Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อธิบายการวิเคราะห์ตัวชี้วัดที่ 1.1

อธิบายการวิเคราะห์ตัวชี้วัดที่ 1.1

Published by rawissara2018, 2020-03-31 22:18:20

Description: อธิบายการวิเคราะห์ตัวชี้วัดที่ 1.1

Search

Read the Text Version

71 [email protected] Line ID : Chalor2500



XXXX xxx xxx xxxx xxxx

ตารางท่ี 1 การวิเคราะห์ ตารางที่ 1 การวิเคราะหห์ วั ข้อหลกั (ช่ือหนว่ ย) หวั ข้อหลกั รหสั วชิ า 20100 - 1008 ชือ่ วิชา งานเครอื่ งมอื กลเบ้อื งตน้ เปน็ การนาเอารายละเอยี ด ทฤษฎี 1 ช่ัวโมง/สปั ดาห์ ปฏบิ ตั ิ 3 ชั่วโมง/สปั ดาห์ จานวน 2 หน่วยกติ หนว่ ยที่ หวั ข้อหลัก ของหลกั สตู รรายวชิ ามา แหลง่ ข้อมูล 1. เครื่องเล่อื ยกลและงานเล่ือย A B CD E วเิ คราะห์ แตกออกเปน็ 2. เครื่องเจียระไนลับคมตดั และงานลบั เครื่องมือตดั /// /// หวั ข้อหลกั คือ แยกเป็นชอื่ 3. เครอื่ งเจาะและงานเจาะ งานรมี เมอร์ งานตาปเกลยี ว /// 4. เครอ่ื งกลงึ และงานกลึง /// หนว่ ยตา่ งๆ ใหค้ รอบคลมุ ทั้ง จดุ ประสงคร์ ายวชิ า สมรรถนะ รายวชิ าและคาอธบิ าย รายวิชา A : หลักสตู รรายวชิ า (Course Description) B : ตาราและเอกสาร (Literatures) ตัวอยา่ งวิเคราะห์คณติ ศาสตร์ แหล่งข้อมูล (Sources) C : ประสบการณ์ (Experiences) D : ผเู้ ช่ยี วชาญ (Experts) ตวั อยา่ งวิเคราะห์งานเครือ่ งมือกล E : อนื่ ๆ (Other)

ตารางท่ี 2 การวเิ คราะห์ ตารางท่ี 2 การวิเคราะหห์ วั ขอ้ ยอ่ ย (หัวข้อสอน) หัวขอ้ ยอ่ ย รหัสวชิ า 20100 - 1008 ช่ือวชิ า งานเครอ่ื งมือกลเบ้ืองต้น เปน็ การนาหัวข้อหลกั หรือ ทฤษฎี 1 ช่วั โมง/สัปดาห์ ปฏิบัติ 3 ชั่วโมง/สัปดาห์ จานวน 2 หน่วยกติ ช่ือหนว่ ย จากตารางที่ 1 มา วเิ คราะหเ์ ปน็ หวั ขอ้ ยอ่ ย คอื หน่วยท่ี หัวขอ้ ยอ่ ย/หวั ขอ้ สอน แหล่งขอ้ มลู E รายละเอียดทจี่ ะสอน ในแต่ A ละหนว่ ยนน้ั เอง อาจจะมขี ้อ B CD แยกยอ่ ยอีกกไ็ ด้ 1 เคร่อื งเลอ่ื ยกลและงานเลอื่ ย // ตารางที่ 2 ทาให้ครบทกุ หนว่ ย 1.1 ชนิดของเครอ่ื งเลอื่ ยกล / // // 1.2 ส่วนประกอบท่ีสาคัญของเคร่อื งเลื่อยกล / // // 1.3 เครือ่ งมือและอุปกรณ์ทใี่ ช้กบั เคร่อื งเลือ่ ยกล / // // 1.4 ขั้นตอนการใชเ้ คร่ืองเลอื่ ยกล / // 1.5 การบารงุ รักษาเคร่ืองเลือ่ ยกล / 1.6 ความปลอดภยั ในการใชเ้ ครอ่ื งเลื่อยกล / 1.7 การตดั เหล็กเพลากลมด้วยเครือ่ งเล่ือยกลแบบชัก / 1.8 การตดั เหลก็ เหลยี่ มด้วยเครอ่ื งเลื่อยกลแบบชกั / แหลง่ ขอ้ มลู (Sources) A : หลักสตู รรายวิชา (Course Description) B : ตาราและเอกสาร (Literatures) C : ประสบการณ์ (Experiences) D : ผเู้ ช่ยี วชาญ (Experts) E : อ่ืนๆ (Other)

ตารางที่ 2 การวเิ คราะห์ ตารางท่ี 2 (ตอ่ ) การวเิ คราะหห์ ัวขอ้ ย่อย (หัวข้อสอน) หวั ขอ้ ยอ่ ย รหสั วิชา 20100 - 1008 ชือ่ วิชา งานเคร่อื งมือกลเบ้อื งต้น ทฤษฎี 1 ชวั่ โมง/สปั ดาห์ ปฏิบัติ 3 ชว่ั โมง/สัปดาห์ จานวน 2 หน่วยกติ หน่วย หัวขอ้ ยอ่ ย/หัวข้อสอน A แหลง่ ขอ้ มูล E ที่ B CD 2 เครื่องเจียระไนลบั คมตดั และงานลบั เคร่อื งมอื ตัด // // 2.1 ชนิดของเครื่องเจยี ระไนลบั คมตัด / // 2.2 ส่วนประกอบท่ีสาคัญของเครอื่ งเจยี ระไนลับคมตดั / // // 2.3เครอื่ งมอื และอุปกรณท์ ใ่ี ชก้ ับเคร่ืองเจียระไนลับคม / // // ตัด // 2.4 ขน้ั ตอนการใช้เครอ่ื งเจยี ระไนลบั คมตดั / 2.5 การบารุงรักษาเคร่อื งเจยี ระไนลบั คมตดั / 2.6 ความปลอดภัยในการใช้เครือ่ งเจยี ระไนลับคมตดั / 2.7การตัดเหลก็ เพลากลมด้วยเครื่องเจียระไนลับคมตดั / 2.8 การตัดเหล็กเหลยี่ มดว้ ยเครอ่ื งเจยี ระไนลบั คมตัด / แหลง่ ข้อมูล (Sources) A : หลกั สตู รรายวชิ า (Course Description) B : ตาราและเอกสาร (Literatures) C : ประสบการณ์ (Experiences) D : ผูเ้ ช่ียวชาญ (Experts) E : อนื่ ๆ (Other)

ตารางท่ี 2 ทาให้ครบทกุ หนว่ ย ตารางท่ี 2(ตอ่ ) การวเิ คราะหห์ วั ขอ้ ยอ่ ย (หวั ขอ้ สอน) รหสั วิชา 20100 - 1008 ช่อื วิชา งานเคร่อื งมอื กลเบอ้ื งต้น ทฤษฎี 1 ชั่วโมง/สปั ดาห์ ปฏิบตั ิ 3 ช่วั โมง/สัปดาห์ จานวน 2 หนว่ ยกิต หน่วย หัวข้อย่อย/หวั ข้อสอน แหล่งข้อมลู ที่ AB C D E 3 เครอื่ ง............................................................. 3.1 // / 3.2 // / 3.3 // / 3.4 // / 3.5 // / 3.6 // / 3.7 // / 3.8 // / แหล่งข้อมลู (Sources) A : หลักสูตรรายวิชา (Course Description) B : ตาราและเอกสาร (Literatures) C : ประสบการณ์ (Experiences) D : ผเู้ ชี่ยวชาญ (Experts) E : อ่ืนๆ (Other)

ตารางท่ี 3 วิเคราะห์หนว่ ยการเรียนรแู้ ละเวลาทใ่ี ชใ้ นการจดั การเรยี นรู้ ตารางที่ 3 วเิ คราะหห์ นว่ ย รหัสวิชา 20100 - 1007 ชือ่ วชิ า งานเครื่องมือกลเบอ้ื งต้น จานวน 2 หน่วยกติ การเรยี นรแู้ ละเวลาที่ใช้ในการ ทฤษฎี 1 ชัว่ โมง/สปั ดาห์ ปฏิบัติ 3 ชั่วโมง/สปั ดาห์ สัปดาห์ที่ ชัว่ โมงท่ี 1-2 1-8 จัดการเรยี นรู้ หนว่ ยที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ 3-7 9-28 1 เครื่องเล่อื ยกลและงานเลอ่ื ย 1.1.......................................................... 8-11 29-44 1.2.......................................................... 1.3.......................................................... 4.4.......................................................... 2 เครื่องเจยี ระไนลบั คมตัดและงานลบั เครื่องมือตัด 2.1.......................................................... 2.2.......................................................... 2.3.......................................................... 2.4.......................................................... 3 ชนดิ ของเครื่องเจาะ 3.1.......................................................... 3.2.......................................................... 3.3.......................................................... 3.4..........................................................

ตารางท่ี 3 (ต่อ) วเิ คราะห์หน่วยการเรยี นรแู้ ละเวลาทใ่ี ชใ้ นการจดั การเรยี นรู้ รหสั วิชา 20100 - 1008 ชอ่ื วชิ า งานเครื่องมือกลเบอ้ื งต้น จานวน 2 หน่วยกิต ตารางท่ี 3 วเิ คราะหห์ นว่ ย ทฤษฎี 1 ช่ัวโมง/สปั ดาห์ ปฏบิ ัติ 3 ชวั่ โมง/สัปดาห์ สปั ดาห์ท่ี ชั่วโมงท่ี การเรยี นรแู้ ละเวลาที่ใชใ้ นการ หน่วยท่ี ชือ่ หน่วยการเรียนรู้ 1-2 1-8 จดั การเรยี นรู้ 4 เครื่องเลื่อยกลและงานเล่ือย 4.1.......................................................... 4.2.......................................................... 4.3.......................................................... ตารางที่ 3 ทาให้ครบทกุ หนว่ ย 4.4..........................................................

ตารางที่ 4 วิเคราะห์ หัวข้อการเรยี นร้หู ลกั /หัวขอ้ รอง/หวั ขอ้ ยอ่ ยและเวลาจดั การเรยี นรู้ รหัสวชิ า.............................ชอ่ื วชิ า........................................................................... ทฤษฎี...............ชวั่ โมง/สปั ดาห์ ปฏิบัติ...................ชว่ั โมง/สปั ดาห์ จานวน.............หนว่ ยกิต ตารางท่ี 4 วิเคราะหห์ วั ขอ้ เวลาจดั การเรยี นรู้ การเรยี นรหู้ ลกั /หวั ขอ้ รอง/ หวั ขอ้ ยอ่ ยและเวลาจดั การ สปั ดาห์ท/ี่ หน่วย ชอ่ื หนว่ ยการเรยี นร/ู้ หัวขอ้ การเรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ รวม ครงั้ ที่ ที่ (ชม.) เรยี นรู้ 1-2 1 เครอ่ื งเลอื่ ยกลและงานเลอื่ ย 268 1.1.......................................................... 1.2.......................................................... 1.3.......................................................... 1.4.......................................................... 3-7 2 เครื่องเจียระไนลบั คมตัดและงานลับเครื่องมือตดั 5 15 20 2.1.......................................................... 2.2.......................................................... 2.3.......................................................... 8-.. 3 3........................................................... .......................................................................... .......................................................................... .......................................................................... ..........................................................................

ตารางท่ี 4(ต่อ) วเิ คราะห์ หวั ขอ้ การเรียนรู้หลกั /หัวขอ้ รอง/หวั ขอ้ ยอ่ ยและเวลาจดั การเรียนรู้ รหสั วชิ า.............................ชอื่ วชิ า........................................................................... ทฤษฎี...............ชว่ั โมง/สปั ดาห์ ปฏบิ ัติ...................ชว่ั โมง/สปั ดาห์ จานวน.............หนว่ ยกิต ตารางที่ 4 วเิ คราะหห์ วั ขอ้ เวลาจดั การเรียนรู้ การเรยี นรหู้ ลกั /หวั ขอ้ รอง/ หวั ข้อย่อยและเวลาจดั การ สปั ดาหท์ /่ี หน่วย ชอ่ื หนว่ ยการเรยี นร/ู้ หวั ขอ้ การเรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ รวม คร้ังท่ี ที่ (ชม.) เรียนรู้ ……. 4 …………………………………………. 268 ตารางที่ 4 ทาใหค้ รบทกุ หนว่ ย 4.1.......................................................... 4.2.......................................................... 4.3.......................................................... 4.4.......................................................... สอบปลายภาค 134 รวม 18 54 72

ตารางที่ 5 การวิเคราะหห์ ลกั สตู รรายวชิ าและจดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม ชอ่ื วชิ า....................................รหสั วชิ า.............จานวน ทฤษฎี ............ชั่วโมง/สปั ดาห์ ปฏิบตั ิ............ชว่ั โมง/สปั ดาห.์ .........หนว่ ยกติ หน่วยท่ี รายการความรู้ (Knowledge) จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม (Behavioral ISL PSL Objectives R AT I CA 1. เครอื่ งเลอ่ื ย 1.1 ชนดิ ของเครอื่ งเลอื่ ยกล 1.1 บอกชนิดของเครื่องเลอื่ ยกลได้ X กลและงานเลอื่ ย 1.2 สว่ นประกอบทีส่ าคญั ของเคร่อื งเลือ่ ยกล 1.2 บอกสว่ นประกอบท่ีสาคญั ของเคร่อื งเลือ่ ยกลได้ X 1.3 เคร่ืองมือและอปุ กรณท์ ีใ่ ช้กับเครื่องเลื่อยกล 1.3 บอกเครอื่ งมือและอุปกรณ์ที่ใชก้ ับเคร่ืองเลือ่ ยกลได้ X 1.4 ขั้นตอนการใช้เคร่ืองเล่ือยกล 1.4 อธบิ ายข้นั ตอนการใช้เครื่องเลอ่ื ยกลได้ X 1.5 การบารุงรกั ษาเคร่ืองเล่ือยกล 1.5 บอกวธิ ีการบารุงรักษาเครอื่ งเลือ่ ยกลได้ X 1.6 ความปลอดภัยในการใช้เครอ่ื งเลอ่ื ยกล 1.6 อธบิ ายความปลอดภัยในการใชเ้ คร่อื งเล่ือยกลได้ X รายการทักษะ (Skills) จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม (Behavioral Objectives) 1.7 การตัดเหล็กเพลากลมดว้ ยเครอ่ื งเล่ือยกลแบบ 1.7 สามารถตัดเหล็กเพลากลมดว้ ยเครอ่ื งเลือ่ ยกลแบบ X ชกั ชกั ได้ 1.8 การตดั เหล็กเหลีย่ มดว้ ยเครอ่ื งเล่ือยกลแบบชกั 1.8 สามารถตดั เหลก็ เหล่ียมด้วยเครอื่ งเล่อื ยกลแบบชกั X หISมLายเ=หตรุะดบั ความรู้ความสามารถทางสตปิ ญั ญา PSL=ระดบั ความไสดม้ ารถในการใชก้ ลา้ มเนอื้ ทางาน ระดับความสาคญั R : การฟ้นื คนื ความรู้ (Recalled Knowledge) I : ขน้ั ทาได้ตามแบบ (Imitation is needed) X : มีความสาคญั มากต้องสอน A : การประยกุ ตค์ วามรู้ (Applied Knowledge) C : ขน้ั ทาไดด้ ว้ ยความถกู ต้อง (Control is needed) I : มีความสาคญั ควรสอน T : การส่งถา่ ยความรู้ (Transferred Knowledge) A : ข้ันทาดว้ ยความชานาญ (Automation is O : ไมค่ อ่ ยมคี วามสาคญั ไมค่ วร needed) สอน หมายเหตุ ในการพัฒนาใหเ้ ลือกทาเพียงหนว่ ยเดยี ว ทเ่ี หลือใหไ้ ปใช้เวลาจดั ทาเพม่ิ เอง

XXXX xxx xxx xxxx xxxx

กาหนดน้าหนักความสาคญั ของแตล่ ะ ตารางที่ 1 วเิ คราะหห์ ลักสูตรและระดับความสาคัญของหนว่ ยการเรยี นรู้ พฤตกิ รรม ช่องละ 10 คะแนนโดยมี รหสั วชิ า 20100 -1008 ชอ่ื วชิ า งานเครือ่ งมอื กลเบื้องตน้ ระดบั ความสาคญั ดงั น้ี ทฤษฎี 1 ชวั่ โมง/สปั ดาห์ ปฏิบตั ิ 3 ชั่วโมง/สปั ดาห์ จานวน 2 หนว่ ยกิต สาคัญทสี่ ุด 9 - 10 คะแนน สาคญั มาก 7 - 8 คะแนน พฤตกิ รรม พุทธพิ สิ ัย (%) ทกั ษะ จิต รวม คดิ ลาดับ จานวน สาคญั ปานกลาง 4 - 6 คะแนน สาคญั น้อย 2 - 3 คะแนน พสิ ัย พสิ ยั เป็น ความ ชั่วโมง ไมส่ าคัญเลย/สาคัญน้อยทส่ี ุด ความจา (%) (%) ร้อ สาคญั 0 - 1 คะแนน ความเข้าใจ นาไปใ ้ช ย จากตารางวเิ คราะหห์ ลกั สตู รจากไฟล์ ิวเคราะ ์ห Excel ชอื่ ไฟลท์ ี่ 1.1B ัสงเคราะ ์ห ประเมินค่า หมายเหตู จากตารางวเิ คราะหเ์ ปน็ ช่อื หน่วย ละ การหาระดบั ความสาคญั ของแตล่ ะ หนว่ ย ไม่ได้นามาเปน็ Test Blue 10 10 10 10 10 10 60 100 72 1.เครือ่ งเลือ่ ยกลและ 3 3 3 5 10 24 16.22 4 8 Print งานเล่อื ย 2.เครอื่ งเจยี ระไนลับคม 6 8 8 8 10 40 27.03 2 20 ตดั และงานลบั เครอื่ งมือตดั 8 10 34 22.97 3 16 3.เครอ่ื งเจาะและงาน 5 5 6 เจาะ งานรีมเมอร์ งาน 10 10 50 33.78 1 24 ตาปเกลยี ว 4 4.เคร่อื งกลึงและงาน 6 8 8 8 31 40 148 100.0 72 กลงึ 0 สอบปลายภาค รวม 20 24 25 8 ลาดบั ความสาคญั 3 2 1 4 Excel วิเคราะห์

ตารางท่ี 2 วิเคราะห์หน่วยการเรียนรแู้ ละเวลาทใ่ี ช้ในการจดั การเรียนรู้ รหัสวชิ า 20100 -1008 ชือ่ วิชา งานเครอื่ งมอื กลเบือ้ งต้น ทฤษฎี 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์ ปฏบิ ตั ิ 3 ชว่ั โมง/สัปดาห์ จานวน 2 หน่วยกติ ตารางที่ 2 วเิ คราะห์หนว่ ยการ หน่วย ช่อื หน่วยการเรียนรู้ สัปดาห์ ช่ัวโมง เรยี นร้แู ละเวลาที่ใชใ้ นการจดั การ ท่ี ที่ ท่ี เรียนรู้ 1 เครื่องเล่ือยกลและงานเลือ่ ย 1 1-4 2 เครอ่ื งเจียระไนลบั คมตัดและงานลบั เครื่องมอื ตดั 2-6 5-24 3 เคร่อื งเจาะและงานเจาะ งานรมี เมอร์ งานตาป 7-10 25-40 เกลียว 4 เคร่ืองกลงึ และงานกลึง 11-17 41-68 - สอบปลายภาค 18 69-72 รวม 72

ตารางท่ี 3 วเิ คราะห์ หวั ข้อหลกั /หัวขอ้ รอง/หัวข้อยอ่ ย และเวลาจดั การเรยี นรู้ รหัสวชิ า 20100 -1008 ช่อื วิชา งานเครอ่ื งมอื กลเบอื้ งตน้ ตารางที่ 3 วเิ คราะห์ ทฤษฎี 1 ช่ัวโมง/สัปดาห์ ปฏิบัติ 3 ช่วั โมง/สัปดาห์ จานวน 2 หนว่ ยกิต หัวขอ้ หลกั /หวั ขอ้ รอง/หวั ขอ้ ยอ่ ย เวลาจดั การเรียนรู้ สปั ดาห์ หน่วย ชือ่ หนว่ ยการเรยี นรู้/หวั ขอ้ การเรียนรู้ ทฤษ ปฏิ รวม และเวลาจดั การเรยี นรู้ ท่ี ที่ ฎี บตั ิ (ชม.) 1 1 เคร่ืองเลื่อยกลและงานเลอื่ ย 134 1.1 ชนิดของเคร่อื งเลอ่ื ยกล ทาให้ครบทกุ หนว่ ย 1.2 สว่ นประกอบท่สี าคัญของเครื่องเลอื่ ยกล 1.3 เครื่องมือและอปุ กรณ์ทีใ่ ช้กับเครอ่ื งเล่ือยกล 1.4 ข้นั ตอนการใชเ้ ครอ่ื งเล่อื ยกล 1.5 การบารุงรักษาเครื่องเลือ่ ยกล 1.6 ความปลอดภยั ในการใช้เคร่ืองเลือ่ ยกล 1.7 การตัดเหลก็ เพลากลมดว้ ยเคร่อื งเลอ่ื ยกล แบบชกั 1.8 การตดั เหลก็ เหลี่ยมด้วยเครอื่ งเล่ือยกลแบบ ชัก ….. 2 ……………………………. …. …. … 18 - สอบปลายภาค 13 4 รวม 18 54 72

ตารางท่ี 4 วเิ คราะห์ จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมกบั หัวข้อการเรยี นรู้และระดบั พฤตกิ รรมทต่ี อ้ งการ รหัสวิชา 20100 -1008 ชื่อวชิ า งานเคร่ืองมอื กลเบอื้ งตน้ ทฤษฎี 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์ ปฏิบตั ิ 3 ชั่วโมง/สปั ดาห์ จานวน 2 หน่วยกติ หนว่ ยที่ 1 เครอ่ื งเลื่อยกลและงานเลือ่ ย ดา้ นพทุ ธิพสิ ยั ด้านทกั ษะพิสัย ดา้ นจติ พิสัย จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม (Behavioral Objectives) ความรู้ ความจา ความเ ้ขาใจ รายการความรู้ (Knowledge) การนาไปใช้ วิเคราะ ์ห ัสงเคราะ ์ห ประเ ิมนค่า การเ ีลยนแบบ การทาตามแบบ การทา ูถก ้ตองแ ่มนยา การทาอย่างผสมผสาน การทาอย่าง ัอตโนมัติ การ ัรบรู้ การตอบสนอง การเ ็หนคุณ ่คา การจัดกระบวนการคิด การ ีม ัลกษณะเฉพาะตน 1.1 ชนิดของเครือ่ งเล่ือยกล 1.1 บอกชนิดของเครือ่ งเล่ือยกลได้ X X X 1.2 ส่วนประกอบทสี่ าคญั ของเครื่องเล่ือยกล 1.2 บอกส่วนประกอบท่สี าคญั ของเครื่องเลื่อยกลได้ X X 1.3 เครื่องมือและอปุ กรณ์ทใี่ ช้กับเคร่ืองเลื่อยกล 1.3 บอกเครอ่ื งมือและอปุ กรณ์ที่ใช้กบั เครื่องเล่ือยกล X X ได้ X X 1.4 ข้ันตอนการใช้เคร่ืองเลือ่ ยกล 1.4 อธบิ ายข้นั ตอนการใชเ้ คร่อื งเลอ่ื ยกลได้ X XX 1.5 การบารุงรักษาเคร่อื งเลือ่ ยกล 1.5 บอกวิธกี ารบารุงรักษาเคร่อื งเลือ่ ยกลได้ X 1.6 ความปลอดภัยในการใชเ้ ครื่องเลื่อยกล 1.6 อธิบายความปลอดภัยในการใช้เครื่องเลอื่ ยกลได้ X รายการทกั ษะ (Skills) จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม (Behavioral Objectives) 1.7 การตดั เหล็กเพลาดว้ ยเครอ่ื งเล่อื ยกลแบบ 1.7 สามารถตดั เหล็กเพลากลมด้วยเครื่องเลอื่ ยกล ชัก แบบชักได้ ตารางที่ 4 วิเคราะห์ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมกบั หวั ขอ้ การเรยี นร้แู ละระดับพฤติกรรมท่ีต้องการบลูม จะแบ่งออกเปน็ 3 ด้าน

จดุ ประสงค์การสอน หรือจดุ ประสงค์การเรยี นรู้

จดุ ประสงคท์ างการศกึ ษา ขอบเขตของจดุ ประสงค์ การเรยี นการสอนเพือ่ พฒั นาคนใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมในทางทดี่ ี โดยทัว่ ไปจะมขี อบเขตการพฒั นาในรปู ของจดุ ประสงคอ์ ยู่ 3 ด้าน ของ Benjamin S. Bloom) 1. ด้านพทุ ธพิ สิ ยั (Cognitive Domain) 2. ดา้ นทกั ษะพสิ ยั (Psychomotor Domain) 3. ด้านจิตพิสัย (Affective Domain) โดย ชลอ การทวี ครเู ชี่ยวชาญ วทิ ยาลยั เทคนิคพระนครศรอี ยธุ ยา

จดุ ประสงคท์ างการศกึ ษา 1.พทุ ธพิ สิ ัย (Cognitive Domain) เปน็ พฤตกิ รรมทเี่ กยี่ วกับสติปญั ญา ความรู้ ความคดิ หรอื พฤตกิ รรมทางด้านสมองของบคุ คล ในอนั ทท่ี าใหม้ คี วามเฉลียว ฉลาด มคี วามสามารถในการคดิ เรอ่ื งราวตา่ ง ๆ ได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ ซงึ่ เป็น ความสามารถทางสตปิ ัญญา การเรยี นการสอนในปจั จบุ ัน ยงั เนน้ ในดา้ นนม้ี าก พฤตกิ รรมทางพทุ ธพิ สิ ยั แบ่งไดเ้ ปน็ 6 ระดับ

ระดบั จดุ ประสงคท์ างการศกึ ษาทางการศกึ ษา 1 ด้านพทุ ธพิ ิสยั (Cognitive Domain) Bloom’s Taxonomy of Learning-Comparison Evaluation(การประเมนิ คา่ ) Create (สรา้ ง) Synthesis (การสงั เคราะห์) Evaluate (ประเมนิ คา่ ) Analysis (การวเิ คราะห์) Analyze (วเิ คราะห์) Application (การนาไปใช้) Apply (ใช้) Comprehension (ความเขา้ ใจ) Understand (เข้าใจ) Knowledge (ความรู้-ความจา) Remember (จา) 1956 Noun โดย ชลอ การทวี ครเู ชยี่ วชาญtoวVทิ eยาrลbยั เทFคoนrิคmพระ2น0ค0รศ1รีอยธุ ยา

ระดับจดุ ประสงคท์ างการศกึ ษาทางการศกึ ษา 1. พทุ ธพิ ิสยั (Cognitive Domain) 1.1 ความรคู้ วามจา เป็นความสามารถในการเกบ็ รกั ษามวลประสบการณ์ตา่ ง ๆ จาก การทไี่ ดร้ บั รไู้ ว้และระลกึ สง่ิ นน้ั ไดเ้ มอื่ ตอ้ งการ เปรียบดงั เทปบันทกึ เสยี งหรอื วดี ทิ ศั นท์ ี่ สามารถเกบ็ เสยี งและภาพของเรอ่ื งราวตา่ ง ๆ ได้ สามารถเปดิ ฟงั หรอื ดภู าพเหลา่ นน้ั ได้ เม่อื ตอ้ งการ 1.2 ความเขา้ ใจ เปน็ ความสามารถในการจบั ใจความสาคญั ของสื่อได้ และสามารถ แสดงออกมาในรปู ของการแปลความ ตีความ คาดคะเน ขยายความ หรอื การกระทา อ่นื ๆ

ระดบั จุดประสงคท์ างการศกึ ษาทางการศกึ ษา 1. พทุ ธพิ ิสยั (Cognitive Domain) 1.3 การนาความรไู้ ปใช้ เป็นขนั้ ทผ่ี เู้ รยี นสามารถนาความรู้ ประสบการณ์ไปใชใ้ นการ แกป้ ญั หาในสถานการณต์ า่ ง ๆ ได้ ซง่ึ จะตอ้ งอาศัยความรคู้ วามเขา้ ใจ จึงจะสามารถ นาไปใช้ได้ เช่น นาหลกั ของการใช้ภาษาไทยไปใชส้ อ่ื ความหมายในชีวติ ประจาวนั ได้ ถูกตอ้ งและเหมาะสม 1.4 การวเิ คราะห์ เปน็ ขน้ั ทผี่ ูเ้ รยี นสามารถคดิ หรือ แยกแยะเรอื่ งราวสงิ่ ตา่ ง ๆ ออกเปน็ สว่ นยอ่ ย เปน็ องคป์ ระกอบทส่ี าคญั ได้ และมองเหน็ ความสัมพนั ธข์ องสว่ นที่ เกยี่ วขอ้ งกนั ความสามารถในการวเิ คราะหจ์ ะแตกตา่ งกนั ไปแลว้ แตค่ วามคิดของแต่ ละคน

ระดบั จดุ ประสงคท์ างการศกึ ษาทางการศกึ ษา 1. พทุ ธพิ สิ ยั (Cognitive Domain) 1.5 การสงั เคราะห์ ขนั้ นเี้ ปน็ ความสามารถในการทผี่ สมผสานย่อย ๆ เขา้ เปน็ เรือ่ งราวเดยี วกนั อยา่ งมรี ะบบ เพอื่ ใหเ้ กดิ สงิ่ ใหมท่ สี่ มบูรณแ์ ละดกี วา่ เดมิ อาจเปน็ การถา่ ยทอดความคดิ ออกมาใหผ้ ู้อน่ื เขา้ ใจไดง้ า่ ย การกาหนดวางแผนวธิ ีการ ดาเนนิ งานขนึ้ ใหม่ หรือ อาจจะเกดิ ความคิดในอนั ท่จี ะสรา้ งความสมั พนั ธข์ องสงิ่ ท่ี เป็นนามธรรมข้นึ มาในรปู แบบ หรอื แนวคดิ ใหม่ 1.6 การประเมนิ คา่ เป็นความสามารถในการตดั สนิ ตรี าคา หรือ สรปุ เกยี่ วกบั คุณคา่ ของสง่ิ ต่าง ๆ ออกมาในรปู ของคณุ ธรรมอยา่ งมกี ฎเกณฑท์ เี่ หมาะสม ซง่ึ อาจ เป็นไปตามเนอื้ หาสาระในเรอ่ื งนนั้ ๆ หรอื อาจเปน็ กฎเกณฑท์ ส่ี งั คมยอมรบั ก็ได้

ระดบั จดุ ประสงคท์ างการศกึ ษาทางการศกึ ษา 2 ด้านทักษะพิสยั (Psychomotor Domain) 2.ทกั ษะพสิ ยั (Psychomotor Domain) พฤตกิ รรมการเรยี นรทู้ บี่ ง่ ถงึ ความสามารถในการปฏบิ ตั งิ านไดอ้ ยา่ งคลอ่ งแคลว่ ชานิชานาญ พฤตกิ รรมดา้ นนจี้ ะ เหน็ ไดจ้ ากกระทา ซงึ่ แสดงผลของการปฏบิ ัตอิ อกมาได้โดยตรง โดยมีเวลาและ คณุ ภาพของงานเปน็ ตวั ช้รี ะดบั ของทกั ษะท่ีเกดิ วา่ มีมากน้อยเพยี งใด การทจี่ ะทาให้ ผู้เรยี นเกดิ การเรยี นรทู้ างดา้ นทกั ษะพสิ ยั ผเู้ รยี นจะตอ้ งพรอ้ มทจี่ ะใชอ้ วยั วะตา่ ง ๆ

ระดับจดุ ประสงคท์ างการศกึ ษาทางการศกึ ษา 2 ดา้ นทักษะพสิ ัย (Psychomotor Domain) ทกั ษะการกระทาอยา่ งเคยชนิ อัตโนมตั ิ ทกั ษะการกระทาอย่างต่อเนื่องผสมผสาน ทกั ษะท่มี คี วามถกู ต้องแมน่ ยา ทกั ษะการทาตามแบบ ทักษะการเลยี นแบบ โดย ชลอ การทวี ครเู ชย่ี วชาญ วทิ ยาลยั เทคนคิ พระนครศรอี ยุธยา

ระดับจุดประสงคท์ างการศกึ ษาทางการศกึ ษา ด้านทักษะพสิ ัย Dave มลี าดับข้นั การเรยี นรู้ ไว้ 5 ข้ัน 1) ทกั ษะการเลยี นแบบ (Imitation) เปน็ การปฏบิ ตั ทิ ไี่ ดจ้ ากการสงั เกต แล้วพยายามเลยี นแบบ โดยมีผ้สู อนการสาธติ ใหด้ กู อ่ น 2) ทักษะการทาตามแบบ (Manipulation) เปน็ การปฏบิ ตั ทิ ไ่ี ด้จาก การทาตามแบบ แต่อยู่ภายในการกากบั ดูแลของผูส้ อน 3) ทกั ษะทมี่ คี วามถกู ตอ้ งแม่นยา (Precision) เป็นการปฏบิ ตั ทิ มี่ ที กั ษะ มีคุณภาพ โดยไมต่ อ้ งมผี สู้ อนคอยควบคมุ โดย ชลอ การทวี ครเู ชี่ยวชาญ วทิ ยาลัยเทคนิคพระนครศรอี ยุธยา

ระดับจุดประสงคท์ างการศกึ ษาทางการศกึ ษา 4) ทักษะการกระทาอย่างตอ่ เนอื่ งผสมผสาน (Articulation) เป็นการปฏบิ ตั ิ ที่อาศยั ทกั ษะหลาย ๆ ดา้ น ผสมกนั อยา่ งกลมกลนื ถกู ต้องแมน่ ยา 5) ทักษะการกระทาอย่างเคยชนิ อตั โนมตั ิ เปน็ ธรรมชาติ (Naturalization) เปน็ การปฏบิ ตั ทิ มี่ ที กั ษะหนงึ่ หรอื หลายทกั ษะ ไดจ้ นเปน็ อตั โนมตั ิ โดย ชลอ การทวี ครเู ชยี่ วชาญ วิทยาลยั เทคนิคพระนครศรีอยธุ ยา

ระดับจุดประสงคท์ างการศกึ ษาทางการศกึ ษา 3 ดา้ นจิตพสิ ัย (Affective Domain) 3.จติ พสิ ยั (Affective Domain) เปน็ พฤตกิ รรมทางด้านจติ ใจ ซงึ่ จะเกย่ี วกบั คา่ นิยม ความรสู้ กึ ความซาบซงึ้ ทศั นคติ ความเชอ่ื ความสนใจ และคณุ ธรรม พฤตกิ รรมของผเู้ รียนในดา้ นนอ้ี าจจะไมเ่ กดิ ขนึ้ ทนั ที ดงั นน้ั การจดั กจิ กรรมการเรียน การสอนจะตอ้ งใช้วิธปี ลกู ฝงั โดยจดั สภาพแวดล้อมทเ่ี หมาะสม และสอดแทรกสง่ิ ทดี่ ี งามอยตู่ ลอดเวลา เพ่ือทาใหพ้ ฤตกิ รรมของผูเ้ รยี นเปลยี่ นไปในแนวทางทพี่ ึงประสงค์

ระดับจุดประสงคท์ างการศกึ ษาทางการศกึ ษา 3 ดา้ นจติ พิสัย (Affective Domain) ด้านจิตพสิ ยั จะประกอบด้วย พฤติกรรมยอ่ ย ๆ 5 ระดับ ได้แก่ การสร้างลักษณะนิสยั (Characterization) การจดั ระบบ (Organization) การสรา้ งคุณคา่ (Valuing) การตอบสนอง (Responding) การรบั รู้ (Receiving) โดย ชลอ การทวี ครเู ชย่ี วชาญ วทิ ยาลัยเทคนิคพระนครศรีอยธุ ยา

ด้านจิตพสิ ยั จะประกอบด้วย พฤติกรรมย่อย ๆ 5 ระดับ ไดแ้ ก่ 3.1 การรบั รู้... เปน็ ความรู้สกึ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ตอ่ ปรากฏการณ์ หรอื สง่ิ เรา้ อย่างใดอยา่ งหนงึ่ ซง่ึ เปน็ ไป ในลกั ษณะของการแปลความหมายของส่งิ เรา้ นนั้ วา่ คอื อะไร แลว้ จะแสดงออกมาในรปู ของความรสู้ กึ ที่ เกดิ ขน้ึ

3.จติ พสิ ยั (Affective Domain) 2.2 การตอบสนอง ... เป็นการกระทาทแี่ สดง ออกมาในรปู ของความเตม็ ใจ ยินยอม และพอใจ ต่อสง่ิ เรา้ นน้ั ซ่งึ เปน็ การตอบสนองทเี่ กดิ จากการ เลือกสรรแลว้

3.จติ พิสยั (Affective Domain) 3.3 การเกดิ คา่ นยิ ม ... เปน็ การเลอื กปฏิบตั ใิ น สิ่งที่เปน็ ทย่ี อมรบั กนั ในสงั คม ซง่ึ จะแสดงออกมา ในรปู ของการยอมรบั นบั ถอื ในคณุ คา่ นน้ั ๆ หรอื ปฏิบตั ติ ามในเรอ่ื งใดเรอื่ งหนง่ึ จนกลายเปน็ ความเชอื่ แล้วจงึ เกดิ ทศั นคตทิ ดี่ ใี นสงิ่ นนั้

3.จิตพิสัย (Affective Domain) 3.4 การจัดรวบรวม ...เปน็ การสรา้ งแนวคดิ และจดั ระบบ ของคา่ นิยมท่ีเกดิ ขนึ้ ซง่ึ จะรวบรวมค่านยิ มเหลา่ นน้ั โดย อาศยั ความสมั พนั ธก์ บั สิ่งท่ยี ดึ ถอื เพอ่ื ใช้เปน็ หลกั ในการ พจิ ารณาในเรอ่ื งตา่ งๆ ถา้ เข้ากนั ไดก้ ็จะยึดถอื ต่อไป แต่ ถา้ ขัดกนั อาจไมย่ อมรบั คา่ นยิ มใหม่ หรอื อาจจะยอมรบั คา่ นยิ มใหม่โดยยกเลกิ คา่ นยิ มเกา่ ไปกไ็ ด้

3.จิตพิสัย (Affective Domain) 3.5 สรา้ งลักษณะนสิ ัยตามค่านิยมทีย่ ึดถือ ... เปน็ การนาคา่ นยิ มที่ยึดถอื นนั้ มาใช้ เปน็ ตวั ควบคมุ พฤตกิ รรมทเ่ี ปน็ นสิ ยั ประจาตัวของตน ใหป้ ระพฤติ ปฏิบตั แิ ตส่ ง่ิ ที่ถกู ตอ้ งดีงาม





คมู่ ือครู ชดุ การสอนท่ี 1 เรื่อง เครื่องเลอ่ื ยกลและงานเลอ่ื ย คาชี้แจง ชดุ การสอนเร่อื งเครอื่ งเล่อื ยกลและงานเลือ่ ย ต้องการให้ผู้เรยี น ศึกษาเกยี่ วกับชนดิ ของเครือ่ ง เลอ่ื ยกล สว่ นประกอบท่สี าคญั ของเครอ่ื งเลื่อยกล เครือ่ งมือและอุปกรณท์ ่ีใช้กับเคร่ืองเล่อื ยกล ขัน้ ตอนการใช้ เคร่อื งเลอ่ื ยกล การบารุงรักษาเคร่ืองเลื่อยกล ความปลอดภยั ในการใช้เครือ่ งเลอ่ื ยกล การตัดเหลก็ เพลากลม ดว้ ยเคร่ืองเล่อื ยกลแบบชัก การตดั เหล็กเหลยี่ มด้วยเครอ่ื งเล่ือยกลแบบชกั 1. จุดประสงคท์ ว่ั ไป 1.1 ผู้เรยี นมีความรู้และความเขา้ ใจ ชนิด สว่ นประกอบทีส่ าคญั เครอ่ื งมือและอปุ กรณท์ ่ีใช้ ขน้ั ตอนการใช้ วิธีการบารงุ รกั ษา และความปลอดภัยในการใช้เครื่องเล่อื ยกล 1.2 มที ักษะเกยี่ วกบั การ เล่ือยชิน้ งานดว้ ยเครือ่ งมือกลเบือ้ งต้น 1.3 มีเจตคตแิ ละกิจนิสัยท่ดี ใี นการทางาน ด้วยความละเอียดรอบคอบ ปลอดภยั เปน็ ระเบียบ สะอาด ตรงตอ่ เวลา มคี วามซือ่ สัตย์ รบั ผดิ ชอบ รกั ษาสภาพแวดล้อม และ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและคุณลกั ษณะอัน พึงประสงคท์ ตี่ อ้ งการ 2. จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม เมือ่ ผู้เรยี นเรยี นเรื่องเคร่ืองเล่อื ยกลและงานเลื่อยแลว้ สามารถ 2.1 บอกชนิดของเครือ่ งเลอ่ื ยกลได้ 2.2 บอกสว่ นประกอบทส่ี าคญั เครอื่ งเล่ือยกลได้ 2.3 บอกเคร่อื งมือและอปุ กรณ์ที่ใชก้ บั เคร่ืองเลอ่ื ยกลได้ 2.4 อธิบายขน้ั ตอนการใชเ้ คร่ืองเลือ่ ยกลได้ 2.5 บอกวธิ กี ารบารงุ รกั ษาเคร่อื งเล่ือยกลได้ 2.6 อธิบายความปลอดภัยในการใช้เคร่อื งเลื่อยกลได้

3. ส่วนประกอบของชดุ การสอนที่ 1 เรอื่ ง เครอื่ งเลอื่ ยกลและงานเลอ่ื ย มดี งั นี้ 3.1 คู่มอื ครชู ุดการสอนท่ี 1 เร่อื ง เคร่อื งเลอ่ื ยกลและงานเลอื่ ย 3.2 โครงการสอนที่ 1 เรอ่ื ง เครื่องเลอื่ ยกลและงานเลอ่ื ย 3.3 แผนการจัดการเรยี นรู้ เรือ่ ง เครื่องเลื่อยกลและงานเลอ่ื ย 3.4 เอกสารประกอบการเรียน/ ใบความรู้/ใบเนอ้ื หา เร่อื ง เคร่ืองเล่อื ยกลและงานเล่อื ย 3.5 แบบฝึกหดั ทา้ ยหนว่ ย เรอื่ ง เครือ่ งเลื่อยกลและงานเลอื่ ย 3.6 ใบงานที่ 1-1 ตดั เหลก็ เพลากลมด้วยเคร่ืองเล่อื ยกลแบบชกั 3.7 แบบประเมินผลการปฏิบตั งิ าน ใบงานที่ 1-1 ตัดเหล็กเพลากลมดว้ ยเครอ่ื งเลอ่ื ยกลแบบชกั 3.8 แบบทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรยี น พร้อมเฉลย ชุดการสอนที่ 1 เรอื่ ง เครือ่ งเลอื่ ยกลและ งานเล่อื ย 3.9 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมระหว่างการเรียนและการปฏิบตั งิ าน 3.10 สื่อประกอบการสอน เรือ่ ง เครื่องเล่ือยกลและงานเลอื่ ย 4. เวลาทใ่ี ช้ ใช้เวลาในการสอนจานวน 8 ช่ัวโมง

5. การเตรยี มการลว่ งหนา้ ส่งิ ทคี่ รตู อ้ งเตรียมการล่วงหนา้ มดี งั นี้ 5.1 ศึกษาคู่มือครู โครงการสอน และแผนการจัดการเรียนรู้ เร่ือง เครอื่ งเล่อื ยกลและงานเลือ่ ย 5.2 ศกึ ษาและเตรยี มเอกสารและส่ือการสอน เรอ่ื ง เคร่อื งเลอ่ื ยกลและงานเลื่อย 5.3 ผู้สอนตอ้ งเตรียมเอกสารประกอบการเรียนเรื่อง เครอ่ื งเลอื่ ยกลและงานเล่ือย กรณีใหผ้ เู้ รยี น จดั เตรยี มเอง ตอ้ งมีตน้ ฉบับแจ้งใหผ้ เู้ รียนจดั เตรยี มเอกสารประกอบการเรียน ลว่ งหน้าใหพ้ รอ้ มกอ่ นเรยี น 5.4 แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนชดุ การสอนที่ 1 เร่อื ง เครอื่ งเลอื่ ยกลและงานเลอ่ื ย 5.5 จดั เตรียมใบงานท่ี 1-1 และเตรยี ม วสั ดุท่ีใช้ปฏิบตั งิ าน ได้แก่ เหลก็ St 37  25.4  125 มม. 5.6 จัดเตรยี มและตรวจสภาพความพรอ้ มเคร่ืองเลือ่ ยกล เตรียมเครือ่ งมือ วัสดอุ ุปกรณ์ ได้แก่ เครือ่ งมอื วดั เวอรเ์ นยี ร์คาลปิ เปอร์ บรรทัดเหล็ก ใบเลอ่ื ย และตัวอยา่ งชนิ้ งานทเี่ ล่อื ยเสรจ็ แลว้ ไวใ้ ห้ผู้เรียนดูเป็น ตัวอย่าง 6. ส่อื การเรยี นการสอน 6.1 ชุดการสอนท่ี 1 เรื่อง เคร่ืองเล่อื ยกลและงานเลือ่ ย 6.2 สอ่ื Power Point เร่อื ง เครอ่ื งเลือ่ ยกลและงานเลือ่ ย 6.3 สอ่ื ของจริง เชน่ ใบเล่อื ยกล เครอ่ื งมือวดั ท่ใี ช้ เป็นต้น 6.4 ใบงานเรอื่ ง เครอ่ื งเล่ือยกลและงานเลอื่ ย 6.5 ตัวอย่างช้นิ งานท่ีเลอ่ื ยเสร็จแล้ว

7. การจดั ชนั้ เรยี น การจดั ชน้ั เรยี นตามปกติสาหรบั การสอนทฤษฎี โดยจดั การเรยี นการสอนแบบอภิปราย ถาม-ตอบ อธิบาย สาธิต สรปุ การเรยี นภาคปฏบิ ตั ิจัดกลุ่มการปฏบิ ตั งิ านโดยการแบง่ กลมุ่ ๆ ละ 3-4 คน เพือ่ ให้ผูเ้ รยี นได้ปฏิบัตงิ าน โดยครูเตรียมโตะ๊ อปุ กรณจ์ บั ยึดชนิ้ งาน เครอ่ื งมอื อปุ กรณ์ให้ใช้ครบทกุ กลมุ่ ครสู าธติ ให้ดูและควบคมุ ดูแลพฤติกรรมการปฏิบตั ิงานใหค้ าช้ีแนะหาก พบปญั หา 8. วธิ ีใชช้ ดุ การสอน 8.1 ศึกษาคู่มือการใช้ โครงการสอน และแผนการจดั การเรยี นรู้ เนือ้ หาทีส่ อน 8.2 ศกึ ษาวิธกี ารใชส้ อ่ื การเรียนการสอน 8.2 ศกึ ษาวิธกี ารวดั ผลและประเมนิ ผล

9. ขั้นดาเนนิ การจดั กจิ กรรมการจัดการเรยี นรู้ 9.1 ผู้สอนชีแ้ จงใหผ้ ้เู รยี นทราบเกี่ยวกับบทบาทหนา้ ท่ขี องผเู้ รยี น 9.2 ผสู้ อนชแี้ จงเนอ้ื หาทจ่ี ะเรียนในชดุ การสอนนี้ 9.3 ผสู้ อนชี้แจงวธิ กี ารวัดผลประเมินผลพรอ้ มกาหนดเวลาส่งชนิ้ งาน 9.4 การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนในสว่ นภาคทฤษฎี แบ่งออกเป็น 5 ขั้นตอน ดังน้ี ขั้นท่ี 1 ทดสอบกอ่ นเรยี น ขั้นท่ี 2 ขั้นนาเขา้ สบู่ ทเรยี น ขนั้ ท่ี 3 ขั้นจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ข้ันที่ 4 ข้นั สรปุ ข้นั ท่ี 5 ทดสอบหลงั เรยี น - ในขณะสอนภาคทฤษฎี ให้ปฏบิ ตั ิดังน้ี • สงั เกตพฤตกิ รรมผูเ้ รียนระหวา่ งการเรยี น • ขน้ั สรปุ บทเรียนควรเปน็ กจิ กรรมร่วมของผเู้ รยี นทุกกลุ่มหรอื ตัวแทนกล่มุ ร่วมกัน • ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรียน หลังเรียนแลว้ แจง้ ผลให้ผู้เรียนทราบ • สอนซ่อมเสริมหรือมอบหมายงานเพิ่มเตมิ ใหก้ ับผู้เรยี นทไี่ มผ่ า่ นเกณฑ์

9.5 การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนในสว่ นภาคปฏิบัติ แบง่ ออกเปน็ 5 ขน้ั ตอน ดงั นี้ ขน้ั ที่ 1 ขัน้ กาหนดจุดประสงค์ ขัน้ ที่ 2 ขน้ั เตรียมการสาธติ ข้นั ที่ 3 ขั้นทาการสาธติ ขน้ั ที่ 4 ขน้ั ลงมอื ปฏบิ ตั ิ ขนั้ ท่ี 5 ขน้ั ตรวจและประเมนิ ผลชนิ้ งาน - ในขณะสอนภาคปฏิบัติ ใหป้ ฏิบตั ดิ ังนี้ ขณะผูเ้ รียนปฏบิ ัติงานตามใบงาน ผู้สอนควรควบคุมดูแลการปฏบิ ตั ิงานของ ผู้เรยี นอยา่ งใกลช้ ิด เน้นเรอ่ื งความปลอดภัย หากผู้เรียนมีปัญหาขณะปฏิบัตงิ าน จะได้ให้คาแนะนาชว่ ยเหลือ ผ้สู อนควบคุมและตดิ ตามผลการปฏิบตั งิ านของผเู้ รียนใหเ้ ปน็ ไปตามขั้นตอนการ ปฏิบัตงิ าน สังเกตพฤติกรรมผูเ้ รียนระหวา่ งการปฏบิ ตั ิงาน ตรวจผลงานการปฏิบัตงิ านตามใบงาน แล้วแจง้ ผลใหผ้ เู้ รยี นทราบ กรณผี ูเ้ รยี นทีม่ ีผลการประเมินไมผ่ ่านเกณฑ์ต้องเรยี กผู้เรียนมารับทราบและแจง้ ข้อผิดพลาดให้ผเู้ รยี นทราบเพอ่ื ปรบั ปรงุ แก้ไข

10. วิธีการใช้สอ่ื การเรยี นการสอน ชดุ การสอนท่ี 1 เรือ่ ง เคร่อื งเลอื่ ยกลและ งานเลอื่ ย ผู้สอนตอ้ งศึกษาวิธีการเรยี นรู้จากแผนการจดั การเรยี นรู้ ค่มู ือการใช้ สอื่ และศึกษาเนือ้ หา เร่ือง เครื่องเลอ่ื ยกลและงานเลอื่ ย จากเอกสารประกอบ การเรยี นและส่อื เพาเวอร์พอยท์ หนว่ ยท่ี 1 เรื่อง เคร่ืองเลื่อยกลและงานเล่ือย ก่อนทาการสอนจรงิ สว่ นสือ่ ทีผ่ เู้ รยี นใช้ไดแ้ กเ่ อกสารประกอบการเรียน หน่วยที่ 1 เรอ่ื ง เครอื่ งเลือ่ ยกลและงานเลอ่ื ยผสู้ อนต้องแจ้งลว่ งหน้าใหผ้ ูเ้ รยี นทราบ 11. บทบาทของผเู้ รยี น 11.1 ผู้เรยี นต้องเตรียมเอกสารประกอบการเรยี น เรือ่ ง เครือ่ งเลอ่ื ยกล และงานเลือ่ ย ก่อนเรยี นโดยผ้สู อนจดั เตรยี มตน้ ฉบับให้ล่วงหนา้ ทันวนั ใชส้ อนจริง 11.2 ผู้เรียนต้องปฏิบตั ิตามคาแนะนาของผ้สู อน 11.3 ผู้เรยี นตอ้ งทากิจกรรมตามทม่ี อบหมายและรว่ มกนั อภิปราย 11.4 ผู้เรียนตอ้ งปฏบิ ตั งิ านตามใบงาน 11.5 ผ้เู รียนตอ้ งส่งชิน้ งานให้ตรงตามเวลาทีก่ าหนด

12. การวดั และประเมินผล 12.1 วิธีวดั ผล 12.1.1 สงั เกตพฤตกิ รรมระหว่างการเรยี นและการปฏบิ ตั งิ าน 12.1.2 ตรวจผลจากแบบฝึกหัด/การอภปิ ราย 12.1.3 ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลังเรยี น 12.1.4 ตรวจผลการปฏิบัตงิ านตามใบงาน 12.3.5 ประเมนิ ผลจากการวดั ท้ังส่วนท่เี ป็นความรู้ ทักษะและ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 12.2 เครอ่ื งมอื วัด 12.2.1 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมระหว่างเรียนและการปฏิบัติงาน 12.2.2 แบบฝกึ หัด/ใบประเมินผลการอภปิ ราย 12.2.3 แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลงั เรยี น 12.2.4 ใบประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ านตามใบงาน 12.2.5 แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์

12.3 เกณฑก์ ารประเมินผล 12.3.1 ผ้เู รียนได้คะแนนพฤตกิ รรมระหว่างการเรยี นการสอนและ การปฏิบัตงิ านไม่ตา่ กวา่ ร้อยละ 60 12.3.2 คะแนนรวมตามแบบประเมนิ ผลงานใบงาน ไม่ต่ากวา่ ร้อย ละ 60 12.3.3 คะแนนแบบฝึกหดั และแบบทดสอบ ไม่ต่ากวา่ รอ้ ยละ 60 12.3.4 คะแนนประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ไม่ต่ากว่ารอ้ ยละ 60

โครงการสอน ชุดการสอนท่ี 1 รหสั วิชา 20100-1008 ชื่อวชิ า งานเครอ่ื งมอื กลเบื้องต้น ชอื่ หนว่ ย เครอื่ งเลื่อยกลและงานเลือ่ ย จานวน 8 ชั่วโมง เรื่อง 1. ชนดิ ของเคร่อื งเล่ือยกล 2. ส่วนประกอบที่สาคญั ของเครื่องเล่อื ยกล 3. เคร่อื งมือและอุปกรณท์ ี่ใชก้ บั เครอื่ งเลือ่ ยกล 4. ขัน้ ตอนการใช้เครอื่ งเลอ่ื ยกล 5. การบารงุ รักษาเคร่ืองเลือ่ ยกล รายการสอน จุดประสงค์การสอน 1. ชนิดของเครอ่ื งเลือ่ ยกล 1.บอกชนิดของเครื่องเล่ือยกลได้ 2. สว่ นประกอบทส่ี าคัญของเครือ่ งเลือ่ ยกล 2.บอกสว่ นประกอบทสี่ าคญั ของเคร่ืองเลอื่ ยกลได้ 3. เครือ่ งมือและอุปกรณ์ทีใ่ ช้กบั เครอื่ งเลือ่ ยกล 3.บอกเครื่องมือและอปุ กรณท์ ใี่ ช้กบั เคร่อื งเลอื่ ยกลได้ 4. ขนั้ ตอนการใช้เครื่องเลอื่ ยกล 4.อธบิ ายขน้ั ตอนการใช้เครอื่ งเลื่อยกลได้ 5. การบารงุ รักษาเครื่องเล่อื ยกล 5.บอกวิธกี ารบารุงรักษาเครอ่ื งเลอ่ื ยกลได้ วิธีการสอน : บรรยาย/ถาม-ตอบ สาธิต เวลาปฏบิ ตั งิ านตามใบงาน ครคู วรกาหนดตามความพรอ้ มของ เครื่องมือและเครื่องจักรกล สื่อการสอน 1. สือ่ ประกอบการสอน Power Point เรอ่ื ง เครอ่ื งเลื่อยกลและงานเลื่อย 2. เอกสารประกอบการเรยี น เร่ือง เครอื่ งเล่อื ยกลและงานเลอ่ื ย 3. สอ่ื ของจริง ได้แก่ ใบเลื่อย บรรทัดเหลก็ ช้ินงานทีต่ ดั แลว้ การประเมนิ : คะแนนจากการทาแบบทดสอบก่อนเรยี น/หลงั เรียน ประเมนิ ผลกิจกรรมขณะเรยี น งานท่ี มอบหมาย แบบฝกึ หัด ประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิงานตามใบงาน แบบประเมนิ พฤติกรรมระหว่างการเรยี นและ การปฏิบัตงิ าน

แผนการจดั การเรยี นรู้ ชอ่ื วชิ า งานเครอ่ื งมอื กลเบอื้ งตน้ รหสั วชิ า 20100-1008 สอนครงั้ ที่ . 1-2 จานวน 8 ชม. หนว่ ยท่ี 1 ชื่อหนว่ ย ..เครอื่ งเลอ่ื ยกลและงานเลื่อย 1. หัวขอ้ เรอ่ื ง 1. ชนดิ ของเครอื่ งเล่อื ยกล 2. สว่ นประกอบทส่ี าคญั ของเครื่องเลอ่ื ยกล 3. เคร่ืองมือและอปุ กรณท์ ใี่ ชก้ บั เครื่องเลือ่ ยกล 4. ขัน้ ตอนการใช้เคร่อื งเลือ่ ยกล 5. การบารุงรักษาเครื่องเลอื่ ยกล 6. ความปลอดภัยในการใช้เครอ่ื งเลื่อยกล 7. ปฏบิ ตั กิ ารตดั เหล็กเพลาด้วยเคร่ืองเลอื่ ยกลแบบชกั 2. สาระสาคญั เคร่ืองเลื่อยกลเปน็ เครอ่ื งจกั รกลพ้ืนฐานอีกชนดิ หนึ่งท่มี ีประโยชนม์ าก มีใชก้ ัน อยา่ งแพร่หลายในโรงงานอตุ สาหกรรมทั่วๆ ไป จะมีการแบง่ โดยทว่ั ไปทีค่ วรรู้จกั คอื เครื่องเล่ือยกลแบบชักและเครื่องเลอ่ื ยสายพานทัง้ แบบแนวตง้ั และแบบ แนวนอน ซงึ่ มสี ว่ นประกอบ เครือ่ งมอื และอปุ กรณ์ ขนั้ ตอนการทางานแตกต่าง กันไป สว่ นวิธบี ารงุ รักษาและความปลอดภยั ในการทางานในหลกั การเดยี วกัน

3. สมรรถนะประจาหน่วย 1. แสดงความรู้เก่ยี วกับชนดิ สว่ นประกอบทส่ี าคญั เคร่ืองมือและอุปกรณ์ ขัน้ ตอนการใช้ การ บารงุ รกั ษาและความปลอดภยั ในการใชเ้ ครื่องเล่อื ยกล 2. ปฏิบัตกิ ารตดั เหลก็ เพลาด้วยเคร่อื งเล่ือยกลแบบชกั ตามแบบสง่ั งาน 3. แสดงพฤติกรรมความมีมนุษยสัมพันธ์ ความมวี ินยั ซือ่ สัตย์ เสยี สละ อดทน ความสนใจใฝหู าความรู้ ความรักสามคั คีและความกตัญญูกตเวที เผ่อื แผ่ แบ่งปนั ความมีมนุษยสมั พนั ธ์ รบั ฟังความคิดเห็นของผูอ้ ื่น ความมีวนิ ัย ความรบั ผิดชอบ ใช้เวลาว่างให้เกดิ ประโยชน์ ความเชอ่ื ม่ันในตนเอง กล้า แสดงออก

4. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 4.1 จดุ ประสงค์ทวั่ ไป ผเู้ รียนมคี วามรแู้ ละความเขา้ ใจชนดิ ส่วนประกอบทสี่ าคัญ เครอื่ งมือและ อปุ กรณ์ที่ใช้ ข้นั ตอนการใชว้ ิธกี ารบารงุ รกั ษาและความปลอดภยั ในการใชเ้ ครอ่ื งเลือ่ ย กล มีทักษะเกย่ี วกบั การเลอ่ื ยช้ินงานดว้ ยเครอ่ื งเลอื่ ยกลแบบชัก มีเจตคตแิ ละกจิ นสิ ัยท่ดี ใี นการทางาน มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและคณุ ลกั ษณะอันพึง ประส4งค.2์ จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม 1. บอกชนดิ ของเครอื่ งเลอ่ื ยกลได้ 2. บอกส่วนประกอบทส่ี าคญั เครอ่ื งเลอื่ ยกลได้ 3. บอกเคร่ืองมือและอปุ กรณ์ทใ่ี ชก้ ับเครอื่ งเลอื่ ยกลได้ 4. บอกวธิ ีการบารุงรกั ษาเครอ่ื งเลอ่ื ยกลได้ 5. อธิบายความปลอดภยั ในการใชเ้ ครอื่ งเลื่อยกลได้ 6. ตัดเหล็กเพลากลมดว้ ยเครอื่ งเลอ่ื ยกลแบบชกั ได้ถูกต้อง 7. ปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ ปลอดภัย เป็นระเบยี บ สะอาด ตรงตอ่ เวลา มีความซอ่ื สัตย์ รกั ษาสภาพแวดลอ้ ม 8. มกี ารพฒั นาคณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคท์ ผ่ี สู้ อนสามารถสงั เกตเห็นได้ ในดา้ นความมีมนษุ ยสมั พนั ธ์ ความมวี ินยั ความรบั ผิด ชอบ ความเช่ือม่นั ในตนเอง ความสนใจใฝรู ู้ ความรกั สามัคคี ความ กตัญญกู ตเวที


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook