คู่มอื ปฏบิ ัติงานเจา้ หนา้ ทส่ี ่งเสริมการเกษตร การจดั ท�ำแผน พฒั นาการเกษตรแบบมสี ว่ นรว่ ม ISBN 978-974-403-943-9 กรมส่งเสรมิ การเกษตร
คมู่ ือปฏบิ ัติงานเจ้าหน้าท่สี ง่ เสริมการเกษตร การจดั ท�ำแผนพฒั นาการเกษตรแบบมีสว่ นร่วม ISBN 978-974-403-943-9 พิมพค์ รั้งที่ 1 ปี 2556 จ�ำนวน 10,000 เล่ม พมิ พท์ ี่ โรงพมิ พ์ชุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำ� กดั
คำ� น�ำ การท�ำงานส่งเสริมการเกษตร เป็นการท�ำงานท่ีมุ่งปรับปรุงคุณภาพชีวิตและ ความเป็นอยู่ของเกษตรกร โดยเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร เป็นผู้น�ำความรู้และ เทคโนโลยีทเี่ หมาะสม ถา่ ยทอดสเู่ กษตรกรกลมุ่ เปา้ หมาย ปี 2556 กรมส่งเสริมการเกษตรไดจ้ ดั ทำ� “คูม่ ือปฏิบัติงานเจ้าหนา้ ท่ีส่งเสริม การเกษตร” เพอ่ื เป็นองคค์ วามรู้ให้เจา้ หน้าทส่ี ง่ เสรมิ การเกษตร ไดใ้ ช้เป็นแนวทาง การปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตรในพื้นท่ี โดยได้รวบรวมและเรียบเรียงเน้ือหา ตามหลักวชิ าการทถี่ ูกต้อง สามารถอา้ งองิ ได้ และถอดบทเรยี นจากหลักปฏบิ ัติจรงิ สามารถประยุกตใ์ ช้กบั งานส่งเสริมการเกษตรในแตล่ ะพนื้ ที่ จ�ำนวน 24 รายการ แบ่งเปน็ เน้ือหา ด้านการเพ่ิมประสทิ ธิภาพการผลติ พชื เศรษฐกิจ ด้านเคหกิจเกษตร และการเพ่ิมมลู ค่าสนิ คา้ เกษตร และดา้ นเทคนิคการทำ� งานสง่ เสรมิ การเกษตร คมู่ อื ปฏิบัติงานเจา้ หน้าท่ีสง่ เสรมิ การเกษตร เรือ่ ง “การจัดทำ� แผนพฒั นาการ เกษตรแบบมีส่วนรว่ ม” เล่มนี้ ประกอบด้วยเนอ้ื หาที่สำ� คญั ได้แก่ ขอ้ มูลส�ำหรบั การ จดั ท�ำแผนพฒั นาการเกษตร การจัดท�ำแผนงาน โครงการ และการติดตามประเมนิ ผล และกระบวนการมีสว่ นร่วมในการจัดทำ� แผนพัฒนาการเกษตร ซ่งึ เจ้าหน้าทสี่ ง่ เสรมิ การเกษตร สามารถนำ� ไปปรบั ใชใ้ หเ้ หมาะสมกบั ลกั ษณะการทำ� งานตามบทบาท และ หนา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบ และหวงั ใหเ้ กดิ แนวคดิ การพฒั นาทกั ษะในการทำ� งานสง่ เสรมิ การเกษตร เพื่อประโยชนข์ องเกษตรกรตอ่ ไป กรมสง่ เสรมิ การเกษตร ขอขอบคณุ ในความรว่ มมอื อยา่ งดยี ง่ิ จากหนว่ ยงาน และ เจา้ หนา้ ทที่ เ่ี กยี่ วขอ้ งในการใหข้ อ้ มลู และภาพประกอบสำ� หรบั การจดั ทำ� หนงั สอื เลม่ น้ี และหากเจ้าหน้าที่สง่ เสรมิ การเกษตร มีขอ้ เสนอแนะเพิม่ เตมิ ขอไดโ้ ปรดแจ้งมายัง กรมสง่ เสริมการเกษตรให้ทราบด้วย ทั้งน้ี เพ่อื ประโยชน์ในการปรับปรงุ สำ� หรบั การ ใชง้ านคร้งั ต่อไป (นางพรรณพมิ ล ชญั ญานวุ ตั ร) อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร สงิ หาคม 2556
สารบญั ความนำ� บทที่ 1 บทนำ� 2 บทท่ี 2 ข้อมลู ส�ำหรบั การจดั ท�ำแผนพฒั นาการเกษตร 10 1. ขอ้ มูลท่จี �ำเปน็ ในการจัดท�ำแผนพฒั นาการเกษตร 11 2. การวินจิ ฉยั ชมุ ชน 32 บทท่ี 3 การจัดทำ� แผนงาน โครงการ 48 และการตดิ ตามประเมนิ ผล 49 1. การจัดทำ� แผนหรอื การวางแผน 67 2. การจดั ท�ำโครงการและการบรู ณาการโครงการ 76 3. การบรหิ ารความเสย่ี ง 85 4. การตดิ ตามและประเมนิ ผล
สารบัญ บทที่ 4 กระบวนการมสี ว่ นร่วมในการจัดท�ำ 110 แผนพัฒนาการเกษตร 111 1. กระบวนการมสี ่วนร่วม 126 2. กระบวนการจัดท�ำแผนชุมชน 134 บทสรุป 139 บรรณานกุ รม 142 รายชื่อคณะผูจ้ ัดท�ำ คู่มอื ปฏบิ ัตงิ านเจา้ หน้าท่ีส่งเสริมการเกษตร การจดั ทำ� แผนพัฒนาการเกษตรแบบมสี ่วนรว่ ม
194.43 ความนำ�
186.50 ความน�ำ 222.78 การจัดท�ำแผนพัฒนาการเกษตรแบบมีส่วนร่วม เป็นภารกิจส�ำคัญ ทน่ี ักสง่ เสริมการเกษตรจำ� เป็นจะตอ้ งมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เน้อื หาสาระ ดา้ นการจดั ทำ� แผนพฒั นาการเกษตร เพอื่ ใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ าน ดา้ นสง่ เสรมิ การเกษตรได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ สามารถเข้าถงึ เกษตรกร ร่วมด�ำเนิน การจัดท�ำแผนต่างๆ ในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยจัดท�ำ แผนพฒั นาการเกษตรแบบมสี ว่ นรว่ ม จะสามารถบรรลผุ ลตามวตั ถปุ ระสงคไ์ ด้ ต้องประกอบด้วยบุคคลท่ีมีส่วนเก่ียวข้องในการจัดท�ำแผนในระดับพื้นท่ี หลายส่วนด้วยกัน ได้แก่ เกษตรกร องค์การบริหารส่วนต�ำบล ก�ำนัน ผใู้ หญบ่ า้ น ผนู้ ำ� ตา่ งๆ ในระดบั ทอ้ งถน่ิ รวมไปถงึ หนว่ ยงานอนื่ ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง ทง้ั นป้ี ระโยชนท์ ไี่ ดร้ บั จากการมสี ว่ นรว่ มจะชว่ ยใหช้ มุ ชนเกดิ การเรยี นรู้ รจู้ กั ตนเอง รถู้ ึงสถานการณใ์ นชุมชน รู้จักการแกป้ ญั หาในชมุ ชมของตนเองได้ ในด้านเจ้าหน้าที่น้ัน ท�ำให้เจ้าหน้าท่ีสามารถเป็นท่ียอมรับในชุมชน สามารถเข้าถึงเกษตรกรได้ อีกทั้งสามารถท�ำงานร่วมกันในระดับชุมชน ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ
194.43 แผนพฒั นาการเกษตรแบบมสี ว่ นร่วมเป็นเครอื่ งมอื ส�ำคญั อนั หนง่ึ ท่ใี ห้ ความส�ำคญั กบั การเรียนรแู้ ละมสี ว่ นร่วมของเกษตรกร ยดึ เกษตรกรเป็น ศูนยก์ ลางในการพัฒนา และสอดคล้องกับปรัชญาของการส่งเสริม การเกษตรทม่ี ุ่งพัฒนาให้เกษตรกรพฒั นาเกษตรกรดว้ ยกันเอง อันจะทำ� ให้ เกิดการพัฒนาจากขา้ งใน ตรงจุด ตรงความตอ้ งการ และเปน็ การพฒั นาท่ี ยัง่ ยนื อย่างแท้จรงิ
186.50 222.78 บทท่ี INTRO บทน�ำ
บ1ทท่ี2 การจดั ท�ำแผนพัฒนาการเกษตรแบบมีส่วนร่วม บทนำ� \"การพฒั นาประเทศทผ่ี ่านมา ได้เริ่มมีการจดั ทำ� แผนพัฒนาทม่ี ีการก�ำหนด ทศิ ทางที่ชัดเจนและมีการจัดทำ� อยา่ งต่อเน่ือง ตง้ั แต่ ปี พ.ศ. 2504 เป็นตน้ มา คือแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ\" การวางแผน (Planning) เปน็ ขน้ั ตอนหนง่ึ ของการ บรหิ ารจดั การ โดยทว่ั ๆ ไปการวางแผนเปน็ กระบวนการ ท่ีเก่ียวกับการระบุวัตถุประสงค์ทตี่ อ้ งการ มีการกำ� หนด กลยุทธ์ต่างๆ ท่ีจะท�ำให้สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ เหลา่ น้นั ได้ การวางแผนเปน็ สิ่งจ�ำเปน็ เพราะมสี ่วนทำ� ให้ ผบู้ รหิ ารและเจา้ หนา้ ทรี่ แู้ นวทางการดำ� เนนิ งานขององคก์ ร ลดการดำ� เนนิ งานทซี่ ำ้� ซอ้ นหรอื งานทส่ี น้ิ เปลอื ง และชว่ ย ลดผลกระทบทเี่ กดิ จากการเปลยี่ นแปลงในอนาคต เพราะ การวางแผนท่ีดีจะต้องมีการคาดคะเนทิศทางหรือ สถานการณ์ในอนาคต และวางแผนโดยค�ำนึงถึง การเปลย่ี นแปลงต่างๆ ทอี่ าจจะเกิดขนึ้ ดว้ ย
บทท่ี 1 บทนำ� 3 การพัฒนาประเทศที่ผ่านมา ได้เร่ิมมีการจัดท�ำแผนพัฒนาที่มีการ กำ� หนดทศิ ทางทชี่ ดั เจนและมกี ารจดั ทำ� อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ตงั้ แต่ ปี พ.ศ. 2504 เป็นต้นมา คือแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และการพัฒนา การเกษตรกเ็ ปน็ ส่วนประกอบส�ำคญั ในแผนพฒั นาฯ ดังกล่าว ซงึ่ ปจั จบุ นั อยูใ่ นช่วงของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 - 2559) ทยี่ ังคง น้อมน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นกรอบชี้น�ำในการพัฒนา ประเทศอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง และไดก้ ำ� หนดยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาดา้ นการเกษตร เปน็ การเฉพาะไวด้ ว้ ย คอื ยทุ ธศาสตรค์ วามเขม้ แขง็ ภาคเกษตร ความมน่ั คง ของอาหารและพลงั งาน โดยใหค้ วามสำ� คญั กบั การบรหิ ารจดั การทรพั ยากร ธรรมชาตทิ เ่ี ปน็ ฐานการผลติ ภาคเกษตร การเปน็ ฐานการผลติ อาหารและ พลังงานที่มีความม่ันคง การเพิ่มประสิทธิภาพและศักยภาพการผลิต ภาคเกษตร การสนบั สนนุ การวจิ ยั และพฒั นา การสง่ เสรมิ การสรา้ งมลู คา่ เพมิ่ สนิ คา้ เกษตร และการสรา้ งความมนั่ คงในอาชพี และรายไดใ้ หแ้ กเ่ กษตรกร ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
4 การจดั ทำ� แผนพฒั นาการเกษตรแบบมีสว่ นร่วม ส�ำหรับแผนพฒั นาการเกษตรในระดับรองลงมาน้ัน กระทรวงเกษตร และสหกรณ์ได้จัดท�ำแผนพัฒนาการเกษตรที่เป็นภาพรวมในการพัฒนา ดา้ นการเกษตรมาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง และสว่ นราชการตา่ งๆ ในสงั กดั กระทรวง เกษตรและสหกรณก์ ม็ ีการจัดทำ� แผนพัฒนาการเกษตรตามบทบาทหนา้ ที่ ของสว่ นราชการนน้ั ๆ เชน่ กนั สว่ นแผนพฒั นาการเกษตรในระดบั พนื้ ทน่ี น้ั ส่วนใหญ่จะถูกผนวกอยู่ภายใต้แผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัดของ ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั และแผนพฒั นาทอ้ งถนิ่ ขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ นอกจากนี้ กรมสง่ เสรมิ การเกษตรไดก้ ำ� หนดใหม้ กี ารจดั ทำ� แผนพฒั นาการ เกษตรระดบั ตำ� บล เพอื่ ใหส้ อดรบั และเชอื่ มโยงกบั แผนพฒั นาทอ้ งถนิ่ อกี ดว้ ย เนอื้ หาในเลม่ นมี้ งุ่ เนน้ ทกี่ ารจดั ทำ� แผนพฒั นาการเกษตรแบบมสี ว่ นรว่ ม ในระดับต�ำบลและชุมชนเป็นส�ำคัญ เพราะเป็นแผนที่ใกล้ตัวเกษตรกร มากทสี่ ดุ เกษตรกรเขา้ มามสี ว่ นรว่ มไดม้ ากทสี่ ดุ ตอบสนองตอ่ การพฒั นา ทีย่ ดึ ตัวเกษตรกรเปน็ ศูนยก์ ลาง และที่สำ� คัญเปน็ แผนทเ่ี จา้ หนา้ ท่สี ง่ เสริม
บทที่ 1 บทนำ� 5 การเกษตรทปี่ ฏบิ ตั งิ านในพน้ื ทตี่ อ้ งเขา้ ไปเกย่ี วขอ้ งมากทสี่ ดุ สว่ นแผนพฒั นา การเกษตรในระดับอืน่ ๆ น้ัน มีหลกั การและวธิ กี ารเช่นเดยี วกัน ตา่ งกันที่ ผู้มีส่วนร่วมและการมองภาพท่ีตา่ งระดบั กันเทา่ น้ัน ในการจัดท�ำแผนพัฒนาการเกษตรแบบมีส่วนร่วมในระดับต�ำบลและ ชุมชนนั้น เจ้าหน้าท่ีส่งเสริมการเกษตรนับเป็นตัวจักรส�ำคัญที่จะกระตุ้น และผลกั ดนั ใหเ้ กดิ กระบวนการจดั ทำ� แผนนข้ี นึ้ จนไดแ้ ผนของตำ� บลหรอื แผน ของชุมชนทม่ี ีคณุ ภาพ แตเ่ จ้าหน้าทส่ี ่งเสริมการเกษตรจะมบี ทบาทส�ำคัญ ในช่วงเริม่ ต้นเท่านั้น เพราะเกษตรกรและชุมชนจะตอ้ งเรียนรแู้ ละพัฒนา ที่จะขับเคลื่อนด้วยตนเองต่อไปในการท่ีจะน�ำแผนที่จัดท�ำขึ้นไปสู่ข้ันตอน การปฏบิ ตั แิ ละตอ้ งเปน็ การปฏบิ ตั อิ ยา่ งมสี ว่ นรว่ มดว้ ยเชน่ กนั จนบรรลผุ ล ส�ำเรจ็ ตามที่มงุ่ หวัง
6 การจัดท�ำแผนพฒั นาการเกษตรแบบมีส่วนร่วม เจา้ หนา้ ทสี่ ง่ เสรมิ การเกษตรตอ้ งทำ� หนา้ ทเี่ ปน็ ผอู้ ำ� นวยความสะดวกให้ เกิดการจัดท�ำแผนในระยะแรกอาจจะต้องเป็นผู้น�ำกระบวนการเองทั้งหมด เร่ิมตั้งแต่การชักจงู โน้มนา้ วให้ผเู้ กีย่ วข้องเขา้ มาร่วมกนั จดั ทำ� แผน และตอ้ ง เป็นผู้น�ำทั้งกระบวนการมีส่วนร่วมและกระบวนการจัดท�ำแผนควบคู่กันไป เจ้าหน้าท่ีส่งเสรมิ การเกษตรต้องมีความรคู้ วามเข้าใจในกระบวนการทั้ง 2 เรอ่ื งเปน็ อยา่ งดี ซงึ่ เนอื้ หาในวชิ านไี้ ดพ้ ยายามใหค้ วามรทู้ จี่ ำ� เปน็ และเปน็ พน้ื ฐานในระดับท่ีจะน�ำไปใช้ปฏิบัติได้ แต่เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร จะต้องหาความช�ำนาญ และประสบการณ์จากการเรียนรู้ไปพร้อมๆ กับเกษตรกร เรียนรูจ้ ากการปฏบิ ัติจรงิ ตอ้ งร้จู กั ประยุกต์ พฒั นา ต่อยอด ความรตู้ า่ งๆ และทส่ี ำ� คญั ตอ้ งมคี วามมงุ่ มน่ั ทจ่ี ะทำ� เรอ่ื งนใ้ี หส้ ำ� เรจ็ อยา่ งไรกต็ าม เมอ่ื กระบวนการจัดทำ� แผนพฒั นาการเกษตรแบบมีส่วนร่วมด�ำเนนิ การไปได้ ด้วยตัวของมันเองแล้ว เกษตรกร และชุมชนพร้อมท่ีจะรับลูกต่อได้แล้ว
บทท่ี 1 บทนำ� 7 เจ้าหนา้ ทส่ี ่งเสรมิ การเกษตรจะตอ้ งค่อยๆ ถอยออกมาทำ� หน้าที่เป็นเพียง ผู้สงั เกตการณ์ และเป็นพี่เลีย้ งคอยให้คำ� ปรกึ ษาแนะนำ� เทา่ นน้ั ท่ีสำ� คัญอยา่ ไป ยึดติดไว้กับตัวเอง ต้องเช่ือว่าเกษตรกรและชุมชนสามารถท�ำกันเองไดแ้ ละ ท�ำไดด้ ดี ้วย แผนพฒั นาการเกษตรแบบมสี ว่ นรว่ มเปน็ เครอ่ื งมอื สำ� คญั อนั หนง่ึ ทใ่ี ห้ ความสำ� คัญกบั การเรียนรูแ้ ละมีส่วนร่วมของเกษตรกร ยึดเกษตรกรเป็น ศนู ยก์ ลางในการพฒั นา และสอดคลอ้ งกบั ปรชั ญาของการสง่ เสรมิ การเกษตร ท่ีมุ่งพัฒนาให้เกษตรกรพัฒนาเกษตรกรด้วยกันเอง อันจะท�ำให้เกิดการ พัฒนาจากข้างใน ตรงจุด ตรงความตอ้ งการ และเป็นการพัฒนาทย่ี ่งั ยืน อยา่ งแท้จริง
194.438 การจดั ทำ� แผนพฒั นาการเกษตรแบบมีส่วนร่วม ข้อมลู เป็นส่งิ จ�ำเปน็ และมคี วามส�ำคัญอย่างยง่ิ ในการจัดท�ำแผนพฒั นาการเกษตร เพราะคณุ ภาพและความเปน็ ไปได้ ของแผนนน้ั ขึน้ อยูก่ ับคณุ ภาพและความเชอ่ื ถือไดข้ องขอ้ มลู
186.50 บทท่ี 1 บทนำ� 9 บทที่222.78 ข้อมูลส�ำหรบั 2การจดั ทำ� แผนพฒั นาการเกษตร
10 การจัดท�ำแผนพฒั นาการเกษตรแบบมีสว่ นรว่ ม 2บทท่ี ขอ้ มลู สำ� หรบัการจัดทำ� แผนพัฒนาการเกษตร \" ในการจดั ท�ำแผนพัฒนาการเกษตรนน้ั ข้อมลู ต่างๆ มีความส�ำคัญและเป็นตวั ตั้งต้นของการจัดท�ำแผนท่ีดีมีคุณภาพ จึงต้องศึกษาท�ำความเข้าใจเร่ืองของ ขอ้ มูลให้ชัดเจน\" แผนท่ีดีต้องมาจากข้อมูลท่ีดีมีคุณภาพ ในบทนี้จึง ตอ้ งทำ� ความเขา้ ใจกอ่ นกนั วา่ ขอ้ มลู คอื อะไร ตอ้ งใชข้ อ้ มลู อะไรในการจัดทำ� แผนพฒั นาการเกษตร ข้อมูลเหลา่ นน้ั ได้มาอย่างไร จากท่ีไหน มีวิธีการวิเคราะห์สังเคราะห์ ข้อมูลอย่างไรจึงจะน�ำข้อมูลมาใช้ประโยชน์ได้ และยังมี ข้อมูลอีกส่วนหน่ึงที่ฝังอยู่ในตัวเกษตรกรและชุมชน เรามเี ทคนคิ วธิ กี ารทจ่ี ะเอาขอ้ มลู สว่ นนอี้ อกมาไดอ้ ยา่ งไร
บทที่ 2 ขอ้ มลู สำ� หรบั การจดั ทำ� แผนพฒั นาการเกษตร 11 SPERCIOMNADARRYYData 1. ข้อมูลทีจ่ �ำเปน็ ในการจัดท�ำแผนพฒั นาการเกษตร ในการจดั ทำ� แผนพฒั นาการเกษตรนน้ั ขอ้ มลู ตา่ งๆ มคี วามสำ� คญั และ เป็นตวั ตั้งตน้ ของการจดั ท�ำแผนท่ีดีมีคุณภาพ จึงต้องศกึ ษาท�ำความเข้าใจ เรอ่ื งของขอ้ มลู ใหช้ ดั เจน ซง่ึ ในทน่ี ไ้ี ดอ้ ธบิ ายถงึ ความหมายและความสำ� คญั ของข้อมูล มีข้อมูลอะไรบ้างท่ีต้องน�ำมาใช้ในการจัดท�ำแผนพัฒนา การเกษตร และวิธีการได้มาซง่ึ ขอ้ มูลเหล่านนั้ 1.1 ความหมายของข้อมูล ขอ้ มูล (Data) หมายถงึ ปริมาณ ตัวเลข ข่าวสาร หรือข้อเทจ็ จริงต่างๆ ท้ังชนิดท่ีสามารถวัดได้โดยมีหน่วยวัดท่ีแน่นอนหรือวัดไม่ได้ ข้อมูลเป็นข้อเท็จจริงของสิ่งที่เราสนใจ ข้อเท็จจริงน้ันอาจอยู่ในรูปของ ตัวเลข ขอ้ ความ ภาพ เสียง วีดโิ อ หรืออาจจะเป็นคน สัตว์ ส่ิงของ หรอื เหตุการณท์ ี่เกยี่ วขอ้ งกับสง่ิ ตา่ งๆ ก็ได้
12 การจัดท�ำแผนพฒั นาการเกษตรแบบมสี ่วนรว่ ม ชนิดของขอ้ มลู สามารถแบง่ ได้หลายวธิ ี เช่น 1.1.1 แบ่งตามแหลง่ ทีม่ าของขอ้ มูล 1) ขอ้ มูลปฐมภูมิ (Primary Data) หมายถงึ ขอ้ มลู ท่ที �ำการ เก็บรวบรวมจากต้นกำ� เนิดของข้อมูลหรอื จากเจ้าของขอ้ มูลนนั้ ๆ โดยตรง เช่น ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ การสอบถาม การสังเกตการณ์ การตรวจนับ การทดสอบ เป็นต้น เป็นข้อมูลที่ต้องใช้ทรัพยากรและเวลาในการเก็บ รวบรวมคอ่ นขา้ งมากและอาจเปน็ เรอ่ื งทท่ี ำ� ไดย้ าก แตผ่ ใู้ ชส้ ามารถกำ� หนด กระบวนการในการจดั เกบ็ และควบคมุ คณุ ภาพขอ้ มลู ใหเ้ หมาะสมกบั สภาพการณ์ และความตอ้ งการในการใช้ข้อมลู ของตนเองได้ 2) ข้อมลู ทุตยิ ภูมิ (Secondary Data) หมายถึง ขอ้ มูลท่ีมี ผู้จัดเกบ็ และรวบรวมมาจากแหล่งกำ� เนิดไวเ้ รยี บรอ้ ยแล้ว ผใู้ ช้เพียงแตไ่ ปขอ ข้อมูลน้ันมาใช้อีกต่อหน่ึงโดยไม่มีการสัมผัสกับเจ้าของหรือต้นก�ำเนิดของ ขอ้ มลู เลย เชน่ ขอ้ มลู จากเอกสารและรายงานตา่ งๆ เปน็ ตน้ และเนอื่ งจาก เป็นข้อมูลท่ีผู้อ่ืนเก็บรวบรวมมา จึงอาจไม่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ โดยตรง ดังนั้น การใช้ข้อมูลทุติยภูมิแม้จะมีความสะดวกรวดเร็วกว่าไม่ ตอ้ งใชเ้ วลาและทรพั ยากรเทา่ กบั ขอ้ มลู ปฐมภมู ิ แตผ่ ใู้ ชก้ จ็ ะตอ้ งระมดั ระวงั และพิจารณาในเร่ืองคุณภาพของข้อมูลเป็นอย่างมาก เพื่อให้แน่ใจได้ว่า ผลสรุปท่ีได้จากขอ้ มลู เหล่านีม้ ีคณุ ภาพตรงตามท่ีต้องการ
บทท่ี 2 ขอ้ มลู สำ� หรบั การจดั ทำ� แผนพฒั นาการเกษตร 13 1.1.2 แบ่งตามลักษณะของข้อมูล 1) ข้อมูลเชงิ ปรมิ าณ (Quantitative Data) หมายถงึ ข้อมลู ท่สี ามารถวัดออกมาเปน็ ตัวเลขได้ ใชแ้ สดงจำ� นวน ขนาด หรือปรมิ าณ ของสงิ่ ตา่ งๆ เช่น ผลผลิตเฉลย่ี จ�ำนวนเกษตรกร พ้ืนที่ปลูก เป็นตน้ 2) ขอ้ มูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) หมายถงึ ข้อมลู ที่ ใช้อธิบายคุณค่า คุณลักษณะ หรอื สถานการณข์ องส่ิงต่างๆ เช่น คุณภาพ ผลผลิต สภาพพื้นที่ คุณลักษณะของเกษตรกรที่ประสบความส�ำเร็จ สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงท่เี กิดขนึ้ ในชมุ ชน เป็นต้น 1.1.3 ลกั ษณะของขอ้ มูลท่ีดี 1) มีความถูกต้อง ข้อมูลนั้นจะต้องมีความถูกต้องแม่นย�ำ สามารถใหข้ อ้ เทจ็ จรงิ ทค่ี รบถว้ นทกุ ด้าน ปราศจากความลำ� เอยี งหรอื อคติ 2) มีความทันสมัย กล่าวคือ จะต้องเป็นข้อมูลท่ีทันเวลา ทนั สมยั อยเู่ สมอ 3) มีความสมบูรณค์ รบถ้วน ขอ้ มลู ที่เกบ็ ไดม้ านั้นควรจะตอ้ ง มีความสมบูรณ์ครบถว้ นหรอื ตรงตามความตอ้ งการของผู้ใช้ประโยชน์ 4) มคี วามชัดเจนกะทัดรดั กล่าวคือ ขอ้ มลู ที่ผลติ ได้จะต้องมี ความชดั เจนไมค่ ลุมเครอื สามารถทำ� ความเข้าใจไดง้ ่าย ไม่เกิดปัญหาใน การตคี วามหรอื แปลความหมาย 5) มีความสอดคล้อง ข้อมูลท่ีจัดเก็บจะต้องตรงประเด็นใน ปญั หาที่ตอ้ งการศกึ ษาหรือสอดคลอ้ งกบั เปา้ หมาย วัตถุประสงค์
14 การจัดท�ำแผนพัฒนาการเกษตรแบบมีส่วนรว่ ม ขอ้ มลู เปน็ สงิ่ จำ� เปน็ และมคี วามสำ� คญั อยา่ งยง่ิ ในการจดั ทำ� แผนพฒั นา การเกษตร เพราะคุณภาพและความเป็นไปได้ของแผนข้ึนอยู่กับคุณภาพ และความเชอื่ ถอื ไดข้ องขอ้ มลู นอกจากนข้ี อ้ มลู ยงั ตอ้ งถกู นำ� ไปใชใ้ นขนั้ ตอน ของการปฏบิ ตั ติ ามแผน การควบคมุ กำ� กบั การดำ� เนนิ งาน และการตดิ ตาม ประเมนิ ผล ซงึ่ ขอ้ มลู ทไ่ี ดม้ านนั้ ตอ้ งมกี ารเกบ็ รกั ษาทด่ี แี ละปรบั ปรงุ ใหเ้ ปน็ ปัจจุบันอยเู่ สมอ เพ่อื ให้มีขอ้ มูลท่ีถูกตอ้ ง ครบถ้วน และทันสมยั สามารถ นำ� ไปใช้ได้อย่างมีประสิทธภิ าพตอ่ ไป 1.2 ข้อมลู ท่ีต้องใช้ในการจัดท�ำแผนพฒั นาการเกษตร แผนพัฒนาการเกษตรท่ีดีนั้นต้องมีความสอดคล้องกันของแผน ในทุกระดบั ตัง้ แต่ระดบั ประเทศจนถึงระดับพนื้ ทีห่ รือชุมชน ซ่ึงข้อมลู ทใี่ ช้ ประกอบการพิจารณาจัดท�ำแผนพัฒนาการเกษตรแบ่งได้เป็น 2 ระดับ ใหญ่ๆ ดงั น้ี 1.2.1 ขอ้ มลู ระดับภาพรวม ขอ้ มูลภาพรวม หมายถงึ ขอ้ มูลทีอ่ ยใู่ นระดบั ทสี่ งู กวา่ พืน้ ทีท่ ่ี จัดท�ำแผนพัฒนาการเกษตร เช่น ถ้าจัดท�ำแผนพัฒนาการเกษตรระดับ หมบู่ า้ น ขอ้ มลู ภาพรวมกค็ อื ขอ้ มลู ตง้ั แตร่ ะดบั โลก ประเทศ ภาค กลมุ่ จงั หวดั จังหวัด อำ� เภอ และตำ� บล ซ่ึงข้อมูลภาพรวมแบง่ อยา่ งกว้างๆ ไดเ้ ป็น
บทท่ี 2 ขอ้ มลู สำ� หรบั การจดั ทำ� แผนพฒั นาการเกษตร 15 1) ขอ้ มลู เชงิ นโยบาย คอื ขอ้ มลู ทแี่ สดงทศิ ทางการพฒั นา ในระดบั ตา่ งๆ เชน่ แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ นโยบายรฐั บาล แผนบริหารราชการแผ่นดิน แผนพัฒนาการเกษตร แผนพฒั นาจังหวดั / กลมุ่ จงั หวัด รวมถงึ แนวโนม้ และสถานการณใ์ นอนาคต เชน่ กฎกตกิ าใหม่ ของโลก การรวมกล่มุ ทางเศรษฐกิจในภมู ิภาคต่างๆ ของโลก การเขา้ สู่ ประชาคมอาเซยี น การเปน็ สงั คมผสู้ งู อายุ ภาวะโลกรอ้ น วกิ ฤตความมน่ั คง ด้านอาหารและพลังงาน เทคโนโลยีใหม่ๆ รวมท้ังการเปลี่ยนแปลงใน ประเทศทัง้ ดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม การเมอื ง ส่ิงแวดล้อม และสถานการณ์ ในภมู ิภาคและพื้นทต่ี ่างๆ ของประเทศ ข้อมลู ในสว่ นน้ีมเี ปน็ จ�ำนวนมาก และหลากหลาย ต้องพิจารณาเลือกเฉพาะส่วนที่เกี่ยวข้องหรือส่งผล กระทบต่อชุมชน และเช่ือมโยงเข้ามาเป็นกรอบทิศทางในการจัดท�ำ แผนพัฒนาการเกษตร 2) ขอ้ มลู ดา้ นการเกษตร ไดแ้ กส่ ถติ ขิ อ้ มลู และสถานการณ์ การเกษตรที่เกีย่ วขอ้ ง เช่น พืน้ ทปี่ ลูก ผลผลิตเฉล่ยี ราคาสินค้าเกษตร ของโลก หรือของประเทศ เป็นตน้
16 การจัดท�ำแผนพัฒนาการเกษตรแบบมีสว่ นร่วม 1.2.2 ข้อมลู ระดบั พื้นท่ี ขอ้ มูลระดับพ้นื ที่ที่ใชป้ ระกอบการจัดท�ำแผนมีดังนี้ 1) ขอ้ มูลสภาพพ้นื ฐานทางเศรษฐกจิ สงั คม และ สิง่ แวดลอ้ มของชุมชน ประกอบดว้ ยขอ้ มลู 4 ดา้ น ดงั น้ี (1) ดา้ นกายภาพ ไดแ้ ก่ • ที่ต้ังและอาณาเขตของหมู่บ้าน/ชุมชน ได้แก่ รายละเอียดท่ีต้ัง อาณาเขตติดต่อ แผนที่แสดงขอบเขตต�ำบล/หมู่บ้าน ช่ือหมบู่ า้ น และชื่อบ้าน • ประชากร ได้แก่ จ�ำนวนประชากรแยกชาย/ หญงิ รายหมบู่ า้ น จำ� นวนครวั เรอื น และจำ� นวนเกษตรกรแยกรายหมบู่ า้ น • การใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ รายละเอียดและ คุณสมบตั ิของกลุม่ ชดุ ดิน ความเหมาะสมและคุณภาพของดิน แผนทก่ี ลมุ่ ชดุ ดิน (กลุ่มชดุ ดนิ ท่ี 1-62) และแผนทค่ี วามเหมาะสมของกลมุ่ ชดุ ดนิ • สภาพภมู ปิ ระเทศ ไดแ้ ก่ ลกั ษณะและขนาดของ พ้ืนที่ ภมู ิประเทศของต�ำบล เชน่ ทรี่ าบ ทีด่ อน และแผนที่แสดงลักษณะ ภมู ิประเทศแตล่ ะประเภท • สภาพภมู อิ ากาศ/ปรมิ าณนำ�้ ฝน ไดแ้ ก่ อณุ หภมู ิ เฉลยี่ รายเดอื น (เปรยี บเทยี บอยา่ งนอ้ ย 3 ป)ี กราฟแสดงอณุ หภมู ิ ปรมิ าณ นำ้� ฝนแยกรายเดือน (ยอ้ นหลงั อยา่ งน้อย 3 ป)ี และกราฟแสดงปริมาณ นำ้� ฝน (รายเดือน)
บทที่ 2 ขอ้ มลู สำ� หรบั การจดั ทำ� แผนพฒั นาการเกษตร 17 • แหลง่ นำ้� /แมน่ ำ้� /คลอง/ระบบชลประทาน ไดแ้ ก่ แหลง่ นำ�้ ปรมิ าณน้ำ� และการใช้ประโยชน์ • เส้นทางคมนาคม ไดแ้ ก่ รายละเอียดประเภทและชนิด ของเส้นทางคมนาคม และแผนทีแ่ สดงเสน้ ทางคมนาคมทางบก/ทางนำ้� • ขอ้ มลู สาธารณปู โภค ไดแ้ ก่ ประปา ไฟฟา้ โทรศพั ท์ แยกเปน็ รายหม่บู ้าน • ข้อมูลส่ิงก่อสร้างต่างๆ/โครงสร้างพ้ืนฐาน ได้แก่ วัด โรงเรยี น โรงพยาบาล ลานตาก โรงสี ฉาง ไซโล เป็นตน้ ควรแยกเปน็ รายหมูบ่ ้าน และแสดงแผนที่ต้ัง • ภยั ธรรมชาติ ระบชุ นดิ ของภยั ธรรมชาติ แสดงสถติ ขิ อง การเกิดภัยธรรมชาติของพืช/สัตว์ ครัวเรือน และพ้ืนที่เสียหายแยกเป็น รายหมู่บ้าน (ย้อนหลัง 3 ปี ถา้ ไมม่ ีภยั ธรรมชาตใิ หร้ ะบดุ ว้ ย) (2) ด้านชีวภาพ ได้แก่ ข้อมูลด้านการผลิตพืช ปศุสัตว์ ประมง ฯลฯ ในแตล่ ะชนดิ ประ กอบดว้ ย • พนั ธพ์ุ ชื พนั ธส์ุ ตั วเ์ ศรษฐกจิ /พน้ื เมอื ง โดยระบชุ นดิ พนั ธ์ุ พชื /สตั ว/์ และชนดิ พนั ธป์ุ ลา จำ� นวนพนื้ ทปี่ ลกู พชื /เลย้ี งสตั ว/์ ขนาดบอ่ หรอื กระชงั แยกเปน็ รายหม่บู า้ น • พ้นื ท่ีเพาะปลูก/การผลติ แยกลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ ที่ดินตามชนิดพืช/สัตว์/ประมง และแผนที่การใช้ประโยชน์ท่ีดินเพ่ือ การเกษตร
18 การจัดท�ำแผนพฒั นาการเกษตรแบบมีสว่ นร่วม • เทคโนโลยีการผลิต/ภูมิปัญญา ระบุการใช้ปุ๋ย ยาเคมี และอตั ราการใช้ ระบบการใหน้ ำ้� ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ การใชพ้ นั ธ์ุ (แยกเปน็ รายชนดิ พชื /สตั ว/์ ประมง) • ระบบการผลติ /เขตกรรม ระบรุ ะบบผลติ พชื /สตั ว/์ ประมง ในรอบปี • โรคและแมลง/การปอ้ งกนั กำ� จดั ระบโุ รคและแมลงสำ� คญั ในพ้ืนที่ และวธิ ีการปอ้ งกนั กำ� จัด • ปรมิ าณผลผลติ /ผลผลติ เฉลยี่ ระบปุ รมิ าณผลผลติ แตล่ ะ ชนิดของพชื และสัตว์ ผลผลิตรวม และผลผลติ เฉล่ียต่อไร่ แยกรายหมบู่ ้าน เปรียบเทียบย้อนหลัง 3 ปี • ปฏทิ นิ กจิ กรรม รายละเอยี ดปฏทิ นิ กจิ กรรมการผลติ เชน่ ช่อื พืช/สัตว์/ประมง ชว่ งเวลาการปลูก การดูแลรักษา และการเกบ็ เกย่ี ว • แหลง่ ทอ่ งเทีย่ วทางธรรมชาติ ระบุแหล่งท่องเท่ยี วทาง ธรรมชาติในพนื้ ท่ี (3) ดา้ นเศรษฐกิจ ไดแ้ ก่ • ขนาดพน้ื ทถี่ อื ครอง (กรรมสทิ ธ)์ิ ระบขุ นาดพน้ื ทถ่ี อื ครอง เฉล่ยี /ครวั เรอื น แยกเป็นรายหม่บู ้าน • สิทธใิ์ นท่ดี นิ ท�ำกิน ระบุจำ� นวนครัวเรอื นทม่ี สี ิทธใิ์ นที่ ท�ำกนิ ของตนเอง, เชา่ ฯลฯ • แรงงาน ระบจุ ำ� นวนแรงงาน/ครวั เรอื น (ในภาคการเกษตร/ นอกภาคการเกษตร) แยกเป็นรายหมู่บา้ น การเคลือ่ นย้ายแรงงาน ระบุ ช่วงเวลา/จ�ำนวน แยกเปน็ รายหมบู่ า้ น
บทท่ี 2 ขอ้ มลู สำ� หรบั การจดั ทำ� แผนพฒั นาการเกษตร 19 • รายรับรายจ่าย/บัญชีครัวเรือน ระบุจ�ำนวนรายได้ รายจ่ายเฉลยี่ ใน และนอกภาคการเกษตร/ครัวเรือน/ปี แยกกิจกรรม • การทำ� ฟารม์ /บญั ชฟี ารม์ ระบวุ ตั ถปุ ระสงคข์ องการผลติ / บริโภค/จำ� หนา่ ย ฯลฯ โดยระบปุ รมิ าณรายกิจกรรม ระบรุ ายได้ รายจ่าย เฉลยี่ จากการทำ� ฟารม์ • ผลผลติ เฉลยี่ ราคา ต้นทุนการผลติ ระบจุ �ำนวนผลผลิต เฉลย่ี ราคาต้นทุนผลผลิตเป็นรายพชื /สัตว์ • การตลาด/ระบบการตลาด/วธิ กี ารตลาด ระบรุ ายละเอยี ด ชอ่ งทางการเคลอ่ื นยา้ ยผลผลติ พชื /สตั วเ์ ศรษฐกจิ จากแหลง่ ผลติ ไปสตู่ ลาด โดยแสดงเป็นแผนภาพแสดงจำ� นวน ชอ่ งทาง และปริมาณ • การรวมกลุ่มเกษตรกรและเงินทุน ระบุจ�ำนวนผลผลิต เฉลีย่ ราคาตน้ ทนุ ผลผลิตตอ่ หนว่ ยการผลติ แยกแต่ละรายการ • เงนิ ลงทนุ /แหลง่ เงนิ ทนุ /กองทนุ ระบแุ หลง่ สนิ เชอื่ ทม่ี อี ยู่ ในชุมชน (ของรัฐ เอกชน และอื่นๆ) • กองทนุ หมบู่ า้ น ระบชุ อ่ื กองทนุ ตา่ งๆ และจำ� นวนสมาชกิ แต่ละกองทุนท่มี อี ยูใ่ นหมู่บา้ นทง้ั หมด จำ� นวนเงนิ กองทุนแต่ละกองทนุ • อาชพี นอกภาคเกษตร/ในภาคเกษตร • เปา้ หมายการผลติ ระบเุ พอ่ื บรโิ ภคในครวั เรอื น จำ� หนา่ ย • ภาวะหน้ีสิน ระบุจ�ำนวนครัวเรือนที่มีหนี้สิน แยกราย แหล่งสินเช่อื จ�ำนวนหนีส้ นิ เฉล่ีย/ครัวเรือน และความสามารถในการชำ� ระ หน้ีสิน
20 การจดั ท�ำแผนพัฒนาการเกษตรแบบมีสว่ นรว่ ม (4) ด้านสังคม ได้แก่ • ความเป็นมาของชุมชน/รูปแบบการตั้งถิ่นฐาน ระบุ ความเปน็ มาของชมุ ชน แผนทีต่ งั้ ของชมุ ชน • ระดับการศึกษา บอกระดับและจ�ำนวนผ้ทู ีไ่ ดร้ บั การศกึ ษา แยกรายหมบู่ า้ น • การรวมกลมุ่ /กลมุ่ ในชมุ ชน ระบชุ อื่ กลมุ่ /กจิ กรรมของกลมุ่ / จำ� นวนสมาชกิ แยกรายหมู่บา้ น • ผนู้ ำ� ระบชุ อ่ื ผนู้ ำ� /ประเภทกจิ กรรมของกลมุ่ แยกรายหมบู่ า้ น • การประกอบอาชพี อาชพี หลัก/รอง/อน่ื ๆ ของชมุ ชน • โรคภยั ไขเ้ จบ็ /สขุ ภาพ ระบสุ ขุ ภาพโดยรวมของคนในชมุ ชน การดูแลป้องกันรักษาโรคในชุมชน • วฒั นธรรมประเพณี ระบขุ นบธรรมเนยี มประเพณี พธิ กี รรม และชว่ งเวลาที่ปฏบิ ตั ิในชมุ ชน อิทธพิ ลทางความคดิ /ความเชอ่ื ของชุมชน • ศาสนา ระบจุ ำ� นวนประชากรที่นับถอื ศาสนาต่างๆ • การรกั ษาความสงบเรยี บรอ้ ย ระบกุ ารรกั ษาความปลอดภยั ในชมุ ชน หรือขอ้ มูลการรักษาความสงบเรยี บรอ้ ยในชุมชน • การเมือง การมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางการเมือง เช่น การใช้สิทธิ์เลือกตงั้ ในระดบั ตา่ งๆ ในพืน้ ท่ี
บทท่ี 2 ขอ้ มลู สำ� หรบั การจดั ทำ� แผนพฒั นาการเกษตร 21 2) ข้อมูลสถานการณ์ของชุมชน เป็นการเก็บข้อมูลเพ่ือ ท�ำความเข้าใจชุมชน ดูการเปล่ียนแปลงของชุมชน และศึกษาวิเคราะห์ ความตอ้ งการของชมุ ชน เปน็ การเตรยี มแนวทางในการใชเ้ ปน็ ประเดน็ พดู คุยกับชุมชนหรือเกษตรกร เพ่ือให้ชุมชนสามารถก�ำหนดวิสัยทัศน์ชุมชน โดยเริ่มต้นจากการให้ชุมชนวิเคราะห์ข้อมูลเพื่ออธิบายสภาพปัญหา และ เปรยี บเทยี บความแตกตา่ งระหวา่ งอดตี ปจั จบุ นั และอนาคตของชมุ ชน ดงั นี้ (1) ภาพอดีต เพื่อให้ชุมชนได้สะท้อนอดีตของชุมชน วา่ มีดา้ นดอี ะไรบา้ ง มปี ญั หาอะไรบา้ ง เช่น ด้านเศรษฐกจิ เปน็ การผลิต แบบพอเพยี ง ไมม่ หี น้สี ิน มกี ารใช้แรงงานสตั ว์ และแรงงานในครอบครัว แต่มปี ญั หาโจรผ้รู ้าย และโรคภัยไข้เจ็บ ทรพั ยากรอุดมสมบูรณ์ มปี ่าไม้ แหล่งน้�ำไม่ขาดแคลน มีหมอพื้นบ้านรักษาโรคโดยใช้สมุนไพรแต่ไม่มี โรงพยาบาลหรือมแี ต่อยู่ไกลเดนิ ทางไมส่ ะดวก (2) สภาพปัจจุบันของชุมชน ชุมชนอาจยกตัวอย่าง เชน่ การคมนาคมสะดวก รวมทงั้ ถนนหนทาง ไฟฟา้ ความเป็นอยูด่ กี ว่า เดมิ แต่ประสบปัญหาทางเศรษฐกิจ เชน่ ตน้ ทนุ การผลิตสงู ราคาผลผลติ ไมแ่ นน่ อน โรคแมลงระบาดตอ้ งใชส้ ารเคมี ขาดทนุ มหี นสี้ นิ เพมิ่ พนู ชมุ ชน ออ่ นแอเพราะคนในชมุ ชนตอ้ งอพยพไปหางานทำ� ในเมอื งเหลอื แตผ่ สู้ งู อายุ กบั เดก็ ๆ มกี ารผลิตเชงิ ธุรกจิ มีการลงทุนและใชท้ รพั ยากรอยา่ งฟุ่มเฟือย ต้นทุนการผลิตสูง ราคาผลผลิตไม่แน่นอน ทรัพยากรน้�ำ ดิน ป่าไม้ เส่ือมโทรมและขาดแคลนเน่ืองจากการใช้ประโยชน์โดยขาดการวางแผน จัดสรรและอนรุ กั ษ์ท่ถี ูกต้อง
22 การจดั ท�ำแผนพัฒนาการเกษตรแบบมีส่วนรว่ ม (3) ภาพฝนั ในอนาคต ซง่ึ จะเปน็ ความฝนั หรอื วสิ ยั ทศั น์ (Vision) ของชมุ ชนหลังจากการท่ีชมุ ชนไดเ้ ปรียบเทยี บภาพอดีตและปจั จบุ นั แล้วก็ ฝันอยากให้ชมุ ชนเป็นเชน่ ไร ท้ังดา้ นกายภาพ ชีวภาพ เศรษฐกิจ สังคม และสงิ่ แวดลอ้ ม เช่น ต้องการใหช้ ุมชนเขม้ แขง็ พึ่งพาตนเอง ครอบครวั อบอุ่น เป็นต้น ขอ้ มลู ในสว่ นนจ้ี ะเปน็ ทงั้ การสรปุ บทเรยี นทผี่ า่ นมาและวาดภาพฝนั ซงึ่ จะกลายเปน็ วสิ ยั ทศั นข์ องชมุ ชน และเปน็ เครอื่ งมอื ใหช้ มุ ชนไดว้ เิ คราะห์ ต่อวา่ ชุมชนมจี ุดแขง็ จดุ อ่อนอยา่ งไร หากต้องการให้บรรลถุ งึ วิสยั ทัศนท์ ่ี วางไว้ต้องท�ำอย่างไร ซ่ึงเป็นขั้นตอนต่อไปในการจัดท�ำแผนพัฒนา การเกษตร 1.3 การได้มาซงึ่ ข้อมลู จากความหมายของขอ้ มลู และการกำ� หนดขอ้ มลู ทจ่ี ำ� เปน็ สำ� หรบั การจดั ทำ� แผนพฒั นาการเกษตรตามทไี่ ดก้ ลา่ วมาแลว้ ขา้ งตน้ ขนั้ ตอนตอ่ มา คือการได้มาซงึ่ ข้อมลู ในแตล่ ะประเด็น โดยมวี ธิ กี ารดังนี้
ตารางที่ 1 การกำ� หนดประเดน็ หลกั ประเดน็ รอง ประเด็นย่อย และวธิ ีการศึกษา/เครื่องมือ/แหล่งขอ้ มูล ประเด็นหลกั ประเด็นรอง ประเด็นย่อย วธิ ีการไดม้ าซงึ่ ข้อมลู (ขอ้ มูลทตี่ อ้ งการ) ศกึ ษาขอ้ มูลที่ดัง้ เดมิ จาก 1. ข้อมูลสภาพพ้นื ฐานทางเศรษฐกจิ สงั คม และสงิ่ แวดล้อมของชมุ ชน หมบู่ ้าน/ตำ� บล/อ�ำเภอ 1.1 ดา้ นกายภาพ ท่ีต้งั และ - รายละเอียดที่ตงั้ ศึกษาขอ้ มูลจาก อบต./ อาณาเขต - อาณาเขตตดิ ต่อ เทศบาล/อ�ำเภอ/สำ� นักทะเบียน - แผนท่ีแสดงขอบเขตต�ำบล/หมบู่ า้ น ศึกษาข้อมลู เดิมและส�ำรวจเพม่ิ - ช่ือหมบู่ า้ น/ชื่อบ้าน เติมจากทดี่ นิ อำ� เภอ/ บทท่ี 2 ขอ้ มลู สำ� หรบั การจดั ทำ� แผนพฒั นาการเกษตร 23 ชลประทาน ทพศ., ทบก., จำ� นวน - จ�ำนวนประชากรแยกชาย/หญงิ รายหมูบ่ ้าน รายงานภาวการณผ์ ลิตพชื ประชากรและ - จ�ำนวนครัวเรอื นเกษตรกรแยกรายหมูบ่ ้าน ต�ำบล/อ�ำเภอ, ผังเมือง ครัวเรือน - แหลง่ ทมี่ า/ชว่ งเวลา ศึกษาขอ้ มลู เดมิ และสำ� รวจ เพมิ่ เติมจากกรมพัฒนาที่ดิน พน้ื ทีถ่ อื ครอง - พ้ืนที่ต�ำบลท้งั หมดแยกรายหม่บู ้าน ศกึ ษาข้อมลู ที่เปน็ ปัจจบุ ันจาก - จ�ำแนกลักษณะการใชป้ ระโยชน์ทดี่ นิ การเกษตร/อาศัย/ กรมอตุ ุนิยมวิทยา, สาธารณะ/ปา่ /อ่นื ๆ กรมชลประทาน - พน้ื ท่ีนอก/ในเขตชลประทาน/พน้ื ท่ีเขต สูบน้�ำดว้ ยไฟฟา้ สภาพ - ลักษณะภูมปิ ระเทศของตำ� บลราบ/ลุม่ /ดอน/ขนาด ภมู ปิ ระเทศ - แผนท่แี สดงลกั ษณะภูมปิ ระเทศ แหลง่ นำ้� และ - ปริมาณน�้ำฝนแยกรายเดือน ปรมิ าณน้�ำฝน (ย้อนหลงั อยา่ งนอ้ ย 3 ปี) ในรอบปี - กราฟแสดงปริมาณนำ้� ฝน (รายเดือน) - แหลง่ นำ้� ปริมาณน�้ำ และการใช้ประโยชน์
ตารางที่ 1 การกำ� หนดประเด็นหลัก ประเด็นรอง ประเด็นย่อย และวธิ กี ารศึกษา/เครอ่ื งมือ/แหลง่ ข้อมลู (ตอ่ ) 24 การจดั ท�ำแผนพฒั นาการเกษตรแบบมสี ่วนรว่ ม ประเดน็ หลกั ประเดน็ รอง ประเดน็ ย่อย วิธกี ารได้มาซึ่งขอ้ มูล (ข้อมลู ท่ีต้องการ) ศกึ ษาขอ้ มูลเดมิ และสำ� รวจจาก 1.1 ด้านกายภาพ เสน้ ทาง - ประเภทและชนดิ ของเส้นทางคมนาคม อบต./เทศบาล (ต่อ) คมนาคม - แผนทแี่ สดงเส้นทางคมนาคมทางบก/ทางนำ้� ศกึ ษาจากเอกสาร กรมพฒั นาท่ีดนิ ขอ้ มลู กลมุ่ - รายละเอียดและคุณสมบัตกิ ลมุ่ ชุดดนิ / ชดุ ดนิ ความเหมาะสมและคุณภาพ สำ� รวจ/แบบสอบถาม - แผนท่ีกลมุ่ ชดุ ดนิ - แผนที่ความเหมาะสมของกล่มุ ชุดดิน ส�ำรวจและศึกษาจาก ขอ้ มูลเดิม ขอ้ มูล - ประปา ไฟฟ้า โทรศัพท์ ฯลฯ ศึกษาข้อมูลจาก สนง.กษอ., สาธารณูปโภค บรรเทาสาธารณภัย ข้อมลู ด้านการเกษตร ขอ้ มูลสิ่ง - วัด โรงเรยี น โรงพยาบาล ฯลฯ (ทบก., ทพศ.) กอ่ สร้างตา่ งๆ - ลานตากโรงสี ฉาง ไซโล (แสดงแผนท่)ี ข้อมลู ดา้ นการเกษตร/ ภยั ธรมชาติ - ชนิดของภัยธรรมชาติ พฒั นาท่ีดนิ /สนง.กษอ./ - สถิติการเกดิ ภัยธรรมชาติ ประมง/ปศสุ ตั ว/์ กเู กิลเอิร์ท 1.2 ดา้ นชวี ภาพ พันธพ์ุ ชื / - ชนดิ พนั ธุ์พชื /พ้นื ที่ปลูก แยกรายหม่บู า้ น พนั ธส์ุ ตั วเ์ ศรษฐกจิ - ชนิดพนั ธุส์ ัตว์แยกรายหมู่บ้าน (ระบุเปน็ รายชนิด) - ชนดิ พนั ธุ์ปลาและจำ� นวน/ขนาดบอ่ /กระชงั การใชท้ ดี่ ิน - การใชป้ ระโยชนท์ ดี่ นิ ตามชนิดพชื /สัตว/์ ประมง - แผนทก่ี ารใชป้ ระโยชน์ที่ดิน
ตารางท่ี 1 การก�ำหนดประเดน็ หลกั ประเดน็ รอง ประเด็นย่อย และวิธกี ารศกึ ษา/เครื่องมอื /แหลง่ ข้อมูล (ตอ่ ) ประเด็นหลัก ประเดน็ รอง ประเด็นยอ่ ย วธิ ีการไดม้ าซ่ึงขอ้ มลู (ข้อมลู ทีต่ ้องการ) 1.2 ด้านชวี ภาพ ระบบการผลติ - ระบบผลิตพืช/สตั ว์/ประมงรอบปี สำ� รวจข้อมูล/แบบสมั ภาษณ์ (ต่อ) ปฏทิ นิ กิจกรรม - ปฏิทินกิจกรรมการผลติ สำ� รวจขอ้ มลู /แบบสัมภาษณ์ - ชื่อพชื /สตั ว/์ ประมง - ช่วงเวลาการปลกู , การดูแลรกั ษา, การเก็บเก่ยี ว เทคโนโลยี - การใชพ้ นั ธ์ุ/ปยุ๋ /ยาเคมีและอตั ราการใช้/ระบบ ส�ำรวจขอ้ มูล/แบบสมั ภาษณ์ บทท่ี 2 ขอ้ มลู สำ� หรบั การจดั ทำ� แผนพฒั นาการเกษตร 25 การผลิต การให้น้ำ� /ภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่น ปริมาณผลผลติ - ปริมาณผลผลผลิตแตล่ ะชนิดของพชื และสตั ว/์ ผลผลิตรวม/ ข้อมลู ด้านการเกษตร ผลผลิตเฉล่ียตอ่ ไร่ ทพศ./ทบก. (รายหม่บู า้ นเปรียบเทยี บยอ้ นหลงั 3 ปี) แหล่งท่องเท่ยี ว - ระบแุ หล่งท่องเทยี่ วทางธรรมชาติ แบบสมั ภาษณ/์ สอบถาม 1.3 ดา้ นเศรษฐกิจ ขนาดการ - ขนาดพ้นื ทถี่ ือครองเฉลีย่ /ครัวเรือน ศึกษาขอ้ มลู จาก รายงาน ถือครองที่ดนิ ภาวการณ์ผลิตพืชตำ� บล/ อำ� เภอ, รายงานพชื ฤดแู ลง้ , ทพศ 1-3, ทบก. สทิ ธใิ นทีด่ ิน - จ�ำนวนครัวเรือนทีม่ สี ิทธ์ใิ นทดี่ ินทำ� กิน (ของตนเอง, เชา่ ฯลฯ) ศึกษาขอ้ มลู รายงานภาวการณ์ ท�ำกิน ผลติ พืชตำ� บล/อำ� เภอ, รายงาน พชื ฤดแู ลง้ , ทพศ 1-3, ทบก.
ตารางที่ 1 การก�ำหนดประเดน็ หลัก ประเด็นรอง ประเดน็ ยอ่ ย และวิธีการศกึ ษา/เคร่อื งมือ/แหล่งขอ้ มูล (ต่อ) 26 การจดั ท�ำแผนพฒั นาการเกษตรแบบมสี ่วนรว่ ม ประเด็นหลัก ประเด็นรอง ประเดน็ ยอ่ ย วธิ ีการได้มาซ่งึ ข้อมลู (ขอ้ มลู ทตี่ ้องการ) ฐานข้อมูล ทบก., แบบ 1.3 ดา้ นเศรษฐกจิ จ�ำนวนแรงงาน - จำ� นวนแรงงาน/ครวั เรือน (ใน,นอกภาคเกษตร) สัมภาษณ์, สนง.แรงงาน (ตอ่ ) - การเคลอื่ นย้ายแรงงาน (ระบุช่วงเวลา) แบบสอบถาม/สมั ภาษณ์, จปฐ., สนง.สถิติ รายได้-รายจ่าย - จ�ำนวนรายได้-รายจา่ ยเฉลีย่ ใน-นอกภาคเกษตร แบบสอบถาม/สัมภาษณ์ ครัวเรอื น ครวั เรอื น/ปี (ระบกุ ิจกรรม) แบบสอบถาม/สมั ภาษณ์ เปา้ หมายการท�ำ - เพื่อบริโภค-จำ� หนา่ ย ฯลฯ ระบปุ รมิ าณรายกจิ กรรม ฟารม์ แบบสอบถาม/สมั ภาษณ,์ ปศสุ ัตว์ เทคนคิ วิธกี าร - ระบุเทคนคิ วิธกี ารผลิตของการท�ำฟารม์ ผลติ ขอ้ มลู ทพศ., ทบก., แบบสอบ ถาม/สัมภาษณ์, พาณชิ ย์ สตั วใ์ ช้งาน/ - จ�ำนวนและชนดิ ของสตั วใ์ ช้งาน เครือ่ งจักรกลการเกษตร จังหวดั , สนง.เศรษฐกจิ เคร่ืองจักรกล การเกษตร การเกษตร ศึกษาขอ้ มูลจาก สนง.กษอ., ธกส., สหกรณฯ์ , การ ผลผลติ เฉล่ีย - จำ� นวนผลผลติ เฉลย่ี สัมภาษณ์ ราคาตน้ ทุนการ - ราคาต้นทุนการผลติ /หนว่ ยการผลติ ผลิต การรวมกลมุ่ - ระบชุ อ่ื กลุ่มองค์กรเกษตรกรในภาคการเกษตร เชน่ เกษตรกร กลุ่มเกษตรกร กลมุ่ แม่บา้ น กล่มุ ยุวเกษตรกร และ กลุ่มวิสาหกจิ ชมุ ชน - องค์กรเกษตรกรนอกภาคการเกษตร
ตารางที่ 1 การก�ำหนดประเดน็ หลัก ประเดน็ รอง ประเดน็ ยอ่ ย และวิธกี ารศกึ ษา/เครื่องมือ/แหลง่ ขอ้ มูล (ต่อ) ประเด็นหลัก ประเด็นรอง ประเด็นยอ่ ย วิธกี ารไดม้ าซึ่งขอ้ มูล (ข้อมลู ที่ต้องการ) ศึกษาขอ้ มลู จาก สนง.กษอ., 1.3 ดา้ นเศรษฐกิจ แหลง่ สินเช่ือเพอ่ื - แหลง่ สินเชอ่ื ทีม่ อี ย่ใู นชุมชน ธกส., สหกรณ์ฯ, จปฐ. (ตอ่ ) การผลติ (รฐั , เอกชน และอนื่ ๆ) ศกึ ษาข้อมูลจากสหกรณ์ฯ, พาณชิ ยจ์ ังหวัด, พ่อคา้ , เอกชน ข้อมลู การตลาด - การเคลอื่ นยา้ ยผลผลติ จากแหลง่ ผลิตไปสูต่ ลาด ศกึ ษาข้อมลู จาก สนง.กษอ., (แสดงจำ� นวน, ปรมิ าณ, แผนภาพ) ธกส., สหกรณ์ฯ, จปฐ. ภาระหน้ีสนิ - จ�ำนวนครัวเรอื นทม่ี หี น้สี ิน (แยกตามแหล่งสนิ เชือ่ ) ศกึ ษาขอ้ มลู จาก สนง.กษอ., บทท่ี 2 ขอ้ มลู สำ� หรบั การจดั ทำ� แผนพฒั นาการเกษตร 27 - จ�ำนวนหนสี้ ินเฉล่ยี /ครวั เรือน ธกส., สหกรณ์ฯ, พัฒนาชมุ ชน - ความสามารถในการช�ำระหน้ีสนิ สอบถาม/สำ� รวจแผนที่/แผนท่ี กองทนุ หม่บู า้ น - ชอื่ กองทนุ ตา่ งๆ และจ�ำนวนสมาชกิ สอบถาม/ร่วมกจิ กรรมกับชมุ ชน - จำ� นวนเงินกองทุนแต่ละกองทุน ฝา่ ยปกครอง/วฒั นธรรม 1.4 ดา้ นสงั คม ประวตั คิ วามเปน็ มา - ความเปน็ มาของชุมชน โรงเรยี น/ก.ศ.น./กชช.2ค./ ของชมุ ชน/ทต่ี ้ัง - แผนท่ีตั้งชุมชน จปฐ./อสม. วัฒนธรรม, - ชว่ งเวลาท่ีปฏิบัตกิ จิ กรรม ประเพณ,ี พิธกี รรม ทม่ี อี ิทธพิ ลทาง ความคิด ศาสนา - จำ� นวนประชากรที่นบั ถือศาสนาต่างๆ การศึกษา - บอกระดบั และจ�ำนวนผทู้ ไ่ี ด้รบั การศกึ ษาแยกรายหมู่บ้าน
ตารางท่ี 1 การกำ� หนดประเดน็ หลกั ประเดน็ รอง ประเดน็ ยอ่ ย และวธิ กี ารศกึ ษา/เครอื่ งมอื /แหลง่ ขอ้ มลู (ตอ่ ) 28 การจดั ท�ำแผนพฒั นาการเกษตรแบบมสี ่วนรว่ ม ประเด็นหลกั ประเด็นรอง ประเด็นย่อย วธิ ีการได้มาซงึ่ ข้อมูล 1.4 ดา้ นสงั คม ผู้นำ� (ขอ้ มลู ทตี่ อ้ งการ) (ต่อ) การรวมกลมุ่ - ผู้นำ� ธรรมชาต,ิ ผูน้ �ำแต่งต้ัง, เลอื กตงั้ , ผ้นู ำ� กลมุ่ กิจกรรม ฝ่ายปกครอง, อบต., สัมภาษณ,์ องคก์ รชุมชน - ระบชุ อื่ กลมุ่ /กจิ กรรมของกลุ่ม/จ�ำนวนสมาชกิ แยกรายหมู่บ้าน พฒั นาชมุ ชน, ปศสุ ัตว,์ ประมง, ธกส., เกษตร การรักษาความ - ระบบการรักษาความปลอดภยั ในชุมชน เช่น อบต., ต�ำรวจ, ฝา่ ยปกครอง สงบเรยี บรอ้ ย อาสาสมัครป้องกันภัยฝา่ ยพลเรอื น (อปพร.) 2. ข้อมูลสถานการณ์ของชุมชน จัดเวทีชุมชนเพ่ือระดมความคดิ อภปิ ราย และรว่ มกนั ใหข้ ้อมลู ท�ำความเขา้ ใจ - สภาพปญั หาและเปรียบเทยี บความแตกต่าง ชมุ ชน ดูการ ระหวา่ งอดีต ปจั จบุ นั และอนาคตของชุมชน เปลี่ยนแปลง ของชุมชน และ ศกึ ษาวิเคราะห์ ความต้องการ ของชมุ ชน ข้อมูลที่จัดเก็บได้นี้เป็นข้อมูลพื้นฐานและสถานการณ์ของชุมชน เป็นตัวตั้งต้นที่จะน�ำไปวิเคราะห์ และใชใ้ นการจดั ท�ำแผนพฒั นาการเกษตรในลำ� ดับตอ่ ไป
บทท่ี 2 ขอ้ มลู สำ� หรบั การจดั ทำ� แผนพฒั นาการเกษตร 29 1.4 การใช้ประโยชนจ์ ากขอ้ มลู การวเิ คราะหข์ อ้ มลู (Analysis) เปน็ การจดั ระเบยี บหรอื แยกแยะ ส่วนต่างๆ ของข้อมูลให้เป็นหมวดหมู่ เชื่อมโยงและหาความสัมพันธ์ของ ขอ้ มลู เพ่อื หาค�ำตอบตามวตั ถปุ ระสงค์ที่กำ� หนดไว้ การวเิ คราะหข์ อ้ มลู เพอื่ ใชใ้ นการจดั ทำ� แผนพฒั นาการเกษตรแบบ มสี ว่ นรว่ มนี้ เปน็ การนำ� ขอ้ มลู ทเ่ี กบ็ รวบรวมไดม้ าแปลผลเปน็ รายพน้ื ที่ เชน่ ตำ� บลหรอื หมบู่ า้ น แสดงลงบนแผนทหี่ ลกั แลว้ นำ� ขอ้ มลู ในแตล่ ะดา้ น (Layer) มาซอ้ นทบั กนั (Overlay) โดยใชข้ อ้ มลู กายภาพเปน็ ตวั หลกั แลว้ นำ� ระบบการ ผลติ ของพืช สัตว์ และประมงมาหาความสมั พันธ์ ดภู าพองค์ประกอบของ ระบบการผลิต ท้ังดา้ นเศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดล้อม เพ่อื พิจารณา การกระจายตวั ของปญั หา ขดี จำ� กดั โอกาสในการแกไ้ ขปญั หา การวเิ คราะห์ ขอ้ มลู ทด่ี จี งึ ควรเปน็ ลกั ษณะของการกลนั่ กรองขอ้ มลู เพอื่ ใหท้ ราบถงึ สาเหตุ และผลกระทบทเ่ี กิดข้ึน
30 การจดั ท�ำแผนพัฒนาการเกษตรแบบมสี ่วนร่วม หลักการวเิ คราะห์ขอ้ มลู 1 ก�ำหนดจุดมุ่งหมายของการวิเคราะห์ให้ชัดเจนว่าต้องการ รู้อะไร 2 แจกแจงส่วนประกอบต่างๆ ของสิ่งที่วิเคราะห์ เช่น เน้ือหาประกอบด้วยอะไรบ้าง โดยแยกแยะเน้ือเรื่องออก เปน็ สว่ นๆ ใหเ้ หน็ วา่ ใคร ทำ� อะไร ทไ่ี หน เมอ่ื ไร และอยา่ งไร ประกอบกนั อยา่ งไร หรือประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง 3 แยกแยะความแตกตา่ งระหวา่ งสง่ิ หนงึ่ กบั สงิ่ อนื่ ๆ วเิ คราะห์ แยกแยะใหเ้ หน็ ขอ้ แตกตา่ ง และทำ� ใหข้ อ้ แตกตา่ งนน้ั เดน่ ขน้ึ มา 4 ค้นหาเหตุและผลของส่ิงท่ีเกิดข้ึน ว่าเร่ืองนั้นเกิดมาจาก สาเหตใุ ด เชอื่ มโยงสมั พนั ธก์ นั ไดอ้ ยา่ งไร สมเหตสุ มผลหรอื ไม่ ท้ังน้ตี ้องอย่บู นพ้นื ฐานของขอ้ มูลทเ่ี กบ็ รวบรวมมาได้ 5 ตรวจสอบ/จดั โครงสร้างความสมั พนั ธข์ ององคป์ ระกอบใหญ่ และองคป์ ระกอบย่อย 6 น�ำเสนอผลการวเิ คราะหใ์ หเ้ ข้าใจได้ง่าย
บทท่ี 2 ขอ้ มลู สำ� หรบั การจดั ทำ� แผนพฒั นาการเกษตร 31 การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ทดี่ คี วรเปน็ ลกั ษณะของการกลน่ั กรองขอ้ มลู เพอื่ ให้ทราบถึงสาเหตุและผลกระทบที่จะเกิดขึ้น ซึ่งจะเป็นพื้นฐานท่ีส�ำคัญ ในกระบวนการท�ำงานข้ันต่อไป โดยกระบวนการศึกษาวิเคราะห์ชุมชน แบบมสี ว่ นรว่ ม ตอ้ งใหค้ วามสำ� คญั กบั กระบวนการทที่ กุ สว่ นในชมุ ชนมารว่ ม แลกเปลีย่ นเรียนรูส้ ถานการณ์และความเป็นชมุ ชน กระตุน้ สำ� นึกรักชุมชน รกั ท้องถิ่น และรว่ มสรา้ งพลังชมุ ชนท้องถนิ่ ตอ่ ไปใหย้ ั่งยืน ข้อมูลที่ได้มาต้องถูกน�ำไปใช้ในกระบวนการวางแผนและ การด�ำเนินงานในทุกขั้นตอน ตั้งแต่การระบุสิ่งที่มุ่งหวัง การวิเคราะห์ สภาพแวดล้อม การก�ำหนดกลยุทธ์ การจัดทำ� โครงการ การวิเคราะหแ์ ละ บรหิ ารความเสยี่ ง การดำ� เนนิ การตามแผน การควบคมุ กำ� กบั และการตดิ ตาม ประเมนิ ผล การน�ำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ภายใต้กระบวนการมีส่วนร่วมน้ี ใช้วิธี การจดั เวทเี ปน็ หลกั โดยผสมผสานเขา้ ไปกบั กระบวนการจดั ทำ� แผน เพยี งแต่ เวลาระดมความคดิ หรอื อภปิ รายกนั ขอใหอ้ ยบู่ นพน้ื ฐานของขอ้ มลู ทไี่ ดร้ วบรวม และวิเคราะห์ไว้ และหากขอ้ มูลไมเ่ พยี งพอก็สามารถเก็บรวบรวมเพมิ่ เตมิ ได้ ตลอดเวลา เพราะแหล่งของข้อมูลหรือผู้ให้ข้อมูลก็อยู่ในพื้นท่ีนั้นหรืออาจ มารว่ มอยใู่ นเวทดี ว้ ยแลว้ อยา่ งไรกต็ าม ขอ้ มลู มเี ปน็ จำ� นวนมากและหลากหลาย จ�ำเป็นท่ีจะต้องเลือกใช้ข้อมูลให้เหมาะสมและต้องใช้ตามความเป็นจริง อยา่ เบ่ยี งเบนข้อมลู
32 การจดั ท�ำแผนพฒั นาการเกษตรแบบมีสว่ นรว่ ม CommDuiangitnyosis 2. การวนิ จิ ฉยั ชุมชน เรอ่ื งของการวนิ จิ ฉยั ชมุ ชนนี้ จะไดก้ ลา่ วถงึ ความหมายของการวนิ จิ ฉยั ชุมชน รวมทั้งวิธีการและเคร่ืองมือในการวินิจฉัยชุมชน ซึ่งมีเครื่องมือ หลายชนดิ แตใ่ นท่ีนี้จะขอกล่าวถงึ เครอ่ื งมือ 3 ชนดิ คอื แผนผังกา้ งปลา (Fishbone Diagram) แผนผังต้นไม้ปญั หา (Problem Tree) และแผนท่ี ความคิด (Mind Map) การวนิ จิ ฉยั ชมุ ชน (Community Diagnosis) มผี ใู้ หค้ วามหมายไวห้ ลาย ความหมาย ซ่ึงโดยสรปุ แล้วการวินิจฉยั ชมุ ชน ก็คือ กระบวนการในการ ค้นหาสภาพปญั หา สาเหตุ และความตอ้ งการของชมุ ชนอย่างเป็นระบบ เพือ่ ที่จะไดน้ ำ� ไปหาคำ� ตอบ ก�ำหนดทางเลือกทีเ่ หมาะสม และวางแผนใน การพฒั นาชุมชนตอ่ ไป การวินจิ ฉัยชมุ ชนเป็นข้นั ตอนหนึ่งของการวิจยั ชมุ ชน ซึง่ การวนิ ิจฉัย ชุมชนเป็นหัวใจท่ีส�ำคัญในการวางแผนในงานพัฒนา ท�ำให้ทราบถึงข้อ บกพรอ่ ง รวมทง้ั ศกั ยภาพและสง่ิ ทยี่ งั ตอ้ งปรบั ปรงุ แกไ้ ขเพอ่ื ทจ่ี ะไดว้ างแผน หาลทู่ างในการเตรยี มชมุ ชนกอ่ นทจี่ ะไดล้ งมอื ปฏบิ ตั ติ ามแผนพฒั นาชมุ ชน ต่อไป
บทท่ี 2 ขอ้ มลู สำ� หรบั การจดั ทำ� แผนพฒั นาการเกษตร 33 2.1 วิธกี ารในการวนิ จิ ฉัยชมุ ชน มวี ิธกี ารหรอื กระบวนการ 4 ขัน้ ตอน ดังน้ี 1) ศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการของชุมชน ถ้าหาก ปัญหาและความต้องการมีหลายอยา่ งในขณะเดียวกนั จะต้องเรียงลำ� ดับ ความส�ำคัญของปัญหาและความต้องการ ซึ่งจะต้องส�ำรวจและจัดล�ำดับ ความส�ำคัญของปัญหาและความต้องการต่างๆ ตามความต้องการของ ประชาชนในชุมชน 2) วินิจฉัยสาเหตุของปัญหาและความต้องการของชุมชน การคน้ หาเหตทุ ท่ี ำ� ใหเ้ กดิ ปญั หา จำ� เปน็ ตอ้ งอาศยั ขอ้ มลู ตา่ งๆ เปน็ พนื้ ฐาน ประกอบการวเิ คราะห์ 3) วนิ จิ ฉยั ความสามารถในการแกไ้ ขปญั หาและความตอ้ งการ ของชุมชน การศึกษาความสามารถหรือระดับภูมิปัญญาความสามารถ ของชมุ ชนในการแกไ้ ขปญั หาตา่ งๆ มคี วามจำ� เปน็ อยา่ งมาก เปน็ เรอื่ งของ ทรัพยากรในชุมชนและการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหา แมจ้ ะมที รพั ยากรเพยี งพอแตห่ ากประชาชนไมม่ คี วามพรอ้ มทจี่ ะแกไ้ ขปญั หา กย็ ่อมทีจ่ ะไม่สามารถด�ำเนนิ การได้
34 การจดั ท�ำแผนพัฒนาการเกษตรแบบมีส่วนรว่ ม 4) การวนิ จิ ฉยั ลทู่ างในการแกไ้ ขปญั หาและความตอ้ งการของ ชมุ ชน ซึ่งมหี ลายวธิ ี ดังนี้ (1) การประชมุ วเิ คราะหแ์ ละสรปุ การวนิ จิ ฉยั ชมุ ชน ระหวา่ ง ผสู้ ำ� รวจเกบ็ ขอ้ มลู ผปู้ ฏบิ ตั งิ านในชมุ ชน และผเู้ ชยี่ วชาญ เพอ่ื วางแผนและ แกไ้ ขปญั หาและความตอ้ งการของชมุ ชน (ประชาชนไมไ่ ดเ้ ข้ามาเกยี่ วขอ้ งดว้ ย ซง่ึ ทำ� ใหไ้ มท่ ราบความคดิ เหน็ ของประชาชน แตม่ ผี เู้ ชยี่ วชาญทม่ี ปี ระสบการณ์ ในการพฒั นา ทสี่ ามารถให้ความคิดเห็นทเ่ี ปน็ ประโยชน์ต่องานพฒั นาได)้ (2) การประชมุ วเิ คราะหแ์ ละสรปุ การวนิ จิ ฉยั ชมุ ชน ระหวา่ ง ผู้ส�ำรวจเก็บข้อมูล ผู้ปฏิบัติงานในชุมชน และผู้น�ำชุมชน ตลอดจน องคก์ รชมุ ชน ผนู้ ำ� กลมุ่ ตา่ งๆ ในชมุ ชน เปน็ สง่ิ ทเ่ี ปน็ ประโยชนท์ ำ� ใหท้ ราบ ความคดิ ของทง้ั สองฝ่าย แต่อาจจะมีข้อเสยี เปรยี บที่ฝา่ ยผ้นู ำ� ชมุ ชนอาจจะไม่ กลา้ พูด ไม่กลา้ แสดงออกโดยอาจจะเปน็ ผูร้ ับฟังความคิดเห็นเสยี มากกว่า (3) แยกการประชุม ระหว่างฝ่ายประชาชนกับฝ่าย เจา้ หนา้ ที่ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การพฒั นา (ไมว่ า่ จะเปน็ ของรฐั และองคก์ รเอกชน) จะเปน็ ประโยชนอ์ ยา่ งมาก เพราะทกุ ฝา่ ยไดแ้ สดงความคดิ เหน็ และสรปุ แนวทางการแก้ไขปัญหาได้อย่างเต็มท่ี หลังจากนั้นจึงน�ำมาประชุม พิจารณาวิเคราะห์สรุปร่วมกันอีกครั้ง ก็จะได้ข้อสรุปลู่ทางการวางแผน แก้ไขปญั หาและความต้องการของชุมชน (4) ผนู้ ำ� ชมุ ชน องค์กรชมุ ชน อาสาสมัคร และกลุ่มตา่ งๆ ภายในชมุ ชนรว่ มกนั ประชมุ พจิ ารณาวเิ คราะหแ์ ละสรปุ การวนิ จิ ฉยั ชมุ ชน
บทท่ี 2 ขอ้ มลู สำ� หรบั การจดั ทำ� แผนพฒั นาการเกษตร 35 เพอ่ื วางแผนวธิ กี ารแกไ้ ขปญั หาและความตอ้ งการของชมุ ชน โดยเจา้ หนา้ ท่ี ของรัฐหรือเอกชนท่ีท�ำงานด้านการพัฒนา จะท�ำหน้าที่เป็นท่ีปรึกษา เทา่ นนั้ (เปน็ วธิ กี ารทดี่ ที ปี่ ระชาชนภายในชมุ ชนไดต้ ระหนกั ถงึ ความสามารถ ของตนเอง ไดร้ จู้ กั การวนิ จิ ฉยั ชมุ ชนของตนเอง โดยมเี จา้ หนา้ ทเี่ ปน็ ทป่ี รกึ ษา เทา่ นน้ั ) (5) การประชุมวิเคราะห์และสรุปการวินิจฉัยชุมชน โดย ชมุ ชนเองปราศจากการชว่ ยเหลอื หรอื มที ปี่ รกึ ษาจากภายนอกชมุ ชน (เปน็ วิธีการที่ดีและสมบูรณ์ที่ประชาชนช่วยเหลือตนเอง หาลู่ทางการพัฒนา ดว้ ยตนเองภายในชุมชนของตน) จะเหน็ ว่าการวินิจฉยั ลู่ทางวางแผนแกไ้ ขปญั หาและความต้องการ ของชมุ ชนมอี ยหู่ ลายวธิ ี แตล่ ะวธิ มี คี วามเหมาะสมกบั สภาพความพรอ้ มและ ความสามารถของแตล่ ะชมุ ชน ซง่ึ ขน้ึ อยกู่ บั โครงสรา้ งทางเศรษฐกจิ การเมอื ง และวฒั นธรรมของแตล่ ะชมุ ชนว่าจะเออื้ อำ� นวยในการวนิ จิ ฉยั ชมุ ชนมากนอ้ ย เพียงใด ในการวนิ จิ ฉยั ชมุ ชนนนั้ นกั วจิ ยั ชมุ ชนหรอื นกั พฒั นา จะเขา้ ใจปญั หา สาเหตตุ า่ งๆ ได้ ตอ้ งมกี ารมองปญั หาอยา่ งเปน็ ระบบและรอบดา้ น โดยมกี าร ใช้ความคิดเชิงระบบจึงจะเข้าใจปัญหา สาเหตุ และน�ำไปสู่การแสวงหา ทางเลอื กไดอ้ ยา่ งครอบคลมุ เหมาะสม เพราะปญั หาและงานพฒั นาเกย่ี วขอ้ ง กบั สิ่งตา่ งๆ หรอื ปจั จยั ตา่ งๆ ท่สี มั พันธก์ ันมากมายทงั้ ภายในและภายนอก ชมุ ชน
36 การจัดท�ำแผนพัฒนาการเกษตรแบบมีส่วนรว่ ม 2.2 เคร่ืองมอื ในการวนิ จิ ฉยั ชมุ ชน มีเคร่ืองมือและเทคนิคหลายชนิดในการเข้าไปวิเคราะห์และ เก็บขอ้ มลู ในชมุ ชน ซ่งึ ในบทเรียนน้ีขอนำ� เสนอ 3 เครอ่ื งมือ ท่ีนยิ มใช้กัน ในปจั จบุ นั คอื แผนผงั กา้ งปลา (Fishbone Diagram) แผนผงั ตน้ ไมป้ ญั หา (Problem Tree) และแผนทค่ี วามคดิ (Mind Map) 1) แผนผงั กา้ งปลา (Fishbone Diagram) หรอื แผนผงั เหต-ุ ผล (Cause-effect Diagram) หรอื แผนผงั อซิ กิ าวา่ (Ishikawa Diagram) เปน็ แผนผงั ทแ่ี สดงถงึ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งปญั หา (Problem) กบั สาเหตทุ ง้ั หมด ทีเ่ ป็นไปได้ท่อี าจกอ่ ใหเ้ กดิ ปัญหานัน้ (Possible Cause) มีลักษณะเหมือน กา้ งปลา แสดงความสมั พนั ธอ์ ย่างเปน็ ระบบระหว่างสาเหตหุ ลายๆ สาเหตุ ทสี่ ง่ ผลกระทบไปถงึ ปญั หาหนงึ่ ๆ วธิ กี ารทำ� แผนผงั กางปลามกี ารดำ� เนนิ การ 7 ขัน้ ตอน ดังนี้
บทที่ 2 ขอ้ มลู สำ� หรบั การจดั ทำ� แผนพฒั นาการเกษตร 37 (1) กำ� หนดหวั ข้อปัญหาทีจ่ ะระดมสมองไว้ทห่ี ัวปลา (2) เขียนลูกศรจากซ้ายไปขวา (เขยี นแกนกา้ งปลา) (3) ระบสุ าเหตใุ หญเ่ ปน็ กา้ งปลาใหญท่ จี่ ะเขยี นเขา้ หาแกนกลาง (หาสาเหตหุ ลกั ของปญั หา) (4) เขยี นสาเหตุยอ่ ยเปน็ กา้ งปลาย่อยเขา้ หาก้างปลาใหญ่ (หาสาเหตยุ ่อยของสาเหตุหลัก) (5) เขียนสาเหตุย่อยๆ เปน็ กา้ งปลาย่อยๆ เข้าหาก้างปลายอ่ ย (6) จัดลำ� ดบั ความสำ� คัญของสาเหตุ (7) หาแนวทางท่ีจะแกไ้ ขตามสาเหตุทร่ี ะบุไว้ แผนผังกา้ งปลา ปัจจยั ปัจจัย ปจั จยั ปัญหา (สาเหตหุ ลกั ) (สาเหตหุ ลัก) (สาเหตหุ ลกั ) ● ควรก�ำหนดแบบชัดเจน สาเหตุยอ่ ย สาเหตยุ ่อย และเป็นไปได้ ● ควรก�ำหนดหัวขอ้ ปัญหา ปจั จยั สาเหตยุ อ่ ย สาเหตุยอ่ ย ในเชิงลบ (สาเหตหุ ลกั ) ปัจจยั ปัจจยั (สาเหตุหลกั ) (สาเหตหุ ลัก) สาเหตุ
38 การจดั ท�ำแผนพัฒนาการเกษตรแบบมีส่วนรว่ ม 2) แผนผงั ตน้ ไมป้ ญั หา (Problem Tree) เปน็ เครอ่ื งมอื ในการ วเิ คราะหป์ ญั หา สาเหตุ ในแตล่ ะระดบั แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง ปญั หา สาเหตุของปญั หา และผลกระทบทเ่ี กดิ จากปัญหา เพ่ือให้เห็นว่า ปญั หาดงั กลา่ วเกดิ ขนึ้ มาจากสาเหตอุ ะไรบา้ ง และสาเหตเุ หลา่ นน้ั เกดิ จาก สาเหตยุ อ่ ยๆ อะไรบา้ ง โดยอาจจะกลา่ วไดว้ า่ เปน็ แผนผงั ทแ่ี สดงความสมั พนั ธ์ ของปญั หาและสาเหตใุ นลกั ษณะเหตุและผล (cause-effect relationship) วธิ ีการสรา้ งแผนผงั ตน้ ไม้ อนวุ ัฒน์ (2543: 142-145) และวนั รตั น์ (2547: 151-154) ไดเ้ สนอแนวคดิ การสรา้ งแผนผงั ตน้ ไม้ ไว้ดังน้ี (1) กำ� หนดปญั หา/เปา้ หมาย แผนผงั ตน้ ไมจ้ ะเรมิ่ จากปญั หา หรือเปา้ หมาย แล้วค่อยๆ จำ� แนกอยา่ งเปน็ ระบบไปสู่วธิ กี าร ซ่ึงเป้าหมาย ทต่ี งั้ ไวห้ ากมขี อ้ กำ� หนดเงอ่ื นไขอะไรไวก้ ใ็ หเ้ ขยี นกำ� กบั ไวด้ ว้ ย เปา้ หมายหรอื ปัญหาต้องเป็นประโยคส้นั ๆ และกระชบั (2) กำ� หนดทมี ผูร้ บั ผดิ ชอบ ควรประกอบไปด้วยผ้ทู ร่ี ้เู รอ่ื ง เทคนคิ และผู้ที่มมี ุมมองในเชิงสรา้ งสรรค์ เพอ่ื น�ำไปสู่การวางแผนปฏบิ ัติ (3) กำ� หนดแขนงหลกั หรอื ชดุ มาตรการการแกป้ ญั หาหรอื ชดุ มาตรการการนำ� ไปสเู่ ปา้ หมาย ซงึ่ อาจจะมมี าตรการขนั้ ที่ 1 มาตรการ ขั้นที่ 2, 3 ไปเรื่อยๆ จนกระท่ังพบมาตรการทพี่ อจะแกไ้ ขไดห้ รอื ปฏบิ ตั ิได้จริง หลักการท่ีส�ำคัญคือการระดมสมองให้ได้ซึ่งแขนงหลักของแผนภูมิต้นไม้ (Major tree heading) เปน็ ลำ� ดบั แรก แลว้ คิดถงึ งานหรือกจิ กรรมทตี่ อ้ งท�ำ ภายใต้แขนงหลัก อาจจะยังไม่สมบูรณ์นัก ข้ันต่อไปต้องน�ำมาวิเคราะห์ อยา่ งเปน็ ระบบในกระบวนการแตกแขนงของตน้ ไม้ (Treeing Process) โดยการนำ� ความคดิ มาเรยี งลงใน “บัตร” หรอื “การด์ ” (Card) หรือทำ� ดว้ ยเครื่องคอมพวิ เตอร์
บทที่ 2 ขอ้ มลู สำ� หรบั การจดั ทำ� แผนพฒั นาการเกษตร 39 (4) เขียนแผนภูมิสร้างแขนงย่อยๆ โดยการน�ำบัตรหรือ การด์ หรอื คอมพวิ เตอรท์ เ่ี ขยี นไวม้ าวางเรยี งเปน็ แขนงหลกั แขนงยอ่ ย และ แขนงย่อยๆ ไปเรื่อยๆ ท้ังน้ี ต้องตรวจสอบทบทวนว่ามีอะไรตกหล่นไป หรือไม่ หรือมีความขัดแย้งได้เกิดขึ้นหรือไม่ มาตรการเหล่านี้สามารถ แกป้ ญั หาหรอื ทำ� ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายไดจ้ รงิ หรอื ไม่ เปน็ การตรวจสอบตรรกะ จากน้ันก็จากเส้นเชอื่ มโยงระหว่างบตั รหรอื การ์ดหรอื คอมพวิ เตอร์ทจ่ี ัดวางไว้ เพ่อื ท�ำการสร้างแผนผงั ตน้ ไม้ (5) ก�ำหนดแผนปฏบิ ัตกิ าร เมอ่ื ไดแ้ ผนผงั ตน้ ไม้แล้ว ต้อง ก�ำหนดเป็นแผนปฏิบัติการ โดยก�ำหนดตามหลักของ “5W 2H” (What – Why – Who – When – Where – How – How much) โดยลงรายละเอียดว่าแต่ละแขนงย่อยๆ น้ันจะท�ำอะไรกับมันต่อไปจึงจะ สำ� เร็จไปส่เู ปา้ หมายหรือจงึ จะแกป้ ญั หาท่เี กดิ ข้นึ ได้ hat hy ho hen 5W2HOOWW MUCHhere
40 การจดั ท�ำแผนพฒั นาการเกษตรแบบมีสว่ นร่วม โครงสร้างของ Problem Tree ผลกระทบ ผลกระทบ ผลกระทบ ผลกระทบ ผลกระทบ ผลกระทบ ปญั หาหลกั สาเหตขุ องปญั หา สาเหตุของปญั หา สาเหตขุ องปญั หา สาเหตยุ อ่ ย สาเหตุย่อย สาเหตยุ ่อย
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154