Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แบบติดตาม ตรวจสอบประเมินผลและนิเทศการศึกษา ปีการศึกษา 2564

แบบติดตาม ตรวจสอบประเมินผลและนิเทศการศึกษา ปีการศึกษา 2564

Published by SWRY, 2022-06-22 02:15:35

Description: แบบติดตาม ตรวจสอบประเมินผลและนิเทศการศึกษา ปีการศึกษา 2564

Search

Read the Text Version

โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี 2201 แบบติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ปีการศึกษา 2564 สำนักงานเขตพื้ นที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้ นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

1 เครอื่ งมอื ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษา ปีการศกึ ษา 2564 สำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู พื้นฐานของโรงเรยี น ชอื่ โรงเรียน โรงเรียนเฉลิมพระเกียรตสิ มเดจ็ พระศรนี ครินทร์ ระยอง รหสั SMIS 8 หลัก 21012009 . ต้งั อยูเ่ ลขท่ี 1 หมู่ที่ 4 ถนน - ตำบล นาตาขวญั อำเภอ เมอื งระยอง . จงั หวดั ระยอง รหสั ไปรษณีย์ 21000 โทร. 038-290051 โทรสาร - . ชอื่ -สกุล ผอู้ ำนวยการโรงเรียน นายถาวร เขียนเสมอ โทร.(มอื ถือ) 089-8243108 . วสิ ัยทศั น์ของโรงเรยี น พัฒนาสมรรถนะผูเ้ รียน สรา้ งสรรค์นวัตกรมอื อาชีพ มุง่ สู่โรงเรยี นนวตั วิถี .. เปน็ คนดี มีจติ อาสา สืบสานงานพระราชดำริ . ปรชั ญาของโรงเรียน นิมิตตํ สาธรุ ปู านํ กตญั ญูกตเวทิตา (ความกตัญญเู ป็นเคร่ืองหมายแหง่ คนดี) . อัตลกั ษณ์ของสถานศกึ ษา รักษ์ศักดิศ์ รี มีคุณธรรม นำวิชาการ สืบสานงานพระราชดำริ . เอกลกั ษณข์ องสถานศกึ ษา โรงเรยี นรีสอรท์ . โรงเรยี นขนาด □ ขนาดเล็ก □ ขนาดกลาง  ขนาดใหญ่ □ ขนาดใหญพ่ เิ ศษ รายละเอียดเพิ่มเติมของโรงเรยี น (ให้กาเคร่ืองหมาย  ลงในช่อง □ ตามความเปน็ จรงิ )  โรงเรียนที่เขา้ ร่วมโครงการ EEC □ โรงเรยี นศนู ย์ ERIC , HCEC □ โรงเรียนคุณภาพ  โรงเรียนจัดการเรียนการสอนนกั เรยี นพิเศษเรียนรวม □ โรงเรียนสุจริต □ โรงเรยี นคุณธรรม สพฐ. ระดับ . □ โรงเรียนศนู ยอ์ าเซียน (Sister School) □ โรงเรียน EIS  ศูนย์พัฒนาการเรียนการสอนสาระ (ระบุชือ่ ) ศลิ ปะ (นาฏศลิ ป์) . □ โรงเรยี นต้นแบบการจดั การเรยี นการสอนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง □ โรงเรยี นต้นแบบ (ระบุชือ่ ) ................................................................................................ □ โรงเรยี นเปดิ แผนการเรยี น EP □ โรงเรยี น Education Hub □ มัธยมศึกษาตอนตน้ □ มัธยมศึกษาตอนปลาย □ โรงเรียนเปดิ แผนการเรยี น MEP สถานศึกษานำร่องพ้นื ทีน่ วัตกรรมการศึกษาจังหวดั ระยอง □ มธั ยมศึกษาตอนต้น □ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

2 โรงเรียนจัดการเรยี นการสอนภาษาตา่ งประเทศรองรบั การเข้าสปู่ ระชาคมอาเซียนและสากล (ใหก้ าเครื่องหมาย  ลงในชอ่ ง □ ตามความเป็นจรงิ )  ภาษาจีน □ ภาษาญีป่ ุ่น □ ภาษาเกาหลี □ ภาษาฝรั่งเศส □ ภาษารัสเซีย □ อ่ืน ๆ ....................................... จำนวนครูและบคุ ลากรในโรงเรยี นทงั้ ส้ิน รวมจำนวน 70 คน จำนวนรองผ้อู ำนวยการ 3 คน จำนวนครู (ไม่รวมพนักงานราชการและอัตราจ้าง) 54 คน จำนวนนักเรียน 1,009 คน จำนวนพนักงานราชการ - คน จำนวนลกู จ้างประจำ 1 คน จำนวนอตั ราจา้ ง 1 คน

3 เคร่อื งมือติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศกึ ษา ปงี บประมาณ 2564 สำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษาเขต 18 ตอนท่ี 2 รายการประเมินและวธิ ีการประเมิน การดำเนินงานติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศกึ ษา จะดำเนินการติดตาม ตรวจสอบฯ ในดา้ นปจั จยั กระบวนการและผลผลิตรวม 4 ดา้ น 1. การบรหิ ารงานดา้ นการบริหารท่ัวไป 2. การบรหิ ารงานดา้ นวิชาการ 3. การบรหิ ารงานดา้ นงบประมาณ 4. การบรหิ ารงานดา้ นบรหิ ารงานบุคคล 5. การบรหิ ารงานดา้ นบริหารงานกจิ การนักเรยี น

4 การบริหารงานด้านการบริหารทวั่ ไป ประเด็นการประเมิน 1. ภาวะผนู้ ำของผู้บรหิ าร การแสดงวิสยั ทัศน์ เปา้ หมาย พนั ธกิจทชี่ ัดเจนและกำหนดยทุ ธศาสตร์ การพัฒนาได้ตรงประเด็น ประสานและสรา้ งความสัมพันธอ์ ันดกี ับผูเ้ ก่ียวขอ้ ง 2. ข้อมลู สารสนเทศที่เปน็ ระบบในการบริหารจดั การและพัฒนาคุณภาพของสถานศกึ ษา 3. การใชแ้ ผนเป็นเคร่อื งมอื ในการบรหิ ารจัดการ 4. การประยกุ ต์ใช้นวัตกรรมเทคโนโลยแี ละรูปแบบการบริหารจดั การทหี่ ลากหลาย 5. การนำผลการดำเนินงานพฒั นาการบริหารจดั การอยา่ งต่อเน่ือง เกณฑ์การประเมนิ ดำเนินการตามประเด็นครบ 5 ข้อ มรี ่องรอยหลักฐานปรากฏชัดเจนทกุ ข้อ ระดบั คุณภาพ ดำเนนิ การตามประเดน็ ครบ 5 ขอ้ มรี ่องรอยหลักฐานปรากฏชัดเจน 4 ข้อ 4 หมายถงึ ดำเนินการตามประเดน็ ครบ 5 ข้อ มรี ่องรอยหลักฐานปรากฏชัดเจน 3 ขอ้ 3 หมายถึง ดำเนินการตามประเดน็ ครบ 5 ขอ้ มีร่องรอยหลักฐานปรากฏชัดเจน 2 ข้อ 2 หมายถึง 1 หมายถงึ วธิ ดี ำเนินงาน ผลการดำเนินงานปญั หาอุปสรรค ระบเุ อกสารหลักฐานอา้ งองิ แนวทางแกไ้ ขและข้อเสนอแนะ ประเดน็ ที่ 1 ภาวะผนู้ ำของผู้บรหิ าร ประเดน็ ที่ 1 1.1 การแสดงถึงภาวะผู้นำของผู้บริหาร วิสัยทัศน์ 1. แผนพฒั นาคุณภาพสถานศึกษา เป้าหมาย พันธกิจที่ชัดเจนและกำหนดยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาได้ 2. แผนปฏิบตั ิการประจำปี ตรงประเด็นผู้บริหารโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จ 3. ปฏทิ ินการปฏบิ ตั ิงานประจำปี พระศรีนครินทร์ ระยอง เป็นผู้มีภาวะผู้นำ มีวิสัยทัศน์ กว้างไกล 4. สรปุ ผลการดำเนนิ งานโครงการ และชัดเจนเหน็ ไดจ้ ากการดำเนนิ การ ดงั นี้ ประจำปกี ารศกึ ษา 1.1.1 การกำหนดวิสยั ทศั น์ในการทำงาน ดังนี้ 5. เวบ็ ไซต/์ โปรแกรม/ข้อมลู “พัฒนาผเู้ รียนให้เปน็ บุคคลแห่งการเรยี นรู้ สารสนเทศ สบื สานงานพระราชดำริ เป็นพลโลกท่ดี ี เกง่ และมีความสขุ ” 6. ผลงานการประชาสัมพนั ธ์ 1.1.2 การกำหนดพนั ธกจิ ไว้ ดังน้ี 7.รายงานการประชมุ ข้าราชการครู 1) พฒั นาและส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นทุกคนได้รบั และบุคลากรทางการศึกษาประจำเดอื น การศกึ ษาอยา่ งมีคณุ ภาพและมคี ณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ในสถานศกึ ษา มีภูมคิ มุ้ กนั ทีด่ ี ปลอดภยั จากส่งิ เสพตดิ ตามมาตรฐานการศกึ ษา ขน้ั พน้ื ฐานและอัตลักษณ์ของสถานศกึ ษา

วธิ ีดำเนนิ งาน ผลการดำเนนิ งานปัญหาอุปสรรค 5 แนวทางแกไ้ ขและขอ้ เสนอแนะ ระบุเอกสารหลักฐานอา้ งองิ 2) พัฒนาและส่งเสริมครูให้มีความรู้ความ สามารถในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและ สามารถใช้ภาษา ตา่ งประเทศเพ่ือการสื่อสารในระดับพ้ืนฐานได้ 3) พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารด้วยระบบ คณุ ภาพและหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง 4) สร้างเครือข่ายความร่วมมือ เพื่อส่งเสริม การจัดการศกึ ษา 5) สบื สานงานพระราชดำริ 1.1.3 กำหนดเป้าประสงค์ ไว้ทั้งหมด 4 ข้อ ได้แก่ 1) เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตาม มาตรฐานการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ มีความสามารถทางด้านวิชาการ การสื่อสาร การคิดวิเคราะห์ การผลิตช้ินงาน การใช้เทคโนโลยีมีจิตสาธารณะรับผิดชอบต่อ สงั คมและส่งิ แวดล้อม มที ักษะการใชช้ วี ติ และการทำงาน เชื่อมั่น ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็น ประมขุ 2) เพื่อพัฒนาครูให้มีความสามารถปฏิบัติงาน ในหน้าที่ได้อย่างมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน หรือเกณฑท์ ก่ี ำหนด 3) เพื่อเพิ่มขีดความสามารถและความเข้มแข็ง ในการบริหารและการจดั การศึกษาของโรงเรยี นให้เปน็ ที่ยอมรบั ของชมุ ชน 1.1.4 กำหนดกลยุทธ์ไว้ 5 กลยุทธ์ ดังนี้ 1) พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุก ระดบั ตามหลักสูตรและสง่ เสริมความสามารถดา้ นเทคโนโลยีเพ่ือ เปน็ เครอ่ื งมอื ในการเรยี นรู้ 2) พัฒนาสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติด และอบายมุข ปลูกฝั่งคุณธรรม ความสำนกึ ในความเป็นชาติไทย และวถิ ชี วี ติ ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง 3) ขยายโอกาสทางการศึกษา

วธิ ดี ำเนินงาน ผลการดำเนนิ งานปัญหาอุปสรรค 6 แนวทางแก้ไขและขอ้ เสนอแนะ ระบเุ อกสารหลักฐานอ้างอิง 4) พฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษาทัง้ ระบบ 5) พฒั นาประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การศึกษา ตามแนวทางการกระจายอำนาจและเน้นการมีส่วนร่วมจากทุก ภาคส่วนและความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อ สง่ เสริมและสนบั สนุนการจัดการศึกษา 1.1.5 มโี ครงการตามแผนปฏบิ ตั ิการประจำปี 2564 จำนวน 61 โครงการ 185 กิจกรรม (หลกั ฐานตามแผนปฏิบตั ิ การประจำปี 2564) 1.2 การประสานและสร้างความสัมพนั ธ์อันดกี ับผ้เู ก่ียวขอ้ ง 1) ประสานและสรา้ งความสมั พันธ์อันดีกับผปู้ กครอง จัดประชมุ ผู้ปกครองช้นั เรยี นภาคเรยี นละ 1 ครง้ั 2) มีการสร้างความสัมพันธ์กลุ่มเครือข่ายผู้ปกครอง นักเรียน 3) ประชุมข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ประจำทกุ เดือน 4) ผู้บรหิ ารประชมุ ผู้บรหิ ารโรงเรียน ณ เขตพน้ื ที่ 5) ประสานและสร้างสัมพันธ์กับกลุ่มชมรมรถรับ-ส่ง นักเรียน โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง 6) ประชุมร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบล นาตาขวัญ และเข้าร่วมกจิ กรรมตา่ ง ๆ ของชุมชน

7 วิธดี ำเนินงาน ผลการดำเนนิ งานปัญหาอุปสรรค ระบุเอกสารหลักฐานอา้ งองิ แนวทางแก้ไขและขอ้ เสนอแนะ ประเดน็ ที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศท่เี ปน็ ระบบในการบรหิ าร ประเดน็ ท่ี 2 จดั การและพฒั นาคุณภาพของสถานศกึ ษา 1.รายงานการประเมนิ ตนเองของ วิธีการดำเนินงาน สถานศกึ ษา (Self - Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา 1. ศึกษาวิเคราะห์ระบบข้อมลู พ้ืนฐานของสว่ นกลางและ 2564 วางแผนการจดั เก็บข้อมลู ให้เป็นไปตามเวลาและเง่ือนไข 2. สารสนเทศโรงเรยี น 2. ผ้รู ับผดิ ชอบงานข้อมลู สารสนเทศ ดำเนนิ ตดิ ตามข้อมลู 3. รายงานข้อมูลนักเรยี น สารสนเทศจากแตล่ ะกลมุ่ งาน 4. รายงานข้อมูลสารสนเทศ 3. ผรู้ บั ผดิ ชอบดำเนนิ การจัดทำข้อมูลสารสนเทศทาง ผา่ นระบบต่าง ๆ บนเวบ็ ไซต์ การศึกษา ปีการศึกษา 2564 3.1 ข้อมูลนักเรียนรายบุคคล ผ่านระบบ DMC ท่ี เวบ็ ไซต์ https://portal.boppobec.info/obec64 3.2 ข้อมลู สง่ิ กอ่ สรา้ ง ผา่ นระบบ B-OBEC ที่เวบ็ ไซต์ http://bobec.bopp-obec.info/ 3.3 ข้อมลู สารสนเทศเพื่อการบริหาร ผ่านระบบ EMIS ท่เี วบ็ ไซต์ https://data.bopp-obec.info/emis/ 3.4 มีการแจ้งข้อมูลข่าวสาร หนังสือราชการผ่าน ระบบ E-School 4. ผู้รับผิดชอบงานข้อมูลสารสนเทศระดับโรงเรียน ดำเนินการรายงานข้อมูลผ่านระบบ DMC, B-OBEC และ EMIS ตามท่สี ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐานกำหนด 5. ตรวจสอบ ตดิ ตามการรายงานแต่ละกลุม่ งาน 6. ใหบ้ รกิ ารข้อมูลสารสนเทศเพ่ือสนบั สนุนการบริหารจัด การศึกษา โดยรวบรวมข้อมูลทางการศึกษาจัดเก็บ แล้วจัดทำ เป็นขอ้ มูลสารสนเทศเพือ่ เผยแพร่ ได้แก่ 6.1 เอกสารรายงานข้อมลู สารสนเทศ 6.2 รายงานข้อมลู สารสนเทศบนเวบ็ ไซต์ 7. ประเมินผลและสรุปรายงานข้อมูลสารสนเทศทาง การศึกษา ปีการศึกษา 2564 และเผยแพร่ให้บริการทางระบบ เว็บไซตแ์ ละรปู เล่มเอกสาร

8 วิธีดำเนนิ งาน ผลการดำเนินงานปญั หาอุปสรรค ระบเุ อกสารหลักฐานอา้ งองิ แนวทางแก้ไขและขอ้ เสนอแนะ 8. สนับสนุนข้อมูลสารสนเทศให้แก่หน่วยงานในพื้นที่ใน การจัดกิจกรรมต่าง ๆ เช่น องค์การบริหารส่วนท้องถ่ิน โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพประจำตำบล ผลการดำเนินงาน 1. มีข้อมูลจำนวนนักเรียนรายบุคคล ปี 2564 เพื่อให้ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานใช้เป็นข้อมูลใน การจัดสรรงบประมาณ อัตรากำลัง ทุนอุดหนุนปัจจัยพื้นฐาน นักเรียนยากจน ข้อมูลค่าปรับปรุงซ่อมแซมอาคารเรียนและ อาคารประกอบ 2. มีข้อมูลสารสนเทศที่เป็นระบบ เพื่อสนับสนุนการบริหาร จดั การและพฒั นาคุณภาพของโรงเรยี นอยา่ งมีประสิทธภิ าพ ปญั หาอุปสรรคและแนวทางแกไ้ ข - ขอ้ เสนอแนะเพื่อการพฒั นา - ประเด็นท่ี 3 การใช้แผนเป็นเครื่องมือในการบรหิ ารจัดการ ประเด็นท่ี 3 วิธกี ารดำเนินงาน 1. สรุปรายงานการประชุมผู้ปกครอง 1. คณะครูและผู้บริหารมีส่วนร่วมในการวางแผน นักเรยี น พัฒนาการศึกษา โดยกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ 2. รายงานการประชุมคณะกรรมการ กลยุทธ์ให้ตรงกับนโยบายกระทรวงศึกษาธิการและสำนักงาน สถานศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน 3. เครื่องมือติดต่อสื่อสารของ คณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน 2. มีการจัดทำแผนปฏิบัติการ ประจำปีการศึกษา โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระ พ.ศ. 2564 เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการดำเนินงานตามบทบาท ศรีนครินทร์ ระยอง เว็บไซต์โรงเรียน และภารกิจ ในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานที่สอดคล้องกับ https://www.facebook.com/swry. นโยบาย กลยุทธ์ จุดเน้น และคำรับรอง การปฏิบัติราชการของ rayong กระทรวงศึกษาธิการ และสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา 4. ผลการประเมินคุณธรรมและ ขั้นพื้นฐาน โดยมีจุดมงุ่ หมายทจี่ ะขบั เคล่ือนนโยบายสู่การปฏิบัติ ความโปร่งใสในการดำเนินงานของ หนว่ ยงานภาครฐั ใหเ้ ปน็ รปู ธรรม เกดิ ประสทิ ธภิ าพและประสิทธิผลสูงสุด

9 วิธีดำเนินงาน ผลการดำเนินงานปัญหาอุปสรรค ระบุเอกสารหลักฐานอา้ งอิง แนวทางแก้ไขและข้อเสนอแนะ ผลการดำเนินงาน 1. มีแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรียน (กลยทุ ธ)์ 5 ปี (พ.ศ.2560 - 2564 ) 2. มีแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เพ่ือใชเ้ ปน็ เครื่องมือในการปฏิบัติงานของโรงเรียน และยกระดับ คณุ ภาพการศกึ ษาให้สงู ขนึ้ 3. ทิศทางในการพัฒนาการศึกษาของโรงเรียนเฉลิม พระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง สอดคล้องกับ นโยบาย กลยุทธ์ จุดเน้นและคำรับรองการปฏิบัติราชการของ กระทรวงศึกษาธิการและสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขนั้ พ้นื ฐาน ปัญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ไข แผนปฏิบตั ิการประจำปีมีจำนวนโครงการมากเกนิ ไป โรงเรยี นไดด้ ำเนนิ การแก้ไขปรับแผนกจิ กรรมให้ลดจำนวนลง สอดคลอ้ งกับโครงการและจดเนน้ ของโรงเรยี นและหน่วยงานต้น สงั กัด ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา การให้บริการข้อมูลสารสนเทศแต่ละกลุ่มงาน ควรมี การจัดทำข้อมูลกลางของโรงเรียน เพื่อใช้ร่วมกันในการบริหาร การศึกษาให้เกิดประสทิ ธิภาพ ประเด็นที่ 4 การประยุกต์นวัตกรรมเทคโนโลยีและรปู แบบการ ประเดน็ ท่ี 4 บริหารจัดการที่หลากหลาย 1. รายงานการประเมินตนเอง วธิ ีการดำเนินงาน ของสถานศึกษา (Self - Assessment โรงเรียนเฉลิมพระเกียรตสิ มเดจ็ พระศรีนครินทร์ ระยอง Report : SAR) ประจำปกี ารศึกษา 2564 ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช 2. เวบ็ ไซตโ์ รงเรียน/โปรแกรม/ข้อมูล กุมารี ได้พัฒนาและประยุกต์ใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีและ สารสนเทศ รูปแบบการบริหารจัดการภายในสถานศึกษา เพื่อยกระดับ 3. รายงานการได้รับเครื่องราช คุณภาพการบริหารจัดการศึกษา โดยใช้กระบวนการปฏิบัติงาน อิสริยาภรณ์ของข้าราชการครูและ 4 ขั้นตอน คือ วิเคราะห์ปัญหา วางแผนแก้ปัญหา ดำเนินการ บุคลากรทางการศึกษา

10 วิธดี ำเนนิ งาน ผลการดำเนินงานปญั หาอุปสรรค ระบุเอกสารหลักฐานอา้ งอิง แนวทางแก้ไขและขอ้ เสนอแนะ ตามแผนและประเมินผลเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ 4. เครื่องมือติดต่อสื่อสารของ โรงเรียน ได้ครบทัง้ 4 ดา้ น ดังน้ี โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระ 1. การบริหารวิชาการ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ Mail Group ศรนี ครินทร์ ระยอง เวบ็ ไซต์โรงเรยี น แบบทดสอบ และระบบข้อมูลสารสนเทศด้านคุณภาพ https://www.facebook.com/Srinaga มัธยมศึกษา สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย SESA, rindra.Rayong.School ระบบวัดและประเมินผลออนไลน์ ด้วยระบบ SGS, ระบบ 5. สรปุ รายงานการประชุมผู้ปกครอง รายงานการสอนออนไลน์ และสรุปผล, ระบบมอบตัวนักเรียน นกั เรียน ประจำปีการศึกษา 2564 ออนไลน์, E- Library ห้องสมุด 6. การปรับปรุงระบบเครือข่าย ออนไลน์ อินเทอร์เน็ตโรงเรยี น 2. การบริหารบุคคล โปรแกรมเครื่องราชอิสริยาภรณ์, 7. การตอบแบบสอบถามด้วยระบบ ข้อมูลบุคคล, ระบบรายงานตัว timestamp การปฏิบัติหน้าที่ ออนไลน์ ออนไลน์และรายงานสรปุ ผล 8. สรุปรายงานผลต่าง ๆ ด้วย 3. ข้อมูลอัตรากำลังครูและบคุ ลากรทางการศึกษา และ Google Data Studio ระบบข้อมูลสารสนเทศด้านคุณภาพมัธยมศึกษา สำนัก 9. ระบบ E – school สำหรับระบบ บริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย SESA การบริหาร สารบรรณออนไลน์ ข้อมูลนักเรียน SDQ งบประมาณ โปรแกรม B-๐bec, M-obec, GFMIS ระบบงบประมาณโครงการต่าง ๆ ฯลฯ 4. การบริหารทั่วไป กลุ่ม LINE, Facebook, โปรแกรม 10. ระบบมอบตัวนักเรียนประจำปี ระบบสารสนเทศเพื่อบริหารการศึกษา E-MIS, ระบบจัดเก็บ การศกึ ษา 2564 รปู แบบออนไลน์ ข้อมูลนักเรียนรายบุคคล DMC, ระบบแบบสอบถามออนไลน์ 11. กลุ่มไลน์ Line สำหรับสื่อสาร Google Form, ระบบลงทะเบียนการอบรมออนไลน์ Google ประจำหอ้ งเรยี น Form ระบบข้อมูลสารสนเทศด้านคุณภาพมัธยมศึกษา สำนัก 12. E- Library ห้องสมุดออนไลน์ บรหิ ารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย SESA ระบบ E – school 13. School Pass ผลการประเมิน สำหรับระบบสารบรรณออนไลน์ ข้อมูลนักเรียน SDQ ระบบ ไทยเซฟไทย จำนวนผู้ได้รับวัคซีน งบประมาณโครงการต่าง ๆ, School Pass ผลการประเมินไทย (Covid-19) และผลการตรวจ ATK เซฟไทย จำนวนผู้ได้รับวัคซีน(Covid-19) และผลการตรวจ 14. สรุปผล Timeline ของครูและ ATK, สรุปผล Timeline ของครแู ละนักเรียน นักเรยี น ผลการดำเนินงาน จากการดำเนินงานของโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเดจ็ พระศรีนครินทร์ ระยอง ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพ รัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ไดผ้ ลการดำเนินงาน ดังนี้

วิธีดำเนินงาน ผลการดำเนนิ งานปญั หาอุปสรรค 11 แนวทางแก้ไขและข้อเสนอแนะ ระบเุ อกสารหลักฐานอา้ งอิง 1. โรงเรียนมีระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการ ดำเนนิ งานและจัดการเรยี นการสอนมีประสทิ ธิภาพย่งิ ข้นึ 2. บุคลากรทุกคนมีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะใน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและนวัตกรรมได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 3. เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานโดยใช้เทคโนโลยี งานมี ความถูกต้อง รวดเร็ว ทันเวลา ลดขัน้ ตอนการปฏิบัตงิ าน ลดการ ใช้ทรัพยากร มีการใช้ข้อมูลข่าวสารเพื่อการบริหารและการ จัดการ 4. โรงเรียนมีการจัดการข้อมูลที่เป็นระบบ สามารถ สืบค้นสะดวก รวดเร็ว และมีการรายงานผลที่ชัดเจนและเข้าใจ งา่ ย 5. บุคลากรทุกคนสามารถทำงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ปัญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ไข 1. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มอบหมายภารกิจการบริหารงบประมาณด้านวิชาการให้ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและโรงเรียนมากเกินไป และ บางภารกิจไม่สอดคลอ้ งกับความต้องการจำเป็นของโรงเรียน 2. การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ทำให้ไมส่ ามารถเปิดเรยี นแบบปกติได้ทำให้กิจกรรม และการทำงานบางอย่างไม่สามารถดำเนินการตามที่วางแผนไว้ ได้ ข้อเสนอแนะเพ่ือการพัฒนา 1. ควรลดภารกจิ ท่ไี มส่ อดคล้องกบั ความต้องการของ โรงเรียน 2. พฒั นาครใู หม้ ีทกั ษะการพัฒนาเชิงวจิ ยั 3. พฒั นานวัตกรรมเทคโนโลยีเพือ่ นำมาใชใ้ นการ บริหารจดั การงานท่ีหลากอย่างตอ่ เนื่อง

12 วธิ ดี ำเนินงาน ผลการดำเนินงานปัญหาอุปสรรค ระบุเอกสารหลักฐานอ้างอิง แนวทางแกไ้ ขและขอ้ เสนอแนะ ประเด็นท่ี 5 การนำผลการดำเนนิ งานพัฒนาการบรหิ าร ประเด็นท่ี 5 จดั การอยา่ งต่อเน่อื ง 1. รายงานสรุปผลการดำเนินงาน วธิ กี ารดำเนินงาน โครงการประจำปกี ารศกึ ษา 2564 1. โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ 2. แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีการศึกษา ระยอง ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ 2564 สยามบรมราชกุมารี ได้จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 3. แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ระยะ 4 ปี (2560 - 2564) เป็นแผนแม่บท กำหนดโครงการ/ ระยะ 4 ปี (2560 - 2564) กิจกรรม ให้สอดคล้องกับนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ กลยุทธ์ 4. รายงานการประชุมประจำเดือน จุดเน้นของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา แผนพัฒนาการศึกษาจังหวัด โดยการมีส่วนร่วมของคณะครู ในสถานศกึ ษา และผู้บริหารกำหนดเป้าหมายความสำเร็จให้ตรงกับประเด็น 5. สรปุ รายงานกิจกรรมโครงการตาม การติดตามของมาตรฐานสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา แผนปฏบิ ตั ิการประจำปี 2564 ดำเนินงานตามตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัด 6. เว็บไซต์โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ ตามแผนปฏบิ ัติราชการ สมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง 2. โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ www.swry.ac.th ระยอง ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม 7 . Facebook โ ร ง เ ร ี ย น เ ฉ ลิ ม บรมราชกุมารี ได้จัดประชุมเพื่อวางแผนจัดทำแผนปฏิบัติการ พระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ประจำปีการศึกษา 2564 เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการปฏิบัติงาน ระยอง ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพ โดยการดำเนินโครงการหรือกิจกรรมที่กำหนดไว้ให้มีความ รตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี สอดคล้องกับนโยบาย กลยุทธ์ และจุดเน้นต่าง ๆ ปีการศึกษา 8. ภาพถ่ายการทำกจิ กรรม/โครงการ 2564 มีโครงการ จำนวน 61 โครงการ และมีกิจกรรม จำนวน 185 กิจกรรม (หลกั ฐานตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปี 2564) 3. มีการเผยแพร่แผนการปฏิบัติงานประจำปีเพื่อเป็น ประโยชน์ในการปฏิบัติงาน นอกจากนี้ได้จัดทำรูปเล่มเอกสาร แผนปฏบิ ตั ิการประจำปี มอบหมายให้กับผูท้ ่มี ีส่วนเกย่ี วขอ้ ง 4. มีการจัดประชุม/อบรมการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษาของสถานศึกษา และแผนปฏิบัติการประจำปี การศึกษา 2564 จนเกิดทักษะความรู้ และสามารถนำไปปฏิบัติ ไดต้ ามกรอบแนวทางทว่ี างไวอ้ ยา่ งถกู ต้อง

วิธีดำเนนิ งาน ผลการดำเนนิ งานปญั หาอุปสรรค 13 แนวทางแกไ้ ขและข้อเสนอแนะ ระบเุ อกสารหลักฐานอ้างองิ 5. มีกำหนดการนิเทศ กำกับ ติดตาม และตรวจสอบ เพื่อให้การขบั เคล่ือนเป็นไปตามแผนที่กำหนดไว้ ดงั นี้ 5.1. จัดทำแผนนิเทศ ติดตามและประเมินผลการ ดำเนินงานแต่ละกลุ่มงาน 5.2. มีการมอบหมายให้หัวหน้าแต่ละกลุ่มงานมีส่วน รับผิดชอบกำหนดวางแผนการนิเทศ และดำเนินงานตาม กลุ่มงาน 5.3. ส่งเสริม สนับสนุนคณะกรรมการดำเนินการ นเิ ทศตามบทบาทหนา้ ท่ี 5.4. ประเมิน สรุปผลการนิเทศ เมื่อเสร็จสิ้นการ ดำเนินงานนิเทศและจัดทำรายงานผลการนิเทศ เพื่อใช้เป็น ขอ้ มลู สำหรบั การพัฒนากระบวนการจดั การและการศกึ ษาต่อไป 6. สรุปรายงานผลการดำเนินงานประจำปี โดยจัดทำ รูปเลม่ รายงานต่อหนว่ ยงานต้นสังกัดเพ่ือเผยแพรป่ ระชาสัมพันธ์ ใหผ้ ู้เกยี่ วขอ้ งรบั ทราบโดยทว่ั กนั ผลการดำเนนิ งาน 1. โรงเรียนมีแผนพัฒนาการจัดการศึกษาประจำปี การศึกษา 2564 เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการขับเคลื่อนกล ยุทธ์ นโยบาย และยุทธศาสตร์จนสามารถนำไปสู่การปฏิบัติ อย่างย่งั ยืน 2. โรงเรียนได้จดั ทำแผนปฏบิ ัติการประจำปี เพื่อใช้เปน็ เครื่องมือในการปฏิบัติงานให้สอดคล้องตามนโยบาย กลยุทธ์ และจดุ เน้นตา่ ง ๆ จากหน่วยงานต้นสังกัด 3. โรงเรียน มีการจัดทำรายงานผลการดำเนินงานเป็น ประจำทกุ ปี ปญั หาอุปสรรค และแนวทางการแกไ้ ข 1. การจัดทำโครงการตามแผนปฏิบัติการ มีจุดเน้นบาง ประเด็นที่ยังไม่สอดคล้องตามกลยุทธ์ อันเนื่องมาจากใน ปีการศึกษา 2564 ทางโรงเรียนไม่สามารถจัดการเรียนการสอน ในรูปแบบปกติได้ และได้มีการปรับเปลี่ยนเป็นรูปแบบออนไลน์

วิธดี ำเนนิ งาน ผลการดำเนนิ งานปญั หาอุปสรรค 14 แนวทางแก้ไขและข้อเสนอแนะ ระบเุ อกสารหลักฐานอา้ งอิง ซึ่งทำให้การดำเนินงานตามบางโครงการ/กิจกรรม อาจจะไม่ สอดคล้องตามแผนทีก่ ำหนดไว้ 2. ระยะเวลาในการดำเนนิ งานตามโครงการ/กจิ กรรม คอ่ นข้างน้อยจงึ ทำใหบ้ างครง้ั การดำเนินงานไมเ่ ป็นไปตามแผนท่ี กำหนดไว้ ประกอบกับมีการดำเนินงานหลายงานในระยะเวลาที่ ตดิ กันจงึ ทำให้ไม่สามารถทำงานได้อย่างเต็มศักยภาพ ขอ้ เสนอแนะเพอ่ื การพัฒนา 1. วางแผนและกำหนดการจัดประชุมเพื่อพัฒนาทักษะ และสร้างองค์ความรูใ้ หเ้ กดิ แกผ่ ู้ทม่ี สี ่วนเกี่ยวขอ้ ง 2. บูรณาการโครงการ/กิจกรรมที่มีลักษณะคล้ายกันให้ ดำเนินงาน/กิจกรรมในกรอบเวลาเดยี วกัน เพือ่ ความสะดวกและ รวดเร็วในการดำเนินงานซึ่งสามารถช่วยจำกัดในส่วนของเรื่อง งบประมาณและบคุ ลากรไดอ้ ย่างเปน็ ระบบ ระดับคุณภาพ 4

15 การบริหารงานดา้ นวิชาการ ประเดน็ การประเมิน 1. สง่ เสรมิ การพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษาใหส้ อดคล้องกบั หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช 2560 และ/หรือการจดั การเรยี นรวม 2. โรงเรียนจัดให้มีหลักสูตรรายวิชาเพ่ิมเติมโดยใช้คู่มือการใช้รูปแบบการนิเทศเพื่อส่งเสริม ความสามารถในการจัดทาหลักสูตรรายวิชาเพ่ิมเติมของครูในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) 3. ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ ผ่านกระบวนการเรียนการสอนท่ีเน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมและ มีปฏิสัมพันธ์กับกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติท่ีหลากหลายรูปแบบ (Active Learning) และ/หรือ การจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา มีการวัดและประเมินผลเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ ของผเู้ รยี น (Assessment for learning)ให้เกดิ สมรรถนะกับผู้เรียนทุกระดับ 4. มุ่งเน้นการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้ทุกระดับ มีการผลิตจัดหาและพัฒนาสื่อเครื่องมือ อุปกรณใ์ นการเรียนรู้ทห่ี ลากหลายของผเู้ รยี นใหท้ นั ต่อความเปลีย่ นแปลง 5. ส่งเสริมการวัดผลประเมินผลและนาผลไปใช้ในการปรับปรุงพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา 6. สง่ เสริมและพฒั นาระบบการประกนั คุณภาพการศกึ ษา 7. วจิ ัยและนาผลการวิจยั ไปใช้เพอื่ พัฒนางานวชิ าการ 8. ประสานส่งเสริมให้ชุมชนท้องถิ่นและสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษารวมทั้งเป็นเครือข่าย และแหลง่ เรียนรูเ้ พอ่ื พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา เกณฑ์การประเมิน ระดับคุณภาพ 4 หมายถึง ดาเนินการตามประเดน็ ครบ 8 ข้อ มีร่องรอยหลักฐานปรากฏชัดเจนทุกข้อ 3 หมายถงึ ดาเนนิ การตามประเด็นครบ 8 ข้อ มีร่องรอยหลกั ฐานปรากฏชัดเจน 6-7 ข้อ 2 หมายถงึ ดาเนนิ การตามประเด็นครบ 8 ข้อ มีร่องรอยหลักฐานปรากฏชดั เจน 4-5 ข้อ 1 หมายถึง ดาเนินการตามประเด็นครบ 8 ข้อ มรี ่องรอยหลกั ฐานปรากฏชดั เจน 1-3 ข้อ

16 วธิ ดี าเนินงาน ผลการดาเนินงานปญั หาอุปสรรค ระบเุ อกสารหลักฐานอา้ งอิง แนวทางแกไ้ ขและข้อเสนอแนะ ประเดน็ ที่ 1 ส่งเสริมการพัฒนาหลกั สตู รสถานศึกษาให้ หลักสตู รสถานศกึ ษา สอดคล้องกบั หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน (ฉบับปรับปรุงพทุ ธศักราช 2564) พทุ ธศกั ราช 2551 ปรบั ปรุง พุทธศักราช 2560 และ/หรือการ จดั การเรียนรวม วธิ กี ารดาเนินงาน หลกั สตู รระดบั ชน้ั ม.ต้น โรงเรยี นเฉลมิ พระเกียรตสิ มเดจ็ พระศรนี ครินทร์ ระยอง หลกั สูตรระดับช้ัน ม.ปลาย มีการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับมาตรฐานและ ตัวช้ีวัดที่กาหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มกี ระบวนการพฒั นาผเู้ รียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย ครมู ีการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับบริบทของผู้เรียนและท้องถิ่น ออกแบบหน่วยการเรียนรู้และจัดทาแผนการเรียนรู้ท่ีเน้น กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเกิดจากการปฏิบัติจริง (Active Learning) มีกลยุทธ์ในการจัดการเรียนรู้ ส่ือ นวัตกรรม เทคโนโลยีทาง การศึกษาและแหล่งเรียนรู้มาใช้ในการจัดการเรียนรู้เพื่อใน สอดคล้องกับสถานการณ์ของการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือ ไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19) มีการวัดและประเมินผล การจัดการเรียนรู้ตามสภาพจริงและเป็นไปตามบริบทและ สถานการณ์โดยคานึงถึงผลประโยชน์ของผู้เรียนเป็นสาคัญ ทั้งน้ี ครูผู้สอนใช้เคร่ืองมือวัดและประเมินผลที่มีคุณภาพในการวัด และประเมินผลอย่างยืดหยุ่นผ่านการทีส่วนร่วมของผู้เรียน ทาให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นไปตามเป้าหมายของ สถานศึกษาท่กี าหนดไว้ ครูผู้สอนมีการออกแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานท้ัง ในรูปแบบ On-Site และ Online ตามศักยภาพผู้เรียน มุ่งเน้น จัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษ ที่ 21 ผู้เรียนมีทักษะการแสวงหาความรู้ การวิเคราะห์ข้อมูล การนาไปใช้ การแก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง พัฒนากระบวน การคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยน ความคิดเห็น และแก้ปัญหาของผู้เรียน ผ่านการจัดการเรียนรู้ แบบใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning) และการ

วธิ ีดาเนินงาน ผลการดาเนนิ งานปัญหาอุปสรรค 17 แนวทางแก้ไขและขอ้ เสนอแนะ ระบเุ อกสารหลักฐานอา้ งองิ ใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem–Based Learning) บูรณาการใน ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้เพ่ือเน้นให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้และ ต่อยอดองค์ความรู้ได้อย่างต่อเนื่องในสถานการณ์ของการแพร่ ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19) และกา้ วสู่ การเป็นพลโลกทดี่ ีและมปี ระสิทธิภาพ ผลการดาเนินงาน สถานศึกษาได้มีการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา ให้สอดคล้องกับนโยบายของภาครัฐว่าด้วยเขตพัฒนาพิเศษภาค ตะวันออก ( Eastern Economic Corridor : EEC) และมีการ พัฒนางานวิชาการด้านงานพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา โดย แต่งต้ังคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรฯ ศึกษาวิเคราะห์นโยบาย รัฐบาลข้อมูลสารสนเทศของท้องถิ่นข้อมูลพ้ืนฐาน ศึกษา วิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 และฉบับปรับปรุงพุทธศกั ราช 2560 มีการจัดประชุมเชิง ปฏิบัติการเพื่อร่วมพิจารณา โครงสร้างหลักสูตร โดยมีผู้บริหาร ร่วมเป็นคณะกรรมการดาเนินงานด้วยความเห็นชอบ ซึ่งทาง สถานศึกษาเร่ิมพิจารณาเป็นระดับชั้น ห้องเรียน แผนการเรียน มีการวางแผนการศึกษา 3 ปี และคานวณหน่วยกิตให้ผู้เรียนได้ จบการศึกษาตามเกณฑ์ ตามช่วงช้ันที่กระทรวงศึกษาธิการ กาหนด มีการขยายผลโดยการประชุมกลุ่มสาระแบบกลุ่มย่อย ซึ่งถือได้ว่าเป็นการนากระบวนการ Professional Learning Community (PLC) มาใช้ในการดาเนินงานอย่างเป็นรูปธรรม เพ่ือจัดทาคาอธบิ ายรายวชิ า โครงสร้างรายวิชา หนว่ ยการเรยี นรู้ และแผนการจัดการเรียนรู้ต่อไป ทั้งนี้ได้จัดทาประกาศการใช้ หลักสูตรสถานศึกษาโดยผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการ ส ถ า น ศึ ก ษ า ข้ั น พื้ น ฐ า น ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า แ ล ะ ผู้ อ า น ว ย ก า ร สถานศึกษา ครูดาเนินการใช้หลักสูตรท่ีจัดทาข้ึนและได้รับ การนิเทศติดตาม งานพัฒนาหลักสูตรและงานจัดการศึกษาเพ่ือ การมีงานทามีการดาเนินงานด้วยการวิจัยโดยประเมินผลการใช้ หลักสูตรจากครู ผู้ปกครอง และผู้เรียนตามแผนการเรียน เพื่อนาผลข้อมูลไปพัฒนา และปรับปรุง ครูผู้สอนมีการ

วธิ ดี าเนินงาน ผลการดาเนินงานปญั หาอุปสรรค 18 แนวทางแก้ไขและขอ้ เสนอแนะ ระบเุ อกสารหลักฐานอา้ งองิ ดาเนินการพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตาม หลักสูตรสถานศึกษาทุกกลุ่มเป้าหมาย เชื่อมโยงวิถีกับชีวิตจริง ดาเนินการอย่างเป็นรูปธรรม และเป็นแบบอย่างได้ โดยจัด สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่ดีและกระตุ้นให้ผู้เรียน ใฝเ่ รียนรทู้ ัว่ ถงึ ทกุ กลุม่ เปา้ หมาย ปญั หาอุปสรรคและแนวทางแก้ไข 1. ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา2019 (COVID-19) สภาพสังคม เศรษฐกิจและวัฒนธรรม ของพื้นท่ีต้ังของสถานศึกษาเปล่ียนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ทาให้ ก า ร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร ที่ จั ด ท า ขึ้ น อ า จ ะ เ ปิ ด อุ ป ส ร ร ค ใ นก ารใช้ ผู้บริหารและครูผู้สอนจาเป็นต้องปรับตัว ปรับเปล่ียนวิธีการ จัดการเรียนการสอนให้มีความสอดคล้องกับหลักสู ตร สถานศึกษาโดยคานึงถึงผลประโยชน์ท่ีเกิดข้ึนกับตัวผู้เรียนเป็น สาคัญ ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการพฒั นา 1. สถานศึกษาควรพัฒนาโครงการปรับปรุงหลักสูตร สถานศกึ ษา และพัฒนาการใช้สอ่ื เทคโนโลยใี ห้เพ่ิมมากขึ้นในทุก ปีการศึกษาจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาท่ีมุ่งพัฒนาให้ผู้เรียน สามารถค้นหาตัวเองเพ่ือนาไปสู่เป้าหมายด้านอาชีพในอนาคต และรองรับสถานการณ์ของการเปลี่ยนแปลงในช่วงสถานการณ์ การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) 2. สถานศึกษาควรพัฒนาครูในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้มีโอกาสพัฒนาตนเองอย่างทั่วถึง สร้างความร่วมมือ แลกเปล่ียนเรียนรู้ทางวิชาการ สร้างแรงจูงใจให้ครูสร้าง นวัตกรรมและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย พัฒนาภาษา ที่ 3 ขน้ั พ้นื ฐานในการสือ่ สารในชวี ิตประจาวนั 3. สถานศึกษาควรจัดในมีการบูรณาการการจัดการ เรียนร่วมสาหรับเด็กท่ีมีความสามารถพิเศษและเด็กที่มีความ ต้องการพิเศษอย่างเป็นรูปธรรม รวมท้ังขอรับการสนับสนุน บุคลากรในการปฏิบัติหน้าที่ในการดูแลผู้เรียนกลุ่มดังกล่าวที่ ตอ้ งใช้บุคลากรทมี่ คี วามสามารถเฉพาะด้าน

19 วิธีดาเนินงาน ผลการดาเนนิ งานปัญหาอุปสรรค ระบุเอกสารหลักฐานอา้ งองิ แนวทางแก้ไขและข้อเสนอแนะ ประเด็นท่ี 2 โรงเรียนจัดให้มีหลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติม โดยใช้ หลกั สตู รรายวิชาเพ่มิ เตมิ โดยใช้ค่มู อื คู่มือการใช้รูปแบบการนิเทศเพื่อส่งเสริมความสามารถในการ การใช้รปู แบบการนิเทศเพื่อสง่ เสรมิ จัดทาหลกั สตู รรายวชิ าเพ่ิมเติมของครูในเขตพัฒนาพิเศษภาค ความสามารถในการจดั ทาหลกั สตู ร ตะวนั ออก (EEC) พรอ้ มจดั ทารูปเล่มในแต่ละรายวิชาเพิ่มเติม รายวชิ าเพ่มิ เตมิ ของครูในเขตพฒั นา ดังนี้ พเิ ศษภาคตะวันออก (EEC) คานา สารบญั สว่ นที่ 1 - ขอ้ มูลท่วั ไปของเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (EEC) สว่ นที่ 2 - ข้อมลู รายวิชาเพิม่ เติม - ข้อมลู เบื้องต้นเก่ียวกับรายวิชาเพม่ิ เติม สว่ นท่ี 3 - คาอธิบายรายวิชา - โครงสรา้ งรายวิชา - หน่วยการเรียนรูร้ ายวชิ าเพิ่มเตมิ บรรณานกุ รม คณะผู้จัดทา

20 วธิ ีดาเนนิ งาน ผลการดาเนนิ งานปญั หาอุปสรรค ระบุเอกสารหลักฐานอา้ งอิง แนวทางแก้ไขและข้อเสนอแนะ ประเด็นท่ี 3 ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ ผ่านกระบวนการเรยี น หลกั สตู รสถานศกึ ษา การสอนที่เน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมและมีปฏิสัมพันธ์กับ (ฉบับปรบั ปรุงพทุ ธศักราช 2564) กิจกรรมการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติท่ีหลากหลายรูปแบบ แผนจดั การเรยี นรู้ (Active Learning) และ/หรือ การจัดการเรียนรู้แบบสะเต็ม คลปิ วดิ โี อการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ศึกษา มีการวัดและประเมินผลเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ของ ผู้เรียน (Assessment for learning) ให้เกิดสมรรถนะกับ ผเู้ รยี นทกุ ระดบั รายการ จานวน (คน) 1.จานวนครทู ี่สอนแบบ Active Learning 65 2.จานวนผู้เรียนที่ไดร้ บั การสอนแบบ 1,039 Active Learning 15 3.จานวนครูที่สอนแบบสะเต็มศกึ ษา 1,039 4.จานวนผู้เรียนทีไ่ ด้รบั การสอนแบบสะ เต็มศกึ ษา วธิ กี ารดาเนนิ งาน โรงเรียนเฉลมิ พระเกียรตสิ มเด็จพระศรนี ครนิ ทร์ ระยอง มีการพฒั นากิจกรรมการเรยี นรตู้ ามมาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวชีว้ ัด ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานที่กาหนดไว้ใน หลกั สูตรสถานศกึ ษา สง่ เสริมการจัดการเรียนรู้ผา่ นกระบวนการ เรียนการสอนท่ีเน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมและมีปฏิสัมพันธ์กับ กิจกรรมการเรียนรู้ผา่ นการปฏิบัติทีห่ ลากหลายรูปแบบ (Active Learning) ทเี่ น้นให้ผู้เรยี นไดเ้ รยี นร้โู ดยผ่านกระบวนการคิดและ ลงมือปฏิบัติจริงในลักษณะกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active learning) ครูมีการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีมีรูปแบบ การจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เฉพาะสาหรับผู้ที่มีความจาเป็นและต้องการความช่วยเหลือ พิเศษ ผู้เรียนได้รับการฝึกทักษะแสดงออก แสดงความคิดเห็น สรุปองค์ความรู้ นาเสนอผลงาน และสามารถนาไปประยุกต์ใช้

วธิ ดี าเนินงาน ผลการดาเนินงานปญั หาอุปสรรค 21 แนวทางแก้ไขและขอ้ เสนอแนะ ระบุเอกสารหลักฐานอ้างองิ ในชีวิตได้ มีแหล่งเรียนรู้ภายในที่ครอบคลุมทุกกลุ่มสาระการ เรียนรู้ ผู้เรียนสามารถแสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ภายในได้ อย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาทักษะการคิด การทางานรวมไปถึง ส่ือและเทคโนโลยีที่ทันสมัย ผู้เรียนสามารถเข้าถึงได้ทุกคน ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดความรู้มีความคิดสร้างสรรค์ และแก้ปัญหา ไดอ้ ยา่ งมเี หตผุ ล ครูใช้ส่ือและเทคโนโลยีสารสนเทศที่ช่วยพัฒนาการ เรยี นรู้ของผูเ้ รียน ตอบสนองความต้องการของผู้เรยี น โดยนาส่ือ มาประกอบการกจิ กรรมการเรียนรู้ใหผ้ ูเ้ รียนเข้าใจได้งา่ ย ชัดเจน และสามารถดึงดูดความสนใจ ซึ่งเป็นส่วนสนับสนุนให้ผู้เรียน เรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น สนับสนุนให้ครูผู้สอน ผลิตสื่อการเรียนรู้เพื่อนาไปจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทั้งใน รูปแบบ On-Site และ Online เพื่อเตรียมรับมือกับสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19) มีการติดตามรายงานผลการปฏิบตั งิ านทั้ง On-Site และ Online อย่างต่อเน่ือง มีการประชุมในรูปแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ทาง วิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) ของครู ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ เพ่ือหาแนวทางในการพัฒนา กระบวนการจัดการเรียนการสอนให้กับผู้เรียน นาไปใช้สร้าง กลยุทธ์ในการสอน มีการพัฒนาความสามารถในการสร้าง เคร่ืองมือตรวจสอบและประเมินผู้เรียนที่หลากหลาย เหมาะสม ตามธรรมชาติของวิชาในรูปแบบออนไลน์ สอดคล้องกับ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัด หรือผลการเรียนรู้ และจุดประสงค์ การเรียนรู้ สมรรถนะสาคัญ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพ่ือใช้ ตรวจสอบและประเมินผู้เรียน และนาผลการตรวจสอบ และ ประเมินมาผ่านกระบวนการวจิ ัยเพอื่ แก้ปัญหาและพัฒนาผ้เู รียน

วธิ ดี าเนนิ งาน ผลการดาเนนิ งานปญั หาอุปสรรค 22 แนวทางแก้ไขและขอ้ เสนอแนะ ระบเุ อกสารหลักฐานอ้างองิ ผลการดาเนินงาน จากกระบวนการพัฒนา พบว่า ครูมีจัดการเรียนรู้ผ่าน กระบวนการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมและ มีปฏิสัมพันธ์กับกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติที่หลากหลาย รูปแบบ (Active Learning) มีการพัฒนากระบวนการคิด วิเคราะห์ ผ่านการเรียนการสอนในรูปแบบ IS (Independent Study) และการจดั การเรยี นรแู้ บบใช้โครงงานเปน็ ฐาน (Project Based Learning) การใช้สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศที่ช่วย พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน ส่งผลให้ผู้เรียนมีการสร้างองค์ ความรู้ มที กั ษะ สมรรถนะสาคญั และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ตามท่ีหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานกาหนด มีการ สร้างปฏิสัมพันธ์ร่วมกัน ร่วมมือกันทางาน รู้จักการแบ่งหน้าท่ี ความรับผิดชอบและได้ใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ การคิด สังเคราะห์ และการประเมินค่า มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ การจัดบรรยากาศชั้นเรียนเชิงบวกและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อ การเรียนรู้ ผู้เรียนสามารถเข้าถึงส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศและ นวัตกรรม ตลอดทั้งแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ท้ังนี้มีการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา กระบวนการจัดการเรียน การสอนท่ีเน้นการมีปฏิสัมพันธ์เชิงบวกระหว่างครูผู้สอนและ ผู้เรียน และใช้สื่อและเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ จากการ ดาเนินงาน/โครงการ/กิจกรรมอย่างหลากหลาย เพื่อพัฒนาครู ให้มีการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ผู้เรียน ได้รับการฝึกทักษะ มีการใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่ง เรียนรู้ต่าง ๆ ในการจัดการเรียนรู้ สร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้ แสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากส่ือท่ีหลากหลาย ผู้เรียนรักที่จะ เรยี นรู้ สามารถเรียนรู้รว่ มกนั อย่างมคี วามสุข

วธิ ดี าเนนิ งาน ผลการดาเนินงานปัญหาอุปสรรค 23 แนวทางแก้ไขและข้อเสนอแนะ ระบเุ อกสารหลักฐานอ้างองิ ปัญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ไข 1. ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส โคโรนา 2019 ทาให้ไม่สามารถจัดการเรียนการสอนแบบ On-Site ได้ ครูจาเป็นต้องออกแบบและจัดการเรียนการสอนใน รูปแบบ Online โดยเน้นผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ หรือเรียนรู้จาก การสาธิต การนาเสนอ การทาโครงงานแบบ Online 2.ด้วยบริบทของพ้ืนท่ีและความเล่ือมล้า ทาให้การ เข้าถึงวัสดุ-อุปกรณ์ ระบบสัญญาณอินเทอร์เน็ตของครูผู้สอน และผู้เรียนเกิดความไม่ทั่วถึง โรงเรียนจาเป็นต้องอาศัยความ ร่วมมือจากชุมชนและผู้ปกครองในการพัฒนาและสนับสนุน วัสดุ-อุปกรณ์ ระบบสัญญาณอินเทอร์เน็ตเพื่อให้เกิดความ เท่าเทียมในการจัดการศึกษา ตลอดทั้งมีการพัฒนาและอบรม เชิงปฏิบัติการให้ครูผู้สอนพัฒนาการจัดการเรียนการสอนที่เน้น ให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติ มีการจัดทาส่ือเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือ อานวยความสะดวกในการเรยี นรขู้ องผ้เู รียนในรูปแบบ Online ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการพัฒนา 1. ควรมีการเชิญวิทยากร ปราชญ์ชุมชน มาให้ความรู้ กับผู้เรียนภายในโรงเรียนเป็นครั้งคราว เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ และให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนในทันที เพ่ือท่ีผู้เรียนจะได้ นาไปใช้พัฒนาตนเอง 2. ส่งเสริมให้ครูมีการอบรมพัฒนาการสร้างเครื่องมือ ประเมินและตรวจสอบผู้เรียนผา่ นทางออนไลนต์ ามนโยบายของ สานักงานการศึกษาข้ันพ้ืนฐานเพ่ือเตรียมความพร้อมกับการ จดั การเรียนการสอนภายใตส้ ภาวะวถิ ีชีวติ ใหม่ (New Normal) 3. ควรมีการพฒั นาระบบเครือขา่ ยอินเทอร์เน็ตทยี่ ังขาด ความมีเสถียรภาพ และส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาการใช้ เทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนในช่วงสถานการณ์ การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

24 วธิ ีดาเนินงาน ผลการดาเนินงานปัญหาอุปสรรค ระบุเอกสารหลักฐานอา้ งองิ แนวทางแกไ้ ขและข้อเสนอแนะ 4. ควรส่งเสริมและพัฒนาครูมีกลยุทธ์ นวัตกรรมเพ่ือ แก้ปัญหาให้กับผู้เรียน ที่สอดคล้องกับรูปแบบชุมชนแห่งการ เรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) เพ่ือแกป้ ัญหากระบวนการจัดการเรยี นการสอนท้ังรูปแบบ On-Site Online และรปู แบบ ผสมผสาน (Hybrid) ที่ตอ้ งพฒั นา สอ่ื การสอนให้เหมาะสมต่อเน้ือหา บรบิ ทการเรยี นของผู้เรียน 5. ควรมีการวางแผน ดาเนินกิจกรรม/ โครงการในการ ซ้ือวัสดุ-อุปกรณ์ในโรงเรียน เพื่อให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติและ ตอบสนองต่อการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning อย่างตอ่ เนอ่ื ง 6. ควรจัดหาแนวทางในการจัดการเรียนการสอนใน สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด 19 ที่เหมาะสม และหลากหลายมากขึ้นเพื่อแก้ปัญหาให้กับผู้เรียน ซ่ึงส่งผลใน การจัดทาแผนงานที่สอดคล้องกับกระบวนการ PLC เพ่ือ แก้ปัญหากระบวนการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ท่ีต้อง พัฒนาส่ือการสอนให้เหมาะสมต่อเนื้อหา บริบทการเรียนของ ผู้เรียนแบบออนไลน์ ซ่ึงหากทาการศึกษาวิจัยและร่วมกันพฒั นา รูปแบบให้ดีย่ิงขึ้นได้จะทาให้ได้รูปแบบการสอนที่สอดคล้องจัด ใช้ไดใ้ นทุก ๆ เน้อื หาตอ่ ไป ประเด็นท่ี 4 มุ่งเน้นการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้ คลิปวิโอการผลิตและพฒั นาสื่อการ ทุกระดับ มีการผลิตจัดหาและพัฒนาส่ือเคร่ืองมืออุปกรณ์ใน เรยี นรูข้ องครผู ู้สอน การเรียน รู้ที่หลากหลายขอ งผู้เรี ยน ให้ ทัน ต่อ ค ว า ม ระบบหอ้ งเรยี นประจา เปล่ียนแปลง ระบบหอ้ งเรยี นออนไลน์ (Google Classroom) วิธีการดาเนินงาน ระบบนิเทศ กากับติดตามรูปแบบ โรงเรียนเฉลมิ พระเกียรตสิ มเดจ็ พระศรนี ครินทร์ ระยอง ออนไลน์ ส่งเสริมให้ครูใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนรู้ผ่าน application ต่าง ๆ โรงเรียนส่งเสริมสนับสนุนให้ครูใช้สื่อ เทคโนโลยีการเรียนรูท้ ่ีทันสมัย รวมถึงสนับสนุนให้ครูผสู้ อนผลติ ส่ือการเรียนรู้เพ่ือนาไปจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท้ังใน

วธิ ีดาเนนิ งาน ผลการดาเนินงานปัญหาอุปสรรค 25 แนวทางแก้ไขและขอ้ เสนอแนะ ระบุเอกสารหลักฐานอา้ งองิ รูปแบบ On-Site และ Online เพื่อเตรียมรับมือกับสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 มีการติดตาม รายงานผลการปฏิบัติงานท้ังรูปแบบ On-Site และ Online อย่างต่อเนื่อง มีการดาเนินการจัดทาระบบข้อมูลและ สารสนเทศขั้นพื้นฐาน จัดระบบข้อมูลและสารสนเทศพื้นฐานไป ใช้ในการบริหารจัดการและการจัดการเรียนการสอน มุ่งพัฒนา ศักยภาพผู้เรียนโดยใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนาเสนอ ผลงานของผู้เรียน เพื่อให้การเรียนการสอนน้ันมีประสิทธิภาพ มากย่ิงข้ึน และมีการจัดระบบข้อมูลและสารสนเทศอย่างเป็น ระบบทันสมัย เพื่อพัฒนาระบบ ICT พัฒนาประชาสัมพันธ์ สารสนเทศเพ่ือการเรียนรสู้ ู่ผ้เู รยี น และจัดเก็บข้อมูลพ้ืนฐานของ สถานศึกษาและพัฒนาต่อเน่ือง เช่น โปรแกรม O-BEC เพ่ือ การจัดเก็บบันทึกประมวลผลและรายงานข้อมูลสารสนเทศ ทางการศึกษา ณ วันท่ี 10 มิถุนายน ของทุกปี โปรแกรม M-OBEC เพ่ือบันทึกประมวลผลและรายงานข้อมูลครุภัณฑ์ ร าย ส ถาน ศึกษาโ ดย ให้ ส ถาน ศึก ษาห รื อส านั กงาน เข ต พื้ น ท่ี การศึกษาเป็นผู้บันทึกปรับปรุงข้อมูลทุกปีงบประมาณ ระบบ ฐานข้อมูล Big Data ระบบ E-School เพ่ือส่งหนังสือราชการ ผ่านโปรแกรม Line Notify (E-Office) และมีการจัดระบบ สารบรรณโรงเรียน E–Filing รับ-ส่งข้อมูลจากหน่วยงาน ต้นสังกัด มีการนาระบบ G Suite และ Microsoft 365 เข้ามา ใช้ในการดาเนินงานจัดเก็บข้อมูล มีการแจ้งข้อมูลข่าวสาร ประชาสัมพันธ์ผ่านทาง Facebook และ Line รวมท้ังยังมี การพัฒนาปรับปรุงเว็บไซต์ของสถานศึกษาให้สามารถรับข้อมูล ขา่ วสาร และบคุ ลากรสามารถทางานในระบบเครือข่ายออนไลน์ ได้ตลอดเวลา มีการพัฒนาระบบจัดเก็บข้อมูลผู้เรียนเป็น รายบุคคล และนาโ ปรแกรม SGS (Secondary Grading System : SGS) มาใช้ในงานทะเบียนวัดผลการศึกษา รวมท้ังมี การพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถใช้เทคโนโลยี สารสนเทศได้อย่างถูกต้อง นอกจากน้ีการนาขอ้ มลู สารสนเทศไป ใช้ในการบริหารจัดการและการจัดการเรียนการสอน โดยทาง

วิธดี าเนินงาน ผลการดาเนนิ งานปญั หาอุปสรรค 26 แนวทางแกไ้ ขและข้อเสนอแนะ ระบุเอกสารหลักฐานอ้างองิ สถานศึกษามีระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง (S.D.Wifi) เช่ือมต่อระหว่างอาคารเรียนทุกอาคารจะสามารถใช้งานข้อมูล ส่วนกลางได้อย่างสะดวกรวดเร็ว และการนาเทคโนโลยีเข้ามา มี ส่ ว น ร่ ว ม ใ น ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น เ ป็ น ก า ร เ พิ่ ม พู น ประสทิ ธภิ าพทางการเรยี นรู้แก่ผ้เู รยี น ผลการดาเนินงาน จากกระบวนการพัฒนา พบว่า ครูมีการใช้ส่ือและ เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ ที่ ช่ ว ย พั ฒ น า ก า ร เ รี ย น รู้ ข อ ง ผู้ เ รี ย น โรงเรียนส่งเสริมสนับสนุนให้ครูใช้ส่ือเทคโนโลยีการเรียนรู้ที่ ทันสมัยสื่อและแหล่งเรียนร้ใู นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในพื้นที่ ชุมชุนได้อย่างหลากหลาย ส่งผลให้ผู้เรียนมีการสร้างองค์ความรู้ มีทักษะ สมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานกาหนด มีการสร้าง ปฏิสัมพันธ์ร่วมกัน ร่วมมือกันทางาน รู้จักการแบ่งห น้าที่ ความรับผิดชอบและได้ใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ การคิด สังเคราะห์ และการประเมินค่า มีส่วนร่วมในการเรยี นการรู้การ จัดบรรยากาศชั้นเรียนเชิงบวกและสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการ เรียนรู้ ผู้เรียนสามารถเข้าถึงส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศและ นวัตกรรม ตลอดทั้งแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทง้ั นี้มีพฒั นา หลักสตู รสถานศึกษา กระบวนการจดั การเรยี นการ สอนที่เน้นการมีปฏิสัมพันธ์เชิงบวกระหว่างครูผู้สอนและผู้เรียน และใช้ส่ือและเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ จากการ ดาเนินงาน/โครงการ/กิจกรรมอย่างหลากหลาย เพ่ือพัฒนาครู ให้มีการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ผู้เรียน ได้รับการฝึกทักษะ มีการใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่ง เรียนรู้ต่าง ๆ ในการจัดการเรียนรู้ สร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้ แสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากสื่อท่ีหลากหลาย ผู้เรียนรักท่ีจะ เรียนรู้ สามารถเรียนรูร้ ว่ มกันอยา่ งมีความสขุ

วิธดี าเนินงาน ผลการดาเนินงานปัญหาอุปสรรค 27 แนวทางแก้ไขและขอ้ เสนอแนะ ระบุเอกสารหลักฐานอ้างองิ ข้อเสนอแนะเพอ่ื การพฒั นา 1. สถานศึกษามีควรการพฒั นาครูในการใช้แพลตฟอร์ม ที่ความหลากหลาย ส่งเสริมให้ครูศึกษาแหล่งข้อมูลและ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดการเรียนการสอน อย่างมีประสิทธิภาพ ทาให้ครูสามารถจัดกระบวนการเรียนรู้ได้ อยา่ งหลากหลายและตรงตามศกั ยภาพของผู้เรยี น 2. สถานศึกษาควรนาภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมใน การพัฒนาและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารจัดการ และการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อสร้างเครือข่ายและ องค์ความรู้ในการพัฒนาสถานศึกษาตามบริบทของชุมชน ทอ้ งถน่ิ และสังคม โปรดระบุแพลตฟอร์มที่โรงเรยี นพัฒนาขึน้ เอง เพื่อใช้ในการ จัดการศกึ ษา โปรดระบุระบบทโ่ี รงเรียนพัฒนารว่ มกบั แพลตฟอร์มต่าง ๆ (Google, Microsoft ฯลฯ) เพื่อใชใ้ นการจดั การศึกษา Google for Education Microsoft Team ประเด็นที่ 5 ส่งเสริมการวัดผลประเมินผลและนาผลไปใช้ใน รายงานผลการพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียน การปรบั ปรุงพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา ประจาปกี ารศกึ ษา 2565 รายงานการจดั กจิ กรรมเสริมหลกั สูตร วิธีการดาเนินงาน กจิ กรรมชมุ ชน กิจกรรมลดเวลาเรยี นเพิ่ม โรงเรียนเฉลมิ พระเกยี รตสิ มเด็จพระศรนี ครนิ ทร์ ระยอง เวลารู้ ปีการศึกษา 2565 ไ ด้ ด า เ นิ น โ ค ร ง ก า รพั ฒ น าห ลัก สู ต รส ถ าน ศึ ก ษ า แ ละ ส่ งเสริ ม ศักยภาพผู้เรียน มีการจัดทาระเบียบว่าด้วยการวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา พร้อมทั้งได้มี การแต่งต้ังคณะกรรมการจัดทาระเบียบวัดผลประเมินผลของ สถานศึกษา ตามแนวปฏิบัติการวัดผลประเมินผล และ ดาเนินงานโครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาเพื่อส่งเสริม

วธิ ีดาเนินงาน ผลการดาเนินงานปญั หาอุปสรรค 28 แนวทางแก้ไขและข้อเสนอแนะ ระบุเอกสารหลักฐานอ้างองิ ศักยภาพผู้เรียน มกี ารจัดทาระเบียบว่าดว้ ยการวัดผลประเมินผล ก า ร เ รี ย น รู้ ต า ม ห ลั ก สู ต ร แ ก น ก ล า ง ก า ร ศึ ก ษ า ข้ั น พื้ น ฐ า น พุทธศักราช 2551 กาหนดองค์ประกอบของการวัดผลและ ประเมินผู้เรียนให้ครอบคลุมสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน มีการกาหนดให้มีโครงการนิเทศภายใน ประชุมและ แต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศการสอน หลังจากการนิเทศได้มี การประชุมครูร่วมกันและระดมความคิดเห็น ปรึกษาหารือใน การดาเนินงานทุกขั้นตอนและได้มีการการจัดสร้างคลังเก็บ ข้อสอบหรือเคร่ืองมือและยังมีการสร้างและพัฒนากระบวนการ การวัดผลและประเมินผล โดยมีองค์ประกอบของการวัดผล ประเมินผลการเรยี นรู้ ดังนี้ 1. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ การเรียนร้ทู ัง้ รายวิชาพน้ื ฐานและรายวิชาเพ่ิมเติม 2. ประเมินการอา่ นคิดวเิ คราะห์ เขียนของผูเ้ รียน 3. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่มีท้ัง เพื่อน ครู และผู้ปกครองมสี ่วนร่วมในการประเมนิ 4. ประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กจิ กรรมลูกเสอื -เนตร นารี, กิจกรรมแนะแนว, กิจกรรมชุมนุมกิจกรรมเพ่ือสังคมและ สาธารณประโยชน์ มีการจัดทาระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลของ สถานศึกษาเป็นแนวทางให้ครูนาไปสร้างและพัฒนาเคร่ืองมือ การวัดและประเมินผล ครูจัดทาเครื่องมือวัดและประเมินผลท่ี มีคุณภาพหลากหลายรูปแบบ ได้แก่ แบบสังเกตพฤติกรรม, แบบสัมภาษณ์ความคิดเห็น ความรู้สึก, แบบสอบถาม, แบบประเมินแฟ้มสะสมผลงาน , แบบบันทึกการอ่าน, แบบประเมินชิ้นงาน / โครงงาน, แบบทดสอบก่อนเรียน–หลัง เรียน, แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้, แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์, แบบประเมิน การอ่าน คิด วิเคราะห์ เขียน, แบบประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน, แบบประเมินความสามารถในการคิดคานวณ, แบบประเมิน ทักษะการฟัง พูด อา่ น เขยี นภาษาอังกฤษ เปน็ ตน้ ฝา่ ยวิชาการ

วธิ ดี าเนนิ งาน ผลการดาเนนิ งานปัญหาอุปสรรค 29 แนวทางแก้ไขและขอ้ เสนอแนะ ระบุเอกสารหลักฐานอ้างองิ ของโรงเรียนจดั เกบ็ เคร่ืองมือวัดและประเมนิ ผลไว้ในคลงั ข้อสอบ ของห้องวิชาการ และระบบ Google Drive G-suit ของโรงเรยี น ผลการดาเนินงาน จากผลการดาเนินงานกาหนดให้แต่ละรายวิชามี การจัดทาเอกสารประกอบการวัดและประเมินผล เพ่ือสรุป รายงานและเสนอต่อผู้อานวยการโรงเรียน เช่น รายงานแบบ บันทึกผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน, สรุปผลการประเมิน คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์, สรปุ การประเมนิ อา่ น คดิ วเิ คราะห์ เขียน, สรุปกิจกรรมชมุ นมุ , สรุปกิจกรรมลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลารู้ และรายงานสรุปผลการประเมินการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน นอกจากน้ีกลุ่มบริหารวิชาการยังมีการจัดทารายงานผลการ สาเร็จการศึกษา (ปพ.3) และรายงานประจาปีของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) เพื่อรายงานผลไปยังสานัก งานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง ซึ่งเป็น หน่วยงานต้นสังกัดเป็นประจาทุกปี หลังเสร็จสิ้นปีการศึกษา นาผลที่ได้ในแต่ละปีการศึกษามาวิเคราะห์เปรียบเทียบ เพ่ือนา ข้อมูลที่ได้ไปพัฒนาผ้เู รียน พัฒนาการจัดการเรียนการสอน และ พัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดย โรงเรียนได้มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้จากกลุ่มสาระการเรียนรู้ ตา่ ง ๆ ผ่านกจิ กรรมที่เหมาะสมกบั ผ้เู รียน นอกจากนี้โรงเรียนยัง ส่งเสริมให้คณะครูในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ จัดกิจกรรม PLC ภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้ และนาผลท่ีได้จากการ PLC มา จัดทาวิจัยในช้ันเรียนเพ่ือแก้ปัญหาเร่ืองการเรยี นของผเู้ รียนและ ใช้ในการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียนในแต่ละ ระดับชน้ั ต่อไป ปัญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ไข 1. สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (Covid-19) ทาให้การจัดการเรียนการสอนและ การบริหารจัดการขาดความต่อเน่ือง ระบบการวัดและ ประเมินผลไม่สามารถดาเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ครูผู้สอนจาเป็นต้องมีความยืดหยุ่นในการวัดและประเมินผล

30 วิธดี าเนนิ งาน ผลการดาเนินงานปญั หาอุปสรรค ระบเุ อกสารหลักฐานอ้างองิ แนวทางแก้ไขและข้อเสนอแนะ จัดให้มกี ารวดั และประเมินผลท่ีหลากหลายตามสถานการณ์ท้ังน้ี คานึงถึงผลประโยชน์ของผเู้ รยี นเปน็ สาคญั ข้อเสนอแนะเพือ่ การพัฒนา 1. สถานศึกษาควรพัฒนาครูผู้สอนให้มีวิธีการวัดและ ประเมินผลที่หลากหลาย มีการบูรณาการในระดับรายวิชา ระดับกลุ่มสาระการเรียนรู้ มีความยืดหยุ่น วัดและประเมินผล จากสภาพการจัดการเรยี นการสอนตามสถานการณ์ท่เี กิดขนึ้ 2. สถานศึกษาควรสนับสนุนให้ครูใช้เทคโนโลยีและ แพลตฟอร์มต่าง ๆ เข้ามามีส่วนร่วมในการวัดและประเมินผล เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาผู้เรียนและอานวยความ สะดวกกับครูผู้สอนและเกิดการวัดและประเมินผลท่ีหลากหลาย อยา่ งมีคุณภาพ ประเด็นที่ 6 ส่งเสริมและพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ รายงานการประเมินตนเองของ การศึกษา สถานศกึ ษา (Self - Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศกึ ษา วิธกี ารดาเนนิ งาน 2564 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง จัดให้มีการดาเนินการประกันคุณภาพภายในของ โรงเรียนอย่างมีระบบเพ่ือให้มีการปฏิบัติที่เป็นไปตามข้อกาหนด ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และระบบ ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ แ ล ะ วิ ธี ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า ภ า ย ใ น สถานศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการ ทางฝ่ายประกนั คณุ ภาพได้ ตระหนักถึงความสาคัญดังกล่าวได้จัดทาคู่มือปฏิบัติงานข้ึนเพื่อ เป็นแนวปฏิบัติของทางฝ่ายประกันคุณภาพการศึกษาของ โรงเรยี นท่ีสามารถตรวจและประเมนิ ไดต้ อ่ ไป โครงสร้างระบบการประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรยี นเฉลิมพระเกยี รตสิ มเดจ็ พระศรีนครินทร์ ระยอง ไ ด้ ก า ห น ด โ ค ร ง ส ร้ า ง ร ะ บ บ ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ข อ ง กระทรวงศึกษาธิการ คือ การควบคุมคุณภาพการศึกษา

วธิ ีดาเนินงาน ผลการดาเนินงานปัญหาอุปสรรค 31 แนวทางแก้ไขและข้อเสนอแนะ ระบเุ อกสารหลักฐานอา้ งองิ ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ท บ ท ว น แ ล ะ ป รั บ ป รุ ง คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า ก า ร ป ร ะ เ มิ น แ ล ะ รั บ ร อ ง คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า เ พื่ อ ใ ห้ มี ก า ร ดาเนินงานเป็นไปตามโครงสร้างระบบการประกันคุณภาพของ กระทรวงศึกษาธิการได้อย่างมีประสิทธิภาพ คณะกรรมการ ประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนจึงได้กาหนดให้ผู้ที่ รับผิดชอบในแต่ละองค์ประกอบของระบบการประกันคุณภาพ การศกึ ษาเพ่อื ใหป้ ฏิบตั งิ านตามทไ่ี ด้กาหนด ข้ันตอนการดาเนินการระบบการประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรยี นเฉลิมพระเกยี รตสิ มเด็จพระศรีนครนิ ทร์ ระยอง ได้มกี าร ดาเนินการประกันคุณภาพการศึกษาโดยมีการดาเนินงานที่ยึด ต า ม ขั้ น ต อ น แ น ว ท า ง ก า ร ด า เ นิ น ง า น ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ การศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร ไดแ้ ก่ ขัน้ ตอนท่ี 1 การศึกษาและการเตรยี มการ ขัน้ ตอนที่ 2 การวางแผนการประกันคุณภาพการศึกษา ขน้ั ตอนที่ 3 การดาเนนิ การประกันคุณภาพการศึกษา

วิธดี าเนินงาน ผลการดาเนนิ งานปัญหาอุปสรรค 32 แนวทางแกไ้ ขและข้อเสนอแนะ ระบุเอกสารหลักฐานอ้างองิ ขน้ั ตอนที่ 4 ทบทวนคุณภาพการศึกษาและการพฒั นา ขั้นตอนท่ี 5 การปรับปรงุ และพฒั นา ข้ันตอนที่ 6 การเตรยี มการรับการประเมิน กระบวนการการกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ผลการดาเนนิ งาน จากผลการดาเนินงานพัฒนาการศึกษาด้วยระบบ ประกันคุณภาพภายใต้มาตรฐานตามแนวทางระบบหลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาของ กระทรวงศึกษาธิการ และมาตรฐานของสถานศึกษา ตลอดจน การกาหนดค่าเป้าหมายท่ีชดั เจน มุ่งพฒั นาโรงเรยี นใหม้ ีคุณภาพ คลอบคลุมท้ังคุณภาพผู้เรียน กระบวนการบริหารและ การจัดการของผู้บริหารสถานศึกษาและกระบวนการจัดการ เรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยเน้นการมีส่วนร่วม

วธิ ดี าเนินงาน ผลการดาเนินงานปัญหาอุปสรรค 33 แนวทางแกไ้ ขและขอ้ เสนอแนะ ระบุเอกสารหลักฐานอา้ งองิ ตั้งแต่ขั้นกาหนดมาตรฐานสถานศึกษา มีการติดตามตรวจสอบ และการประเมินผลการจัดการศึกษาจากหน่วยงานต้นสังกัด อย่างสม่าเสมอ ที่สาคัญ คือ การรับฟังความคิดเห็นจาก ผู้ปกครอง ผ่านการประชุมผู้ปกครอง คณะกรรมการเครือข่าย และคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน เพ่ือนาข้อมูลมา ปรับปรุงและพัฒนาระบบประกันคุณภาพเพ่ือให้ได้มาตรฐาน ตอ่ ไป จากการการดาเนินการดังกล่าวส่งผลให้โรงเรียน เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง ผ่านการรับรอง คุณภาพการศึกษาจากสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพการศึกษา (สมศ.) จากผลการดาเนินงานด้วยระบบ คุณภาพจนได้รับการรับรอง ทาให้ผู้ปกครองคณะกรรมการ สถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ชุมชน/ท้องถิ่น และผู้มีส่วนเก่ียวข้อง ม่ั น ใ จ ต่ อ ร ะ บ บ ก า ร บ ริ ห า ร แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร ข อ ง โ ร ง เ รี ย น นอกจากน้ียังให้ความร่วมมือกับทางโรงเรียนในด้านต่าง ๆ เช่น สนับสนุนทุนการศึกษา ร่วมบริจาคในกิจกรรมต่าง ๆ ของทาง โรงเรียน เปน็ ต้น ปญั หาอุปสรรคและแนวทางแกไ้ ข 1. สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส โคโรนา 2019 (Covid-19) ทาให้การจัดการเรียนการสอนและ การบริหารจัดการขาดความต่อเนื่อง ผู้บริหารและครูผู้สอนต้อง มีคว า มพร้ อมแ ล ะถอด ป ร ะส บ กา ร ณ์จ า กกา ร ด า เ นิน กา ร เพ่ือ นามาใช้ประโยชน์และเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพและ กาหนดกลยทุ ธ์ในการพฒั นาสถานศึกษาตอ่ ไป ข้อเสนอแนะเพ่ือการพัฒนา 1. สถานศึกษาควรมีการพัฒนาระบบประกันคุณภาพ การศึกษาแนวใหม่โดยเน้นการมสี ว่ นร่วมของภาคเอกชน องคก์ ร ปกครองส่วนท้องถิ่น และชุมชนให้เข้ามามีบทบาทในการจัด การศึกษามากข้ึน 2. สถานศึกษาควรจัดทาบันทึกข้อตกลง (MOU) กับ หน่วยงานทางการศึกษาเพื่อสร้างความเชื่อมั่นและสามารถ

34 วิธีดาเนินงาน ผลการดาเนนิ งานปญั หาอุปสรรค ระบุเอกสารหลักฐานอา้ งองิ แนวทางแกไ้ ขและข้อเสนอแนะ จั ด ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ใ ห้ มี ค ว า ม ทั น ส มั ย แ ล ะ ทั ด เ ที ย ม ก า ร เปลี่ยนแปลงในยุคเทคโนโลยีดิจิทัลและการดารงชีวิตในสภาวะ วิถีชีวติ ใหม่ (New Normal) ประเดน็ ที่ 7 วิจยั และนาผลการวจิ ัยไปใช้เพ่ือพฒั นางาน รายงานการประเมินตนเองของ วชิ าการ สถานศึกษา. (Self - Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศกึ ษา วิธีการดาเนินงาน 2564 โรงเรียนเฉลมิ พระเกียรติสมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทร์ ระยอง เห็นความสาคัญของการศึกษา โดยมีการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็น รายบุคคล มกี ารเกบ็ ข้อมูลทงั้ จากในและนอกหอ้ งเรยี น ครูผู้สอน ทุกรายวิชาทาการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลและนาผล การวิเคราะห์มาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามศักยภาพ รายงานผลการจัดทาวจิ ัยในชั้นเรยี น ของผู้เรียน โดยครูผู้สอนใช้แบบวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคลเก็บ ประจาปกี ารศกึ ษา 2564 ข้อมูลของผู้เรียนตามพัฒนา การทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย วิจัยในช้นั เรียน สติปัญญา อารมณ์ สังคม ตามความเหมาะสมของสภาพวิชา นอกจากน้ียังมีการเก็บข้อมูลจากครูที่ปรึกษา แบบประเมิน ตนเอง (SDQ) ของผู้เรียน การสัมภาษณ์ผู้เรียน และการเยี่ยม บ้านผู้เรียนพูดคุยกับผู้ปกครองเป็นประจาทุกภาคเรียน เพ่ือ นามาออกแบบการเรียนรู้ให้เหมาะกับ ผู้เรียนแต่ละคน นอกจากน้ีครูนาข้อมูลท่ีได้จากการวัดและประเมินผลมา ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนของครูในรูปแบบวิจัยเชิง ปฏิบัติการในชั้นเรียน เพื่อออกแบบกระบวนการจัดการเรยี นรู้ที่ เหมาะสมและเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคัญ โดยการวิเคราะห์พฒั นาการ และศักยภาพทางด้านความรู้และทักษะของผู้เรียนตามแผนการ จดั การเรยี นรู้ จากการนาข้อมูลการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ กอ่ นจัดกิจกรรมมาเปรียบเทียบกับผลหลงั จดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ซ่ึ ง จ ะ ท า ใ ห้ ท ร า บ ถึ ง ศั ก ย ภ า พ ใ น ก า ร เ รี ย น รู้ ข อ ง ผู้ เ รี ย น แ ล ะ ประสิทธิภาพในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูได้อีกด้วย ซึ่งจะใช้เป็นประโยชน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีตอบสนอง ความต้องการของผู้เรียนแต่ละคน และยังสามารถนาข้อมูล

วิธดี าเนนิ งาน ผลการดาเนนิ งานปัญหาอุปสรรค 35 แนวทางแกไ้ ขและขอ้ เสนอแนะ ระบุเอกสารหลักฐานอ้างองิ สารสนเทศท่ีได้จากการประเมินไปใช้ในการปรับปรุงแก้ไข ข้อบกพรอ่ งของผ้เู รียน เปลี่ยนวธิ ีการ นากระบวนการใหม่ ๆ มา ใช้ในการจัดการเรียนรู้ ในการแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้ อย่างมีประสิทธิภาพ ตรงตามเป้าหมายของหลักสูตร ผู้เรียน สามารถเกิดการเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิผลสูงกว่าเดิม เกิดแรงจูงใจและส่งเสริมผู้เรียนให้มีความรู้ ความสามารถและ เกิดพัฒนาการสูงสุดตามศักยภาพ โรงเรียนมีการพัฒนาครูให้มี ความรู้ ความเข้าใจในการดาเนินการวิจัยเชิงปฏิบัติการใน ชั้นเรียนร่วมกับหน่วยงานต้นสังกัด ส่งเสริมให้ครูทาวิจัยในช้ัน เรียน สร้างขวัญกาลังในในรูปแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) เพ่ือ เสนอแนะ และพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนทั้งใน ระดับกลุ่มสาระการเรียนรู้และผู้บริหาร ตลอดทั้งมีการเผยแพร่ งานวิจัยเพ่ือเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ สถานศกึ ษา ผลการดาเนนิ งาน โรงเรียนมีการจัดทาโครงการพัฒนาผู้เรียนโดยนา วิธีการและกระบวนการวิจัยในชั้นเรียนมาใช้ ทาให้ผู้เรียนได้รับ การพัฒนาตนเองอย่างเต็มความสามารถและมีศักยภาพทุกช่วง ช้ัน มีการวิเคราะห์ข้อมูลผลการประเมินของผู้เรียน แสดง แนวโน้ม พัฒนาการของผู้เรียนเป็นรายคนและรายกลุ่ม อย่างเป็นระบบ ประกอบด้วย มีการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็น รายบุคคล เพ่ือนาผลการประเมินจากการวิเคราะห์ผู้เรียนไป ออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับพฤติกรรมของ ผู้เรียน ตลอดจนกาหนดวิธีการ กระบวนการวัดและประเมินผล ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีข้ันตอนและวิธีการวัดและประเมินผล อย่างเป็นระบบ ตลอดจนมีการใช้เครื่องมือวัดและประเมินท่ี หลากหลาย ตามความแตกต่างของแต่ละบุคคล ท้ังน้ีการ ออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ผู้เรียน ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ส่งเสริมให้ผู้เรียน สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ ซึ่งจากการ

วิธีดาเนินงาน ผลการดาเนนิ งานปญั หาอุปสรรค 36 แนวทางแกไ้ ขและข้อเสนอแนะ ระบุเอกสารหลักฐานอ้างองิ วิเคราะห์ผลการประเมินแล้ว พบว่า มีผู้เรียนท่ีมีความบกพร่อง หรือตอ้ งการความช่วยเหลือด้านใด ควรปรับปรุงแก้ไขให้มีความ พร้อมที่ดีขึ้น โดยใช้กิจกรรมหลากหลายรูปแบบหรือใช้เทคนิค วิธีการท่ีเหมาะสมในการพัฒนาผู้เรียนเป็นไปอย่างเหมาะสมกับ ผู้เรียนแต่ละคนและมีประสิทธิภาพ และหากพบผู้เรียนท่ีมี พัฒนาการดีอยู่แล้ว มีการส่งเสริมพัฒนาการให้มีศักยภาพท่ี สูงข้ึน ทาให้ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีความรู้และทักษะ มีความคิดสร้างสรรค์ มีทัศนคติที่ดี รับผิดชอบต่อสังคม มีคุณธรรมและจริยธรรม จากการได้รับการพัฒนาตามศักยภาพ ของแต่ละคน นอกจากน้ี โรงเรียนได้รับความร่วมมือจาก ผู้ปกครองในทุกห้องเรียน ทุกระดับช้ันจะมีส่วนร่วมในการ ประเมินความก้าวหน้าของผู้เรียนทุกครัง้ สร้างความพึงพอใจตอ่ การจัดการศึกษาของโรงเรียนและครูไดร้ ายงานผลการเรียนและ ความก้าวหน้าของผู้เรียนให้ผู้ปกครองทราบ และรับฟัง ข้อเสนอแนะจากผู้ปกครอง เพ่ือร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพ ของผเู้ รยี นต่อไป ปัญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ไข 1. ระเบียบแบบแผนการวจิ ัยที่มาสามารถดาเนินการได้ ในช่วงของการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคดรนา 2019 (Covid-19) ทาให้ครูผู้สอนต้องปรับเปลี่ยนวิธีการและมีการนา เทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียน การสอนและพฒั นาศกั ยภาพของผูเ้ รยี น ข้อเสนอแนะเพ่ือการพัฒนา 1. สถานศึกษาควรส่งเสริมให้ครูดาเนินการวิจัยในช้ัน เรียนอย่างต่อเน่ืองและนาผลที่ได้ หรือข้อเสนอแนะมา พัฒนาการจัดการเรียนการสอนไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ 2. ผู้บริหารต้องให้การสนับสนุนและส่งเสริมการ ดาเนินการวิจัยในรูปแบบต่าง ๆ ท่ีสอดคล้องกับสถานการณ์ ปัจจุบันและความก้าวหน้าของเทคโนโลยีดิจิทัล ตลอดท้ังความ แตกต่างระหว่างบุคลของตัวเพื่อผู้เรียน มีการพัฒนาครูและ

37 วธิ ดี าเนนิ งาน ผลการดาเนินงานปัญหาอุปสรรค ระบเุ อกสารหลักฐานอ้างอิง แนวทางแกไ้ ขและขอ้ เสนอแนะ บุคลากรเพ่ือเสริมศักยภาพให้เกิดกระบวนการการจัดกิจกรรม การเรียนรูอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ประเดน็ ท่ี 8 ประสานส่งเสริมให้ชุมชนท้องถิ่นและสงั คมมีส่วน รายงานการประเมินตนเองของ ร่วมในการจัดการศึกษารวมท้ังเปน็ เครอื ข่ายและแหล่งเรียนรู้ สถานศกึ ษา. (Self - Assessment เพื่อพฒั นาคุณภาพการศึกษา Report : SAR) ประจาปกี ารศกึ ษา 2564 วธิ ีการดาเนนิ งาน โรงเรียนเฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระศรนี ครนิ ทร์ ระยอง จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพท้ังภายในและภายนอกห้องเรียน และสภาพแวดล้อมทางสังคม ที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้และมี ความปลอดภัย มีการวเิ คราะห์หาสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา แผนปฏบิ ัติการประจาปีการศึกษา 2564 โดยเทคนิค SWOT Analysis แล้ว ดาเนินการ เพื่อกาหนด วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมายของสถานศึกษา เพ่ือจัดทา แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา เพ่ือใช้ในการจัดทาแผนปฏิบัติ การให้สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน มีการจัดเก็บข้อมลู สารสนเทศอย่าง เป็นระบบ โดยอาศัยกระบวนการมีส่วนร่วม เครือข่าย 3 องค์กรคณะหลัก คือ คณะกรรมการสถานศึกษา เครือข่ายผู้ปกครอง สมาคมศิษย์เก่า ผู้ปกครอง และครู อีกท้ัง อาศัยกรอบโมเดลไทยแลนด์ 4.0 ในการพัฒนา คุณภาพของ สถานศึกษาใหเ้ จริญก้าวหนา้ มีการกาหนดวสิ ยั ทัศน์ในการพัฒนา สถานศึกษา“ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้น พื้นฐาน รองรับเขตพัฒนาพิเศษภาค Eastern Economic Corridor (EEC) น้อมนาแนวพระราชดาริมาใช้ในการดารงชีวิต อย่างย่ังยืน” จะเห็นได้ว่าทางสถานศึกษาได้มงุ่ พัฒนาผเู้ รยี นตาม มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างเป็นระบบ โดยพัฒนาให้ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ ปรัชญา และจุดเน้นของสถานศึกษา มีกระบวนการวิเคราะห์ความแตกต่างของผู้เรียนเป็นรายบุคคล จากการเย่ียมบ้านผู้เรียน การสัมภาษณ์ เพ่ือเข้าใจปัญหาและ ความต้องการของผู้เรียนและประสานงานกับผู้ปกครอง เพื่อ สร้างระบบเครือข่ายผู้ปกครองในการพัฒนาผู้เรียน ดาเนิน

วิธดี าเนนิ งาน ผลการดาเนินงานปัญหาอุปสรรค 38 แนวทางแก้ไขและขอ้ เสนอแนะ ระบเุ อกสารหลักฐานอ้างอิง กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพตามความถนัดและความ สนใจซ่ึงอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วนท้ังชุมชน หน่วยงาน ภาครฐั และเอกชนเขา้ มามสี ว่ นรว่ ม มีการจัดทาขอ้ มลู สารสนเทศ อย่างเป็นระบบเพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์บนช่องทางการ สอื่ สารท่หี ลากหลาย ผลการดาเนินงาน สถานศึกษามีการจัดโครงสร้างหรือระบบบริหารงาน ของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบและเป็นรูปธรรมที่เห็นชัดเจน การกาหนดเป้าหมาย วสิ ยั ทัศน์ และพนั ธกจิ การพัฒนาคุณภาพ การปฏิบตั ิงานอย่างต่อเน่ืองและมีคณุ ภาพ ส่งผลให้สถานศึกษา ประสบความสาเร็จ ในการบรหิ ารจัดการ เน่ืองจากมีการกาหนด จุดมุ่งหมายร่วมกัน แลกเปล่ียนความคิดในการแก้ไขปัญหาเพื่อ เป็นแนวทางในการพัฒนาสถานศึกษาและการเรียนรู้ให้เท่าทัน สังคมในยุคปัจจุบันอย่างมีประสทิ ธิภาพสูงสุด มีสภาพแวดล้อม บรรยากาศท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ โดยได้รับความร่วมมือจากผู้ที่ เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ส่งผลให้ผู้เรียนสุขภาพกาย สุขภาพจิตท่ีดี ใฝ่เรียน ใฝ่รู้ และมีความพึงพอใจ นอกจากน้ียังมีการพัฒนา คุณภาพการศึกษาที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน ท้องถ่ินและสอดคล้องกับนโยบาย EEC รวมถึงผู้บริหาร ครู และผู้ปกครอง ตลอดจนชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดทาหลักสูตร สถานศึกษาและการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน มีระบบการ นิเทศติดตาม มีการนาผลการนิเทศติดตามและประเมินผล หลักสูตรสถานศึกษาและการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนมา ปรับปรงุ และพฒั นาอย่างต่อเนือ่ ง ปัญหาอุปสรรคและแนวทางแกไ้ ข 1. สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส 2019 (Covid-19) ทาใหก้ ารดาเนนิ กจิ กรรมตา่ ง ๆ ร่วมกบั ชุมชน และท้องถ่ินขาดความต่อเน่ือง ผู้บริการและครูจาเป็นต้องสร้าง เครือข่ายและแลกเปล่ียนประสบการณ์ในการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาด้วยช่องทางต่าง ๆ กับชุมชนท้องถิ่นและสังคมผ่าน เครือข่ายผูป้ กครอง

วธิ ดี าเนินงาน ผลการดาเนนิ งานปญั หาอุปสรรค 39 แนวทางแก้ไขและข้อเสนอแนะ ระบเุ อกสารหลักฐานอา้ งอิง ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา 1. สถานศึกษาควรดาเนินการขอรับการสนับสนุนและ ให้ชุมชนท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ท้ังในส่วน ของกิจกรรมการเรียนการสอน กิจกรรมเสริมหลักสูตร งบประมาณ ตลอดท้ังบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถใน ท้องถิ่นเพ่ือปลูกฝังและส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนเรียน สร้างสรรคน์ วตั กรรมทีเ่ กดิ ประโยชนก์ บั ท้องถิ่น 2. สถานศึกษาควรจัดให้มีการตั้งชมรมหรือสมาคม ผู้ปกครองและครูข้ึน เพ่ือเป็นองค์กรในการกาหนดทิศทางและ การมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา โดยอาศัยความร่วมมือในทุกๆ ด้านจากชุมชนท้องถ่ินและสังคม ตลอดทั้งภาคเอกชน ศิษย์เก่า และหน่วยงานต่าง ๆ ของ ภาครัฐบาล ระดบั คณุ ภาพ 4

40 โรงเรียนมีแผนยกระดับผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน 1. วธิ ีการดาเนนิ งาน ............................................................................................................................. ................................. .................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ................................. .............................................................................................................................................................. 2. ผลการดาเนินงาน ....................................................................................................................... ......................................... ............................................................................................................................. ................................... ....................................................... ................................................................................................... ...... ............................................................................................................................. ................................... 3. ปัญหา/อุปสรรคและแนวทางแกไ้ ข ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... 4. ข้อเสนอแนะ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ....................................................................................................................................... ......................... ......................................................................................................... .......................................................

41 การบริหารงานด้านงบประมาณ ประเดน็ การประเมิน 1. การวางแผนการใชง้ บประมาณอย่างเปน็ ระบบสอดคล้องกับนโยบาย ปญั หาและความต้องการ 2. การจดั ระบบการบรหิ ารการเงิน บญั ชีและพัสดุ 3. การควบคมุ การใช้งบประมาณอย่างเปน็ ระบบและมีทะเบียนคมุ งบประมาณ 4. การสรปุ รายงานผลในการบริหารงบประมาณ 5. การตรวจสอบภายในอย่างเป็นระบบ 6. การจัดทาแผนปฏิบตั ิการประจาปีและรายงานคงเหลือประจาวัน เกณฑก์ ารประเมิน ระดับคุณภาพ 4 หมายถึง ดาเนนิ การตามประเด็นครบ 6 ข้อ ตามความถูกต้องโปรง่ ใสตรวจสอบไดค้ มุ้ คา่ กับงบประมาณที่ได้รับเปน็ ไปตามแผนทีว่ างไว้ มีร่องรอยหลักฐานปรากฏชัดเจนทกุ ข้อ 3 หมายถึง ดาเนินการตามประเดน็ ครบ 6 ข้อ ตามความถูกต้องโปรง่ ใสตรวจสอบไดค้ ้มุ ค่า กบั งบประมาณท่ีไดร้ บั เปน็ ไปตามแผนที่วางไว้ มีรอ่ งรอยหลกั ฐานปรากฏชัดเจน 4-5 ข้อ 2 หมายถึง ดาเนนิ การตามประเด็นครบ 6 ข้อ ตามความถูกต้องโปร่งใสตรวจสอบไดค้ มุ้ คา่ กบั งบประมาณทีไ่ ด้รับเปน็ ไปตามแผนท่วี างไว้ มรี อ่ งรอยหลักฐานปรากฏชัดเจน 2-3 ข้อ 1 หมายถงึ ดาเนนิ การตามประเดน็ ครบ 6 ขอ้ ตามความถูกต้องโปร่งใสตรวจสอบไดค้ มุ้ ค่า กบั งบประมาณท่ีไดร้ ับเป็นไปตามแผนทว่ี างไว้ มรี ่องรอยหลักฐานปรากฏชดั เจน 1 ขอ้ วธิ ดี าเนินงาน ผลการดาเนินงานปัญหาอุปสรรค แนวทางแก้ไขและ ระบเุ อกสารหลักฐานอา้ งองิ ข้อเสนอแนะ งบประมาณประจาปีการศกึ ษา 2564 (ตลุ าคม 2563-กันยายน 2564) ประเภท งบประมาณท่ี งบประมาณท่ี งบประมาณ งบประมาณ ไดร้ ับ ใชไ้ ป คงเหลือ งบดาเนนิ งาน - -- งบลงทนุ - -- งบอดุ หนุน 5,527,350.00 3,329,460.00 2,197,890.00 งบรายจ่ายอืน่ ๆ 22,090,640.64 19,016,172.14 3,074,468.21 รวมทั้งส้ิน 27,617,990.64 22,345,632.14 5,272,558.21

42 วิธีดาเนนิ งาน ผลการดาเนินงานปญั หาอุปสรรค แนวทางแก้ไขและ ระบเุ อกสารหลักฐานอา้ งองิ ข้อเสนอแนะ ประเด็นท่ี 1 การวางแผนการใช้งบประมาณอย่างเปน็ ระบบสอดคลอ้ งกบั 1. แผนปฏิบตั งิ านประจาปี 2564 นโยบายปญั หาและความตอ้ งการ 2. สรุปการใช้เงนิ ตามแผนปฏิบัตกิ าร วิธกี ารดาเนินงาน ประจาปี 2564 1. แตง่ ต้ังคณะกรรมการตามโครงสรา้ งการบรหิ ารงาน 2. แต่งตั้งคณะกรรมการ การอบรมเชิงปฏิบัติการการ จัดทา แผนปฏิบัติการประจาปี 3. วิเคราะห์นโยบาย สังเคราะห์แผนปฏิบัติการของปีที่ผ่านมา ประกอบการทาแผนปฏบิ ตั กิ าร 4. เสนอร่างแผนปฏิบัติการต่อผู้อานวยการ เพื่อพิจารณาเห็นชอบ และขอความเหน็ ชอบ ของคณะกรรมการสถานศกึ ษาต่อไป 6. ดาเนนิ การตามแผนปฏบิ ตั ิการ ผลการดาเนนิ งาน โรงเรยี นมแี ผนการใช้งบประมาณอย่างเปน็ ระบบ สอดคล้องกบั นโยบายปัญหาและความต้องการ ปญั หาอุปสรรคและแนวทางแก้ไข - ข้อเสนอแนะเพือ่ การพัฒนา - ประเด็นท่ี 2 การจดั ระบบการบรหิ ารการเงนิ บญั ชี และพัสดุ 1. คาสั่งแตง่ ต้ังเจ้าหนา้ ท่กี ารเงินและ วิธีการดาเนนิ งาน บญั ชี 1. มีคาส่ังมอบหมายงานอยา่ งชดั เจน 2. คาสั่งแต่งต้งั ผตู้ รวจสอบการรับ- 2. ประชุมช้ีแจงขั้นตอนการปฏบิ ัตงิ าน การจ่ายเงินประจาวัน 3. จัดทาคู่มือการปฏิบัติงาน การขออนุมัติและดาเนินงานตาม 3. คาส่งั แตง่ ตง้ั หัวหน้าเจา้ หน้าท่พี สั ดุ แผนปฏิบัติการและขัน้ ตอนการเบิกจ่ายพัสดุ แจกทุกกลุม่ สาระ และเจา้ หนา้ ที่พสั ดุ 4. ตรวจสอบความถกู ต้องก่อนเบกิ จา่ ยเงิน และจ่ายเงินดว้ ยเชค็ 4. สรุปยอดเงนิ สดคงเหลือประจา 5. มีหลักฐานการเบิกจ่ายเงินท่ีถูกต้อง ตามระเบียบทุกรายการจ่าย สมุดเงินสด และมกี ารจัดเกบ็ หลกั ฐานการเบกิ จา่ ยอยา่ งเปน็ ระบบ 5. ทะเบยี นคมุ พสั ดคุ รภุ ัณฑ์

43 วธิ ีดาเนนิ งาน ผลการดาเนินงานปญั หาอุปสรรค แนวทางแกไ้ ขและ ระบุเอกสารหลักฐานอา้ งองิ ขอ้ เสนอแนะ 6. มกี ารจดั ทาทะเบียนคมุ การเบิกจ่ายเงนิ ทุกประเภท 6. คาสงั่ แตง่ ตั้งคณะกรรมการเกบ็ ผลการดาเนินงาน รกั ษาเงนิ โรงเรียน สามารถดาเนินการตามกิจกรรม/โครงการต่าง ๆ เพื่อพัฒนาการจัด การศึกษาได้ตามเป้าประสงค์ และสามารถรายงานทางการเงินได้ทัน กาหนดถูกตอ้ ง เปน็ ปจั จุบัน ปญั หาอุปสรรคและแนวทางแกไ้ ข - ขอ้ เสนอแนะเพื่อการพัฒนา - ประเดน็ ที่ 3 การควบคุมการใช้งบประมาณอย่างเป็นระบบ 1. สมดุ บญั ชรี บั -จา่ ยของโรงเรยี น วธิ ีการดาเนนิ งาน 2. ทะเบียนคุมเช็คจ่ายเงินประเภท เงินอดุ หนุน 1. จัดทาทะเบยี นคุมงบประมาณแยกประเภท 3. ทะเบียนคุมเช็คจ่ายเงินประเภท 2. จัดทาแผนการใช้จา่ ยงบประมาณ เงินรายได้สถานศกึ ษา 3. รายงานผลการเบิกจ่ายเงนิ งบประมาณ 4. แผนปฏิบัติการประจาปี 2564 4. แต่งต้งั คณะกรรมการตรวจสอบงานจา้ ง ก่อนการอนมุ ัติเบิกจา่ ย ผลการดาเนนิ งาน 1. การเบกิ จา่ ยเงินเปน็ ไปตามระเบยี บการเบิกจ่ายกระทรวงการคลงั พ.ศ.2545 2. เป็นไปตามแผนปฏิบตั ิการประจาปี 2564 ปัญหาอุปสรรคและแนวทางแกไ้ ข - ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการพัฒนา -

44 วธิ ดี าเนนิ งาน ผลการดาเนนิ งานปญั หาอุปสรรค แนวทางแก้ไขและ ระบุเอกสารหลักฐานอา้ งอิง ขอ้ เสนอแนะ ประเดน็ ที่ 4 การสรุปรายงานผลในการบริหารงบประมาณ 1. สรปุ การใช้เงนิ ตามแผนปฏิบัตกิ าร วิธีการดาเนนิ งาน ประจาปี 2564 1. ขออนุมัตเิ งินตามโครงการ เพ่ือจัดกจิ กรรมตามชว่ งเวลาท่ีกาหนด 2. รายงานผลการบรหิ ารงบประมาณ 2. ดาเนินการจดั กจิ กรรม รายจา่ ยประจาปี 2564 3. จดั ทารายงานสรุป โดยสรุปเป็นเล่มนาเสนอผู้อานวยการ ผลการดาเนินงาน รายงานผลการบริหารงบประมาณรายจ่ายประจาปี ผ่านระบบ e-budget.ac.th ปญั หาอุปสรรคและแนวทางแกไ้ ข - ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา - ประเด็นที่ 5 การตรวจสอบภายในอย่างเปน็ ระบบ 1. คาส่ังโครงสรา้ งบรหิ ารโรงเรียน วิธีการดาเนินงาน 2. หลักฐานการตรวจสอบรายรับ- 1. รวบรวมข้อมลู จากรายงานผลการตรวจสอบ ประเมินความเสยี่ ง รายจ่ายตามใบเสร็จรับเงินหลักฐาน และการประเมนิ ระบบควบคุมภายในของโรงเรยี น การจ่ายเงินงบประมาณและเงินนอก 2. แตง่ ตัง้ คณะกรรมการการติดตามและตรวจสอบการใชจ้ า่ ยเงิน งบประมาณ งบประมาณ 3. คาสง่ั แต่งตัง้ คณะกรรมการ 3. กาหนดระยะเวลาในการตรวจสอบภายใน เดอื นละ 1 ครั้ง ตรวจสอบพสั ดุประจาปี 4. ดาเนนิ การตรวจสอบ และรายงานผลการตรวจสอบภายใน 5. มกี ารตรวจสอบพัสดปุ ระจาปีตามระเบยี บ 6. การตรวจสอบภายในประจาปจี ากหน่วยงานตน้ สังกดั สพม.ชลบุรี ระยอง ผลการดาเนินงาน สามารถบริหารงบประมาณด้านการเงิน บัญชี พัสดุ ให้เป็นไปตาม ระเบียบ กฎหมายกาหนดไว้ อย่างระมัดระวัง และสามารถบริหาร งบประมาณทไี่ ดร้ บั ให้เกดิ ประโยชนส์ ูงสดุ ต่อการพฒั นาการเรียนการสอน

วธิ ดี าเนนิ งาน ผลการดาเนินงานปญั หาอุปสรรค แนวทางแกไ้ ขและ 45 ขอ้ เสนอแนะ ระบเุ อกสารหลักฐานอา้ งองิ ปัญหาอุปสรรคและแนวทางแกไ้ ข - 1. แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี 2564 2. SAR ขอ้ เสนอแนะเพื่อการพัฒนา 3. รายงานการประชมุ - ประเดน็ ที่ 6 การจัดทาแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปแี ละรายงานคงเหลอื ประจาวนั วิธกี ารดาเนนิ งาน 1. วางแผนประชุมครปู ฏิบตั ติ ามแผน PDCA ผลการดาเนินงาน มีแผนปฏบิ ตั ิการประจาปีและรายงานเงินคงเหลอื ประจาวันเปน็ ปจั จบุ ัน ปัญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ไข เนือ่ งด้วยสถานการณโ์ ควดิ -19 ทาใหก้ ารจดั ทาแผนปฏิบัติการมกี าร ประชมุ เฉพาะหวั หนา้ งานและผรู้ บั ผดิ ชอบ ข้อเสนอแนะเพ่ือการพฒั นา วางมาตรการเกี่ยวกบั สถานการณ์โควดิ -19 กบั การทางาน ระดบั คุณภาพ 4

46 การบรหิ ารงานดา้ นบริหารงานบคุ คล ประเด็นการประเมนิ 1. ผู้บริหารและครูผู้สอน มีการจัดทาข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) ที่สอดคล้องกับบริบท สถานศกึ ษา นโยบายสว่ นราชการและกระทรวงศึกษาธิการ 2. ครูและบุคลากรทางการศึกษามี ID PLAN ในการพัฒนาตนเองอยา่ งน้อยปีละ 2 ครง้ั 3. ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ได้รับการส่งเสริมให้มีสมรรถนะ ภาษาองั กฤษเพื่อ การสอ่ื สาร 4. ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศท่ี 2 ได้รับการส่งเสริมให้มีสมรรถนะภาษาเพื่อ การส่ือสาร 5. ครูและบุคลากรทางการศึกษามีผลการปฏิบัติงานเชิงประจักษ์ตามเกณฑ์ได้รับการยกย่องเชิดชู เกยี รตอิ ย่างเหมาะสม 6. มกี ารสง่ เสริมวนิ ัยคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณวิชาชพี แก่ครูและบุคลากรทางการศึกษา 7. มีการส่งเสรมิ สรา้ งขวัญกาลงั ใจแกค่ รแู ละบุคลากรทางการศึกษา เกณฑ์การประเมิน ระดับคุณภาพ 4 หมายถงึ ดาเนินการตามประเด็นครบ 7 ข้อ มรี ่องรอยหลักฐานปรากฏชดั เจนทกุ ข้อ 3 หมายถงึ ดาเนนิ การตามประเด็นครบ 7 ข้อ มีร่องรอยหลกั ฐานปรากฏชัดเจน 5 ขอ้ 2 หมายถึง ดาเนนิ การตามประเดน็ ครบ 7 ข้อ มีร่องรอยหลกั ฐานปรากฏชัดเจน 4 ข้อ 1 หมายถึง ดาเนินการตามประเดน็ ครบ 7 ข้อ มรี ่องรอยหลักฐานปรากฏชดั เจน 3 ขอ้

47 วิธดี าเนนิ งาน ผลการดาเนนิ งานปัญหาอปุ สรรค ระบเุ อกสารหลกั ฐานอา้ งอิง แนวทางแกไ้ ขและขอ้ เสนอแนะ 1. เอกสารสรปุ รายการ ขอ้ มลู การพฒั นา 2. เกียรตบิ ัตร 3. ภาพถ่ายการพฒั นาตนเอง บุคลากร บคุ ลากรท่ี ไมไ่ ดร้ ับการ พัฒนา 1 พัฒนา 2 ท้งั หมด (คน) ทา พัฒนา (คน) คร้งั (คน) ครัง้ ขึ้นไป 58 ID PLAN 3 0 (คน) (คน) 0 55 ประเดน็ ที่ 1 ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาที่มี ID PLAN ในการพัฒนา ตนเองอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง วิธกี ารดาเนินงาน 1. ประชาสัมพันธ์ ถึงความสาคัญในการพัฒนาตนเอง สนับสนุน การพัฒนาตนเองทัง้ การศึกษาต่อ การประชมุ อบรม สมั มนา 2. ครูและบุคลากรทางการศึกษา เข้ารับการอบรมท้ังรูปแบบ Online และ On-Site ตามหลกั สูตรท่ีตนเองสนใจ 3. ครูและบุคลากรทางการศึกษานาความรู้ที่ได้รับจากการอบรมมา พัฒนาตนเอง และขยายผลต่อเพือ่ นครูและสผู่ เู้ รยี น ผลการดาเนนิ งาน ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาให้ความสาคัญใน การพฒั นาตนเอง รอ้ ยละ 100 เน่ืองจากมีการประเมินผลการปฏิบัติงานในการเลื่อนวิทยฐานะ เกณฑ์ใหม่ และการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID- 19) จึงไมม่ ีการเขยี นแผนพฒั นาตนเองรายบคุ คล (ID Plan) ปัญหาอุปสรรค เน่ืองจากสถานการณ์ของการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส โคโรนา2019 (COVID-19) เป็นอุปสรรคในการประชุมและการอบรมเพ่ือ พฒั นาตนเองของครู ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการพัฒนา 1. โรงเรียนจัดการอบรมให้คณะครู เพื่อเป็นการเฝ้าระวังเร่อื งโรค ระบาดจากภายนอกสูบ่ ุคลากรในโรงเรียน 2. ประชาสมั พันธ์ หลกั สูตรการอบรมแบบออนไลนใ์ ห้คณะครูและ บุคลากรทางการศึกษา

48 วธิ ีดาเนนิ งาน ผลการดาเนินงานปัญหาอปุ สรรค ระบเุ อกสารหลักฐานอา้ งอิง แนวทางแก้ไขและข้อเสนอแนะ ประเดน็ ท่ี 2 ครผู ู้สอนกล่มุ สาระการเรยี นร้ภู าษาตา่ งประเทศ 1. เกียรตบิ ัตรการเข้ารับการ (ภาษาองั กฤษ) ได้รับการส่งเสรมิ ให้มสี มรรถนะภาษาองั กฤษเพ่ือการ อบรม ส่อื สาร 2. รายงานผลการอบรม วธิ ีการดาเนินงาน 3. ภาพถ่าย โรงเรยี นไดส้ นับสนุนและสง่ เสรมิ ให้ครผู ู้สอนพฒั นาตนเองเพ่ือการ 4. คาส่ัง สื่อสารท้งั ภายในและภายนอกสถานศึกษา ด้านภายในสถานศึกษา ได้มกี ารกากับ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลนเิ ทศการสอนปีการศกึ ษา ละ 2 ครง้ั โดยผู้บริหารและครผู ูส้ อนภายในสถานศกึ ษา มีการจัดทา PLC ภายในกลุม่ สาระภาษาต่างประเทศเปน็ ประจา เพอื่ แลกเปลี่ยนความร้แู ละ ประสบการณภ์ ายในกลุม่ สาระ นอกจากน้ที างโรงเรียนยงั มีครชู าวตา่ งชาติ ได้จัดการเรียนการสอนและการสอื่ สารภาษาตา่ งประเทศใหเ้ ป็นไปอยา่ ง ถูกต้องจากเจ้าของภาษา ด้านภายนอกสถานศึกษา โรงเรียนได้ส่งเสริมให้ครูผู้สอนเข้ารับการอบรมเพ่ือส่งเสริมให้มี สมรรถนะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร เช่น การเข้าร่วมกิจกรรม Digital classroom กับประเทศนิวซีแลนด์ เพ่ือเพิ่มทักษะและประสบการณ์ การจัดการเรยี นการสอนแบบออนไลน์ กับตา่ งประเทศ และสรา้ งเครือข่าย กับบุคลากรภายนอก อาทิเช่น หน่วยงานการศึกษานิวซีแลนด์ สถานทูต นวิ ซีแลนด์ ประจาประเทศไทย ผลการดาเนินงาน ครูผู้สอนในโรงเรียนมีวิธีการสอนและเทคนิคใหม่ ๆ และมีความ ม่ันใจในการส่ือสารด้านภาษาอังกฤษ อีกทั้งยังมีการแลกเปล่ียนและสร้าง เครอื ขา่ ยทงั้ ภายในและภายนอกสถานศึกษาสง่ ผลใหค้ รูผูส้ อนมีศักยภาพใน การสอนมากขนึ้ ปัญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ไข การพัฒนาตนเองในระบบออนไลน์ ข้อเสนอแนะเพอ่ื การพฒั นา สนับสนุนให้ครูผู้สอนใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารภายในกลุ่ม สาระ

วธิ ีดาเนินงาน ผลการดาเนนิ งานปัญหาอุปสรรค 49 แนวทางแก้ไขและขอ้ เสนอแนะ ระบเุ อกสารหลักฐานอ้างองิ รายการ จานวน (คน) คิดเป็นรอ้ ยละ 1.1 สถานศึกษามคี รูผู้สอนภาษาองั กฤษ ทง้ั หมด 8 100 (ข้อมลู ปีงบประมาณ พ .ศ.2564 - 2565) จาแนกเป็น 11..1 ครูผสู้ อนภาษาอังกฤษ ทไ่ี ดร้ ับการทดสอบ 5 62.5 ความสามารถทางภาษาองั กฤษ (CEFR) 1.1.2 ครูผู้สอนภาษาองั กฤษ ทยี่ งั ไมไ่ ด้การ 3 37.5 ทดสอบความสามารถทางภาษาอังกฤษ (CEFR) 1.2 ครูผู้สอนภาษาอังกฤษ ที่ไดร้ ับการพัฒนาโดยใช้ 0 0 กรอบมาตรฐานความสามารถทางภาษาองั กฤษ (CEFR) ตารางแสดงจานวนและร้อยละครผู ู้สอนภาษาองั กฤษในระดบั ชนั้ ประถมศึกษา และมัธยมศกึ ษาทไ่ี ดร้ ับการพฒั นาและยกระดบั ความรู้ทางภาษาอังกฤษ โดยใชก้ รอบ มาตรฐานความสามารถทางภาษาองั กฤษ (CEFR) จานวนครู การพฒั นาและยกระดบั ความรทู้ าง ภาษา ที่ ชอ่ื โรงเรยี น ไดร้ บั การ หลักสตู ร/ พัฒนา ท้ังหมด (คน) รอ้ ยละ รูปแบบการ /โครงการ (คน) พฒั นาฯ กิจกรรม 1 เฉลิมพระเกยี รติ 8 0 0 - - ฯ ระยอง .