่ือย ๆ จนเสร็จสิ้นการแนะนา ภาพท่ี 2-56 ภาพคลิกข้นั ตอนตอ่ ไปเร่ือยๆ จนเสร็จสิ้น 2.2.3.3 หลงั จากน้นั จะพบหน้าจอสาหรับแกไ้ ขส่ือ จะแบ่งออกเป็ นสองส่วนที่สาคญั คือ ส่วนเน้ือหาท่ีจะแทรก และ ส่วนแสดงผล

ภาพท่ี 2-57 ภาพหนา้ จอสาหรับแกไ้ ขส่ือ ส่วนเน้ือหาท่ีจะแทรก ภาพท่ี 2-58 ภาพส่วนเน้ือหาที่จะแทรกImagesImage :แทรกรูปภาพImage Button :แทรกป่ ุมรูปภาพ (ลิงกไ์ ด)้Scratch :แทรกรูปภาพที่ขดู ขีดได้Image Carousel :แทรกรูปภาพหลายภาพแบบอลั บ้มั สไลดท์ ่ีสามารถเล่ือนได้Scratch :แทรกรูปภาพท่ีขดู ขีดไดแ้ บบเกมส์

ภาพที่ 2-59 ภาพเน้ือหาท่ีจะแทรกAudio/VideoAudio :แทรกเสียงVideo :แทรกวดิ ีโอTimer/Timer :ต้งั เวลานบั ถอยหลงั ภาพที่ 2-60 ภาพเน้ือหาที่จะแทรกWebOpen web page :แทรกลิงกส์ าหรับเปิ ดเวบ็Share Button :แทรกป่ ุมแชร์Tweet Button :แทรกป่ ุมTweetTextText :แทรกขอ้ ความText Button :แทรกขอ้ ความแบบป่ ุม (ลิงกไ์ ด)้

ภาพที่ 2-61 ภาพเน้ือหาท่ีจะแทรก3D3D Model :แทรกโมเดลสามมิติ360 Panorama :แทรกรูปภาพแบบพาโนรามาท่ีมีมุมมอง360 องศา 2.2.3.4 เลือกส่ือท่ีตอ้ งการจากส่วนเน้ือหาที่จะแทรก (สามารถแทรกสื่อไดห้ ลายส่ือตอ่ 1 Marker) จากน้นั จะปรากฏกรอบหนา้ ตา่ งข้ึนมาใหก้ ดที่รูป (ลูกศรช้ีข้ึน) หรือลากไฟลม์ าวางไวท้ ่ีบริเวณน้ี (Drag and Drop) เพ่ืออพั โหลดส่ือจากภายในเคร่ืองคอมพิวเตอร์ แลว้ กดป่ ุม ApplyChanges ภาพที่ 2-62 ภาพเลือกส่ือท่ีตอ้ งการจากส่วนเน้ือหาท่ีจะแทรก 2.2.3.5 ส่ือท่ีแทรกจะแสดงบน Marker สามารถปรับขนาดและตาแหน่งท่ีจะแสดงไดโ้ ดยใชเ้ มาส์ขยบั สื่อ ภาพที่ 2-63 ภาพสื่อที่จะแสดงบน Marker 2.2.3.6 เม่ือแกไ้ ขเสร็จสิ้นแลว้ ใหก้ ดไอคอน Save and Quit เพื่อบนั ทึกและออกจากการแกไ้ ข


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook