Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ โรงเรียนบ้านมาบตาพุด : 2563

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ โรงเรียนบ้านมาบตาพุด : 2563

Published by Kru T, 2020-04-12 05:18:15

Description: โดย นายณัฐนนท์ สีดาโคตร์ และคณะครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ

Search

Read the Text Version

คณะครูกลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ โรงเรียนบา้ นมาบตาพุด 1. นายณัฐนนท์ สีดาโคตร์ 2. นายสุปัญญา สรรพจกั ร์ 3. นายไพบลู ย์ อ้อมวิหาร 4. นายธนวฒั น์ ทลู ศริ ิ 5. นางสาวเมทินี พลู สวสั ด์ิ 6. นางสาวดวงกมล อินทะเสน 7. นางศริ ินทิพย์ สรรพจกั ร์



หลกั สตู รสถานศกึ ษา กลมุ่ สาระการเรยี นร้ศู ลิ ปะ โรงเรยี นบา้ นมาบตาพดุ

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรยี นร้ศู ิลปะ สาระทัศนศิลป์ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 วิสยั ทัศน์ คดิ สรา้ งสรรค์ ผสานจนิ ตนาการ ชน่ื ชมความงาม สุขล้ำสนุ ทรยี ภาพ รักษถ์ นิ่ ฐาน อนุรักษ์ สบื สานภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน ภมู ปิ ัญญาไทยและสากล พนั ธกจิ 1. จัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกบั หลักสตู รแกนกลางขั้นพ้ืนฐานและสาระท่ีเกยี่ วขอ้ ง กับทอ้ งถิน่ 2. พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ จินตนาการใหผ้ ู้เรียนไดแ้ สดงออกทางผลงานศิลปะ ดนตรี นาฏศลิ ป์ อย่างช่ืนชมเชื่อม่ันและมีความสขุ 3. ส่งเสรมิ ให้ผูเ้ รยี นมีคา่ นิยมรกั งานศิลปะในท้องถน่ิ รว่ มอนรุ กั ษ์สบื สานศลิ ปวัฒนธรรมท้องถิ่น ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น ภมู ิปัญญาไทย และสากล เป้าหมาย พฒั นาผเู้ รยี นให้มีความคิดริเริม่ สร้างสรรค์ มีจินตนาการทางศิลปะ ชนื่ ชมความงาม มีสนุ ทรยี ภาพ อนรุ กั ษ์สบื สานศิลปวัฒนธรรม และภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น ความสำคัญของกลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศลิ ปะเปน็ กลุม่ สาระทช่ี ่วยพฒั นาให้ผู้เรียนมคี วามคดิ รเิ รม่ิ สร้างสรรค์ มีจินตนาการทางศลิ ปะ ชน่ื ชมความงาม มีสนุ ทรียภาพ ความมคี ุณคา่ ซ่ึงมผี ลตอ่ คณุ ภาพชวี ิตมนุษย์ กิจกรรมทางศิลปะชว่ ยพัฒนาผเู้ รียนทง้ั ด้านรา่ งกาย จิตใจ สตปิ ัญญา อารมณ์ สงั คม ตลอดจนการนำไปสู่ การพฒั นาสิง่ แวดลอ้ ม สง่ เสริมให้ผเู้ รียนมีความเชื่อม่นั ในตนเอง อันเป็นพน้ื ฐานในการศึกษาและประกอบ อาชพี ได้

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ความสำคญั ของศิลปะ กล่มุ สาระการเรียนรศู้ ิลปะเป็นกลุ่มสาระทีช่ ว่ ยพัฒนาให้ผูเ้ รยี นมีความคิดรเิ รม่ิ สร้างสรรค์ มจี นิ ตนาการทางศิลปะ ชื่นชมความงาม มีสุนทรียภาพ ความมีคุณคา่ ซ่งึ มีผลตอ่ คณุ ภาพชีวิตมนุษย์ กิจกรรมทางศิลปะช่วยพฒั นาผเู้ รียนทง้ั ดา้ นร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สงั คม ตลอดจน การนำไปสู่ การพัฒนาสง่ิ แวดล้อม สง่ เสริมให้ผูเ้ รียนมีความเชอื่ มน่ั ในตนเอง อันเปน็ พ้ืนฐานในการศกึ ษาต่อหรือ ประกอบอาชพี ได้ กลมุ่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะมุ่งพฒั นาใหผ้ เู้ รียนเกดิ ความรู้ความเข้าใจ มที ักษะวธิ กี ารทางศลิ ปะ เกิดความซาบซ้งึ ในคณุ ค่าของศิลปะ เปิดโอกาสให้ผเู้ รยี นแสดงออกอย่างอิสระในศิลปะแขนงตา่ ง ๆ ประกอบดว้ ยสาระสำคญั คือ ทัศนศิลป์ มคี วามรู้ความเข้าใจองค์ประกอบศิลป์ ทัศนธาตุ สร้างและนำเสนอผลงาน ทางทศั นศิลป์จากจนิ ตนาการ โดยสามารถใช้อุปกรณท์ เ่ี หมาะสม รวมทงั้ สามารถใชเ้ ทคนิค วธิ กี าร ของศิลปิน ในการสรา้ งงานได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ วิเคราะห์ วิพากษ์ วจิ ารณ์คุณคา่ งานทัศนศิลป์ เข้าใจ ความสมั พันธร์ ะหวา่ งทัศนศลิ ป์ ประวตั ิศาสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณคา่ งานศิลปะที่เป็นมรดก ทางวฒั นธรรมภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากลช่นื ชม ประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจำวนั ดนตรี มีความรู้ความเข้าใจองคป์ ระกอบดนตรีแสดงออกทางดนตรอี ย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์ วจิ ารณ์คุณคา่ ดนตรี ถา่ ยทอดความร้สู ึก ทางดนตรอี ย่างอิสระ ช่ืนชมและประยุกตใ์ ช้ใน ชวี ิตประจำวนั เข้าใจความสมั พันธ์ระหว่างดนตรี ประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรม เหน็ คุณค่าดนตรี ทเ่ี ปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน ภมู ิปญั ญาไทย และสากล ร้องเพลง และเลน่ ดนตรีในรูปแบบ ตา่ ง ๆ แสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกบั เสยี งดนตรี แสดงความรสู้ ึกที่มีตอ่ ดนตรใี นเชิงสนุ ทรยี ะ เข้าใจ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งดนตรีกบั ประเพณวี ัฒนธรรม และเหตกุ ารณใ์ นประวัติศาสตร์ นาฏศลิ ป์ มคี วามรู้ความเขา้ ใจองคป์ ระกอบนาฏศิลป์ แสดงออกทางนาฏศิลป์ อย่างสรา้ งสรรค์ ใช้ศัพท์เบ้ืองตน้ ทางนาฏศิลป์วิเคราะห์วพิ ากษ์ วจิ ารณ์คุณคา่ นาฏศิลป์ ถา่ ยทอดความร้สู ึก ความคิด อย่างอิสระ สรา้ งสรรค์การเคลือ่ นไหวในรปู แบบต่าง ๆ ประยกุ ต์ใชน้ าฏศิลป์ในชีวติ ประจำวัน เข้าใจ ความสมั พันธร์ ะหว่างนาฏศิลปก์ ับประวตั ิศาสตร์ วัฒนธรรม เหน็ คณุ คา่ ของนาฏศิลป์ท่ีเปน็ มรดกทาง วัฒนธรรม ภมู ิปัญญาทอ้ งถ่นิ ภมู ิปญั ญาไทย และสากล

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์ มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรคง์ านทศั นศิลป์ตามจินตนาการ และความคดิ สร้างสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์ วิจารณค์ ุณคา่ งานทศั นศลิ ป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคดิ ตอ่ งานศิลปะอยา่ งอิสระ ชืน่ ชม และประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจำวัน มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข้าใจความสมั พันธ์ระหว่างทศั นศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคณุ คา่ งานทศั นศลิ ป์ท่ีเปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภมู ปิ ัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และสากล สาระที่ ๒ ดนตรี มาตรฐาน ศ ๒.๑ เขา้ ใจและแสดงออกทางดนตรอี ย่างสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษว์ จิ ารณ์คุณคา่ ดนตรี ถ่ายทอดความรู้สกึ ความคดิ ต่อดนตรีอยา่ งอสิ ระ ชน่ื ชมและประยกุ ต์ใชใ้ น ชวี ติ ประจำวนั มาตรฐาน ศ ๒.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวฒั นธรรม เหน็ คุณค่าของ ดนตรี ท่ีเป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมปิ ญั ญาท้องถ่ิน ภมู ิปญั ญาไทยและสากล สาระท่ี ๓ นาฏศลิ ป์ มาตรฐาน ศ ๓.๑ เขา้ ใจ และแสดงออกทางนาฏศิลปอ์ ย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษว์ จิ ารณ์คุณค่า นาฏศิลป์ถ่ายทอด ความร้สู ึก ความคดิ อยา่ งอิสระ ชืน่ ชมและประยุกต์ใช้ ในชวี ิตประจำวัน มาตรฐาน ศ ๓.๒ เข้าใจความสัมพันธร์ ะหว่างนาฏศลิ ป์ ประวัติศาสตรแ์ ละวัฒนธรรมเห็นคุณคา่ ของนาฏศลิ ป์ทเี่ ป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิน่ ภมู ปิ ัญญาไทยและสากล

วเิ คราะห์หลกั สตู ร

วิเคราะหม์ าตรฐานการเรียนรู้ ตวั ชวี้ ัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลาง ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 1 สาระที่ 1 ทศั นศลิ ป์ มาตรฐาน 1.1 สรา้ งสรรคง์ านทัศนศิลป์ตามจติ นาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิพากษว์ ิจารณ์คุณคา่ งานทศั นศลิ ป์ ถ่ายทอดความรูส้ ึก และความคดิ ต่องานศลิ ปะอยา่ งอสิ ระชนื่ ชม และประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ประจำวัน ชัน้ ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป.1 1. อภิปรายเก่ียวกับรปู รา่ ง และลกั ษณะ รปู รา่ ง ลกั ษณะ และขนาดของส่ิงตา่ ง ๆ และขนาดของส่ิงตา่ ง ๆ รอบตัวใน รอบตัวในธรรมชาติและส่งิ ท่มี นษุ ย์สรา้ งขึ้น ธรรมชาติและสงิ่ ทม่ี นษุ ยส์ รา้ งข้ึน 2. บอกความรสู้ ึกทีม่ ีตอ่ ธรรมชาตแิ ละ ความรูส้ กึ ทมี่ ีตอ่ ธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม สงิ่ แวดลอ้ มรอบตวั รอบตวั เชน่ รสู้ ึกประทบั ใจกับความงามของ บริเวณรอบอาคารเรียนหรือรู้สกึ ถงึ ความไมเ่ ป็น ระเบยี บของสภาพภายในห้องเรยี น 3. มที ักษะพืน้ ฐานในการใชว้ ัสดุ การใช้วัสดุ อปุ กรณ์ เช่น ดินเหนียว ดนิ นำ้ มัน อุปกรณส์ รา้ งงานทศั นศลิ ป์ ดนิ สอ พกู่ ัน กระดาษ สีเทียน สีนำ้ ดินสอสี สรา้ งงานทศั นศลิ ป์ 4. สร้างงานทศั นศลิ ป์โดยการทดลองใช้ การทดลองสดี ้วยการใช้สนี ำ้ สโี ปสเตอร์ สีเทียน สดี ว้ ยเทคนคิ ง่าย ๆ และสจี ากธรรมชาติที่หาได้ ในทอ้ งถ่นิ 5. วาดภาพระบายสภี าพธรรมชาติตาม การวาดภาพระบายสี ตามความรสู้ ึกของตนเอง ความรูส้ ึกของตนเอง มาตรฐาน ศ ๑.๒ เขา้ ใจความสัมพนั ธ์ระหวา่ งทศั นศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคณุ ค่า งานทัศนศิลป์ทีเ่ ป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ภมู ิปัญญาไทย และสากล ช้นั ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ป.1 1. ระบงุ านทศั นศลิ ปใ์ นชีวติ ประจำวนั งานทศั นศลิ ปใ์ นชีวติ ประจำวัน

สาระที่ 2 ดนตรี มาตรฐาน 2.1 เขา้ ใจและแสดงออกทางดนตรอี ยา่ งสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์วิจารณ์คณุ ค่า ดนตรี ถา่ ยทอดอารมณ์ความรูส้ กึ ความคิดตอ่ ดนตรอี ยา่ งอสิ ระ ชื่นชม และประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจำวัน ชั้น ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป.1 1. รวู้ ่าส่ิงต่าง ๆ สามารถกอ่ กำเนิดเสยี งที่ การกำเนดิ ของเสียง แตกตา่ งกนั - เสยี งจากธรรมชาติ - แหล่งกำเนดิ ของเสยี ง - สีสนั ของเสยี ง 2. บอกลักษณะของเสียงดงั – เบา และ ระดับเสียงดัง-เบา (Dynamic) ความชา้ – เร็วของจงั หวะ อตั ราความเรว็ ของจงั หวะTempo 3. ทอ่ งบทกลอน รอ้ งเพลงงา่ ย ๆ การอ่านบทกลอนประกอบ จังหวะ การรอ้ งเพลงประกอบจงั หวะ 4. มีสว่ นรว่ มในกจิ กรรมดนตรีอย่าง กจิ กรรมดนตรี สนุกสนาน - การรอ้ งเพลง - การเคาะจังหวะ - การเคลอื่ นไหวประกอบบทเพลง : ตามความดัง – เบาของบทเพลง : ตามความชา้ เร็วของจงั หวะ 5. บอกความเกีย่ วข้องของเพลงท่ใี ช้ใน เพลงทีใ่ ช้ในชีวติ ประจำวัน ชีวติ ประจำวัน - เพลงกลอ่ มเดก็ - บทเพลงประกอบการละเล่น - เพลงสำคัญ (เพลงชาตไิ ทย เพลงสรรเสรญิ พระบารมี) มาตรฐาน 2.2 เข้าใจความสัมพันธร์ ะหว่างดนตรี ประวตั ิศาสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณค่าของดนตรีที่ เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ ภมู ปิ ญั ญาไทยและสากล ชน้ั ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป.1 1. เลา่ ถงึ เพลงในทอ้ งถ่นิ ทม่ี าของบทเพลงในทอ้ งถ่นิ ความน่าสนใจของบทเพลง ในท้องถิน่ 2. ระบุสง่ิ ที่ชื่นชอบในดนตรีทอ้ งถิ่น

สาระที่ 3 นาฏศิลป์ มาตรฐาน 3.1 เขา้ ใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์อยา่ งสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ คณุ คา่ นาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรสู้ กึ ความคดิ อย่างอสิ ระ ชนื่ ชม และประยกุ ตใ์ ช้ใน ชวี ติ ประจำวัน ช้นั ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ป.1 1. เลยี นแบบการเคลอ่ื นไหว การเคล่ือนไหวลักษณะต่าง ๆ - การเลยี นแบบ ธรรมชาติ - การเลยี นแบบคน สัตว์ ส่ิงของ 2. แสดงท่าทางง่ายๆ เพอื่ ส่อื ความหมาย การใช้ภาษาท่า และการ ประดษิ ฐ์ ท่าประกอบเพลง แทนคำพูด การแสดงประกอบเพลงทเ่ี ก่ียวกบั ธรรมชาติสัตว์ 3. บอกสิง่ ทตี่ นเองชอบจากการดู หรือ การเป็นผูช้ มท่ีดี ร่วมการแสดง มาตรฐาน 3.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหวา่ งนาฏศลิ ป์ ประวตั ิศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า ของนาฏศิลป์ท่ีเป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภมู ิปญั ญาท้องถ่นิ ภูมปิ ัญญาไทย และสากล ช้นั ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.1 1. ระบแุ ละเล่นการละเล่นของเด็กไทย การละเลน่ ของเดก็ ไทย 2. บอกสงิ่ ที่ตนเองชอบในการแสดง - วธิ กี ารเลน่ นาฏศลิ ป์ - กตกิ า การแสดงนาฏศิลป์

วิเคราะห์ตวั ช้ีวัดเพื่อจัดการเรยี นรู้ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 สาระท่ี 1 ทัศนศลิ ป์ มาตรฐาน ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทศั นศิลป์ตามจนิ ตนาการ และความคิดสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถา่ ยทอดความรู้สกึ ความคิดตอ่ งานศิลปะอยา่ งอิสระชืน่ ชม และประยุกต์ใช้ใน ชวี ติ ประจำวนั ชั้น ตวั ชว้ี ัด ผู้เรียนรอู้ ะไร ผเู้ รียนทำอะไรได้ ป.1 1. อภิปรายเก่ยี วกับรูปร่าง และลักษณะ รูปร่าง และลกั ษณะ อภปิ รายบรูปร่าง และ และขนาดของสง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตวั ใน และขนาดของสง่ิ ตา่ ง ๆ ลกั ษณะและขนาดของ ธรรมชาตแิ ละสิ่งท่มี นุษยส์ รา้ งขน้ึ รอบตัวในธรรมชาตแิ ละ สิ่งต่าง ๆ รอบตัวใน ส่ิงทม่ี นุษย์สรา้ งข้นึ ธรรมชาติและส่ิงทม่ี นุษย์ สร้างข้ึน 2. บอกความร้สู ึกทม่ี ีต่อธรรมชาตแิ ละ ความรูส้ ึกท่มี ีตอ่ บอกความรู้สกึ ท่ีมีตอ่ ส่ิงแวดล้อมรอบตวั ธรรมชาติและ ธรรมชาตแิ ละ สงิ่ แวดล้อมรอบตวั สิ่งแวดลอ้ มรอบตัว 3. มีทกั ษะพน้ื ฐานในการใช้วสั ดุ การใชว้ สั ดุ อุปกรณ์สร้าง ใชว้ ัสดุ อปุ กรณ์สรา้ ง อปุ กรณ์สรา้ งงานทัศนศลิ ป์ งานทศั นศิลป์ งานทศั นศิลป์ 4. สรา้ งงานทศั นศิลปโ์ ดยการทดลองใช้ การทดลองใช้สดี ้วย สรา้ งสรรคง์ านการวาด สดี ว้ ยเทคนิคงา่ ย ๆ เทคนิคง่าย ๆ ภาพโดยใช้สเี ทยี น สีไม้ สนี ้ำ 5. วาดภาพระบายสภี าพธรรมชาติ ตาม การวาดภาพระบายสี วาดภาพระบายสีภาพ ความร้สู ึกของตนเอง ตาม ความรู้สึก ของ ธรรมชาติ ตนเอง มาตรฐาน ศ 1.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่างาน ทัศนศลิ ป์ ท่เี ป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น ภูมปิ ัญญาไทย และสากล ชนั้ ตวั ช้ีวัด ผูเ้ รยี นร้อู ะไร ผเู้ รยี นทำอะไรได้ ป.1 1. ระบงุ านทศั นศลิ ป์ในชีวิตประจำวนั ทศั นศิลป์ ใน ระบุและบรรยาย ชวี ติ ประจำวัน ทศั นศิลป์

สาระท่ี 2 ดนตรี มาตรฐาน 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษว์ จิ ารณ์คณุ คา่ ดนตรี ถ่ายทอดอารมณ์ความรสู้ ึก ความคิดตอ่ ดนตรอี ย่างอิสระ ชนื่ ชม และประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ประจำวัน ชั้น ตวั ชว้ี ัด ผเู้ รียนรูอ้ ะไร ผ้เู รียนทำอะไรได้ ป.1 1. รวู้ ่าส่ิงตา่ ง ๆ สามารถกอ่ กำเนดิ เสยี ง เสียงและการกำเนิดของ อธบิ ายการกำเนดิ ของ ทีแ่ ตกต่างกนั เสยี ง เสียง 2. บอกลักษณะของเสียงดัง – เบา และ ลักษณะของเสยี งดัง – อธบิ ายคุณลกั ษณะของ ความช้า – เร็วของจังหวะ เบา และ ความช้า – เรว็ เสียง ของจงั หวะ 3. ท่องบทกลอน รอ้ งเพลงงา่ ย ๆ จังหวะและการรอ้ งเพลง อ่านบทกลอนและรอ้ ง เพลงประกอบจงั หวะ 4. มีส่วนร่วมในกจิ กรรมดนตรอี ย่าง กิจกรรมดนตรี ร้องเพลงตามจงั หวะ สนุกสนาน เพลงพร้อมเคลอื่ นไหว ประกอบบทเพลง 5. บอกความเกีย่ วข้องของเพลงทใ่ี ชใ้ น เพลงในชีวติ ประจำวนั อธบิ ายความหมายของ ชีวติ ประจำวนั เพลงในชวี ิตประจำวัน มาตรฐาน 2.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหวา่ งดนตรี ประวตั ิศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคณุ คา่ ของดนตรี ทเ่ี ปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิน่ ภูมิปญั ญาไทยและสากล ชั้น ตวั ชี้วัด ผ้เู รียนร้อู ะไร ผเู้ รียนทำอะไรได้ ป.1 1. เล่าถงึ เพลงในทอ้ งถน่ิ บทเพลงในทอ้ งถ่นิ จำแนกประเภทบทเพลง ท้องถ่ิน 2. ระบสุ ่ิงทช่ี นื่ ชอบในดนตรีท้องถิน่ ดนตรีท้องถน่ิ จำแนกประเภทดนตรี ทอ้ งถิ่น

สาระท่ี 3 นาฏศิลป์ สาระที่ 3 มาตรฐาน 3.1 เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศลิ ป์อย่างสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษ์วจิ ารณ์ คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรสู้ ึก ความคิดอย่างอสิ ระ ชืน่ ชม และประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ ประจำวัน ชั้น ตวั ช้วี ัด ผ้เู รียนรู้อะไร ผเู้ รียนทำอะไรได้ ป.1 1. เลยี นแบบการเคลื่อนไหว การเคลือ่ นไหวพ้นื ฐาน เลยี นแบบการ 2. แสดงท่าทางง่ายๆ เพอื่ สือ่ นาฏยศัพทแ์ ละภาษาทา่ เคลือ่ นไหวร่างกาย ความหมายแทนคำพดู มารยาทที่ดีในการชม ธรรมชาติ คน สัตว์ 3. บอกสิ่งท่ีตนเองชอบจากการดู การแสดงนาฏศลิ ปไ์ ทย สง่ิ ของและการ หรอื ร่วมการแสดง เคล่ือนไหวประกอบ เพลง แสดงท่านาฏยศัพท์และ ภาษาทา่ การเปน็ ผชู้ มท่ีดี มาตรฐาน 3.2 เข้าใจความสมั พนั ธร์ ะหว่างนาฏศิลป์ ประวตั ศิ าสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณคา่ ของ นาฏศิลปท์ ี่เปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภมู ิปัญญาทอ้ งถ่นิ ภูมปิ ัญญาไทยและสากล ชน้ั ตัวชว้ี ัด ผูเ้ รียนรอู้ ะไร ผเู้ รยี นทำอะไรได้ ป.1 1. ระบแุ ละเล่นการละเล่นของเด็กไทย การละเล่นของเดก็ ไทย บอกชื่อและอธิบาย 2. บอกสิง่ ทตี่ นเองชอบในการแสดง การแสดงนาฏศลิ ปไ์ ทย วธิ กี ารเลน่ การละเล่น นาฏศลิ ป์ ของเด็กไทย เลา่ ส่ิงท่ีชืน่ ชอบในการ แสดงนาฏศิลป์ไทย

วิเคราะห์มาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชี้วัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลาง ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 2 สาระที่ 1 ทัศนศิลป์ มาตรฐาน 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศลิ ปต์ ามจิตนาการ และความคิดสรา้ งสรรค์ วิพากษ์วจิ ารณ์ คุณค่า งานทัศนศลิ ป์ ถ่ายทอดความร้สู ึก และความคิดตอ่ งานศิลปะอย่างอสิ ระชน่ื ชม และประยุกต์ใชใ้ น ชวี ติ ประจำวนั ชนั้ ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง ป.2 1. บรรยายรปู ร่าง รปู ทรงท่ีพบใน รปู รา่ ง รปู ทรงในธรรมชาติ และสง่ิ แวดล้อม เช่น ธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม รปู กลม รี สามเหลีย่ ม ส่ีเหลยี่ ม และกระบอก 2. ระบุทัศนธาตุท่ีอยู่ในสง่ิ แวดลอ้ มและ เส้น สี รูปรา่ ง รปู ทรงในสิง่ แวดล้อมและงาน งานทัศนศลิ ป์ โดยเน้นเรอ่ื งเส้น สี ทัศนศลิ ป์ประเภทต่าง ๆ เช่น งานวาด งานป้ัน รปู ร่าง และรปู ทรง และงานพิมพภ์ าพ 3. สร้างงานทัศนศิลป์ต่าง ๆ โดยใช้ เส้น รูปรา่ งในงานทศั นศิลปป์ ระเภทตา่ ง ๆ เชน่ ทัศนธาตุทเ่ี นน้ เสน้ รปู ร่าง งานวาด งานป้นั และงานพิมพ์ภาพ 4. มีทักษะพื้นฐานในการใชว้ สั ดุ อปุ กรณ์ การใชว้ สั ดุ อปุ กรณ์ สร้างงานทัศนศิลป์ ๓ มิติ สรา้ งงานทศั นศลิ ป์ 3 มิติ 5. สรา้ งภาพปะติดโดยการตัด ภาพปะตดิ จากกระดาษ หรอื ฉกี กระดาษ 6. วาดภาพเพ่ือถ่ายทอดเร่ืองราวเก่ยี วกับ ภาพวาดถ่ายทอดเรอื่ งราว ครอบครัวของตนเองและเพือ่ นบ้าน 7. เลอื กงานทศั นศิลป์ และบรรยาย ถึงส่งิ เนื้อหาเรอื่ งราวในงานทศั นศิลป์ ที่มองเห็นรวมถงึ เนื้อหาเร่ืองราว 8. สรา้ งสรรค์งานทศั นศิลป์เปน็ รูปแบบ งานโครงสรา้ งเคลอ่ื นไหว งานโครงสรา้ งเคลื่อนไหว มาตรฐาน 1.2 เข้าใจความสัมพันธร์ ะหว่างทศั นศิลป์ ประวตั ิศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณคา่ งาน ทัศนศิลปท์ ่เี ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภมู ิปัญญาท้องถ่ิน ภมู ิปญั ญาไทย และสากล ชั้น ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป.2 1. บอกความสำคัญของงานทศั นศิลป์ทีพ่ บ ความสำคัญของงานทัศนศลิ ปใ์ นชีวิตประจำวัน เหน็ ในชีวิตประจำวนั 2. อภิปรายเกย่ี วกบั งานทัศนศิลปป์ ระเภท งานทัศนศิลปใ์ นทอ้ งถ่ิน ตา่ ง ๆ ในท้องถนิ่ โดยเนน้ ถงึ วธิ ีการสรา้ งงาน และวสั ดุ อปุ กรณ์ท่ีใช้

สาระที่ 2 ดนตรี มาตรฐาน 2.1 เขา้ ใจและแสดงออกทางดนตรีอยา่ งสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษว์ ิจารณ์คุณค่าดนตรี ถา่ ยทอดอารมณค์ วามร้สู กึ ความคดิ ตอ่ ดนตรีอย่างอสิ ระ ชืน่ ชม และประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจำวัน ช้นั ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.2 1. จำแนกแหลง่ กำเนดิ ของเสียงทไี่ ด้ยนิ สีสนั ของเสียงเครื่องดนตรี 2. จำแนกคุณสมบัตขิ องเสียงสูง – ตำ่ สีสนั ของเสียงมนษุ ย์ ดงั - เบา ยาว – สนั้ ของดนตรี 3. เคาะจังหวะหรือเคลื่อนไหวรา่ งกายให้ การฝกึ โสตประสาท การจำแนกเสยี ง สงู - ตำ่ ดัง - สอดคล้องกบั เนื้อหาของเพลง เบา ยาว - สน้ั 4. รอ้ งเพลงงา่ ย ๆ ทีเ่ หมาะสมกับวัย การเคลอื่ นไหวประกอบเนือ้ หาในบทเพลง 5. บอกความหมายและความสำคญั การเลน่ เคร่ืองดนตรปี ระกอบเพลง ของเพลงท่ีได้ยนิ การขบั ร้อง ความหมายและความสำคัญของเพลง ท่ไี ดย้ นิ เพลงปลุกใจ เพลงสอนใจ มาตรฐาน 2.2 เขา้ ใจความสมั พันธร์ ะหว่างดนตรี ประวตั ศิ าสตร์ และวฒั นธรรม เหน็ คุณคา่ ของดนตรีท่ี เปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน ภมู ปิ ญั ญาไทยและสากล ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง ป.2 1. บอกความสมั พนั ธ์ของเสียงรอ้ ง เสยี ง บทเพลงในทอ้ งถิน่ เครือ่ งดนตรีในเพลงท้องถ่นิ โดยใช้คำ - ลกั ษณะของเสยี งรอ้ งในบทเพลง ง่าย ๆ - ลกั ษณะของเสยี งเครื่องดนตรี ท่ีใช้ในบทเพลง 2. แสดงและเขา้ รว่ มกิจกรรมทางดนตรี กจิ กรรมดนตรใี นโอกาสพเิ ศษ ในท้องถิน่ - ดนตรีกบั โอกาสสำคญั ในโรงเรียน - ดนตรีกบั วันสำคญั ของชาติ

สาระที่ 3 นาฏศิลป์ มาตรฐาน 3.1 เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศิลปอ์ ย่างสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วจิ ารณ์ คุณคา่ นาฏศิลป์ ถา่ ยทอดความรสู้ กึ ความคดิ อยา่ งอสิ ระ ชื่นชม และประยุกตใ์ ช้ใน ชวี ติ ประจำวนั ชั้น ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป.2 1. เคล่ือนไหวขณะอยกู่ บั ทแ่ี ละเคลอ่ื นท่ี การเคลือ่ นไหวอย่างมีรปู แบบ - การนั่ง - การยนื - การเดิน 2. แสดงการเคลือ่ นไหวทสี่ ะทอ้ นอารมณ์ การประดิษฐท์ ่าจากการเคล่อื นไหวอย่างมรี ปู แบบ ของตนเองอยา่ ง อิสระ เพลงทีเ่ กยี่ วข้องกบั สงิ่ แวดล้อม 3. แสดงท่าทาง เพอ่ื ส่อื ความหมาย หลกั และวิธีการปฏบิ ตั นิ าฏศิลป์ แทนคำพดู - การฝึกภาษาท่าส่ือความหมาย แทนอากัปกิริยา - การฝกึ นาฏยศัพท์ในส่วนลำตวั 4. แสดงท่าทางประกอบจงั หวะ การใชภ้ าษาทา่ และนาฏยศพั ท์ ประกอบจังหวะ อยา่ งสร้างสรรค์ 5. ระบมุ ารยาทในการชมการแสดง มารยาทในการชมการแสดง การเข้าชม หรอื มสี ่วนรว่ ม มาตรฐาน 3.2 เข้าใจความสมั พันธร์ ะหว่างนาฏศิลป์ ประวตั ิศาสตร์ และวัฒนธรรม เหน็ คุณค่าของ นาฏศลิ ปท์ ่ีเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่น ภมู ปิ ัญญาไทยและสากล ช้ัน ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป.2 1. ระบแุ ละเล่นการละเลน่ พ้นื บา้ น การละเล่นพน้ื บ้าน - วิธีการเล่น 2. เชอื่ มโยงสิ่งท่ีพบเห็นในการละเลน่ - กตกิ า พื้นบ้านกบั สิ่งทพี่ บเหน็ ในการดำรงชีวิต ทม่ี าของการละเลน่ พ้นื บา้ น ของคนไทย 3. ระบสุ งิ่ ท่ีชืน่ ชอบและภาคภมู ิใจ การละเลน่ พ้ืนบา้ น ในการละเล่นพนื้ บ้าน

วิเคราะหต์ วั ชว้ี ัดเพ่อื จดั การเรยี นรู้ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 2 สาระที่ 1 ทัศนศลิ ป์ มาตรฐาน ศ 1.1 สรา้ งสรรคง์ านทัศนศลิ ป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์วจิ ารณ์คุณคา่ งานทศั นศิลป์ ถา่ ยทอดความรูส้ ึก ความคิดตอ่ งานศิลปะอย่างอิสระช่นื ชม และประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจำวนั ช้ัน ตัวช้วี ัด ผ้เู รียนรอู้ ะไร ผู้เรยี นทำอะไรได้ ป.2 1. บรรยายรปู ร่าง รปู ทรงท่พี บใน รปู รา่ ง รปู ทรงทพ่ี บใน บรรยายภาพรูปร่าง ธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม ธรรมชาตแิ ละ รปู ทรงทพี่ บในธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และสิ่งแวดลอ้ ม 2. ระบุทัศนธาตุท่อี ยู่ในสง่ิ แวดล้อมและ ทัศนธาตุและทัศนศิลป์ ระบุและอภปิ รายทัศน งานทัศนศลิ ป์ โดยเนน้ เรอ่ื งเสน้ สี ธาตุที่อยใู่ นสงิ่ แวดล้อม รปู รา่ ง และรูปทรง และงานทศั นศิลป์ 3. สรา้ งงานทัศนศลิ ป์ตา่ ง ๆ โดยใช้ สรา้ งงานทศั นศลิ ป์ สรา้ งสรรค์งานทัศนศลิ ป์ ทัศนธาตุทีเ่ น้นเสน้ รปู รา่ ง โดยใช้ทัศนธาตทุ เ่ี น้น เส้นรูปร่าง 4. มีทกั ษะพืน้ ฐานในการใชว้ สั ดุ พื้นฐานในการใช้วสั ดุ ทกั ษะพน้ื ฐานในการใช้ อปุ กรณส์ รา้ งงานทศั นศิลป์ 3 มิติ อปุ กรณส์ ร้างงาน วสั ดุ อปุ กรณ์สร้างงาน ทศั นศิลป์ 3 มิติ ทัศนศลิ ป์ 3 มิติ 5. สร้างภาพปะตดิ โดยการตัด ภาพปะติดโดยการตัด สรา้ งภาพปะติดโดยการ หรือฉีกกระดาษ ตดั หรอื ฉกี กระดาษ หรอื ฉกี กระดาษ 6. วาดภาพเพอื่ ถา่ ยทอดเร่อื งราว ถา่ ยทอดเรอ่ื งราว สรา้ งสรรคง์ านวาดภาพ เกยี่ วกับครอบครวั ของตนเองและ เก่ยี วกบั ครอบครวั ของ เพอ่ื ถา่ ยทอดเรือ่ งราว เพือ่ นบา้ น ตนเองและเพือ่ นบา้ น เกี่ยวกับครอบครัวของ ตนเองและเพือ่ นบ้าน 7. เลือกงานทัศนศิลป์ และบรรยาย งานทศั นศลิ ป์ ทมี่ องเห็น บรรยาย งานทศั นศลิ ป์ ถึงสงิ่ ท่มี องเห็นรวมถงึ เนื้อหา รวมถงึ เน้ือหาเร่ืองราว ถงึ ส่งิ ท่มี องเหน็ รวมถงึ เรือ่ งราว เนือ้ หาเรื่องราว 8. สร้างสรรค์งานทศั นศิลป์เปน็ รูปแบบ รูปแบบโครงสร้าง สร้างสรรค์งานทัศนศลิ ป์ งานโครงสร้างเคลือ่ นไหว โครงสรา้ งเคลือ่ นไหว เคลือ่ นไหว

มาตรฐาน ศ 1.2 เข้าใจความสมั พนั ธร์ ะหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เหน็ คุณค่า งานทัศนศิลป์ทเ่ี ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภมู ปิ ญั ญาท้องถนิ่ ภมู ปิ ญั ญาไทย และสากล ช้ัน ตัวชว้ี ัด ผูเ้ รยี นรอู้ ะไร ผู้เรยี นทำอะไรได้ ป.2 1. บอกความสำคัญของงานทศั นศิลป์ ความสำคัญของงาน บอกความสำคญั ของงาน ทีพ่ บเหน็ ในชีวติ ประจำวัน ทศั นศลิ ป์ท่ีพบเหน็ ใน ทัศนศลิ ป์ทพ่ี บเห็นใน 2. อภิปรายเกยี่ วกับงานทศั นศิลป์ ประเภทต่าง ๆในท้องถน่ิ โดยเน้นถงึ ชวี ติ ประจำวัน ชีวิตประจำวัน วธิ กี ารสรา้ งงาน และวัสดุ อปุ กรณท์ ี่ใช้ ประเภทงานทัศนศลิ ป์ใน อภปิ รายงานทศั นศิลป์ ทอ้ งถน่ิ ในทอ้ งถนิ่ โดยเน้นถึง วิธกี ารสรา้ งงาน และ วัสดุ อุปกรณ์ทีใ่ ช้

สาระที่ 2 ดนตรี มาตรฐาน 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอยา่ งสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษว์ จิ ารณ์คณุ คา่ ดนตรี ถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สกึ ความคิดตอ่ ดนตรีอยา่ งอสิ ระ ชน่ื ชม และประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจำวัน ชน้ั ตัวชว้ี ัด ผเู้ รยี นรู้อะไร ผู้เรียนทำอะไรได้ ป.2 1. จำแนกแหลง่ กำเนิดของเสียงท่ไี ด้ยิน แหล่งกำเนดิ ของเสยี งท่ี จำแนกแหล่งกำเนดิ ของ ไดย้ ิน เสียง 2. จำแนกคุณสมบัติของเสยี งสงู – ต่ำ คุณสมบัติของเสียง จำแนกคณุ สมบตั ขิ อง ดัง - เบา ยาว – สน้ั ของดนตรี สูง – ต่ำ ดงั - เบา เสยี งสูง – ตำ่ ดัง - เบา ยาว – สน้ั ของดนตรี ยาว – สน้ั ของดนตรี 3. เคาะจงั หวะหรอื เคลอ่ื นไหวรา่ งกาย จงั หวะหรอื เคลอ่ื นไหว เคาะจังหวะหรือ ให้สอดคล้องกับเนอื้ หาของเพลง รา่ งกายใหส้ อดคล้องกับ เคลอื่ นไหวร่างกายให้ เนอื้ หาของเพลง สอดคล้องกบั เนอ้ื หาของ เพลง 4. ร้องเพลงงา่ ย ๆ ทเ่ี หมาะสมกบั วยั หลกั การขบั ร้องเพลง รอ้ งเพลงง่าย ๆ ท่ี เหมาะสมกบั วัย 5. บอกความหมายและความสำคญั ของ ความหมายและ อธบิ ายความหมายและ เพลงท่ไี ด้ยิน ความสำคญั ของเพลง ความสำคัญของเพลงที่ ไดย้ ิน มาตรฐาน 2.2 เขา้ ใจความสัมพนั ธ์ระหวา่ งดนตรี ประวตั ิศาสตร์ และวัฒนธรรม เหน็ คณุ ค่าของดนตรี ท่เี ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญั ญาท้องถ่ิน ภมู ิปัญญาไทยและสากล ชนั้ ตวั ชีว้ ัด ผู้เรียนรูอ้ ะไร ผู้เรียนทำอะไรได้ ป.2 1. บอกความสมั พันธข์ องเสียงร้อง ความสมั พันธ์ของบท จำแนกความสมั พนั ธ์ของ เสียงเครอ่ื งดนตรใี นเพลงท้องถน่ิ เพลงและเครอื่ งดนตรีใน บทเพลงและเคร่ือง โดยใช้คำงา่ ย ๆ ทอ้ งถน่ิ ดนตรีในทอ้ งถิ่น 2. แสดงและเข้าร่วมกิจกรรมทางดนตรี กจิ กรรมทางดนตรีใน บรรยายและร่วม ในท้องถ่ิน ท้องถิ่น กจิ กรรมทางดนตรี

สาระท่ี 3 นาฏศลิ ป์ มาตรฐาน 3.1 เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศิลปอ์ ย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์วจิ ารณ์คุณคา่ นาฏศิลป์ ถา่ ยทอดความรู้สกึ ความคิดอยา่ งอิสระ ชนื่ ชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจำวัน ชน้ั ตัวชว้ี ัด ผู้เรียนรูอ้ ะไร ผู้เรยี นทำอะไรได้ ป.2 1. เคล่อื นไหวขณะอยูก่ บั ที่และเคลอื่ นที่ การเคลอื่ นอย่างมี การเคลอ่ื นไหวอยา่ งมี รูปแบบ รูปแบบ - เคลอ่ื นไหวขณะอยู่กับท่ี - เคลื่อนไหวขณะเคลื่อนท่ี 2. แสดงการเคล่อื นไหวที่สะทอ้ น การเคลอ่ื นไหวอย่าง เคล่ือนไหวรา่ งกาย อารมณข์ องตนเองอย่าง อิสระ อสิ ระ ประกอบบทเพลงใน ลักษณะตามจนิ ตนการ 3. แสดงท่าทาง เพอ่ื สอ่ื ความหมาย นาฏยศัพท์และภาษา แสดงนาฏยศัพทแ์ ละ แทนคำพดู ท่าทางนาฏศิลป์ไทย ภาษาท่า 4. แสดงท่าทางประกอบจงั หวะ นาฏยศพั ท์และภาษา แสดงทา่ ทางประกอบ อย่างสร้างสรรค์ ทา่ ทางนาฏศิลป์ไทย จังหวะอย่างสร้างสรรค์ ประกอบจงั หวะ 5. ระบมุ ารยาทในการชมการแสดง ระบมุ ารยาทในการชมการ มารยาทในการชมการ แสดง แสดง มาตรฐาน 3.2 เข้าใจความสัมพันธร์ ะหวา่ งนาฏศลิ ป์ ประวตั ิศาสตร์ และวฒั นธรรม เหน็ คุณค่า ของนาฏศลิ ปท์ เี่ ปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ ภูมปิ ัญญาไทย และสากล ช้ัน ตัวช้ีวัด ผ้เู รียนรู้อะไร ผ้เู รียนทำอะไรได้ ป.2 1. ระบแุ ละเลน่ การละเล่นพนื้ บ้าน กฎ กตกิ าการเลน่ ระบุและอธบิ ายวธิ ีการ พนื้ บา้ นของไทย เลน่ การละเลน่ พืน้ บ้าน 2. เชอ่ื มโยงส่ิงที่พบเห็นในการละเลน่ ของไทย พืน้ บา้ นกับสง่ิ ทีพ่ บเหน็ ในการ ทม่ี าการละเลน่ พ้ืนบ้าน อธบิ ายที่มาการละเลน่ ดำรงชวี ติ ของคนไทย ท่ีสัมพนั ธ์กบั การ พ้ืนบา้ นไทย 3. ระบุสง่ิ ที่ชน่ื ชอบและภาคภูมใิ จ ดำรงชวี ติ ของคนไทย ในการละเลน่ พน้ื บา้ น การละเล่นพนื้ บา้ นของ ระบุชอ่ื และเลน่ ไทย การละเลน่ พน้ื บา้ น ของไทย

วิเคราะห์มาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชว้ี ัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 สาระที่ 1 ทัศนศิลป์ มาตรฐาน ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศลิ ป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์วจิ ารณ์คณุ คา่ งานทศั นศิลป์ ถา่ ยทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอยา่ งอสิ ระช่นื ชม และประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ประจำวัน ชน้ั ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ป.3 1. บรรยายรปู รา่ ง รูปทรงในธรรมชาติ รูปรา่ ง รปู ทรงในธรรมชาติ สงิ่ แวดล้อม และ สง่ิ แวดลอ้ ม และงานทัศนศิลป์ งานทัศนศิลป์ 2. ระบุวสั ดุ อปุ กรณ์ท่ใี ช้สรา้ งผลงาน วสั ดุ อปุ กรณ์ทีใ่ ชส้ ร้างงานทศั นศลิ ป์ประเภท เม่อื ชมงานทศั นศลิ ป์ งานวาด งานปน้ั งานพิมพ์ภาพ 3. จำแนกทัศนธาตขุ องส่งิ ต่าง ๆ ใน เสน้ สี รปู รา่ ง รูปทรง พืน้ ผวิ ในธรรมชาติ ธรรมชาติ ส่ิงแวดลอ้ มและงาน สงิ่ แวดลอ้ มและงานทศั นศิลป์ ทัศนศิลป์ โดยเน้นเรื่อง เส้น สี รูปร่าง รูปทรง และพน้ื ผิว 4. วาดภาพระบายสีสงิ่ ของรอบตัว การวาดภาพระบายสสี ่งิ ของรอบตัวด้วยสเี ทียน ดนิ สอสี และสโี ปสเตอร์ 5. มีทักษะพืน้ ฐานในการใช้วัสดุ อุปกรณ์ การใชว้ สั ดุ อปุ กรณ์ในงานป้นั สร้างสรรค์งานป้ัน 6. วาดภาพถ่ายทอดความคดิ ความรู้สึก การใช้เสน้ รูปร่าง รปู ทรงสี และพื้นผิว วาด จากเหตกุ ารณช์ วี ิตจริง โดยใชเ้ ส้น ภาพถา่ ยทอดความคิด ความรู้สกึ รปู รา่ ง รูปทรงสี และพนื้ ผิว 7. บรรยายเหตผุ ลและวธิ ีการในการสรา้ ง วัสดุ อปุ กรณ์ เทคนิควิธกี ารในการสร้างงาน งานทัศนศลิ ป์ โดยเน้นถงึ เทคนคิ ทศั นศลิ ป์ และวัสดุ อปุ กรณ์ 8. ระบทุ ่ชี น่ื ชมและส่ิงท่ีควรปรับปรุง การแสดงความคิดเหน็ ในงานทศั นศิลปข์ อง ในงานทศั นศิลปข์ องตนเอง ตนเอง 9. ระบุและจัดกลุ่มของภาพตาม การจัดกลมุ่ ของภาพตามทศั นธาตุ ทศั นธาตุทเี่ น้นในงานทัศนศิลปน์ ั้น ๆ 10. บรรยายลกั ษณะรปู ร่าง รปู ทรง ใน รปู รา่ ง รปู ทรง ในงานการออกแบบ งานการออกแบบส่งิ ตา่ ง ๆ ทมี่ ี ในบ้านและโรงเรียน

มาตรฐาน ศ ๑.๒ เขา้ ใจความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งทศั นศลิ ป์ ประวตั ิศาสตร์ และวฒั นธรรม เหน็ คณุ ค่า งานทศั นศลิ ป์ทเี่ ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ ภมู ิปัญญาไทย และสากล ชั้น ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ทม่ี าของงานทศั นศิลป์ในท้องถ่ิน ป.3 1. เล่าถงึ ท่มี าของงานทัศนศลิ ป์ ในท้องถิน่ วสั ดุ อปุ กรณ์ และวธิ กี ารสร้างงานทศั นศิลป์ ในท้องถ่ิน 2. อธบิ ายเกี่ยวกับวสั ดุ อุปกรณ์ และวิธกี ารสร้างงานทัศนศิลป์ ในท้องถ่ิน

สาระที่ 2 ดนตรี มาตรฐาน ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถา่ ยทอดความรสู้ ึก ความคิดตอ่ ดนตรอี ย่างอสิ ระ ช่ืนชม และประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ประจำวัน ชน้ั ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป.3 1. ระบรุ ปู ร่าง ลักษณะของเครอื่ งดนตรี - รูปร่าง ลักษณะของเคร่ืองดนตรี ทเ่ี หน็ และได้ยนิ ในชวี ติ ประจำวัน - เสยี งของเครอื่ งดนตรี 2. ใช้ภาพหรอื สัญลักษณแ์ ทนเสยี งและ - สญั ลักษณ์แทนคุณสมบัติของเสียง จังหวะเคาะ (สูง-ต่ำ ดงั -เบา ยาว-สนั้ ) - สัญลักษณ์แทนรปู แบบจังหวะ 3. บอกบทบาทหน้าท่ขี องเพลงท่ีได้ยิน บทบาทหนา้ ทข่ี องบทเพลงสำคัญ - เพลงชาติ - เพลงสรรเสรญิ พระบารมี - เพลงประจำโรงเรียน 4. ขบั รอ้ งและบรรเลงดนตรีงา่ ย ๆ - การขับรอ้ งเด่ยี วและหมู่ - การบรรเลงเครือ่ งดนตรีประกอบเพลง 5. เคล่อื นไหวทา่ ทางสอดคลอ้ งกับ การเคลอื่ นไหวตามอารมณข์ องบทเพลง อารมณข์ องเพลงท่ฟี ัง 6. แสดงความคิดเหน็ เกีย่ วกบั เสยี งดนตรี การแสดงความคิดเห็นเก่ียวกบั เสียงร้องและ เสียงขบั ร้องของตนเองและผอู้ ืน่ เสียงดนตรี - คณุ ภาพเสยี งร้อง - คุณภาพเสียงดนตรี 7. นำดนตรีไปใช้ในชวี ติ ประจำวัน หรอื การใช้ดนตรใี นโอกาสพิเศษ โอกาสต่าง ๆ ได้อยา่ งเหมาะสม - ดนตรใี นงานรืน่ เรงิ - ดนตรีในการฉลองวนั สำคัญของชาติ

มาตรฐาน ศ 2.2 เขา้ ใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวตั ิศาสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณคา่ ของดนตรที ี่เป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภมู ปิ ัญญาท้องถนิ่ ภูมิปญั ญาไทยและสากล ช้ัน ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป.3 1. ระบุลักษณะเด่นและเอกลักษณ์ของ เอกลกั ษณ์ของดนตรใี นท้องถ่นิ ดนตรีในทอ้ งถ่ิน - ลักษณะเสียงรอ้ งของดนตรีในทอ้ งถิน่ - ภาษาและเนอ้ื หาในบทรอ้ งของดนตรีใน 2. ระบุความสำคญั และประโยชนข์ อง ท้องถนิ่ ดนตรีตอ่ การดำเนนิ ชวี ติ ของคนใน - เครือ่ งดนตรแี ละวงดนตรใี นทอ้ งถ่ิน ทอ้ งถิ่น ดนตรีกบั การดำเนินชวี ติ ในทอ้ งถิน่ - ดนตรใี นชวี ติ ประจำวัน - ดนตรใี นวาระสำคญั

สาระท่ี 3 นาฏศิลป์ มาตรฐาน ศ 3.1 เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่า นาฏศิลป์ ถา่ ยทอดความรู้สึก ความคดิ ต่อดนตรอี ย่างอิสระ ชื่นชม และประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตประจำวนั ช้นั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป.3 1. สรา้ งสรรคก์ ารเคลือ่ นไหวในรูปแบบ การเคล่อื นไหวในรูปแบบตา่ ง ๆ ต่าง ๆ ในสถานการณ์สน้ั ๆ - รำวงมาตรฐาน - เพลงพระราชนพิ นธ์ - สถานการณส์ ั้น ๆ - สถานการณ์ทีก่ ำหนดให้ 2. แสดงท่าทางประกอบเพลงตาม หลกั และวธิ ีการปฏบิ ัตนิ าฏศิลป์ รูปแบบนาฏศิลป์ - การฝกึ ภาษาท่าสือ่ อารมณข์ องมนษุ ย์ - การฝึกนาฏศิลป์ในส่วนขา 3. เปรียบเทยี บบทบาทหน้าทข่ี องผู้แสดง หลกั ในการชมการแสดง และผู้ชม - ผู้แสดง 4. มีสว่ นในกจิ กรรมการแสดงท่ี - ผชู้ ม เหมาะสมกบั วยั - การมสี ว่ นรม่ 5. บอกประโยชนข์ องการแสดงนาฏศิลป์ การบรู ณาการนาฏศิลปก์ ับสาระการเรยี นร้อู นื่ ๆ ในชีวิตประจำวนั มาตรฐาน ศ 3.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวตั ศิ าสตร์ และวัฒนธรรม เหน็ คุณค่า ของนาฏศิลป์ท่เี ป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมปิ ญั ญาไทยและสากล ชน้ั ตวั ชี้วัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง ป.3 1. เล่าการแสดงนาฏศิลป์ทีเ่ คยเหน็ การแสดงนาฏศลิ ป์พนื้ บา้ นหรอื ท้องถิ่นของตน ในทอ้ งถิน่ การแสดงนาฏศิลป์ 2. ระบสุ ิ่งทีเ่ ป็นลักษณะเดน่ และ -ลักษณะ เอกลักษณ์ของการแสดงนาฏศิลป์ -เอกลักษณ์ ที่มาของการแสดงนาฏศิลป์ 3. อธบิ ายความสำคญั ของการแสดง -ส่ิงที่เคารพ นาฏศิลป์

วเิ คราะห์ตัวช้วี ดั เพ่อื จัดการเรยี นรู้ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3 สาระท่ี 1 ทศั นศิลป์ มาตรฐาน ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจนิ ตนาการ และความคดิ สรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วจิ ารณ์คณุ คา่ งานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอสิ ระชน่ื ชม และประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตประจำวนั ช้ัน ตวั ชวี้ ัด ผเู้ รยี นรู้อะไร ผเู้ รยี นทำอะไรได้ ป.3 1. บรรยายรปู ร่าง รูปทรงในธรรมชาติ รปู ร่าง รปู ทรงใน เปรยี บเทยี บรูปรา่ ง ธรรมชาติ รูปทรงในธรรมชาติ 2. ระบุวสั ดุ อุปกรณ์ทใ่ี ช้สรา้ งผลงาน วสั ดุ อุปกรณ์ที่ใชส้ รา้ ง ระบุถึงวสั ดุ อปุ กรณท์ ่ี เมื่อชมงานทัศนศิลป์ ผลงานทศั นศิลป์ ใช้สร้างผลงานทัศนศิลป์ 3. จำแนกทศั นธาตุของสิง่ ต่าง ๆ ใน ทศั นธาตุของสิง่ ตา่ ง ๆ จำแนกทศั นธาตุ ธรรมชาติ สิง่ แวดลอ้ มและงาน ในธรรมชาติสงิ่ แวดล้อม ทศั นศิลป์ โดยเนน้ เร่ือง เสน้ สี และงานทศั นศลิ ป์ รปู ร่าง รูปทรง และพน้ื ผวิ 4. วาดภาพระบายสีสิ่งของรอบตัว สิ่งของรอบตัว วาดภาพระบายสีสง่ิ ของ รอบตวั 5. มีทกั ษะพืน้ ฐานในการใชว้ ัสดุ อปุ กรณ์ การใช้วัสดุ อุปกรณใ์ น สร้างสรรคง์ านปั้น สรา้ งสรรคง์ านปั้น งานปัน้ 6. วาดภาพถ่ายทอดความคดิ ความร้สู กึ ถา่ ยทอดความคดิ วาดภาพจากเหตกุ ารณ์ จากเหตกุ ารณ์ชวี ิตจรงิ โดยใช้เส้น ความรู้สกึ จากเหตกุ ารณ์ ชวี ติ จรงิ รปู รา่ ง รปู ทรงสี และพน้ื ผวิ ชวี ิตจริง 7. บรรยายเหตุผลและวธิ กี ารในการสรา้ ง วธิ กี ารในการสรา้ งงาน บรรยายวธิ กี ารในการ งานทัศนศิลป์ โดยเน้นถึงเทคนิค และ ทศั นศิลป์ โดยเนน้ ถึง สรา้ งงานทัศนศลิ ป์ วสั ดุ อปุ กรณ์ เทคนคิ และวสั ดุ อุปกรณ์ 8. ระบทุ ช่ี ื่นชมและสิ่งท่ีควรปรับปรุง สิ่งทคี่ วรช่ืนชม และ ระบุสิ่งทคี่ วรชื่นชมและ ในงานทศั นศิลปข์ องตนเอง ปรับปรงุ ในงาน ปรับปรุงและในงาน ทศั นศิลป์ ของตนเอง ทศั นศิลป์ของตนเอง 9. ระบุและจัดกลุ่มของภาพตาม ระบแุ ละจดั กลมุ่ ของ ระบุและจัดกลมุ่ ภาพ ทัศนธาตทุ ีเ่ น้นในงานทศั นศิลป์นน้ั ๆ ภาพตามทัศนธาตุ ตามทัศนธาตุในงาน ทศั นศิลป์ 10. บรรยายลักษณะรปู รา่ ง รูปทรง รปู รา่ ง รูปทรง ในงาน บรรยายลักษณะรูปร่าง ในงานการออกแบบส่งิ ต่าง ๆ ทมี่ ี การออกแบบสง่ิ ตา่ ง ๆ รปู ทรง ในบ้านและโรงเรยี น

มาตรฐาน ศ 1.2 เข้าใจความสมั พนั ธ์ระหว่างทัศนศลิ ป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เหน็ คณุ ค่า งานทัศนศิลปท์ เี่ ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ ภมู ิปัญญาไทย และสากล ชัน้ ตัวชีว้ ัด ผูเ้ รยี นรูอ้ ะไร ผู้เรียนทำอะไรได้ ป.3 1. เลา่ ถงึ ทมี่ าของงานทัศนศลิ ป์ ที่มาของงานทัศนศิลป์ใน เล่าถึงทีม่ าของงาน ในท้องถน่ิ ท้องถนิ่ ทศั นศิลป์ในท้องถิ่น 2. อธิบายเกยี่ วกับวสั ดุ อุปกรณ์ และวธิ กี ารสร้างงานทัศนศลิ ป์ใน วสั ดุ อุปกรณ์ และ อธิบายวัสดุ อุปกรณ์ ท้องถิ่น วิธกี ารสรา้ งงาน และวิธกี ารสรา้ งงาน ทัศนศิลปใ์ นทอ้ งถ่นิ ทศั นศลิ ป์ในท้องถนิ่

สาระที่ 2 ดนตรี มาตรฐาน ศ 2.1 เขา้ ใจและแสดงออกทางดนตรอี ย่างสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษ์วิจารณค์ ณุ คา่ ดนตรี ถา่ ยทอดความรูส้ ึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอสิ ระ ช่นื ชม และประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ชัน้ ตัวช้วี ัด ผู้เรียนรอู้ ะไร ผเู้ รยี นทำอะไรได้ ป.3 1. ระบรุ ปู ร่าง ลกั ษณะของเคร่อื งดนตรี รปู ร่าง ลกั ษณะของ ระบรุ ูปรา่ ง ลักษณะ ทีเ่ หน็ และไดย้ ินในชวี ติ ประจำวัน เครื่องดนตรี ของเครอ่ื งดนตรีทีเ่ หน็ และได้ยนิ ใน ชวี ติ ประจำวัน 2. ใชภ้ าพหรือสญั ลักษณ์แทนเสียงและ ภาพหรือสัญลกั ษณ์แทน ใชภ้ าพหรือสัญลกั ษณ์ จงั หวะเคาะ เสียงและจังหวะเคาะ แทนเสียงและจังหวะ เคาะ 3. บอกบทบาทหน้าทข่ี องเพลงทไ่ี ดย้ ิน บทบาทหนา้ ทีข่ องเพลง บอกบทบาทหน้าทข่ี อง เพลงท่ไี ดย้ นิ 4. ขบั ร้องและบรรเลงดนตรีง่าย ๆ ขบั ร้องและบรรเลง ขับร้องและบรรเลง ดนตรี เคร่อื งดนตรีง่าย ๆ 5. เคล่ือนไหวทา่ ทางสอดคล้องกับ เคลอ่ื นไหวทา่ ทาง เคลือ่ นไหวท่าทาง อารมณ์ของเพลงที่ฟัง สอดคล้องกบั อารมณ์ สอดคล้องกบั อารมณ์ ของเพลง ของเพลงทฟี่ ัง 6. แสดงความคดิ เหน็ เกีย่ วกับ เสียงดนตรี เสยี งขบั ร้อง แสดงความคิดเห็น เสียงดนตรี เสียงขบั ร้องของตนเอง เก่ยี วกับเสยี งดนตรี และผูอ้ ่นื เสยี งขบั รอ้ งของตนเอง และผู้อื่น 7. นำดนตรีไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั หรือ ดนตรีกับชวี ติ ประจำวัน บอกถงึ การนำดนตรีไป โอกาสต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ใช้ในชวี ติ ประจำวนั หรือ โอกาสตา่ ง ๆ ได้

มาตรฐาน ศ 2.2 เข้าใจความสมั พันธ์ระหวา่ งดนตรี ประวัติศาสตร์ และวฒั นธรรม เหน็ คุณคา่ ของดนตรีทเี่ ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถน่ิ ภูมปิ ัญญาไทย และสากล ชั้น ตัวชว้ี ัด ผูเ้ รียนร้อู ะไร ผเู้ รียนทำอะไรได้ ป.3 1. ระบุลกั ษณะเดน่ และเอกลกั ษณ์ของ ลักษณะเดน่ และ ระบลุ ักษณะเดน่ และ ดนตรีในท้องถ่ิน เอกลกั ษณข์ องดนตรีใน เอกลักษณข์ องดนตรใี น ท้องถิ่น ท้องถ่นิ 2. ระบคุ วามสำคัญและประโยชน์ของ ความสำคัญและ ระบคุ วามสำคัญและ ดนตรีตอ่ การดำเนินชีวิตของคนใน ประโยชนข์ องดนตรตี ่อ ประโยชน์ของดนตรีต่อ ทอ้ งถ่ิน การดำเนนิ ชวี ิตของคน การดำเนนิ ชวี ติ ของคน ในทอ้ งถิน่ ในท้องถ่ิน

สาระที่ 3 นาฏศิลป์ มาตรฐาน ศ 3.1 เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่า นาฏศลิ ป์ ถา่ ยทอดความรู้สึก ความคดิ ต่อดนตรีอย่างอิสระ ช่ืนชม และประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ ประจำวนั ชน้ั ตวั ช้วี ัด ผู้เรยี นรอู้ ะไร ผเู้ รยี นทำอะไรได้ ป.3 1. สร้างสรรค์การเคลอ่ื นไหวในรปู แบบ การเคลอ่ื นไหวใน -ภาษาท่า ตา่ ง ๆ ในสถานการณ์สัน้ ๆ -นาฏยศัพท์ รูปแบบต่าง ๆ 2. แสดงท่าทางประกอบเพลงตาม ทา่ ทางประกอบเพลง แสดงท่าทางประกอบ รูปแบบนาฏศิลป์ เพลง 3. เปรียบเทยี บบทบาทหน้าทีข่ องผู้ บทบาทหน้าทีข่ องผู้ เปรยี บเทยี บบทบาท แสดงและผู้ชม แสดงและผู้ชม หน้าท่ขี องผูแ้ สดงและ ผูช้ ม 4. มสี ่วนในกจิ กรรมการแสดงท่ี กจิ กรรมการแสดงท่ี รำวงมาตรฐาน เหมาะสมกบั วัย เหมาะสมกบั วัย 5. บอกประโยชนข์ องการแสดง ประโยชน์ของการแสดง บอกประโยชนข์ องการ นาฏศิลปใ์ นชีวิตประจำวัน นาฏศลิ ป์ แสดงนาฏศิลป์ใน ชวี ติ ประจำวนั มาตรฐาน ศ 3.2 เขา้ ใจความสัมพันธร์ ะหว่างนาฏศลิ ป์ ประวตั ิศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณคา่ ของนาฏศลิ ป์ทีเ่ ป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ ภมู ปิ ัญญาไทยและสากลสากล ชนั้ ตวั ชวี้ ัด ผู้เรยี นรอู้ ะไร ผู้เรยี นทำอะไรได้ ป.3 1. เลา่ การแสดงนาฏศิลป์ทเ่ี คยเห็นใน การแสดงนาฏศลิ ป์ เลา่ การแสดงนาฏศลิ ป์ที่ ท้องถ่ิน 2. ระบุสิ่งทเ่ี ปน็ ลกั ษณะเด่นและ เคยเห็นในท้องถนิ่ เอกลักษณข์ องการแสดงนาฏศิลป์ ลักษณะเดน่ และ ระบสุ ง่ิ ท่เี ปน็ ลกั ษณะ 3. อธิบายความสำคญั ของการแสดง นาฏศิลป์ เอกลกั ษณ์ของการแสดง เด่นและเอกลกั ษณข์ อง นาฏศลิ ป์ การแสดงนาฏศลิ ป์ ความสำคญั ของการ อธิบายความสำคญั ของ แสดงนาฏศลิ ป์ การแสดงนาฏศลิ ป์

วิเคราะห์มาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ช้ีวัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 สาระที่ 1 ทัศนศลิ ป์ มาตรฐาน ศ 1.1 สร้างสรรคง์ านทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณค์ ุณค่างานทัศนศิลป์ ถา่ ยทอดความรู้สึก ความคิดตอ่ งานศิลปะอย่างอสิ ระชนื่ ชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจำวัน ชน้ั ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป.4 1. เปรยี บเทยี บรปู ลกั ษณะของรูปรา่ ง รูปรา่ ง รูปทรง ในธรรมชาติ ส่งิ แวดลอ้ มและ รูปทรงในธรรมชาติ สงิ่ แวดล้อมและ งานทัศนศิลป์ งานทศั นศลิ ป์ 2. อภิปรายเกีย่ วกับอทิ ธิพลของสี อทิ ธิพลของสี วรรณะอุ่น และวรรณะเยน็ วรรณะอนุ่ และสีวรรณะเย็นทมี่ ีตอ่ อารมณ์ของมนุษย์ 3. จำแนกทศั นธาตขุ องสง่ิ ต่าง ๆ เสน้ สี รปู ร่าง รูปทรง พ้นื ผวิ และพ้นื ทว่ี ่าง ในธรรมชาติสง่ิ แวดลอ้ มและงาน ในธรรมชาติส่ิงแวดล้อมและงานทศั นศิลป์ ทัศนศิลป์โดยเนน้ เรอ่ื งเสน้ สี รูปรา่ ง รูปทรงพนื้ ผิว และพ้ืนที่วา่ ง 4. มีทักษะพื้นฐานในการใชว้ สั ดุ การใชว้ สั ดุ อุปกรณ์สรา้ งงานพิมพภ์ าพ อุปกรณส์ รา้ งสรรคง์ านพมิ พภ์ าพ 5. มที ักษะพนื้ ฐานในการใชว้ สั ดุ การใชว้ สั ดุ อุปกรณ์ในการวาดภาพระบายสี อปุ กรณ์สร้างสรรค์งานวาดภาพ ระบายสี 6. บรรยายลกั ษณะของภาพโดยเน้น การจดั ระยะความลึก น้ำหนกั และแสงเงา เรอื่ งการจดั ระยะ ความลึก น้ำหนัก ในการวาดภาพ และแสงเงาในภาพ 7. วาดภาพระบายสี โดยใชส้ วี รรณะอุ่น การใชส้ วี รรณะอุน่ และใชส้ ีวรรณะเย็น วาด และสีวรรณะเยน็ ถา่ ยทอดความรู้สกึ ภาพถ่ายทอดความรสู้ ึกและจนิ ตนาการ และจนิ ตนาการ 8. เปรียบเทยี บความคิดความรู้สึกที่ ความเหมอื นและความแตกต่างในงานทศั นศิลป์ ถา่ ยทอดผา่ นงานทัศนศลิ ป์ของตนเอง ความคิดความรู้สึกที่ถา่ ยทอดในงานทศั นศิลป์ และบุคคลอน่ื

มาตรฐาน ศ ๑.๒ เขา้ ใจความสมั พนั ธร์ ะหว่างทัศนศลิ ป์ ประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรม เหน็ คณุ ค่า งานทัศนศลิ ปท์ ี่เปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ ภูมปิ ัญญาไทย และสากล ช้นั ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป.4 1. ระบุ และอภิปรายเกย่ี วกบั งานทัศนศลิ ป์ งานทศั นศลิ ปใ์ นวัฒนธรรมท้องถนิ่ ในเหตกุ ารณ์ และงานเฉลมิ ฉลอง ของ วัฒนธรรมในท้องถ่ิน 2. บรรยายเกย่ี วกบั งานทัศนศิลปท์ ี่มา งานทศั นศิลปจ์ ากวฒั นธรรมตา่ ง ๆ จากวฒั นธรรมต่าง ๆ

สาระที่ 2 ดนตรี มาตรฐาน ศ 1.1 สร้างสรรคง์ านทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์วิจารณ์คณุ คา่ งานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรสู้ ึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระชนื่ ชม และประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ชน้ั ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.4 1. เปรยี บเทยี บรูปลกั ษณะของรปู รา่ ง รูปรา่ ง รูปทรง ในธรรมชาติ สง่ิ แวดลอ้ มและ รปู ทรงในธรรมชาติ สิ่งแวดลอ้ มและงาน งานทศั นศิลป์ ทศั นศิลป์ 2. อภิปรายเกี่ยวกบั อทิ ธิพลของสี อทิ ธิพลของสี วรรณะอนุ่ และวรรณะเย็น วรรณะอุ่นและสีวรรณะเยน็ ท่มี ตี ่อ อารมณ์ของมนษุ ย์ 3. จำแนกทัศนธาตขุ องส่ิงตา่ ง ๆ เสน้ สี รูปร่าง รปู ทรง พนื้ ผวิ และพื้นทวี่ ่าง ในธรรมชาตสิ ่งิ แวดล้อมและงาน ในธรรมชาตสิ ิ่งแวดล้อมและงานทัศนศลิ ป์ ทัศนศลิ ปโ์ ดยเนน้ เรือ่ งเสน้ สี รูปร่าง รปู ทรงพน้ื ผวิ และพ้ืนทีว่ า่ ง 4. มีทักษะพน้ื ฐานในการใช้วสั ดุ การใชว้ สั ดุ อุปกรณ์สรา้ งงานพมิ พ์ภาพ อุปกรณส์ รา้ งสรรคง์ านพิมพภ์ าพ 5. มที ักษะพ้ืนฐานในการใชว้ ัสดุ การใช้วสั ดุ อุปกรณ์ในการวาดภาพระบายสี อปุ กรณส์ ร้างสรรคง์ านวาดภาพระบายสี 6. บรรยายลักษณะของภาพโดยเนน้ การจัดระยะความลึก น้ำหนักและแสงเงา เร่อื งการจัดระยะ ความลึก น้ำหนักและ ในการวาดภาพ แสงเงาในภาพ 7. วาดภาพระบายสี โดยใชส้ วี รรณะอุ่น การใช้สวี รรณะอุ่นและใช้สวี รรณะเย็น วาด และสีวรรณะเย็น ถา่ ยทอดความรูส้ กึ และ ภาพถ่ายทอดความรสู้ ึกและจินตนาการ จนิ ตนาการ 8. เปรียบเทียบความคิดความรู้สึกที่ ความเหมือนและความแตกตา่ งในงานทศั นศิลป์ ถา่ ยทอดผ่านงานทศั นศิลปข์ องตนเอง ความคิดความรสู้ กึ ที่ถา่ ยทอดในงานทัศนศิลป์ และบคุ คลอ่ืน

มาตรฐาน ศ ๑.๒ เขา้ ใจความสมั พนั ธร์ ะหว่างทัศนศลิ ป์ ประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรม เหน็ คณุ ค่า งานทัศนศลิ ปท์ ี่เปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ ภูมปิ ัญญาไทย และสากล ช้นั ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป.4 1. ระบุ และอภิปรายเกย่ี วกบั งานทัศนศลิ ป์ งานทศั นศลิ ปใ์ นวัฒนธรรมท้องถนิ่ ในเหตกุ ารณ์ และงานเฉลมิ ฉลอง ของ วฒั นธรรมในท้องถ่ิน 2. บรรยายเกย่ี วกบั งานทัศนศิลป์ที่มา งานทศั นศิลปจ์ ากวฒั นธรรมตา่ ง ๆ จากวฒั นธรรมต่าง ๆ

สาระท่ี 3 นาฏศิลป์ มาตรฐาน ศ 3.1 เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศลิ ปอ์ ยา่ งสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษว์ จิ ารณ์คุณค่า นาฏศิลป์ถ่ายทอดความรู้สึก ความคดิ ต่อดนตรีอยา่ งอสิ ระ ชน่ื ชม และประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ชั้น ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป.4 1. ระบุทักษะพืน้ ฐานทางนาฏศิลปแ์ ละ หลกั และวิธกี ารปฏิบัตนิ าฏศิลป์ การละครทใี ช้สื่อความหมายและอารมณ์ - การฝกึ ภาษาทา่ - การฝึกนาฏยศัพท์ 2. ใชภ้ าษาท่าและนาฏยศัพทห์ รือศพั ท์ การใชภ้ าษาทา่ และนาฏยศัพทป์ ระกอบเพลง ทางการละครงา่ ยๆ ในการถ่ายทอด ปลกุ ใจและเพลงพระราชนิพนธ์ เรื่องราว การใช้ศพั ท์ทางการละครในการถา่ ยทอด เรื่องราว 3. แสดงการเคล่ือนไหวในจังหวะต่าง ๆ การเคลื่อนที่ข้ึน-ลงของทำนอง ตามความคดิ ของตน รูปแบบจงั หวะของทำนองจังหวะ รูปแบบจงั หวะ ความชา้ -เรว็ ของจงั หวะ 4. แสดงนาฏศิลป์เป็นคู่และหมู่ การแสดงนาฏศิลป์ประเภทคูแ่ ละหมู่ - รำวงมาตรฐาน - ระบำ 5. เล่าส่ิงที่ชืน่ ชอบในการแสดงโดยเน้น การเล่าเร่ือง จดุ สำคญั ของเรอ่ื งและลักษณะเด่นของ - จุดสำคัญ ตัวละคร - ลกั ษณะเด่นของตวั ละคร มาตรฐาน ศ 3.2 เขา้ ใจความสัมพันธร์ ะหว่างนาฏศลิ ป์ ประวัติศาสตร์ และวฒั นธรรม เหน็ คณุ คา่ ของนาฏศลิ ป์ทเ่ี ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภมู ิปญั ญาทอ้ งถนิ่ ภมู ิปัญญาไทยและสากล ชนั้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป.4 1. อธบิ ายประวัติความเปน็ มาของนาฏศิลป์ ความเป็นมาของนาฏศิลป์ หรือชุดการแสดงอย่างงา่ ย ๆ ทมี่ าของชุดการแสดง 2. เปรยี บเทียบการแสดงนาฏศิลป์กบั การชมการแสดง การแสดงทีม่ าจากวฒั นธรรมอนื่ - นาฏศลิ ป์ - การแสดงของทอ้ งถ่ิน 3. อธบิ ายความสำคญั ของการแสดง ความเปน็ มาของนาฏศิลป์ ความเคารพในการเรียนและการแสดง - การทำความเคารพก่อนเรียนและกอ่ นแสดง นาฏศลิ ป์ 4. ระบเุ หตผุ ลท่คี วรรักษาและสืบทอด ความเปน็ มาของนาฏศลิ ป์ การแสดงนาฏศิลป์ - คุณค่า

วเิ คราะห์ตัวชีว้ ัดเพ่ือจดั การเรยี นรู้ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4 สาระท่ี 1 ทัศนศิลป์ มาตรฐาน ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศลิ ป์ตามจนิ ตนาการ และความคิดสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษว์ ิจารณค์ ุณคา่ งานทศั นศิลป์ ถ่ายทอดความรสู้ กึ ความคิดต่องานศลิ ปะอยา่ งอิสระชื่นชม และประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจำวนั ชัน้ ตัวชี้วัด ผ้เู รียนร้อู ะไร ผู้เรยี นทำอะไรได้ ป.4 1. เปรยี บเทยี บรปู ลักษณะของรูปรา่ ง รูปลกั ษณะของรูปร่าง เปรยี บเทยี บรูปลักษณะ รูปทรงในธรรมชาติ สง่ิ แวดล้อม รปู ทรง และงานทัศนศลิ ป์ ของรปู รา่ ง รูปทรงใน ธรรมชาติ สงิ่ แวดลอ้ ม และงานทศั นศลิ ป์ 2. อภิปรายเกี่ยวกบั อิทธพิ ลของสี อทิ ธิพลของสีวรรณะอ่นุ อภิปรายเก่ียวกับอิทธิพล วรรณะอ่นุ และสีวรรณะเย็นท่มี ีต่อ อารมณข์ องมนุษย์ และสีวรรณะเยน็ ของสีวรรณะอนุ่ และสี วรรณะเย็น 3. จำแนกทัศนธาตุของส่ิงตา่ ง ๆ ทศั นธาตุของส่งิ ต่าง ๆ จำแนกทัศนธาตุ ในธรรมชาตสิ ิ่งแวดลอ้ มและงาน ในธรรมชาตสิ ิง่ แวดล้อม ทศั นศิลป์โดยเน้นเรือ่ งเส้น สี รปู รา่ ง และงานทศั นศลิ ป์ รูปทรงพ้นื ผิว และพื้นท่ีว่าง 4. มีทกั ษะพ้ืนฐานในการใช้วสั ดุ การใช้วสั ดุ อุปกรณ์ สรา้ งสรรค์งานพมิ พภ์ าพ อุปกรณ์สร้างสรรค์งานพิมพ์ภาพ พมิ พ์ภาพ 5. มีทักษะพืน้ ฐานในการใชว้ สั ดุ การใชว้ ัสดุ อปุ กรณ์ วาดภาพระบายสี อปุ กรณส์ ร้างสรรคง์ านวาดภาพระบายสี วาดภาพระบายสี 6. บรรยายลักษณะของภาพโดยเนน้ การจัดระยะ ความลึก บรรยายลักษณะของ เรื่องการจดั ระยะ ความลกึ น้ำหนกั และ น้ำหนักและแสงเงาใน ภาพ แสงเงาในภาพ ภาพ 7. วาดภาพระบายสี โดยใช้สวี รรณะอนุ่ สวี รรณะอนุ่ และสี วาดภาพระบายสี และสีวรรณะเย็น ถา่ ยทอดความร้สู ึกและ วรรณะเย็น จินตนาการ 8. เปรยี บเทยี บความคิดความรูส้ ึก ถ่ายทอดความคดิ เปรียบเทียบความคิด ทถี่ ่ายทอดผ่านงานทศั นศิลปข์ องตนเอง ความรู้สกึ ผา่ นงาน ความร้สู ึกถ่ายทอดผ่าน และบคุ คลอ่ืน ทศั นศิลป์ งานทศั นศลิ ป์

ช้ัน ตวั ช้วี ัด ผู้เรียนรอู้ ะไร ผู้เรยี นทำอะไรได้ เลือกใช้วรรณะสี ป.4 9. เลอื กใช้วรรณะสีเพอ่ื ถ่ายทอดอารมณ์ วรรณะสีเพ่อื ถ่ายทอด ความรู้สกึ ในการสรา้ งงานทศั นศลิ ป์ อารมณ์ ความรู้สึกใน การสรา้ งงานทศั นศิลป์ มาตรฐาน ศ 1.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหวา่ งทัศนศิลป์ ประวตั ศิ าสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณคา่ งานทัศนศลิ ป์ที่เปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ ภูมิปญั ญาไทย และสากล ชั้น ตวั ชว้ี ัด ผู้เรยี นรอู้ ะไร ผ้เู รียนทำอะไรได้ ป.4 1. ระบุ และอภิปรายเกยี่ วกบั งานทัศนศิลป์ งานทัศนศิลป์ ใน ระบุ และอภปิ รายงาน ในเหตกุ ารณ์ และงานเฉลมิ ฉลองของ เหตุการณ์ และงานเฉลมิ ทัศนศิลป์ วฒั นธรรมในทอ้ งถน่ิ ฉลองของวัฒนธรรมใน ท้องถน่ิ 2. บรรยายเกีย่ วกบั งานทัศนศิลป์ งานทัศนศิลป์ท่มี าจาก บรรยายเก่ยี วกบั งาน ท่ีมาจากวฒั นธรรมต่าง ๆ วฒั นธรรมต่าง ๆ ทศั นศิลป์

สาระท่ี 2 ดนตรี มาตรฐาน ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรอี ยา่ งสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษ์วจิ ารณ์คณุ คา่ ดนตรี ถ่ายทอดความรู้สกึ ความคดิ ตอ่ ดนตรีอย่างอิสระ ชน่ื ชม และประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจำวนั ช้นั ตวั ชี้วัด ผเู้ รียนรู้อะไร ผ้เู รยี นทำอะไรได้ ป.4 1. บอกประโยคเพลงอยา่ งง่าย ประโยคเพลงอยา่ งงา่ ย บอกประโยคเพลงอย่าง ง่าย 2. จำแนกประเภทของเคร่อื งดนตรที ี่ใช้ ประเภทของเครื่องดนตรี จำแนกประเภทของ ท่ีใช้ในเพลงทีฟ่ งั เคร่อื งดนตรี ในเพลงท่ีฟงั 3. ระบุทิศทางการเคลอ่ื นท่ขี นึ้ -ลงงา่ ย ๆ ทศิ ทางการเคล่ือนทข่ี ้นึ - ระบทุ ิศทางการเคลอื่ นท่ี ของทำนอง รูปแบบจังหวะ และความเร็ว ลงงา่ ย ๆ ของทำนอง ขนึ้ -ลงง่าย ๆ ของ ของจงั หวะในเพลงท่ีฟัง รปู แบบจงั หวะ ในเพลง ทำนอง รปู แบบจงั หวะ ทีฟ่ ัง 4. อา่ น เขยี นโนต้ ดนตรไี ทยและสากล โน้ตดนตรไี ทยและสากล อา่ น เขยี นโนต้ ดนตรไี ทย และสากล 5. ร้องเพลงโดยใช้ชว่ งเสียงทเี่ หมาะสม ชว่ งเสยี งท่เี หมาะสมกบั ร้องเพลง ตนเอง กบั ตนเอง 6. ใช้และเกบ็ เครอ่ื งดนตรีอยา่ งถูกตอ้ ง การใช้และเก็บเครอ่ื ง ใชแ้ ละเก็บเครอื่ งดนตรี ดนตรี อยา่ งถูกตอ้ งและ และปลอดภยั ปลอดภัย 7. ระบุวา่ ดนตรีสามารถใช้ในการสื่อ การใชด้ นตรีในการส่ือ ระบวุ า่ ดนตรสี ามารถใช้ เร่ืองราว เร่ืองราว ในการส่อื เรื่องราว มาตรฐาน ศ 2.2 เขา้ ใจความสมั พนั ธ์ระหวา่ งดนตรี ประวตั ศิ าสตร์ และวัฒนธรรม เหน็ คุณค่า ของดนตรีทเ่ี ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ัญญาท้องถิน่ ภูมปิ ัญญาไทย และสากล ช้ัน ตัวชี้วัด ผ้เู รียนร้อู ะไร ผูเ้ รียนทำอะไรได้ ป.4 1. บอกแหลง่ ที่มาและความสัมพันธ์ของวถิ ี ความสัมพนั ธ์ของวถิ ีชวี ติ บอกแหลง่ ทมี่ าและ ชีวติ ไทย ที่สะท้อนในดนตรแี ละเพลงทอ้ งถิ่น ไทย ทส่ี ะท้อนในดนตรี ความสมั พันธข์ องวิถชี ีวติ และเพลงทอ้ งถิ่น ไทย ทีส่ ะทอ้ นในดนตรี และเพลงทอ้ งถนิ่ 2. ระบคุ วามสำคัญในการอนรุ กั ษ์ การอนรุ ักษ์สง่ เสรมิ ระบุความสำคัญในการ สง่ เสริมวฒั นธรรมทางดนตรี วัฒนธรรมทางดนตรี อนรุ ักษส์ ่งเสริม วัฒนธรรมทางดนตรี

สาระที่ 3 นาฏศลิ ป์ มาตรฐาน ศ 3.1 เขา้ ใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์อยา่ งสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษว์ จิ ารณค์ ุณค่า นาฏศลิ ปถ์ ่ายทอดความรสู้ ึก ความคิดต่อดนตรอี ยา่ งอสิ ระ ชนื่ ชม และประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจำวนั ช้นั ตัวชวี้ ัด ผู้เรยี นร้อู ะไร ผเู้ รยี นทำอะไรได้ ป.4 1. ระบุทักษะพืน้ ฐานทางนาฏศิลป์และ ทักษะพน้ื ฐานทาง ระบุทักษะพ้นื ฐานทาง การละครทใี ช้สือ่ ความหมายและอารมณ์ นาฏศลิ ป์และการละคร นาฏศิลปแ์ ละการละคร 2. ใช้ภาษาทา่ และนาฏยศัพทห์ รือศัพท์ ภาษาท่าและนาฏยศพั ท์ ใชภ้ าษาทา่ และนาฏย ศพั ท์ ในการถา่ ยทอด ทางการละครง่ายๆ ในการถ่ายทอด เรื่องราว เร่ืองราว 3. แสดงการเคลอ่ื นไหวในจังหวะต่าง ๆ การเคลอื่ นไหวในจงั หวะ แสดงการเคลอื่ นไหวใน ตามความคิดของตน ต่าง ๆ จงั หวะตา่ ง ๆ ตาม ความคิดของตน 4. แสดงนาฏศลิ ป์เปน็ คแู่ ละหมู่ นาฏศลิ ปเ์ ปน็ คูแ่ ละหมู่ แสดงนาฏศลิ ป์เปน็ คู่ และหมู่ 5. เล่าสิ่งท่ีช่ืนชอบในการแสดงโดยเนน้ จดุ สำคญั ของเร่ืองและ เลา่ ส่งิ ท่ีช่นื ชอบในการ จดุ สำคัญของเรื่องและลักษณะเด่นของ ลกั ษณะเดน่ ของตัว แสดง ตวั ละคร ละคร มาตรฐาน ศ 3.2 เข้าใจความสมั พนั ธ์ระหว่างนาฏศลิ ป์ ประวตั ิศาสตร์ และวัฒนธรรม เหน็ คณุ คา่ ของนาฏศิลป์ทเี่ ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ ภมู ปิ ัญญาไทยและสากลสากล ช้ัน ตัวชี้วัด ผเู้ รยี นรู้อะไร ผูเ้ รียนทำอะไรได้ ป.4 1. อธบิ ายประวัตคิ วามเปน็ มาของนาฏศลิ ป์ ประวัติความเป็นมาของ อธิบายประวตั คิ วามเป็นมา ของนาฏศลิ ป์ หรือชุดการ หรือชดุ การแสดงอย่างงา่ ย ๆ นาฏศิลป์ หรือชุดการ แสดงอยา่ งงา่ ย ๆ แสดงอย่างงา่ ย ๆ เปรียบเทียบการแสดง นาฏศลิ ป์กบั การแสดง 2. เปรยี บเทยี บการแสดงนาฏศิลป์กับ การแสดงนาฏศิลป์กับ ทม่ี าจากวัฒนธรรมอน่ื การแสดงท่มี าจากวัฒนธรรมอนื่ การแสดงที่มาจาก อธิบายความสำคัญของ การแสดง ความเคารพ วัฒนธรรมอนื่ ในการเรียนและการ แสดงนาฏศิลป์ 3. อธบิ ายความสำคญั ของการแสดง การแสดง ความเคารพ ระบุเหตผุ ลท่ีควรรักษา ความเคารพในการเรียนและการแสดง ในการเรียนและการ และสืบทอดการแสดง นาฏศิลป์ นาฏศิลป์ แสดงนาฏศลิ ป์ 4. ระบเุ หตุผลที่ควรรักษาและสืบทอด การรักษาและสบื ทอด การแสดงนาฏศิลป์ การแสดงนาฏศิลป์

วเิ คราะห์มาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชีว้ ัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลาง ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 สาระท่ี 1 ทัศนศิลป์ มาตรฐาน ศ 1.1 สร้างสรรคง์ านทัศนศิลป์ตามจนิ ตนาการ และความคิดสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษว์ ิจารณค์ ุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดตอ่ งานศลิ ปะอยา่ งอสิ ระชื่นชม และ ประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจำวัน ชน้ั ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป.5 1. บรรยายเก่ียวกบั จังหวะตำแหน่ง จังหวะ ตำแหน่งของส่งิ ตา่ ง ๆ ในสง่ิ แวดล้อมและ ของสิ่งตา่ ง ๆ ที่ปรากฏในสงิ่ แวดล้อม งานทัศนศิลป์ และงานทัศนศิลป์ 2. เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง ความแตกต่างระหว่างงานทัศนศลิ ป์ งานทัศนศิลป์ ทส่ี รา้ งสรรคด์ ้วยวัสดุ อุปกรณ์และวิธกี ารที่ต่างกัน 3. วาดภาพ โดยใช้เทคนคิ ของแสงเงา แสงเงา นำ้ หนกั และวรรณะสี นำ้ หนกั และวรรณะสี 4. สร้างสรรค์งานป้ันจาก ดินน้ำมัน หรือ การสรา้ งงานป้ันเพอื่ ถา่ ยทอดจนิ ตนาการด้วย ดนิ เหนียว โดยเนน้ การถา่ ยทอด การใช้ดนิ น้ำมนั หรอื ดนิ เหนียว จนิ ตนาการ 5. สร้างสรรค์งานพมิ พภ์ าพ โดยเน้น การจดั ภาพในงานพิมพภ์ าพ การจัดวางตำแหน่งของสิง่ ตา่ ง ๆ ในภาพ 6. ระบปุ ัญหาในการจัดองค์ประกอบศิลป์ การจัดองคป์ ระกอบศลิ ปแ์ ละการสือ่ ความหมาย และการสื่อความหมายในงานทัศนศลิ ป์ ในงานทัศนศลิ ป์ ของตนเอง และบอกวิธีการปรบั ปรงุ งาน ให้ดีข้นึ 7. บรรยายประโยชน์และคณุ ค่า ประโยชนแ์ ละคุณค่าของงานทศั นศิลป์ ของงานทัศนศลิ ปท์ ีม่ ีผลตอ่ ชวี ติ ของคน ในสงั คม

มาตรฐาน ศ 1.2 เข้าใจความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งทัศนศลิ ป์ ประวัตศิ าสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณคา่ งานทศั นศลิ ป์ท่เี ปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน ภูมิปญั ญาไทย และสากล ชน้ั ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ลักษณะรูปแบบของงานทศั นศิลป์ ป.5 1. ระบุ และบรรยายเก่ียวกบั ลกั ษณะ รูปแบบของงานทัศนศิลป์ในแหลง่ เรียนรู้ งานทศั นศิลป์ท่ีสะท้อนวฒั นธรรมและ หรอื นิทรรศการศลิ ปะ ภูมปิ ญั ญาในทอ้ งถนิ่ 2. อภปิ รายเก่ียวกับงานทัศนศลิ ป์ ทีส่ ะทอ้ นวัฒนธรรมและภูมปิ ัญญา ในท้องถ่นิ

สาระท่ี 2 ดนตรี มาตรฐาน ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอยา่ งสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษว์ จิ ารณ์ คณุ ค่าดนตรี ถา่ ยทอด ความรสู้ กึ ความคดิ ต่อดนตรอี ย่างอสิ ระ ชนื่ ชม และประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตประจำวัน ชน้ั ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป.5 1. ใช้เคร่อื งดนตรบี รรเลงจงั หวะและทำนอง - การบรรเลงเครอื่ งประกอบจงั หวะ - การบรรเลงเคร่ืองดำเนนิ ทำนอง 2. จำแนกลักษณะของเสยี งขบั รอ้ งและเคร่อื งดนตรี - ลกั ษณะของเสยี งนกั ร้องกลมุ่ ตา่ ง ๆ ทอี่ ย่ใู นวงดนตรปี ระเภทตา่ ง ๆ - ลักษณะเสยี งของวงดนตรปี ระเภทต่าง ๆ 3. ระบุองค์ประกอบดนตรีในเพลงท่ีใชใ้ นการสอ่ื การส่ืออารมณ์ของบทเพลง ดว้ ยองคป์ ระกอบดนตรี อารมณ์ - จงั หวะกับอารมณ์ของบทเพลง - ทำนองกบั อารมณข์ องบทเพลง 4.อา่ น เขยี น โนต้ ดนตรีไทยและสากล 5 ระดบั เสียง - เคร่ืองหมายและสญั ลักษณ์ทางดนตรี บนั ไดเสียง 5 เสยี ง Pentatonic scale โน้ตเพลงในบนั ไดเสียง 5 เสียง Pentatonic scale 5. ร้องเพลงไทยหรอื เพลงสากลหรอื เพลงไทยสากล - การร้องเพลงไทยในอัตราจังหวะสองชน้ั ทเ่ี หมาะสมกับวยั - การร้องเพลงสากล หรอื ไทยสากล - การร้องเพลงประสานเสยี งแบบ Canon Round 6. ด้นสดงา่ ยๆ โดยใชป้ ระโยคเพลงแบบถามตอบ - การสรา้ งสรรคป์ ระโยคเพลงถาม - ตอบ 7. ใชด้ นตรีรว่ มกบั กจิ กรรมในการแสดงออกตาม - การบรรเลงดนตรปี ระกอบกจิ กรรม นาฏศิลป์ จินตนาการ - การสร้างสรรค์เสยี งประกอบการเลา่ เร่ือง มาตรฐาน ศ 2.2 เขา้ ใจความสัมพันธร์ ะหว่างดนตรี ประวตั ศิ าสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคณุ ค่าของดนตรีทเ่ี ป็นมรดกทาง วฒั นธรรม ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ภูมปิ ญั ญาไทยและสากล ชน้ั ตัวชว้ี ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป.5 1. อธบิ ายความสัมพนั ธร์ ะหว่างดนตรกี บั ประเพณีใน ดนตรกี บั งานประเพณี วฒั นธรรมทีต่ ่างกัน - บทเพลงในงานประเพณใี นท้องถิ่น - บทบาทของดนตรีในแต่ละประเพณี 2. อธิบายคณุ ค่าของดนตรที ม่ี าจากวัฒนธรรมท่ี ตา่ งกัน คุณค่าของดนตรจี ากแหล่งวฒั นธรรม - คณุ ค่าทางสงั คม - คุณคา่ ทางประวตั ิศาสตร์

สาระท่ี 3 นาฏศิลป์ มาตรฐาน ศ 3.1 เขา้ ใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษว์ ิจารณ์คุณค่า นาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สกึ ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจำวนั ชัน้ ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ป.5 1.บรรยายองคป์ ระกอบนาฏศลิ ป์ องค์ประกอบของนาฏศลิ ป์ - จงั หวะ - ภาษาทา่ - ทำนอง - นาฏยศัพท์ - คำรอ้ ง - อุปกรณ์ 2. แสดงทา่ ทางประกอบเพลง หรือเรอ่ื งราว การประดิษฐ์ทา่ ทางประกอบเพลง หรอื ตามความคิดของตน ท่าทางประกอบเร่อื งราว 3. แสดงนาฏศลิ ป์ โดยเน้นการใช้ ภาษาท่า การแสดงนาฏศิลป์ และนาฏยศัพทใ์ นการสือ่ ความหมายและการ - ระบำ แสดงออก - ฟอ้ น - รำวงมาตรฐาน 4. มสี ว่ นร่วมในกลุ่มกบั การเขยี น เคา้ โครง องค์ประกอบของละคร เรือ่ งหรอื บทละครสน้ั ๆ - การเลอื กและเขียนเคา้ โครงเรอื่ ง - บทละครสัน้ ๆ 5. เปรียบเทียบการแสดงนาฏศิลป์ ชุดตา่ ง ๆ ทม่ี าของการแสดงนาฏศิลป์ชุดต่าง ๆ นาฏศิลป์ นาฏศิลป์พนื้ เมอื ง การละเล่น ของหลวง การ แสดงโขน และละคร 6. บอกประโยชนท์ ไี่ ด้รบั จาก การชมการแสดง - หลกั การชมการแสดง - การถ่ายทอดความรู้สึกและคุณค่า ของการ แสดงนาฏศิลป์ โขน ละคร มาตรฐาน ศ 3.2 เขา้ ใจความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งนาฏศลิ ป์ ประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรม เหน็ คุณคา่ ของ นาฏศลิ ปท์ ่ีเป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปัญญาท้องถนิ่ ภูมปิ ัญญาไทยและสากล ชนั้ ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ป.5 1. เปรยี บเทยี บการแสดงประเภทต่าง ๆ ของไทย การแสดงนาฏศิลป์ประเภทต่าง ๆ ในแต่ละท้องถิ่น 2. ระบหุ รอื แสดงนาฏศลิ ป์ นาฏศิลป์ พ้นื บา้ น การแสดงนาฏศลิ ป์ประเภทตา่ ง ๆ ทสี่ ะทอ้ นถึงวฒั นธรรม และประเพณี

วิเคราะหต์ วั ชี้วดั เพอื่ จัดการเรียนรู้ ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 5 สาระที่ 1 ทัศนศิลป์ มาตรฐาน ศ 1.1 สรา้ งสรรค์งานทัศนศลิ ป์ตามจินตนาการ และความคิดสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณค์ ณุ คา่ งานทศั นศิลป์ ถา่ ยทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอสิ ระช่นื ชม และประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจำวนั ชน้ั ตัวช้วี ัด ผเู้ รียนร้อู ะไร ผเู้ รียนทำอะไรได้ ป.5 1. บรรยายเกยี่ วกบั จังหวะตำแหนง่ จงั หวะ ตำแหน่งของส่ิง บรรยายจงั หวะตำแหนง่ ของส่งิ ตา่ ง ๆ ทปี่ รากฏในส่ิงแวดลอ้ ม ต่าง ๆ ในส่ิงแวดลอ้ มและ และงานทศั นศลิ ป์ งานทศั นศิลป์ ของสงิ่ ตา่ ง ๆ ใน สิ่งแวดล้อม และงาน ทศั นศิลป์ 2. เปรยี บเทียบความแตกต่างระหวา่ ง ความแตกต่างระหว่าง เปรียบเทียบความ งานทัศนศิลป์ ทีส่ ร้างสรรคด์ ว้ ยวัสดุ งานทศั นศลิ ป์ อุปกรณแ์ ละวิธีการทต่ี ่างกัน แตกต่างงานทศั นศลิ ป์ ท่ี สรา้ งสรรคด์ ้วยวัสดุ อปุ กรณ์และวิธีการที่ ต่างกัน 3. วาดภาพ โดยใช้เทคนิคของแสงเงา แสงเงา น้ำหนกั และ วาดภาพ โดยใชเ้ ทคนคิ นำ้ หนัก และวรรณะสี วรรณะสี ของแสงเงา นำ้ หนกั และวรรณะสี 4. สร้างสรรค์งานปัน้ จาก ดินนำ้ มนั หรือ ประติมากรรม และ สร้างสรรคง์ านป้นั จาก ดนิ เหนยี ว โดยเน้นการถา่ ยทอดลกั หลักการปัน้ ดนิ น้ำมัน จินตนาการ 5. สร้างสรรค์งานพิมพภ์ าพ โดยเน้น การจัดภาพในงานพมิ พ์ สรา้ งสรรคง์ านพมิ พภ์ าพ การจัดวางตำแหน่งของสิ่งตา่ ง ๆ ในภาพ ภาพ 6. ระบปุ ญั หาในการจัดองค์ประกอบศิลป์ การจัดองคป์ ระกอบ ระบุปญั หาในการจัด และการสือ่ ความหมายในงานทศั นศลิ ป์ ศิลป์และการสื่อ องค์ประกอบศิลป์ ของตนเอง และบอกวิธีการปรบั ปรุงงาน ความหมาย ใหด้ ีขึน้ 7. บรรยายประโยชน์และคุณคา่ ประโยชนแ์ ละคณุ คา่ ของ บรรยายประโยชน์และ ของงานทัศนศลิ ปท์ ี่มีผลต่อชวี ติ ของคน งานทศั นศลิ ป์ คุณค่าของงานทศั นศิลป์ ในสังคม

มาตรฐาน ศ 1.2 เข้าใจความสมั พนั ธ์ระหวา่ งทัศนศลิ ป์ ประวตั ิศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า งานทศั นศลิ ปท์ ่ีเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ญั ญาท้องถ่นิ ภมู ปิ ัญญาไทย และสากล ชั้น ตวั ชว้ี ัด ผเู้ รยี นรอู้ ะไร ผูเ้ รียนทำอะไรได้ ลกั ษณะรปู แบบของงาน ป.5 1. ระบุ และบรรยายเกย่ี วกบั ลักษณะ ทศั นศลิ ป์ ระบุ บรรยายลักษณะ รปู แบบของงานทัศนศิลป์ในแหลง่ เรียนรู้ รูปแบบของงานทัศนศิลป์ หรอื นิทรรศการศลิ ปะ งานทัศนศลิ ป์ที่สะท้อน ในแหลง่ เรียนรู้ วฒั นธรรมและ 2. อภปิ รายเกีย่ วกับงานทศั นศิลป์ ภูมิปญั ญาในทอ้ งถน่ิ อภิปรายงานทศั นศิลป์ ท่สี ะท้อนวฒั นธรรมและภูมิปัญญา ที่สะทอ้ นวัฒนธรรมและ ในท้องถ่ิน ภมู ิปญั ญา ท้องถ่ิน

สาระที่ 2 ดนตรี มาตรฐาน ศ 2.1 เขา้ ใจและแสดงออกทางดนตรอี ย่างสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ คณุ ค่าดนตรี ถ่ายทอดความร้สู ึก ความคิดตอ่ ดนตรอี ยา่ งอิสระ ช่ืนชม และประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ช้ัน ตัวชีว้ ัด ผู้เรยี นรู้อะไร ผ้เู รียนทำอะไรได้ ป.5 1. ใช้เคร่ืองดนตรบี รรเลงจังหวะและ ประเภทเคร่ืองดนตรไี ทย จำแนกประเภทเครื่อง ทำนอง และสากล ดนตรไี ทยและสากล 2. จำแนกลักษณะของเสียงขับรอ้ งและ - วงดนตรีไทยและสากล จำแนกลักษณะเสียงขบั เครอ่ื งดนตรีทีอ่ ยใู่ นวงดนตรปี ระเภทต่าง ๆ การขับรอ้ งใน ร้องในวงดนตรีไทยและ - วงดนตรไี ทยและสากล สากล 3. ระบุองคป์ ระกอบดนตรใี นเพลงที่ใชใ้ น องคป์ ระกอบดนตรี ระบอุ งค์ประกอบดนตรี การสื่ออารมณ์ กบั การสื่ออารมณ์ 4.อ่าน เขยี น โน้ตดนตรไี ทยและสากล 5 โนต้ ดนตรไี ทยและดนตรี อา่ น เขยี น โน้ตดนตรี สากล ไทยและดนตรสี ากล ระดับเสียง 5. รอ้ งเพลงไทยหรือเพลงสากลหรือเพลง หลักการขบั ร้องเพลงไทย ขบั รอ้ งเพลงไทยหรือ เพลงสากล และเพลง เพลงสากลทช่ี อบ 1 ไทยสากลท่ีเหมาะสมกับวัย ไทยสากล เพลง 6. ด้นสดงา่ ยๆ โดยใชป้ ระโยคเพลงแบบ หลักการดน้ สดและการ อภปิ ราบประโยคเพลง ถามตอบ ใช้ประโยคเพลงแบบ แบบถาม – ตอบ ถาม – ตอบ 7. ใชด้ นตรรี ว่ มกับกิจกรรมในการ - หลกั การขบั รอ้ งเพลง - ขับรอ้ งเพลงไทยหรอื แสดงออกตามจินตนาการ ไทยและเพลงสากล เพลงสากลท่ชี อบ 1 - การพากย์เสยี งตัวละคร เพลง - พากยเ์ สยี งตวั ละครที่ เหมาะสมกบั ตนเอง มาตรฐาน ศ 2.2 เข้าใจความสมั พันธร์ ะหวา่ งดนตรี ประวตั ิศาสตร์ และวฒั นธรรม เหน็ คุณคา่ ของดนตรที ่ี เป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน ภูมปิ ญั ญาไทยและสากล ช้นั ตวั ช้ีวัด ผ้เู รียนรูอ้ ะไร ผเู้ รยี นทำอะไรได้ ป.5 1. อธิบายความสมั พันธ์ระหว่างดนตรีกับ - ดนตรกี ับประเพณี ทอ้ งถิ่นภาคตา่ ง ๆของ - ระบุ และอภปิ ราย ประเพณใี นวฒั นธรรมท่ีตา่ งกัน ไทย ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง ดนตรแี ละประเพณี 2. อธบิ ายคุณค่าของดนตรีท่มี าจาก - คณุ ค่าของดนตรีจาก ทอ้ งถน่ิ ภาคตา่ ง ๆ ของ วัฒนธรรมทีต่ ่างกนั แหลง่ วฒั นธรรมตา่ ง ๆ ไทย - ระบุ และอภิปรายคุณค่า ของดนตรจี ากแหล่งจาก วฒั นธรรมต่าง ๆ