Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore sarตัวบ่งชี้ที่2

sarตัวบ่งชี้ที่2

Published by Krulekcmu, 2017-04-25 01:40:01

Description: sarตัวบ่งชี้ที่2

Search

Read the Text Version

คํานํา ด้วยกระทรวงศึกษาธิการได้กําหนดกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ส่วนท่ี ๒ การอาชีวศึกษาข้อ ๒๒ ให้สถานศึกษาอาชีวศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกบั การประกันคณุ ภาพภายในการอาชีวศกึ ษา โดยจะต้องจัดทาํ รายงานประจําปเี สนอต่อหนว่ ยงานต้นสงั กดั หนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวขอ้ ง และเพื่อเตรียมความพร้อมรบั การประเมินคณุ ภาพภายนอก รายงานประเมินคุณภาพภายในฉบับน้ี เป็นรายงานผลการปฏิบัติงานประจําปีต่อหน่วยงานต้นสังกัดและชุมชนที่เก่ียวข้องกับการศึกษา ของวิทยาลัยการอาชีพบัวใหญ่ ประจําปีการศึกษา ๒๕๕๘ และใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาวิทยาลัย ซึ่งได้ดําเนินการประกันคุณภาพภายในกรอบของมาตรฐานการอาชีวศึกษา ซ่ึงประกอบด้วย ๘ มาตรฐาน ๔๕ ตัวบ่งชี้ ซ่ึงได้ทําการประเมินตนเองโดยใช้เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลตามเกณฑ์การประเมินตนเองตามตัวบ่งชี้ มาตรฐานการอาชีวศึกษา และสรุปผลการดําเนนิ งานเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแลว้ เพ่ือนาํ ไปสกู่ ารพฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษา วิทยาลัยการอาชีพบัวใหญ่ หวังว่ารายงานประเมินคุณภาพภายใน ประจําปีการศึกษา ๒๕๕๘ฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ตอ่ ผู้เกย่ี วข้องเพือ่ เป็นแนวทางในการพัฒนาสถานศึกษาตอ่ ไป งานประกันคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ฝา่ ยแผนงานและความรว่ มมอื วิทยาลยั การอาชีพบวั ใหญ่

สารบัญ หน้าคํานาํ กสารบญั ขตอนท่ี ๑ บทสรุปสาํ หรบั ผู้บรหิ าร ๑ตอนที่ ๒ บทสรปุ ผลการดําเนนิ งานของสถานศึกษาตามตัวบง่ ชกี้ ารประเมนิ คณุ ภาพภายนอก ๑๐ตอนท่ี ๓ การดาํ เนินงานของสถานศกึ ษา ๑. ปรัชญา วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกจิ ของสถานศกึ ษา ๒๐ ๒. ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษา ๒๑ ๓. มาตรการป้องกนั และควบคมุ ความเสีย่ ง ๒๓ ๔. ระบบโครงสร้างการบริหาร ๒๔ตอนที่ ๔ การดําเนนิ งานตามมาตรฐานและตัวบง่ ช้ี มาตรฐานท่ี ๑ ผเู้ รยี นและผู้สําเรจ็ การศกึ ษาอาชวี ศกึ ษา ๒๕ มาตรฐานที่ ๒ หลกั สูตรและการจดั การเรียนการสอนอาชีวศกึ ษา ๔๐ มาตรฐานท่ี ๓ การบริหารจดั การอาชวี ศึกษา ๔๗ มาตรฐานที่ ๔ การบริการวชิ าการและวชิ าชีพ ๖๒ มาตรฐานท่ี ๕ นวตั กรรม สง่ิ ประดษิ ฐ์ งานสรา้ งสรรค์ หรืองานวิจยั ๖๔ มาตรฐานที่ ๖ การปลูกฝงั จติ สาํ นกึ และเสรมิ สร้างความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ๖๗ มาตรฐานที่ ๗ การประกนั คุณภาพการศึกษา ๗๒ มาตรฐานท่ี ๘ การจัดการฝึกอบรมหลักสูตรวิชาชพี ระยะส้ัน ๗๕ตอนท่ี ๕ สรปุ และแนวทางการพัฒนาสถานศึกษาในอนาคต ๑. สรุปผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐาน ๘๘ ๒. แนวทางการพัฒนาสถานศกึ ษาในอนาคต ๘๘ ๓. สงิ่ ท่ตี อ้ งการความชว่ ยเหลือจากหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วข้อง ๙๐ภาคผนวก - คําสงั่ วิทยาลยั การอาชีพบัวใหญ่

ตอนที่ ๑ บทสรปุ สาํ หรับผ้บู รหิ าร๑. ขอ้ มลู เก่ยี วกับสถานศึกษา ๑.๑ ประวตั ขิ องสถานศกึ ษา วิทยาลัยการอาชีพบัวใหญ่ อําเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา เป็นสถานศึกษาในสังกัดอาชีวศึกษา จังหวัดนครราชสีมา สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศจดั ตง้ั เมอื่ วันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๓๕ บนพ้ืนท่ีสาธารณประโยชน์ของตําบลหนองแจ้งใหญ่ อําเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา มีเน้ือที่รวมท้ังส้ิน ๑๐๐ ไร่ โดยได้รับงบประมาณการจัดต้ังวิทยาลัยเป็นค่าก่อสร้างอาคารเรียนและอาคารประกอบในวงเงิน ๒๔,๓๐๐,๐๐๐ บาท (ยี่สิบสี่ล้านสามแสนบาทถ้วน) และแต่งต้ังให้นายอนันต์ สิทธิไชยากุล ตําแหน่งผู้ช่วยผู้อํานวยการวิทยาลัยสารพัดช่างนครราชสีมา(ตําแหน่งในขณะน้ัน) เป็นผู้ประสานงานการจัดต้ัง และได้รับแต่งต้ังให้ดํารงตําแหน่งผู้อํานวยการวิทยาลัยการอาชีพบัวใหญ่เป็นคนแรก ต่อมากรมอาชีวศึกษาได้มีคําสั่งแต่งต้ังผู้อํานวยการวิทยาลัยการอาชีพบัวใหญ่ดังมีรายชอ่ื ต่อไปนี้ ๑. นายพพิ ัฒน์ เข็มพิลา ตาํ แหน่ง ผ้ชู ว่ ยผู้อํานวยการวิทยาลยั สารพัดช่างนครราชสมี าเปน็ผูร้ ักษาการในตําแหนง่ ผ้อู าํ นวยการวทิ ยาลัยการอาชพี บวั ใหญ่ ตามคําสง่ั กรมอาชีวศึกษา ท่ี ๒๙๘๐/๒๕๓๗ส่ัง ณ วนั ท่ี ๑๔ ตลุ าคม ๒๕๓๗ และดาํ รงตําแหน่งผู้อํานวยการวทิ ยาลยั การอาชีพบัวใหญ่ในเวลาตอ่ มา ๒. นายอภิชาต เจริญสว่าง ดาํ รงตําแหน่งผูอ้ ํานวยการวิทยาลยั การอาชพี บัวใหญ่ ตามคาํ ส่ังสอศ. ท่ี ๑๘๙๗/๒๕๕๑ ตั้งแตว่ ันท่ี ๑๔ ตุลาคม ๒๕๕๑ - ๒๓ ธันวาคม ๒๕๕๑ ๓. นายวรี ะชยั ไตรศักด์ิ ดาํ รงตําแหน่งผอู้ ํานวยการวทิ ยาลยั การอาชีพบัวใหญ่ ตามคําส่ังสอศ. ที่ ๖๙๘/๒๕๕๒ ตงั้ แตว่ นั ท่ี ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๕๒ - ๑๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๒ ๔. นายสมพร หริ ญั มณมี าศ ดาํ รงตาํ แหน่งผอู้ ํานวยการวิทยาลัยการอาชพี บวั ใหญ่ตามคาํ ส่งั สอศ. ที่ ๑๒๔/๒๕๕๓ ต้ังแตว่ ันท่ี ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๒ - ๗ กันยายน ๒๕๕๔ ๕. นายอํานาจ ฝ่าวิบาก ดํารงตําแหน่ง ผู้อํานวยการวิทยาลัยการอาชีพบัวใหญ่ ตามคําส่ังสอศ. ท่ี ๒๘๕๗/๒๕๕๔ ตงั้ แตว่ นั ท่ี ๑๔ ธนั วาคม ๒๕๕๔ - ๓๐ กันยายน ๒๕๕๗ ๕. นางวรรณา ด้วงสว่าง ดาํ รงตาํ แหนง่ ผู้อํานวยการวิทยาลัยการอาชีพบัวใหญ่ ตามคําสั่งสอศ. ที่ ๓๔๘/๒๕๕๘ ตงั้ แต่วนั ท่ี ๒ ตลุ าคม ๒๕๕๗ - ๑๘ เมษายน ๒๕๕๙ ๖. นายเจริญ โคตรดี ดํารงตําแหน่ง ผู้อํานวยการวิทยาลัยการอาชีพบัวใหญ่ ตามคําส่ังสอศ. ท่ี ๘๖๘/๒๕๕๙ ตั้งแตว่ ันที่ ๑๙ เมษายน ๒๕๕๙ - ปัจจบุ ัน

รายงานการประเมินตนเอง ประจําปีการศึกษา ๒๕๕๘ ๒๑.๒ ขนาดและที่ตั้ง วิทยาลัยการอาชีพบัวใหญ่ ชื่อสถานศกึ ษา ๒๓๐ หมู่ ๔ ต.หนองแจ้งใหญ่ อ.บวั ใหญ่ จ.นคราชสีมา ๓๐๑๒๐ ท่ตี ั้ง ๐๔๔ – ๔๖๑๙๕๖ โทรศพั ท์ ๐๔๔ – ๔๖๑๗๗๒ โทรสาร www.bic.ac.th Websiteปรชั ญา (Philosophy) “ทักษะเยี่ยม เปี่ยมความรู้ เชดิ ชคู ุณธรรม เปน็ ผ้นู ําทางเทคโนโลย”ี วิสยั ทัศน์ (Vision) “เป็นสถานศกึ ษาแห่งการเรยี นรู้ ฝกึ อบรม และวจิ ยั ด้านวิชาชพี ของทอ้ งถ่นิ ท่มี คี ณุ ภาพมาตรฐานมีงานทํา สปู่ ระชาคมเศรษฐกจิ อาเซียน”พนั ธกจิ (Mission) พนั ธกิจท่ี ๑ : สร้างโอกาสทางการศกึ ษาด้านวิชาชพี พนั ธกจิ ท่ี ๒ : จดั การศึกษาด้านวชิ าชีพใหส้ อดคลอ้ งกบั ความต้องการตลาดแรงงานสอู่ าเซียน พนั ธกจิ ท่ี ๓ : พฒั นาใหบ้ ริการวิชาชีพชมุ ชน และสงั คม พนั ธกจิ ท่ี ๔ : สรา้ งผ้ปู ระกอบการรายใหม่ พันธกิจท่ี ๕ : การบริหารจัดการแบบมีสว่ นรว่ ม พนั ธกิจท่ี ๖ : พฒั นาระบบประกันคุณภาพการศกึ ษาเอกลักษณ์ สร้างอาชพี และบริการอตั ลกั ษณ์ ทักษะดี มคี ณุ ธรรม นาํ เทคโนโลยีจดุ เนน้ มุ่งเนน้ ให้ผเู้ รยี นได้ฝกึ ปฏบิ ัตจิ รงิ และมงี านทําจดุ เดน่ ๑. ผู้เรยี นมผี ลสมั ฤทธิต์ ามเกณฑ์ที่กําหนดตามช้นั ปี ๒. ส่งเสริมใหบ้ คุ ลากรได้รับการพฒั นาดา้ นวชิ าชพี อยา่ งมคี ุณภาพ ๓. ได้รับความรว่ มมือจากภาคเอกชนและสถานประกอบการสปี ระจาํ วทิ ยาลยั แสด ขาว

รายงานการประเมินตนเอง ประจาํ ปีการศกึ ษา ๒๕๕๘ ๓ นโยบายสํานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ๑. การเพ่มิ ปริมาณผเู้ รียน ๒. การจดั การเรียนการสอนอาชีวศึกษาในโรงเรยี นมธั ยม ๓. การเทียบโอนประสบการณ์ คุณวุฒิวชิ าชพี มาตรฐานวชิ าชีพ ๔. หลกั สตู ร ๓ แนวทาง (ผู้ใช้ ผซู้ ่อม ผ้สู รา้ ง) ๕. ปรบั วิธีเรยี น เปลี่ยนวธิ ีสอน ปฏริ ูปวิธสี อบ ๖. ความร่วมมอื กับสภาอุตสาหกรรมและสถานประกอบการ ๗. การสรา้ งผ้ปู ระกอบการรายใหม่ ๘. การพฒั นาอาชพี แบบบูรณาการ ๙. คุณธรรมนาํ วิชาชีพ ๑๐. ประสทิ ธภิ าพการบริหารจัดการ การเงิน และบคุ คล ๑๑. การศึกษาดูงานของนักศึกษาใหม่ ทัง้ ระดบั ปวช. และ ปวส. ๑๒. การขับเคลื่อนหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ลกั ษณะของชมุ ชน วิทยาลยั การอาชพี บัวใหญ่ ตัง้ อยใู่ นเขตพน้ื ทีข่ องอาํ เภอบัวใหญ่ โดยตง้ั อยทู่ างทศิ เหนอื ของจังหวดั นครราชสีมา ห่างจากจังหวดั นครราชสีมาโดยทางรถยนต์ ๑๐๑ กิโลเมตร โดยทางรถไฟ ๘๕กิโลเมตร มพี ืน้ ท่ปี ระมาณ ๕๔๘.๔๘ ตารางกโิ ลเมตร ประชากรประมาณ ๘๓,๖๓๙ คน ทศิ เหนอื ตดิ ตอ่อาํ เภอแก้งสนามนาง ทศิ ใตต้ ดิ ต่ออําเภอคงและอาํ เภอบ้านเหล่ือม ทศิ ตะวนั ออกติดต่ออาํ เภอบัวลาย สภาพพน้ื ทสี่ ว่ นใหญเ่ ปน็ ท่ีราบสงู ไม่มภี ูเขา ดา้ นทศิ ตะวนั ตกและทศิ เหนือเป็นท่รี าบสูง เหมาะกับการทําไร่ ทางทศิใตแ้ ละทิศตะวนั ออกเปน็ ท่ีราบลมุ่ เหมาะกบั การทาํ นา มพี ื้นทใี่ ช้ในการเกษตรประมาณ ๒๓๕,๘๒๙ ไร่ พืชเศรษฐกิจทสี่ าํ คญั คอื ข้าว ออ้ ย มนั สาํ ปะหลงั สาํ หรบั ปศุสตั ว์ มีการเลีย้ ง โค กระบือ เป็ด สุกร หา่ นมีธนาคาร ๗ แหง่ คือ ธนาคารกรุงไทย ธนาคารกรงุ เทพ ธนาคารออมสนิ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารกสิกรไทย และธนาคารอาคารสงเคราะห์๒. หลกั สตู รการเรยี นการสอน ๒.๑ หลักสูตรทเี่ ปิดสอน ๒.๑.๑ หลักสตู รประกาศนียบัตรวิชาชพี (ปวช.) หลกั สูตร ๓ ปี รับสมัครสอบคัดเลือกจากนักเรยี นท่จี บมธั ยมศึกษาตอนต้น ๒.๑.๒ หลกั สูตรประกาศนยี บัตรวิชาชพี ช้ันสงู (ปวส.) หลักสตู ร ๒ ปี รบั สมคั รสอบคัดเลือกจากนกั เรียนที่จบมธั ยมศึกษาตอนปลาย และนกั เรียนทจี่ บระดับประกาศนยี บัตรวิชาชีพ (ปวช.)

รายงานการประเมินตนเอง ประจาํ ปีการศึกษา ๒๕๕๘ ๔๒.๒ สาขาวิชาท่ีเปิดสอนระดบั ปวช.ประเภทวชิ าชา่ งอุตสาหกรรม- สาขาวชิ าเครือ่ งกล สาขางานยานยนต์- สาขาวชิ าเครอ่ื งมอื กลและซ่อมบาํ รงุ สาขางานซ่อมบํารุงเครอ่ื งจกั รกล- สาขาวชิ าโลหะการ สาขางานเชอ่ื มโลหะ- สาขาวิชาไฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนกิ ส์ สาขางานไฟฟ้ากําลัง สาขางานอเิ ล็กทรอนกิ ส์- สาขาวิชาโยธา สาขางานโยธาประเภทวชิ าพาณชิ ยกรรม- สาขาวชิ าพณชิ ยการ สาขางานการบัญชี สาขางานคอมพวิ เตอรธ์ รุ กจิระดบั ปวส. สาขางานเทคนิคยานยนต์ ประเภทวชิ าชา่ งอุตสาหกรรม สาขางานติดตั้งไฟฟา้ - สาขาวชิ าเคร่อื งกล สาขางานอิเล็กทรอนกิ ส์อุตสาหกรรม - สาขาวชิ าไฟฟา้ กาํ ลัง สาขางานโยธา - สาขาวิชาอิเล็กทรอนกิ ส์ - สาขาวชิ าโยธา สาขางานคอมพิวเตอร์เพ่อื การบัญชี ประเภทวชิ าบรหิ ารธรุ กิจ สาขางานเทคโนโลยสี ํานกั งาน - สาขาวิชาการบญั ชี สาขางานคอมพวิ เตอร์กราฟิก - สาขาวิชาคอมพวิ เตอร์ธุรกจิ

รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจําปีการศึกษา ๒๕๕๘ ๕๓. สภาพการดาํ เนนิ งานและผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษา (ตามเปา้ หมายแผนพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษา) ด้าน สภาพการดาํ เนินงาน๑. ผ้เู รียนและผ้สู าํ เร็จการศึกษา ๑) ผูเ้ รียนและผสู้ ําเรจ็ การศึกษาเปน็ ท่ีพงึ พอใจของ สถานประกอบการ หนว่ ยงาน สถานศึกษา ชุมชน และผู้๒. หลักสูตรและการจดั การเรยี นการสอน รับบรกิ ารอาชีวศึกษา ๒) ผู้เรยี นและผูส้ าํ เรจ็ การศึกษาตอ้ งผา่ นเกณฑก์ าร ประเมนิ มาตรฐานวิชาชีพ๓. การบริหารจดั การสถานศึกษา ๓) ผสู้ าํ เร็จการศึกษาสามารถได้งานทํา หรอื ประกอบอาชวี ศกึ ษา อาชพี อสิ ระ หรือศกึ ษาตอ่ ภายใน ๑ ปี ๑) ครูผู้สอนทกุ คนจัดทําและใชแ้ ผนจดั การเรียนรู้ทม่ี ่งุ เนน้๔. การบรกิ ารทางวิชาการและวิชาชพี สรรถนะอาชีพ และบูรณาการคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ และปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๒) ครนู ําผลการนเิ ทศการสอนและบันทกึ หลังการสอนไป จดั ทําวิจัยเพ่อื แก้ไขปญั หาหรอื พฒั นาการเรียนการสอน ไมน่ อ้ ยกวา่ ๑ รายวิชา ๓) การจัดการศกึ ษาอาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคีต้องทาํ ความ รว่ มมือกับสถานประกอบการ ๑) ส่งเสรมิ ใหค้ รูและบุคลากรทางการศึกษาไดแ้ ลกเปล่ียน กบั สถานศกึ ษา หรือหน่วยงานอ่ืน ๒) การมสี ่วนรว่ มของครู และบคุ ลากรทกุ ฝา่ ยในสถาน ศึกษา ผเู้ รียน ชุมชน สถานประกอบการ และหน่วยงานท่ี เก่ียวข้องรว่ มเสนอและจดั ทําแผนพฒั นาผเู้ รยี น ๓) บทบาทหนา้ ทีข่ องคณะกรรมการสถานศกึ ษาหรือ วิทยาลัยในการมสี ว่ นร่วมและส่งเสรมิ สนบั สนนุ การจัดการ ศึกษาของสถานศึกษาทุกดา้ น ๑) ครแู ละบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษา ผ้เู รยี นตอ้ งเข้า ร่วมโครงการ กจิ กรรมการบริการวชิ าการหรือวิชาชพี ๒) สาขางานทง้ั หมดท่ีจดั การเรยี นการสอนต้องดําเนนิ งาน โครงการ กจิ กรรมการบรกิ ารวิชาการหรอื วิชาชีพไม่น้อย กวา่ ๒ โครงการ กิจกรรม ตอ่ ปี

รายงานการประเมินตนเอง ประจําปีการศึกษา ๒๕๕๘ ๖ ด้าน สภาพการดาํ เนินงาน๕. นวตั กรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสรา้ งสรรค์ ๑) ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ใหผ้ ูเ้ รยี นจัดทาํ โครงการ สง่ิ ประดษิ ฐ์หรืองานวิจัย งานสรา้ งสรรค์ หรอื งานวจิ ัยตามรายวชิ าโครงการ๖. การปลูกฝงั จิตสํานึกและเสริมสร้าง ตามเกณฑก์ าํ หนด และใหส้ ามารถนําไปใช้ประโยชนไ์ ด้จริงความเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ๑) จดั ทําแผนงาน โครงการ กิจกรรม ไดค้ รอบคลุมการ ปลกู ฝงั จิตสาํ นกึ ด้านการรักชาติ เทนิ ทนู พระมหากษตั รยิ ์๗. การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา สง่ เสรมิ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ทะนบุ าํ รงุ ศาสนา ศิลปะ๘. การจัดการฝึกอบรมหลกั สตู รวชิ าชีพ วฒั นธรรม อนุรักษส์ ิง่ แวดลอ้ ม ปรชั ญาของเศรษฐกิจระยะสนั้ พอเพียงและส่งเสริมกฬี าและนันทนาการ ๑) สถานศึกษาต้องมีระบบงานประกนั คณุ ภาพภายใน โดยถอื วา่ การประกนั คณุ ภาพภายในเป็นสว่ นหน่ึงของ กระบวนการบริหารการศึกษาทตี่ ้องดาํ เนนิ การอย่าง ตอ่ เนอื่ ง ๒) สถานศึกษาต้องนาํ ผลการประกนั คณุ ภาพภายในไปใช้ ในการจดั ทาํ แผนพัฒนาสถานศึกษา ๑) ผฝู้ ึกอบรมหลักสตู รวชิ าชพี ระยะสน้ั และผู้สําเรจ็ การฝึก อบรมตอ้ งมคี วามรู้ มีทกั ษะฝมี อื ทางวิชาชีพ และ คณุ ลักษณะอนั ถงึ ประสงค์ตรงตามความต้องการของชุมชน สถานประกอบการ

รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจําปีการศึกษา ๒๕๕๘ ๗ สรุปผลการตดิ ตามประเมนิ ผลการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา ผลการประเมนิ มาตรฐาน ดีมาก ดี พอใช้ ตอ้ ง ปรับปรุง ปรบั ปรงุ เรง่ ดว่ นมาตรฐานที่ ๑ ผ้เู รียนและผสู้ าํ เร็จการศึกษา อาชีวศกึ ษามาตรฐานท่ี ๒ หลักสูตรและการจดั การเรยี น การสอนอาชวี ศกึ ษามาตรฐานที่ ๓ การบริหารจดั การอาชีวศกึ ษา มาตรฐานท่ี ๔ การบรกิ ารวชิ าการและวชิ าชีพ มาตรฐานท่ี ๕ นวตั กรรม สง่ิ ประดิษฐ์ งานสรา้ งสรรค์ หรืองานวจิ ัยมาตรฐานที่ ๖ การปลูกฝงั จิตสาํ นึกและเสริมสร้าง ความเปน็ พลเมืองไทยและพลโลกมาตรฐานที่ ๗ การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา มาตรฐานที่ ๘ การจัดการฝกึ อบรมหลกั สตู รวิชาชีพ ระยะสั้น๔. จุดเด่น – จุดทต่ี ้องพฒั นา จดุ เดน่ ได้แก่ ตวั บ่งชี้ต่อไปน้ี ตวั บง่ ชี้ที่ ๑.๑ รอ้ ยละของผเู้ รียนทมี่ ผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรียนเฉล่ียสะสม ๒.๐๐ ขึน้ ไป ตัวบง่ ช้ีที่ ๑.๒ ระดบั ความพงึ พอใจของสถานประกอบการ หนว่ ยงาน ชมุ ชน ที่มตี อ่ คณุ ภาพ ของผเู้ รียน ตวั บง่ ชที้ ่ี ๑.๓ รอ้ ยละของผเู้ รียนท่ีผ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐานวชิ าชีพ ตัวบง่ ชท้ี ี่ ๑.๔ รอ้ ยละของผเู้ รียนทมี่ คี ะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ อาชีวศึกษา (V-NET) ตงั้ แต่คะแนนเฉลี่ยระดบั ชาติข้ึนไป ตัวบง่ ช้ที ่ี ๑.๕ รอ้ ยละของผู้เรียนทมี่ ีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติดา้ น อาชีวศกึ ษา (V-NET) ตงั้ แต่คา่ คะแนนเฉลีย่ ระดับชาติขน้ึ ไปในกลุ่มวภิ าษาองั กฤษ ตวั บง่ ชี้ที่ ๑.๖ รอ้ ยละของผ้เู รียนท่ีผา่ นเกณฑ์การทดสอบมาตรฐานอาชีพของสถาบนั คุณวุฒิวิชาชพี หรอื หนว่ ยงานท่คี ณะกรรมการประเมนิ พร้อมผลการประเมนิ

รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจําปีการศกึ ษา ๒๕๕๘ ๘ตัวบ่งชที้ ี่ ๑.๗ รอ้ ยละของผสู้ ําเรจ็ การศึกษาตามหลกั สตู รเทยี บกบั แรกเข้าตัวบ่งชีท้ ี่ ๑.๘ รอ้ ยละของผสู้ ําเร็จการศกึ ษาที่ได้งานทํา หรอื ประกอบอาชีพอสิ ระ หรอื ศกึ ษาต่อ ภายใน ๑ ปีตัวบง่ ช้ที ่ี ๑.๙ ระดับความพงึ พอใจของสถานประกอบการ หนว่ ยงาน หรอื สถานศึกษา หรือ ผู้รบั บรกิ ารท่ีมตี อ่ คณุ ภาพของผู้สําเร็จการศึกษาตัวบ่งช้ที ี่ ๒.๑ ระดบั คณุ ภาพในการใช้และพฒั นาหลักสูตรฐานสมรรถนะรายวชิ าที่สอดคลอ้ งกับ ความตอ้ งการของสถานประกอบการ หรอื ประชาคมอาเซียนตัวบ่งชที้ ี่ ๒.๒ ระดบั คุณภาพในการจัดทาํ แผนการจดั การเรียนร้รู ายวิชาตัวบ่งชี้ที่ ๒.๓ ระดบั คุณภาพในการจดั การเรยี นการสอนรายวิชาตัวบง่ ชีท้ ่ี ๒.๔ ระดบั คณุ ภาพในการวัดผลและประเมนิ ผลการจัดการเรยี นการสอนรายวิชาตัวบ่งชีท้ ่ี ๒.๕ ระดับคุณภาพในการฝกึ งานตวั บง่ ชท้ี ่ี ๓.๑ ระดับคุณภาพในการปฏบิ ัติงานของคณะกรรมการสถานศกึ ษาหรอื วิทยาลัยตัวบ่งชีท้ ี่ ๓.๒ ระดบั คุณภาพในการจัดทําแผนการบรหิ ารจดั การสถานศกึ ษาตัวบง่ ช้ที ี่ ๓.๓ ระดับคณุ ภาพในการพัฒนาสถานศึกษาตามอัตลกั ษณ์ตัวบง่ ช้ีท่ี ๓.๔ ระดับคุณภาพในการบรหิ ารงานและภาวะผู้นาํ ของผบู้ ริหารสถานศึกษาตวั บ่งชี้ท่ี ๓.๕ ระดบั คุณภาพในการบริหารจดั การระบบฐานขอ้ มลู สารสนเทศของสถานศกึ ษาตวั บง่ ชท้ี ่ี ๓.๖ ระดับคณุ ภาพในการบริหารความเสยี่ งตัวบ่งชีท้ ่ี ๓.๗ ระดบั คุณภาพในการจัดระบบดูแลผเู้ รยี นตวั บง่ ช้ีที่ ๓.๘ ระดับคณุ ภาพในการพฒั นาและดูแลสภาพแวดล้อม และภูมทิ ัศน์ของสถานศึกษา และการใช้อาคารสถานท่ี หอ้ งเรยี น ห้องปฏบิ ัตกิ าร โรงฝกึ งาน ศนู ยว์ ิทยบริการตัวบ่งช้ีที่ ๓.๙ ระดับคณุ ภาพในการบริหารจดั การวัสดุ อปุ กรณ์ ครภุ ณั ฑ์ และคอมพิวเตอร์ตวั บ่งช้ที ่ี ๓.๑๐ ระดับคณุ ภาพในการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษาตัวบง่ ชที้ ่ี ๓.๑๑ ระดบั คณุ ภาพในการบรหิ ารการเงนิ และงบประมาณตัวบ่งชที้ ่ี ๓.๑๒ ระดบั คณุ ภาพในการระดมทรัพยากรในการจดั การอาชวี ศึกษากับเครอื ข่าย ทั้งใน ประเทศและ หรอื ต่างประเทศตัวบ่งชท้ี ่ี ๔.๑ ระดับคณุ ภาพในการบรหิ ารจัดการการบรกิ ารวิชาการและวชิ าชีพตวั บง่ ชท้ี ่ี ๕.๑ ระดบั คณุ ภาพในการบริหารจัดการโครงการ สิ่งประดษิ ฐ์ งานสรา้ งสรรค์ หรอื งานวิจยั ของผู้เรยี นตัวบ่งชีท้ ่ี ๕.๒ ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการนวตั กรรม สง่ิ ประดษิ ฐ์ งานสร้างสรรคห์ รอื งานวจิ ยั ของครูตวั บง่ ชท้ี ่ี ๖.๑ ระดบั คุณภาพในการปลูกฝังจติ สาํ นกึ ด้านการรักชาติ เทดิ ทนู พระมหากษัตรยิ ์ ส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมขุ และทะนบุ าํ รุง ศาสนา ศลิ ปะ วัฒนธรรม

รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจาํ ปีการศกึ ษา ๒๕๕๘ ๙ตัวบง่ ชี้ที่ ๖.๒ ระดบั คุณภาพในการปลูกฝังจติ สาํ นกึ ด้านการอนรุ ักษ์สงิ่ แวดล้อมตวั บ่งช้ีที่ ๖.๓ ระดับคุณภาพในการสง่ เสรมิ ดา้ นการกฬี าและนันทนาการตัวบ่งชี้ที่ ๖.๔ ระดับคุณภาพในการปลูกฝงั จติ สาํ นกึ ด้านปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงตวั บง่ ชีท้ ่ี ๗.๑ ระดบั คณุ ภาพในระบบการประกันคุณภาพภายในตัวบ่งชี้ที่ ๗.๒ ระดับคุณภาพในการดําเนนิ งานตามมาตรฐานการอาชวี ศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๕ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๘.๑ ระดับคุณภาพในการจัดทําแผนการบริหารจดั การการฝึกอบรมหลักสตู รวิชาชีพ ระยะส้ันตัวบ่งชีท้ ่ี ๘.๒ ระดบั คุณภาพในการใชแ้ ละพัฒนาหลกั สตู รฐานสมรรถนะรายวชิ าทส่ี อดคล้องกับ ความต้องการของชมุ ชน สถานประกอบการตัวบง่ ชท้ี ี่ ๘.๓ ระดบั คณุ ภาพในการจัดทําแผนการจัดการเรยี นรรู้ ายวชิ าตวั บ่งช้ที ่ี ๘.๔ ระดับคุณภาพในการฝกึ อบรมหลกั สูตรวชิ าชพี ระยะส้ันตัวบง่ ชีท้ ่ี ๘.๕ ระดับคุณภาพในการระดมทรัพยากรในการจดั การฝกึ อบรมหลกั สตู รวชิ าชีพ ระยะสั้นตวั บ่งชี้ที่ ๘.๖ ร้อยละของผสู้ อนหลักสูตรวชิ าชีพระยะสั้นที่ได้รับการพฒั นาตัวบ่งชี้ท่ี ๘.๗ ระดับคุณภาพในการบริหารการเงนิ และงบประมาณตวั บ่งช้ที ี่ ๘.๘ รอ้ ยละของผสู้ ําเรจ็ การฝึกอบรมหลักสตู รวชิ าชีพระยะสน้ั ท่มี ีผลคะแนนการฝกึ อบรม ๒.๐๐ ขน้ึ ไปตัวบง่ ช้ีท่ี ๘.๙ ร้อยละของผ้สู าํ เร็จการฝกึ อบรมตามหลักสูตรเทยี บกับแรกเข้าตัวบง่ ชท้ี ี่ ๘.๑๐ ระดับความพงึ พอใจของผสู้ าํ เรจ็ การฝึกอบรมทมี่ ตี อ่ การนาํ ความรูค้ วามสามารถไป ใช้ประโยชน์จดุ ทต่ี ้องพัฒนา ไดแ้ ก่ ตัวบ่งช้ตี ่อไปน้ี -

ตอนท่ี ๒ สภาพทว่ั ไปของสถานศกึ ษา๑. ข้อมูลเก่ยี วกับสถานศึกษา ๑.๑ ประวัตขิ องสถานศกึ ษา วิทยาลัยการอาชีพบัวใหญ่ อําเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา เป็นสถานศึกษาในสังกัดอาชีวศึกษา จงั หวดั นครราชสมี า สาํ นักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ ประกาศจดั ต้งั เมือ่ วันท่ี ๒๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๓๕ บนพ้ืนที่สาธารณประโยชน์ของตาํ บลหนองแจ้งใหญ่อําเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา มีเน้ือท่ีรวมท้ังสิ้น ๑๐๐ ไร่ โดยได้รับงบประมาณการจัดต้ังวิทยาลัยเป็นค่าก่อสร้างอาคารเรียนและอาคารประกอบในวงเงิน ๒๔,๓๐๐,๐๐๐ บาท (ย่ีสิบส่ีล้านสามแสนบาทถ้วน) และแต่งต้ังให้นายอนันต์ สิทธิไชยากุล ตําแหน่งผู้ช่วยผู้อํานวยการวิทยาลัยสารพัดช่างนครราชสีมา (ตําแหน่งในขณะนั้น) เป็นผู้ประสานงานการจัดต้ัง และได้รับแต่งต้ังให้ดํารงตําแหน่งผู้อํานวยการวิทยาลัยการอาชีพบัวใหญ่เป็นคนแรก ต่อมากรมอาชีวศึกษาได้มีคําสั่งแต่งตั้งผู้อํานวยการวทิ ยาลยั การอาชพี บัวใหญ่ ดงั มีรายชือ่ ต่อไปนี้ ๑. นายพิพัฒน์ เข็มพิลา ตําแหน่ง ผู้ช่วยผู้อํานวยการวิทยาลัยสารพัดช่างนครราชสีมา เป็นผู้รักษาการในตําแหน่งผู้อํานวยการวิทยาลัยการอาชีพบัวใหญ่ ตามคําส่ังกรมอาชีวศึกษา ที่ ๒๙๘๐/๒๕๓๗ส่ัง ณ วันท่ี ๑๔ ตลุ าคม ๒๕๓๗ และดาํ รงตาํ แหนง่ ผู้อํานวยการวิทยาลัยการอาชีพบัวใหญใ่ นเวลาต่อมา ๒. นายอภชิ าต เจรญิ สวา่ ง ดํารงตําแหน่งผู้อาํ นวยการวทิ ยาลัยการอาชีพบัวใหญ่ ตามคําสง่ั สอศ.ที่ ๑๘๙๗/๒๕๕๑ ตั้งแต่วนั ที่ ๑๔ ตลุ าคม ๒๕๕๑ - ๒๓ ธนั วาคม ๒๕๕๑ ๓. นายวีระชัย ไตรศักด์ิ ดาํ รงตําแหนง่ ผ้อู ํานวยการวิทยาลัยการอาชีพบวั ใหญ่ ตามคําสั่ง สอศ.ที่ ๖๙๘/๒๕๕๒ ต้งั แต่วนั ที่ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๕๒ - ๑๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๒ ๔. นายสมพร หิรญั มณมี าศ ดํารงตาํ แหนง่ ผอู้ าํ นวยการวทิ ยาลัยการอาชีพบัวใหญ่ ตามคาํ สัง่ สอศ.ท่ี ๑๒๔/๒๕๕๓ ตั้งแตว่ ันที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๒ - ๗ กันยายน ๒๕๕๔ ๕. นายอํานาจ ฝ่าวิบาก ดํารงตําแหน่ง ผู้อํานวยการวิทยาลัยการอาชีพบัวใหญ่ ตามคําสั่ง สอศ.ท่ี ๒๘๕๗/๒๕๕๔ ต้งั แตว่ ันที่ ๑๔ ธนั วาคม ๒๕๕๔ - ๓๐ กนั ยายน ๒๕๕๗ ๖. นางวรรณา ด้วงสว่าง ดํารงตําแหน่ง ผู้อํานวยการวิทยาลัยการอาชีพบัวใหญ่ ตามคําส่ัง สอศ.ที่ ๓๔๘/๒๕๕๘ ตั้งแต่วันที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๕๗ - ๑๘ เมษายน ๒๕๕๙ ๗. นายเจริญ โคตรดี ดํารงตําแหน่ง ผู้อํานวยการวิทยาลัยการอาชีพบัวใหญ่ ตามคําสั่ง สอศ.ที่ ๘๖๘/๒๕๕๙ ตงั้ แตว่ นั ท่ี ๑๙ เมษายน ๒๕๕๗ - ปัจจุบนั

รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจาํ ปกี ารศึกษา ๒๕๕๘ ๑๑๑.๒ ขนาดและท่ตี ัง้ วิทยาลยั การอาชีพบวั ใหญ่ ชื่อสถานศึกษา ๒๓๐ หมู่ ๔ ต.หนองแจง้ ใหญ่ อ.บวั ใหญ่ จ.นคราชสีมา ๓๐๑๒๐ ท่ีตง้ั ๐๔๔ – ๔๖๑๙๕๖ โทรศพั ท์ ๐๔๔ – ๔๖๑๗๗๒ โทรสาร www.bic.ac.th Website ๑.๓ สภาพชมุ ชน เศรษฐกจิ สงั คม วิทยาลัยการอาชีพบัวใหญ่ ต้ังอยู่ในเขตพื้นท่ีของอําเภอบัวใหญ่ โดยต้ังอยู่ทางทิศเหนือของจงั หวดั นครราชสมี า ห่างจากจังหวัดนครราชสีมาโดยทางรถยนต์ ๑๐๑ กิโลเมตร โดยทางรถไฟ ๘๕กิโลเมตร มีพื้นที่ประมาณ ๕๔๘.๔๘ ตารางกิโลเมตร ประชากรประมาณ ๘๓,๖๓๙ คน ทิศเหนือติดต่ออําเภอแก้งสนามนาง ทิศใต้ติดต่ออําเภอคงและอําเภอบ้านเหล่ือม ทิศตะวันออกติดต่ออําเภอบัวลายสภาพพ้ืนท่ีส่วนใหญ่เป็นท่ีราบสูงไม่มีภูเขา ด้านทิศตะวันตกและทิศเหนือสําหรับเหมาะกับการทําไร่ ทางทิศใต้และทิศตะวันออกเป็นท่ีราบลุ่ม เหมาะสมกับการทํานา มีพื้นท่ีสําหรับใช้ในการเกษตรประมาณ๒๓๕,๘๒๙ ไร่ พืชเศรษฐกิจที่สําคัญ คือ ข้าว อ้อย มันสําปะหลัง สําหรับปศุสัตว์ มีการเล้ียง โคกระบือ เป็ด สุกร ห่าน มีธนาคาร ๗ แห่ง คือ ธนาคารกรุงไทย ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารออมสินธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารกสิกรไทย และธนาคารอาคารสงเคราะห์๑.๔ งบประมาณ จํานวนทงั้ สิน้ ๓๗,๙๔๓,๔๖๑.๕๖ บาท รายละเอียดแสดงในตารางที่ ๑.๑ตารางท่ี ๑.๑ งบดําเนนิ การ งบประมาณ ประจําปกี ารศึกษา ๒๕๕๘ รายการ จํานวนเงนิ (บาท)๑. งบบุคลากร ๑๓,๒๕๙,๑๘๖.๕๖ (เงนิ เดือน,เงินประจําตาํ แหน่ง,เงนิ วทิ ยฐานะ,ค่าจ้างลกู จา้ งประจาํ )๒. งบดําเนนิ การ ๖,๓๗๕,๔๗๕ ๓๖๒,๖๐๐ ๒.๑ งบดําเนนิ งาน (ของแผนงาน โครงการ ในแผนปฏบิ ัตกิ ารประจาํ ป)ี ๔๑๐,๐๙๑ ๒.๒ คา่ สาธารณปู โภค๓. ค่าเสือ่ มราคา ๘,๙๓๘,๗๘๐๔. งบเรียนฟรี ๑๕ ปี : ค่าจดั การเรียนการสอน (งบอดุ หนุนขน้ั พื้นฐาน) ๖,๘๕๙,๑๓๐ ๔.๑ คา่ จัดการเรียนการสอน ๔.๒ ค่าหนงั สือเรยี น+คา่ เคร่อื งแบบ+อปุ กรณ์การเรยี น+กจิ กรรมพฒั นา ๖๒๒,๐๐๐ผูเ้ รียน๕. งบรายจา่ ยอ่นื ๆ (เงินอดุ หนุนโครงการพิเศษตา่ งๆ) ๕.๑ โครงการ Fix it Center

รายงานการประเมินตนเอง ประจําปกี ารศึกษา ๒๕๕๘ ๑๒ รายการ จํานวนเงนิ (บาท)๕.๒ ส่ิงประดิษฐ์ของคนรนุ่ ใหม่ ๖๑,๐๐๐๕.๓ โครงการหารายไดร้ ะหว่างเรียน ๑๑๔,๐๐๐๕.๔ โครงวิชาชีพระยะส้ัน ๗๐๙,๘๐๐๕.๕ ร่วมดว้ ยช่วยประชาชน ๓๖,๓๙๙๕.๖ บม่ เพาะผูป้ ระกอบการอาชีวศึกษาแบบครบวงจร ๙๐,๐๐๐๕.๗ ลดปัญหาการออกกลางคันของนักเรยี นอาชีวศกึ ษา ๑๐๕,๐๐๐ รวมงบดําเนนิ การท้ังสน้ิ ๓๗,๙๔๓,๔๖๑.๕๖๒. สภาพปัจจบุ ันของสถานศึกษา วิทยาลยั การอาชีพบัวใหญ่ จดั การเรยี นการสอนตามหลกั สตู รประกาศนียบัตรวชิ าชีพ พ.ศ. ๒๕๕๖หลักสูตรประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชัน้ สงู พ.ศ. ๒๕๕๗ โดยมีรายละเอยี ดเกี่ยวกับจํานวนผู้เรียน ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา ประจําปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๘ตารางท่ี ๑.๒ จํานวนผู้เรียนจาํ แนกตามระดับชน้ั หลกั สูตร เพศ หลกั สูตร รวมระดบั ปกติ ทวิภาคีชาย หญิง รวม ชาย หญงิ รวม ชาย หญิง รวม ทงั้ หมดปวช.๑ ๓๑๘ ๗๒ ๓๙๐ ๖ ๕ ๑๑ ๓๒๔ ๗๗ ๔๐๑ปวช.๒ ๒๖๒ ๑๐๑ ๓๖๓ ๔๓ ๑๓ ๕๖ ๓๐๕ ๑๑๔ ๔๑๙ปวช.๓ ๒๐๒ ๘๗ ๒๘๙ ๒๙ ๓๓ ๖๒ ๒๓๑ ๑๒๐ ๓๕๑รวมระดบั ปวช. ๗๘๒ ๒๖๐ ๑,๐๔๒ ๗๘ ๕๑ ๑๒๙ ๘๖๐ ๓๑๑ ๑,๑๗๑ปวส.๑ ๑๗๐ ๙๔ ๒๖๔ ๒๔ ๓๐ ๕๔ ๑๙๔ ๑๒๔ ๓๑๘ปวส.๒ ๑๔๒ ๖๓ ๒๐๕ ๗๒ ๘๒ ๑๕๔ ๒๑๔ ๑๔๕ ๓๕๙รวมระดบั ปวส. ๓๑๒ ๑๕๗ ๔๖๙ ๙๖ ๑๑๒ ๒๐๘ ๔๐๘ ๒๖๙ ๖๗๗รวมทงั้ หมด ๑,๐๙๔ ๔๑๗ ๑,๕๑๑ ๑๗๔ ๑๖๓ ๓๓๗ ๑,๒๖๘ ๕๘๐ ๑,๘๔๘

รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจาํ ปกี ารศึกษา ๒๕๕๘ ๑๓ ตารางที่ ๑.๓ จํานวนผเู้ รียนหลักสตู รวิชาชีพระยะส้นั และ/หรอื แกนมธั ยม จาํ แนกตามหลักสูตร ประเภทวิชา สาขาวิชา เพศรุน่ ที่/ปี หลักสตู ร ประเภทวชิ า จาํ นวน จํานวนผเู้ รยี น รายวิชา ชาย หญงิ รวมปีการศกึ ษา หลักสูตรวิชาชพี ระยะสัน้ อตุ สาหกรรม ๕๕๙ ๑๘๔ ๗๔๓ ๒๕๕๘ รวม พาณิชยกรรม ๑๔ ๓๑๙ ๒๑๑ ๕๓๐ ศลิ ปกรรม ๗ ๓๖๕ ๕๓๙ ๙๐๔ คหกรรม ๑๓ ๖๙ ๔๐๑ ๔๗๐ เกษตรกรรม ๑๐ ๕๙ ๕๙ ๑๑๘ พนื้ ฐาน ๑ ๑๖๕ ๓๕๗ ๕๒๒ ๔ ๑,๕๓๖ ๑,๗๕๑ ๓,๒๘๗ ๔๙ ตารางท่ี ๑.๔ จาํ นวนผบู้ รหิ ารและครูจาํ แนกตามสถานภาพ เพศ วุฒิการศกึ ษา ตาํ แหน่ง สถานภาพ เพศ วฒุ กิ ารศึกษา ตําแหน่ง ผบู้ ริหาร/ครูผบู้ ริหาร/แผนกวชิ า จาํ นวน ข้าราชการ (คน) พนักงานราชการ อัตราจ้าง ชาย หญิง ปริญญาเอก ปริญญาโท ปริญญาตรี ํ่ตาก ่วาปริญญาตรี ครู ู้ผช่วย ชํานาญการ ชํานาญการ ิพเศษ เชี่ยวชาญผบู้ ริหาร ๕ ๕ - - ๓๒ - ๕ - - - ๑๔ -แผนกวชิ าเครอ่ื งกล ๙ ๒๑๖๙ - - ๑๘ - - - ๑ -แผนกวชิ าช่างเช่อื มโลหะ ๔ ๒ - ๒ ๓ ๑ - ๑ ๓ - - ๒ - -แผนกวชิ าช่างไฟฟ้ากาํ ลงั ๗ ๒๑๔๖๑ - ๑๖ - - ๑ - -แผนกวิชาชา่ งอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ๖ ๓ - ๓ ๖ - - ๒ ๔ - - ๑ - -แผนกวิชาช่างโยธา ๒ ๑ - ๑๑๑ - ๑๑ - - - - -แผนกวิชาการบัญชี ๘ ๓๑๔๒๖ - ๓๕ - - ๒ - -แผนกวิชาคอมพิวเตอรธ์ รุ กจิ ๘ ๓ - ๕ ๓ ๕ - ๓ ๕ - ๑ ๒ - -แผนกวชิ าเทคนิคพ้นื ฐาน ๓ ๑ - ๒ ๒ ๑ - - ๓ - - ๑ - -แผนกวิชาสามญั สมั พนั ธ์ ๙ ๓ ๒ ๔ ๓ ๗ - ๓ ๖ - - ๒ ๑ -รวมท้งั หมด ๖๑ ๒๕ ๕ ๓๑ ๓๘ ๒๔ - ๒๐ ๔๑ - ๑ ๑๒ ๖ -

รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจําปกี ารศึกษา ๒๕๕๘ ๑๔ตารางท่ี ๑.๕ จํานวนบคุ ลากรสนับสนนุ การเรยี นการสอนจําแนกตามงาน สถานภาพ เพศ วุฒิ การศึกษา สถานภาพ เพศ วฒุ กิ ารศกึ ษางานตามโครงการสรา้ งบริหาร จาํ นวน ลูก ้จางประ ํจา ลูก ้จางช่ัวคราว สถานศึกษา (คน) ชาย หญิง ม. ้ตนหรือ ํ่ตาก ่วา ม.ปลาย/ปวช. ปวส./อนุปริญญา ปริญญาตรี สูงก ่วาปริญญาตรีฝ่ายบริหารทรัพยากรงานบรหิ ารงานทั่วไป ๒ - ๒๑๑ - - ๑๑ -งานบคุ ลากร ๑ - ๑-๑- - -๑-งานการเงิน ๒ - ๒-๒- - -๒-งานบญั ชี ๑ - ๑-๑- - - -๑งานพัสดุ ๒ - ๒-๒- - -๒-งานอาคารสถานที่ ๑๔ ๓ ๑๑ ๙ ๕ ๑๐ ๔ - - -งานทะเบียน ๒ - ๒-๒- -๒- -งานประชาสัมพนั ธ์ - - --------พนักงานขับรถ ๓ ๒ ๑๓ - - ๑๒ - -ฝา่ ยวิชาการแผนกวิชา - - --------งานพฒั นาหลกั สตู รการเรยี นการสอน ๑ - ๑ - ๑ - - - ๑ -งานวัดผลและประเมินผล ๑ - ๑-๑- -๑- -งานวิทยบริการและหอ้ งสมดุ ๑ - ๑-๑- -๑- -งานอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคี ๑ - ๑-๑- -๑- -งานส่ือการเรียนการสอน - - --------ฝ่ายแผนงานและความรว่ มมอืงานวางแผนและงบประมาณ ๑ - ๑-๑- -๑- -งานศูนย์ขอ้ มูลสารสนเทศ ๑ - ๑๑ - - - - ๑ -งานความร่วมมือ - - --------งานวจิ ยั พัฒนา นวตั กรรมฯ - - --------งานประกันคุณภาพฯ ๑ - ๑-๑- - -๑-งานสง่ เสริมผลิตผลการคา้ ฯ - - --------

รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจาํ ปีการศึกษา ๒๕๕๘ ๑๕ วุฒกิ ารศึกษา สถานภาพ เพศงานตามโครงการสรา้ งบรหิ าร จํานวน ลูก ้จางประ ํจา ลูก ้จางช่ัวคราวสถานศกึ ษา (คน) ชาย หญิง ม. ้ตนหรือ ํ่ตาก ่วา ม.ปลาย/ปวช. ปวส./อนุปริญญา ปริญญาตรี สูงก ่วาปริญญาตรีฝา่ ยพัฒนากจิ กรรมนักเรยี นนกั ศึกษา ๑ - ๑-๑- -๑- -งานกจิ กรรมนกั เรยี นนกั ศึกษา - - --------งานครทู ่ีปรกึ ษา - - --------งานปกครอง ๑ - ๑๑ - - - ๑ - -งานแนะแนวอาชีพและการจัดหางาน - - --------งานสวสั ดกิ ารนกั เรียนนักศกึ ษา ๑ - ๑-๑- - -๑-งานโครงการพเิ ศษ ๓๗ ๕ ๓๒ ๑๕ ๒๒ ๑๐ ๕ ๑๑ ๑๐ ๑ รวมทัง้ หมด๔. เกียรตปิ ระวัตขิ องสถานศกึ ษา ๔.๑ ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาที่ไดร้ บั รางวลั เครื่องหมายเชิดชูเกยี รติ “หนง่ึ ครแู สนด”ีประจําปี ๒๕๕๘ มีจาํ นวน ๑๑ คน ไดแ้ ก่ ๔.๑.๑ นางชาญทอง โพธิส์ มศรี ๔.๑.๒ นายชยั เกียรติ ยงั ทองหลาง ๔.๑.๓ นายธรี ะชยั บุตรดี ๔.๑.๔ นายนริ ันดร์ ปะวรณา ๔.๑.๕ นายบญั ชา ทาํ ลา ๔.๑.๖ นายประชา โตนดไธสง ๔.๑.๗ นายวรพล อินทรกาํ แหง ๔.๑.๘ นายวริ ัติ เหมาะหมาย ๔.๑.๙ นายศภุ วิชญ์ ผกู พันธ์ ๔.๑.๑๐ นายอกุ ฤษฏ์ จรรยารตั นกลุ ๔.๑.๑๑ นายอทุ ัย วังหอม

รายงานการประเมินตนเอง ประจําปีการศึกษา ๒๕๕๘ ๑๖๔.๒ ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาที่ได้รบั รางวลั เกยี รตบิ ัตรผบู้ รหิ าร และบคุ ลากรครปู ฏิบัตงิ านดเี ดน่ ประจําปี ๒๕๕๘ มจี ํานวน ๑๒ คน ได้แก่ผู้บริหารดเี ดน่ (ผอู้ าํ นวยการ/รองผู้อาํ นวยการ) จํานวน ๔ คน ได้แก่ ๑. นางสาวจนั ทรเ์ พ็ญ วรวสวุ ัส ๒. นางบวั ผา หทัยกจิ เกษม ๓. นายธนวัฒน์ ผายแสง ๔. นายบญั ชา หวานใจครดู เี ดน่ (ข้าราชการ/ครจู า้ งสอน/ครูพเิ ศษ) จํานวน ๑๗ คน ไดแ้ ก่ ๑. นายสชุ าติ รอดสวุ รรณ ๒. นางจนิ ตนา เข็มตรง ๓. นางศรีสุวรรณ ชุดนอก ๔. วา่ ทีร่ ้อยตรีหญงิ สายมา่ น เปล่ยี นเหล็ก ๕. นางสาวยุพา จนั คํา ๖. นางสาวพนิดา งามขนุ ทด ๗. นางสจุ ิตรา รตั นโน ๘. นายคนอง พทิ ักษ์ ๙. นายวรพล อนิ ทรกําแหง ๑๐. นายนริ ันดร์ ปะวรณา ๑๑. นายพิเชษฐ์ เขม็ ตรง ๑๒. นางขวัญฤทยั นาคดี ๑๓.นางอสุ ณี ประทีปโชตริ ตั น์ ๑๔. นายบญั ชา ทาํ ลา ๑๕. นายศภุ วชิ ญ์ ผูกพนั ธ์ ๑๖. นายประชา โตนดไธสง ๑๗. นายสทุ ธิศักด์ิ แหลป่ ้องบคุ ลากรดีเดน่ (เจ้าหนา้ ทีธ่ รุ การ/พนกั งานขบั รถยนต/์ แมบ่ า้ น นกั การภารโรง/ยาม) จาํ นวน ๖ คนไดแ้ ก่ ๑. นายประเสริฐ เงาใส ๒. นางสาววรรณวมิ ล หริ ัญมลู ๓. นางสาวจุฑามาศ นาท่งุ หม่ืน ๔. นางสาวศิริรตั น์ อยสู่ บาย ๕. นายบญุ สง่ วงษท์ องจันทร์ ๖. นางสาวทองศรี คดิ การ

รายงานการประเมินตนเอง ประจาํ ปีการศึกษา ๒๕๕๘ ๑๗๔.๓ ส่งิ ประดษิ ฐข์ องคนรนุ่ ใหม่ ประจําปกี ารศึกษา ๒๕๕๘ - ไดร้ ับรางวัล Honor Awards ระดบั ภาค (ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ) สง่ิ ประดษิ ฐ์ของคนรนุ่ ใหม่ ประเภทที ๙ “ศลิ ปะจากฟางข้าว” - ได้รับรางวัล เหรียญทอง ระดับภาค (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) สงิ่ ประดิษฐข์ องคนรนุ่ ใหม่ประเภทที่ ๓ “The Tree Modern” - ได้รับรางวัล เหรียญเงนิ ระดับภาค (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ) สิ่งประดษิ ฐข์ องคนรุน่ ใหม่ประเภทท่ี ๓ “ภษู าพารวย” - ไดร้ บั รางวัล เหรยี ญทองแดง ระดบั ภาค (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ) ส่ิงประดษิ ฐ์ของคนรุน่ ใหม่ประเภทที่ ๖ “เครอ่ื งเตอื นนาํ้ เกลือหมดแบบบอกตําแหน่ง” - ไดร้ บั รางวัล ชมเชย ระดบั ชาติ สงิ่ ประดษิ ฐข์ องคนรุน่ ใหม่ ประเภทท่ี ๙ “ศลิ ปะจากฟางข้าว”

รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจําปกี ารศึกษา ๒๕๕๘ ๑๘๕. เปา้ หมายความสําเร็จของการดําเนนิ งานตามแผนพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษา เป้าหมายความสําเรจ็ ของการดําเนนิ งานตามแผนพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษา ประจาํ ปีการศึกษา ๒๕๕๘ ซงึ่ คณะกรรมการของสถานศึกษาใหค้ วามเห็นชอบดังน้ี ด้าน เปา้ หมายความสาํ เรจ็๑. ผูเ้ รยี นและผูส้ ําเรจ็ การศกึ ษา ผู้เรียน ผ้สู าํ เรจ็ การศกึ ษา มคี วามรู้ มที ักษะสามารถ ทาํ งานในสถานประกอบการหรอื ศกึ ษาต่อในระดบั ทส่ี ูงขึ้น๒. หลักสูตรและการจดั การเรยี นการสอน พัฒนาหลักสตู รเนน้ ผู้เรยี นเป็นสําคัญ ผู้เรียนมีคุณลักษณะอาชวี ศกึ ษา ที่พงึ ประสงค์สอดคล้องกบั ปรัชญา เอกลักษณ์ อัตลกั ษณ์ วิสยั ทศั น์ และพันธกิจ๓. การบริหารจัดการสถานศึกษา มกี ารบริหารจัดการโดยใช้สถานศกึ ษาเปน็ ฐาน เปน็ ไปตามอาชีวศกึ ษา เอกลักษณ์ อตั ลักษณ์ และวิสยั ทศั น์ของสถานศกึ ษา๔. การบริการทางวิชาการและวิชาชพี บริการวิชาการและวิชาชพี สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการ ของท้องถ่ิน ชมุ ชน๕. นวัตกรรม สงิ่ ประดษิ ฐ์ งานสรา้ งสรรค์ ส่งเสรมิ ใหค้ รู และนกั เรียน นกั ศกึ ษาจดั ทาํ นวตั กรรมหรอื งานวิจยั สง่ิ ประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวจิ ัยเป็นประโยชน์ ตลอดจนมีการเผยแพร่๖. การปลูกฝังจติ สาํ นกึ และเสริมสรา้ ง จดั กิจกรรมและพฒั นาผ้เู รยี น โดยปลกู ฝังจติ สํานกึ และความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก เสริมสร้างความเป็นพลเมอื งไทยและพลเมืองโลก ในดา้ น การรกั ชาติเทดิ ทูนพระมหากษัตรยิ ์ ส่งเสรมิ การปกครอง๗. การประกันคุณภาพการศกึ ษา ระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุข ทะนุบาํ รุงศาสนา ศลิ ปะ วัฒนธรรม อนุรกั ษ์ส่ิงแวดล้อม๘. การจัดการฝกึ อบรมหลักสูตรวชิ าชีพ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสง่ เสริมกฬี านันทนาการระยะส้ัน มีระบบการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษาเปน็ ไปตาม มาตรฐานการอาชวี ศกึ ษา จดั การฝึกอบรมหลักสูตรวิชาชพี ระยะสน้ั สอดคลอ้ งกบั ความต้องการของชมุ ชน สถานประกอบการ

รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจําปีการศกึ ษา ๒๕๕๘ ๑๙๖. เปา้ หมายความสําเร็จและการบรหิ ารความเส่ยี งตามแผนบรหิ ารความเส่ียง ความสําเรจ็ ตามเปา้ หมายของแผนบรหิ ารความเสีย่ ง ประจาํ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๘ ซงึ่ ประชาคมของสถานศกึ ษาให้ความเห็นชอบมีดงั นี้ ด้าน เปา้ หมายความสาํ เรจ็๑. ความเสี่ยงด้านความปลอดภยั มีระบบปรบั ปรุง บาํ รงุ รกั ษา พัฒนาสภาพแวดลอ้ มของผู้เรยี น ครู และบคุ ลากรภายใน ภายในสถานศึกษาใหป้ ลอดภยั มคี วามสะดวกต่อการสถานศึกษา ใชอ้ ุปกรณ์ และสิ่งอาํ นวยความสะดวก มบี รรยากาศ ทด่ี ีต่อการเรยี นการสอน๒. ความเสย่ี งดา้ นการทะเลาะววิ าท จัดกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนใหม้ คี ุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์และสง่ เสรมิ ความรกั สามัคคี พัฒนาระบบการ๓. ความเส่ยี งด้านสิ่งเสพตดิ ดแู ลชว่ ยเหลือผ้เู รยี นในทกุ ๆ ดา้ น ให้ความรแู้ ละจดั กจิ กรรมรณรงคต์ อ่ ตา้ นยาเสพตดิ๔. ความเส่ยี งด้านสงั คม เช่น การตง้ั ครรภ์ ให้กับผู้เรยี นปลอดยาเสพตดิกอ่ นวยั อันควร ดแู ลและควบคมุ พฤตกิ รรมผู้เรียนให้เป็นผ้มู ที ศั นคติ คา่ นิยม ตอ่ สงั คมและวัฒนธรรมไทยและการมี๕. ความเสี่ยงดา้ นการพนนั และการม่ัวสุม พฤติกรรมท่เี หมาะสมกบั วัย ควบคมุ กํากบั ติดตาม ดแู ลความประพฤติของผูเ้ รียน ให้ปลอดจากการพนัน และการมั่วสุม

ตอนท่ี ๓ การดาํ เนนิ งานของสถานศึกษา๑. ปรชั ญา วสิ ยั ทัศน์ พนั ธกจิ เอกลกั ษณ์ อัตลักษณ์ จดุ เน้น จุดเดน่ และเปา้ หมายของสถานศกึ ษา ปรัชญา “ทักษะเยีย่ ม เป่ียมความรู้ เชิดชูคณุ ธรรม เปน็ ผูน้ ําทางเทคโนโลยี” วิสยั ทศั น์ “เปน็ สถานศกึ ษาแห่งการเรยี นรู้ ฝึกอบรม และวจิ ยั ด้านวิชาชพี ของท้องถิ่นทมี่ คี ณุ ภาพมาตรฐาน มงี านทาํ สู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” พันธกจิ พันธกจิ ที่ ๑ : สร้างโอกาสทางการศกึ ษาด้านวิชาชีพ พนั ธกิจที่ ๒ : จัดการศึกษาด้านวชิ าชีพใหส้ อดคล้องกบั ความต้องการตลาดแรงงานสู่อาเซยี น พนั ธกจิ ท่ี ๓ : พฒั นาใหบ้ รกิ ารวิชาชพี ชมุ ชน และสังคม พนั ธกิจท่ี ๔ : สรา้ งผปู้ ระกอบการรายใหม่ พันธกิจที่ ๕ : การบริหารจดั การแบบมีสว่ นรว่ ม พันธกจิ ที่ ๖ : พัฒนาระบบประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา เอกลักษณ์ สร้างอาชพี และบริการ อัตลกั ษณ์ ทักษะดี มีคุณธรรม นาํ เทคโนโลยี จุดเนน้ มงุ่ เน้นใหผ้ เู้ รยี นได้ฝกึ ปฏิบัติจรงิ และมงี านทํา จุดเดน่ ๑. ผเู้ รยี นมผี ลสมั ฤทธิ์ตามเกณฑ์ทกี่ ําหนดตามชนั้ ปี ๒. ส่งเสริมใหบ้ ุคลากรได้รบั การพฒั นาด้านวิชาชีพอย่างมีคณุ ภาพ ๓. ได้รบั ความร่วมมอื จากภาคเอกชนและสถานประกอบการ เป้าหมาย ๑. พฒั นาครสู ่คู รูมอื อาชีพ ๒. พฒั นาผู้เรยี นตามหลักคณุ ธรรมนาํ ความรูม้ งุ่ สู่ เก่ง ดี มสี ขุ

รายงานการประเมินตนเอง ประจําปีการศกึ ษา ๒๕๕๘ ๒๑ ๓. พัฒนาปรับปรุงหอ้ งเรียน หอ้ งปฏิบัตกิ ารให้เปน็ ห้องเรยี นทนั สมยั ๔. จัดหาครภุ ณั ฑ์ อุปกรณ์ วสั ดุ ส่อื การเรยี นการสอนใหม้ คี วามพรอ้ มในทกุ สาขาวชิ า ๕. สร้างระบบการเรยี นการสอนระบบทวิภาคี ใหไ้ ดม้ าตรฐานและสามารถเปน็ แบบอย่างแก่สถานศึกษาอืน่ ได้ ๖. พฒั นาเทคโนโลยี ศนู ย์วทิ ยบรกิ ารให้เป็นแหล่งเรียนรู้และใหบ้ รกิ ารทางวิชาชีพสําหรับครูนกั เรยี น นกั ศกึ ษา และชุมชนอยา่ งทั่วถงึ๒. ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาเพือ่ ให้การดําเนนิ การจัดการศึกษาของสถานศึกษาบรรลุเป้าหมายตามแผนพฒั นาคณุ ภาพการจดัการศกึ ษา จึงกําหนดยทุ ธศาสตร์การพัฒนาดงั น้ี ด้าน เป้าหมายความสาํ เร็จ ยทุ ธศาสตร์การพฒั นา๑. ผู้เรียนและผสู้ าํ เรจ็ - นักเรยี น นกั ศึกษามีคะแนนเฉล่ียการ - พัฒนาผูเ้ รยี นให้มคี วามรแู้ ละการศกึ ษา ทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ ดา้ น ทกั ษะตามมาตรฐานวิชาชีพและ อาชีวศกึ ษา (V-NET) ตัง้ แต่คา่ คะแนน หลักสูตรสําหรบั ผูส้ ําเร็จการศกึ ษา เฉลี่ยระดับชาตขิ น้ึ ไปอยา่ งนอ้ ย รอ้ ยละ - พัฒนาผู้เรียนให้มีความรแู้ ละ ๕๐ ทักษะในการหางานทาํ การศกึ ษา - จาํ นวนผ้สู าํ เรจ็ การศึกษาตามหลัก ต่อและการประกอบอาชพี อิสระ สูตรเทยี บกบั แรกข้าวของรุ่นอย่างน้อย - พัฒนาผเู้ รยี นให้มีคุณธรรม รอ้ ยละ ๗๐ จรยิ ธรรม คา่ นยิ มทด่ี งี ามในวชิ า ชีพบคุ ลิกภาพทเ่ี หมาะสม และมี มนษุ ย์สมั พันธด์ ี๒. หลักสูตรและการจัดการ - ครทู กุ คนจดั ทาํ แผนการจัดการเรยี นรู้ - จัดกระบวนการเรยี นรูท้ ี่เนน้ ผู้เรยี นการสอนอาชีวศกึ ษา ที่เปน็ หลักสูตรฐานสมรรถนะและ เรียน โดยสง่ เสริมให้ผูเ้ รียนได้ บรู ณาการเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาตนเองเต็มตามศักยภาพ - ครทู กุ คนจดั ทําบันทกึ หลังการสอน - ร่วมมอื กบั สถานประกอบการ - ครทู กุ คนจดั ทาํ วิจยั จากบันทกึ หลัง ในการพฒั นาหลกั สูตรฐาน การสอนหรอื จากการนเิ ทศเพอ่ื แก้ สมรรถนะ ปัญหาในช้นั เรยี น๓. การบริหารจดั การ - การบรหิ ารจดั การสถานศึกษาตาม - บริหารจดั การดว้ ยรปู แบบสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษา หลกั ธรรมมาภบิ าลและแนวทาง คณะกรรมการทั้งภาครัฐและ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เอกชน ชุมชนมีส่วนร่วมในการ - จัดทําระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ ๙ พฒั นาการศกึ ษา ประเภท

รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจําปีการศกึ ษา ๒๕๕๘ ๒๒ ดา้ น เป้าหมายความสาํ เร็จ ยุทธศาสตร์การพัฒนา๔. การบรกิ ารทางวชิ าการและวิชาชีพ - จดั บรกิ ารวชิ าชพี ให้แกช่ มุ ชนสังคม - บรกิ ารวิชาชีพที่เหมาะสม๕. นวตั กรรม ส่งิ ประดิษฐ์ ทุกภาคเรยี นในรูปแบบให้บรกิ ารฝกึ ตามความต้องการของสงั คมงานสรา้ งสรรคห์ รืองานวจิ ยั อบรม ๑๐๘ อาชีพ โครงการศูนย์ซอ่ ม ชุมชน องคก์ ารทง้ั ภาครัฐและ๖. การปลกู ฝังจติ สาํ นกึ และเสริมสรา้ งความเปน็ พลเมอื งไทย สร้างเพ่ือชุมชน Fix it Center เอกชนเพ่อื การพัฒนาประเทศและพลโลก อย่างต่อเนื่อง๗. การประกนั คุณภาพการศึกษา - ผลงานนกั เรยี น นวตั กรรม งานวจิ ัย - ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ใหค้ รผู ู้๘. การจดั การฝกึ อบรมหลักสูตรวิชาชพี ระยะสน้ั สง่ิ ประดษิ ฐ์ ได้รับการเผยแพรใ่ น สอนและนกั เรยี น นกั ศกึ ษาทาํ ระดบั ชาติ และรับนานาชาติ นวตั กรรม ส่งิ ประดษิ ฐ์ - ผลงานครู นวตั กรรมงานวิจยั งานวจิ ยั และโครงงาน สง่ิ ประดษิ ฐ์ ไดร้ บั การเผยแพรใ่ นระดบั - จัดงบประมาณสาํ หรบั ใชใ้ น ทอ้ งถน่ิ ระดบั ชาติ และระดบั การสร้างพฒั นาและเผยแพร่ นานาชาติ นวัตกรรม สิง่ ประดษิ ฐ์ งานวิจัยและโครงงาน - พฒั นาครูและบุคลากรทุกฝา่ ยใน - ครแู ละบคุ ลากรทุกฝา่ ยใน สถานศึกษาทกุ คน และผู้เรียนให้มจี ิต สถานศึกษาทกุ คนและผู้เรยี น สาํ นกึ และเสรมิ สร้างการเปน็ พลเมือง ทุกคนเข้ารว่ มโครงการ เพอื่ ไทยและพลโลก ปลูกจติ สาํ นึกและเสรมิ สรา้ ง การเปน็ พลเมืองไทย และ พลโลก - ระบบการประกันคณุ ภาพภายใน - พฒั นาระบบการประกัน สถานศกึ ษาส่มู าตรฐานสากล คณุ ภาพ - การประเมินและติดตามผล การประกันคณุ ภาพ - ครผู สู้ อนจัดทาํ แผนการเรยี นรู้ทม่ี งุ - จัดทาํ และพัฒนาหลกั สตู ร เนน้ สรรถนะอาชีพและบรู ณาการ สถานศึกษาใหเ้ หมาะสมกบั ผู้ คณุ ธรรมจริยธรรม คา่ นยิ ม และ ฝึกอบรม คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ และ - พัฒนาและจดั ทําแผนการจดั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง การเรียนรทู้ เ่ี น้นผูฝ้ ึกอบรม - จัดทาํ หลกั สตู รฐานสมรรถนะรายวชิ า เปน็ สาํ คญั ทฝ่ี ึกอบรมให้สอดคลอ้ งกับความ ต้องการของชุมชน สถานประกอบการ

รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจําปีการศึกษา ๒๕๕๘ ๒๓๓. มาตรการปอ้ งกันและควบคมุ ความเสย่ี งเพอ่ื ใหก้ ารบริหารความเส่ยี งของสถานศกึ ษาบรรลุเป้าหมายตามแผนบรหิ ารความเสี่ยง จงึ กําหนดมาตรการปอ้ งกันและควบคมุ ความเสี่ยงดงั น้ี ด้าน เป้าหมายความสําเรจ็ มาตรการปอ้ งกันและควบคมุ๑. ความเสย่ี งดา้ นความ - ครแู ละนกั เรยี น นกั ศึกษามี - ครบู ุคลากรภายในสถานศกึ ษาปลอดภยั ของผู้เรยี น ครู และ ความปลอดภยั จากการเรียนและ และผเู้ รยี นพฒั นาอาคารสถานที่บคุ ลากรภายในสถานศกึ ษา การฝึกปฏิบัติในสถานศกึ ษา ใหอ้ ยสู่ ภาพแวดลอ้ มที่ดีพรอ้ ม การใชง้ าน -ครมู ีระบบขนั้ ตอนในการปฏบิ ตั ิ งานทชี่ ดั เจนและมกี ารควบคมุ อย่างใกล้ชิด๒. ความเสยี่ งด้านการ - นักเรียน นกั ศกึ ษาไม่เกดิ การ - โครงการอบรมคณุ ธรรมทะเลาะวิวาท ทะเลาะววิ าท จริยธรรม - กิจกรรมพบครูที่ปรึกษา๓. ความเสีย่ งดา้ นส่งิ เสพติด - นักเรยี น นกั ศึกษาไม่ตดิ ยา - โครงการกฬี าตอ่ ตา้ นยาเสพติด เสพติด - โครงการอบรมคุณธรรม จรยิ ธรรม - กจิ กรรมพบครูทีป่ รกึ ษา๔. ความเสี่ยงด้านสังคม เชน่ - นักเรยี น นักศกึ ษา มีความรู้ - การจดั การเรยี นการสอนวชิ าการตัง้ ครรภก์ อ่ นวยั อันควร ความเขา้ ใจป้องกันตัวเองได้ไม่ให้ เพศศึกษาใหก้ บั นักเรียนนักศึกษา ต้งั ครรภก์ ่อนวัยอนั ควร ทกุ คน - โครงการอบรมคุณธรรม จริยธรรม - กิจกรรมพบครูทป่ี รกึ ษา๕. ความเสี่ยงด้านการพนัน - นกั เรยี น นักศกึ ษา ไม่เกิดปัญหา - กิจกรรมกฬี าสีภายในตอ่ ตา้ นและการมวั่ สุม และติดการพนนั และไมม่ ่วั สมุ ยาเสพติด - โครงการอบรมคณุ ธรรม จริยธรรม - กิจกรรมพบครทู ่ปี รึกษา

รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจาํ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๘ ๒๔๔ ระบบโครงสรา้ งการบริหาร เพื่อใหก้ ารบริหารจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษาเปน็ ไปอย่างมีประสทิ ธิภาพ บคุ ลากรทกุ ส่วนฝ่ายไดร้ ่วมคดิ ร่วมทํา รว่ มประเมนิ ผล รว่ มปรับปรงุ จงึ กระจายอาํ นาจการบรหิ ารงานภายในสถานศึกษาตามโครงสร้าง การบริหารงานดังน้ี

ตอนที่ ๔การดาํ เนินงานตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษาสว่ นที่ ๑ การจัดการอาชีวศกึ ษา จาํ นวน ๗ มาตรฐาน ๓๕ ตัวบง่ ชี้มาตรฐานท่ี ๑ ด้านผเู้ รยี น และผสู้ าํ เรจ็ การศกึ ษาอาชวี ศึกษาตวั บ่งชีท้ ่ี ๑.๑ รอ้ ยละของผู้เรียนท่มี ผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นเฉลยี่ สะสม ๒.๐๐ ขนึ้ ไป ความตระหนกั (Awareness) สถานศึกษา ได้แจง้ ใหค้ รผู ูส้ อน ผู้เรียน และปกครอง ทราบถึงเกณฑ์ของผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในแต่ละชั้นปี ตามระเบียบว่าด้วยการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตร ระดับ ปวช. และระดับ ปวส. พร้อมท้ังแจง้ ใหผ้ ปู้ กครองและนกั เรียนทราบผลการเรียนอยา่ งตอ่ เนอื่ งทุกภาคเรียน ความพยายาม (Attempt) สถานศึกษา ได้มีการวางแผนและดําเนินการพัฒนาผู้เรียนอย่างเป็นระบบและเป็นกระบวนการเพอื่ ให้ผูเ้ รียนมีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นตามเกณฑ์ท่ีกําหนดตามชั้นปีใหม้ ากทส่ี ดุ ดังน้ี ๑. มีการปฐมนิเทศนักเรียน นักศึกษาใหม่ และประชุมผู้ปกครอง เพื่อสร้างความเข้าใจด้านการจดั การเรยี นการสอนและระบบการวัดผลและประเมินผล ๒. มีการจัดทําและแจกคู่มือนักเรียน นักศึกษา ซ่ึงในคู่มือดังกล่าวได้ประมวลสาระที่นักเรียนนกั ศกึ ษา และผปู้ กครองควรทราบไว้ รวมถงึ เกณฑ์การวดั ผลและประเมินผลดังกลา่ วดว้ ย ๓. ให้ครูจัดทําแผนการเรียนรูแ้ บบบูรณาการทุกรายวิชาและทกุ ภาคเรยี น ๔. ให้ครปู ระเมนิ ผลการเรยี นตามสภาพจรงิ ๕. ใหค้ รูทาํ / จัดหาสอ่ื การสอน / จดั ทําใบความรู้ / ใบงาน ๖. มกี ารจัดการเรยี นรตู้ ามแนวทางปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๗. มรี ะบบการดูแลพฤตกิ รรมของนกั เรียนนกั ศึกษาอย่างใกลช้ ิด ผลสัมฤทธิ์ (Achievement) การพัฒนาผู้เรียนอย่างเป็นระบบ ส่งผลให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเกณฑ์ที่กําหนดเฉล่ยี สะสม ๒.๐๐ ข้ึนไป จํานวน ๑,๕๒๐ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๘๒.๖๕ เทียบกบั จํานวนผเู้ รียนที่เหลอืจํานวน ๑,๘๓๙ คน จากผู้เรียนที่ลงทะเบียนเรียนทั้งหมด จํานวน ๑,๘๓๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๘๒.๖๕เทยี บไดค้ ่าคะแนนเท่ากับ ๕.๐๐ คะแนน ระดบั คุณภาพอย่ใู นเกณฑ์ ดมี าก ความสําเร็จ ภาพรวมของสถานศกึ ษา ร้อยละ ๘๒.๖๕คา่ คะแนน ระดบั คณุ ภาพ ๕ ดมี าก

รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจาํ ปีการศกึ ษา ๒๕๕๘ ๒๖ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๑.๒ ระดบั ความพงึ พอใจของสถานประกอบการ หนว่ ยงาน ชุมชน ทม่ี ตี ่อคณุ ภาพของผู้เรียน ความตระหนกั (Awareness) สถานศึกษา สร้างความตระหนักให้ครูจัดการเรียนการสอนไปสู่มาตรฐานคุณภาพ ได้แก่ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นฝึกทักษะวิชาชีพ การนิเทศการฝึกงาน โดยมุ่งเน้นความรู้ความสามารถทางวิชาการตามลักษณะงาน ความรู้พ้ืนฐานที่จําเป็นในการทํางาน เช่น เป็นผู้นําและผู้ตามท่ีดี การตัดสินใจ ความตระหนักในการปฏิบัติตน การรักษาความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ทักษะการสื่อสาร ทักษะในการจัดการและทํางานเป็นทีม ความสามารถในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ จริยธรรม และจรรยาบรรณในวชิ าชพี เปน็ ต้น ความพยายาม (Attempt) สถานศกึ ษา ไดส้ ่งนักเรยี น นักศกึ ษาเข้าฝกึ อาชีพในสถานประกอบการจริง มีการตดิ ตามนเิ ทศระหว่างฝึกงาน รว่ มกบั ครูฝกึ ในสถานประกอบการ หลงั การฝกึ งานได้มกี ารประเมินความพงึ พอใจที่มีตอ่ คณุ ภาพของนกั เรียน นกั ศึกษา ๓ ดา้ น คอื ด้านคุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์ ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป และดา้ นสมรรถนะวิชาชพี ผลสมั ฤทธิ์ (Achievement) จากการดาํ เนินงานข้างต้น ในปีการศึกษา ๒๕๕๘ สถานศึกษามีระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการ หนว่ ยงาน ชุมชน ทีม่ ีต่อคุณภาพของผู้เรียน ปฏิบัตติ ามประเด็น (๑) และมผี ลตาม (๕)ระดับคุณภาพอยใู่ นเกณฑ์ ดมี ากความสําเร็จ ๑.  มี ไม่มี การประเมินความพึงพอใจโดยกาํ หนดกลุม่ ตวั อย่างสรา้ งเครอื่ งมือเกบ็ ข้อมูล เกบ็ ข้อมลู จากกลมุ่ ตวั อยา่ งนาํ ขอ้ มลู มาวิเคราะห์๒. ผลการประเมินความพงึ พอใจเฉลี่ย ๓.๕๑ – ๕.๐๐ คิดเปน็ ร้อยละ๙๖.๖๙คา่ คะแนน ระดับคณุ ภาพ ๕ ดีมาก

รายงานการประเมินตนเอง ประจาํ ปีการศกึ ษา ๒๕๕๘ ๒๗ตารางที่ ๑.๒.๑ สรุปผลการประเมินความพึงพอใจของสถานประกอบการ หนว่ ยงานที่รบั ผ้เู รยี นเขา้ ฝกึ งานบุคคลในชมุ ชนท่มี ีสว่ นเกี่ยวขอ้ งกบั ผ้เู รียน ท่ีมตี อ่ คุณภาพทงั้ ๓ ดา้ นของผู้เรียน คุณภาพทัง้ ๓ ดา้ น ค่าคะแนนเฉลยี่ ค่าคะแนนเฉลย่ี คา่ คะแนนเฉล่ยี ความพึงพอใจ ความพึงพอใจของ ภาพรวมความพงึ๑. ด้านคุณลักษณะท่พี งึ ประสงค์ บคุ คลในชุมชนทม่ี ี พอใจท่ีมตี อ่ คณุ ภาพ - คณุ ธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณ ของสถาน ทั้ง ๓ ด้านของ วชิ าชพี พฤติกรรม ลกั ษณะนิสยั ประกอบการ สว่ นเก่ยี วขอ้ ง และทกั ษะทางปญั ญา ผเู้ รียน ๔.๔๖ ๔.๓๓ ๔.๔๐๒. ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทวั่ ไป๓. ด้านสมรรถนะวชิ าชีพ ๔.๔๒ ๕.๐๐ ๔.๗๑ ๔.๓๔ ๔.๓๐ ๔.๓๑ รวมคา่ เฉลี่ยความพงึ พอใจ ๔.๕๔ ๔.๕๔ ๔.๔๗ตวั บ่งช้ที ี่ ๑.๓ รอ้ ยละของผเู้ รียนทผี่ า่ นเกณฑก์ ารประเมินมาตรฐานวิชาชีพ ความตระหนัก (Awareness) สถานศึกษา ได้กําหนดให้แผนกวิชาจัดการเรียนการสอนโดยคํานึงถึงประสิทธิผลและประสิทธิภาพของผู้เรียน และให้มีการประเมินมาตรฐานวิชาชีพให้กับผู้เรียนท่ีมีการลงทะเบียนครบตามหลักสูตรทุกแผนกวชิ า ความพยายาม (Attempt) สถานศึกษา ให้ครูผู้สอนจัดกิจกรรมการเรียนรู้เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ ให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะเป็นรายบุคคล รวมท้ังใหน้ กั เรยี น นักศึกษาไดฝ้ กึ ประสบการณ์ในสถานประกอบการ สามารถแกไ้ ขปัญหาทเ่ี กิดจากการปฏิบัติงานให้ได้ สถานศึกษาได้ทําข้อสอบมาตรฐานทุกสาขาวิชาชีพร่วมกับสถานประกอบการ ดําเนินการทดสอบมาตรฐานวิชาชพี ผลสัมฤทธิ์ (Achievement) จากผลการดําเนินงาน ในปีการศึกษา ๒๕๕๘ มีจํานวนผู้ลงทะเบียนครบทุกรายวิชาตามโครงสร้างหลักสูตร ในระดับ ปวช. และ ปวส. ทั้งหมดจํานวน ๓๕๒ คน มีจํานวนที่ผ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐานวชิ าชพี จํานวน ๓๕๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ระดบั คณุ ภาพอยใู่ นเกณฑ์ ดมี าก

รายงานการประเมินตนเอง ประจําปีการศกึ ษา ๒๕๕๘ ๒๘ความสาํ เร็จ ภาพรวมของสถานศกึ ษา รอ้ ยละ ๙๙.๗๑ ค่าคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ๕ ดมี ากตารางที่ ๑.๓.๑ สรปุ รอ้ ยละของผ้เู รยี นท่ีผ่านเกณฑ์การประเมนิ มาตรฐานวชิ าชพี เทยี บกบั ผ้เู รยี นที่ลงทะเบยี น ครบทุกรายวชิ าตามโครงสรา้ งหลักสตู ร โดยพิจารณาจากภาพรวมของวิทยาลัย จาํ นวนผู้เรียนที่ จาํ นวนผู้เรยี นที่ระดับ ประเภทวชิ า ลงทะเบยี นเรียน ผ่านเกณฑ์การ คิดเป็น แผนกวิชา/สาขางาน ครบตามโครงสรา้ ง ประเมนิ มาตรฐาน รอ้ ยละ หลักสตู ร วิชาชพี ยานยนต์ ๔๓ ๔๓ ๑๐๐ ซอ่ มบาํ รุงฯ ๗ ๗ ๑๐๐อตุ สาหกรรม เชื่อมโลหะ - --ปวช. ไฟฟ้ากาํ ลัง ๒๙ ๒๙ ๑๐๐ อเิ ล็กทรอนิกส์ ๒๗ ๒๗ ๑๐๐พาณชิ ยกรรม การบญั ชี ๔๔ ๔๔ ๑๐๐ คอมพวิ เตอรธ์ ุรกิจ ๓๙ ๓๙ ๑๐๐รวมระดบั ปวช. ๑๘๙ ๑๘๙ ๑๐๐ จาํ นวนผู้เรยี นท่ี จํานวนผู้เรียนที่ระดบั ประเภทวิชา ลงทะเบยี นเรียน ผ่านเกณฑก์ าร คิดเปน็ แผนกวชิ า/สาขางาน ครบตามโครงสร้าง ประเมนิ มาตรฐาน ร้อยละ หลกั สตู ร วชิ าชพี เทคนคิ ยานยนต์ ๔๑ ๔๑ ๑๐๐อตุ สาหกรรม ตดิ ต้งั ไฟฟา้ ๓๔ ๓๔ ๑๐๐ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์อตุ สาหกรรม ๒๙ ๙ ๑๐๐ ๒๖ ๒๖ ๑๐๐ปวส. คอมพวิ เตอรเ์ พอื่ การบญั ชี ๒๖ บรหิ ารธรุ กิจ เทคโนโลยีสํานกั งาน ๒๖ ๑๐๐ คอมพวิ เตอร์กราฟกิ ๗ ๗ ๑๐๐รวมระดับ ปวส. ๑๖๓ ๑๖๓ ๑๐๐รวมทงั้ หมด ๓๕๒ ๓๕๒ ๑๐๐

รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจาํ ปีการศกึ ษา ๒๕๕๘ ๒๙ตวั บ่งช้ที ่ี ๑.๔ รอ้ ยละของผ้เู รยี นที่มคี ะแนนเฉลยี่ จากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตอิ าชวี ศกึ ษา(V-NET) ตง้ั แต่คะแนนเฉลี่ยระดับชาติขนึ้ ไป ความตระหนกั (Awareness) สถานศึกษา มีการติดตามข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศกึ ษา (V–NET) จากสถาบนั ทดสอบทางการศกึ ษาแห่งชาติ (องคก์ ารมหาชน) (สทศ.) และได้กําหนดแผนงานโครงการ ปฏิทินการปฏิบัติงานประจําปี มีการช้ีแจงให้นักเรียน นักศึกษา เห็นถึงความสําคัญของการเข้ารับการทดสอบ ตลอดจนให้การสนับสนุนโครงการเตรียมความพร้อม ทบทวนเน้ือหาให้กับนักเรียน นักศึกษา ระดับชั้นปวช.๓ และ ปวส.๒ เพอ่ื สร้างความม่นั ใจในการเข้ารบั การทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ ดา้ นอาชวี ศกึ ษา(V – NET) ความพยายาม (Attempt) สถานศึกษา โดยงานวัดผลและประเมินผล ฝ่ายวิชาการ ให้ความตระหนักและเอาใจใส่นักเรียนนักศึกษา ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียน นักศึกษา ปวช.๓ และ ปวส.๒ เข้าทดสอบทางการศึกษาระดับชาตดิ า้ นอาชีวศกึ ษา (V–NET) ผลสัมฤทธิ์ (Achievement) จากผลการดําเนินงาน ในปีการศึกษา ๒๕๕๘ มีจํานวนผู้เรียนที่ลงทะเบียนเข้าทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V–NET) จํานวน ๓๕๓ คน มีจํานวนผู้เรียนท่ีมีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V–NET) ต้ังแต่คะแนนเฉลี่ยระดับชาติข้ึนไป จํานวน ๒๖๘ คนคดิ เป็นรอ้ ยละ ๗๕.๙๒ ระดบั คณุ ภาพอยูใ่ นเกณฑ์ ดมี ากความสาํ เร็จ ภาพรวมของสถานศกึ ษา รอ้ ยละ ๗๕.๙๒ค่าคะแนน ระดับคณุ ภาพ ๕ ดมี าก

รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจําปีการศึกษา ๒๕๕๘ ๓๐ตารางที่ ๑.๔.๑ สรุปรอ้ ยละของผูเ้ รียนทีม่ ีคา่ คะแนนเฉล่ยี จากการทดสอบทางการศกึ ษา (V – NET)สมรรถนะพนื้ ฐานและการเรียนร้แู ละสมรรถนะวชิ าชพี ประเภทวชิ าระดบั ประเภทวิชา แผนกวิชา/สาขางาน จํานวนผเู้ รียนท่ี จาํ นวนผู้เรยี นที่ คดิ เป็น ลงทะเบยี นเข้า มีคะแนนเฉลี่ย ร้อยละ ระดับชาติข้ึนไป ทดสอบ ยานยนต์ ๓๙ ๒๖ ๖๖.๖๖ ซ่อมบํารุงฯ ๗ ๔ ๕๗.๑๔ อตุ สาหกรรม เชื่อมโลหะ - --ปวช. ไฟฟ้ากาํ ลงั ๒๙ ๒๓ ๗๙.๓๑ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ๒๘ ๒๓ ๘๒.๑๔ พาณิชยกรรม การบญั ชี ๔๕ ๔๑ ๙๑.๑๑ คอมพิวเตอรธ์ ุรกจิ ๓๘ ๓๒ ๘๔.๒๑ ๑๘๖ ๑๔๙ ๘๐.๑๐ รวมระดับ ปวช. จํานวนผเู้ รยี นที่ จาํ นวนผู้เรยี นท่ีระดบั ประเภทวชิ า แผนกวชิ า/สาขางาน ลงทะเบียนเข้า มคี ะแนนเฉลี่ย คดิ เปน็ ทดสอบ ระดบั ชาตขิ ึ้นไป ร้อยละ เทคนคิ ยานยนต์ ๓๖ ๒๒ ๖๑.๑๑ อุตสาหกรรม ติดตงั้ ไฟฟ้า ๔๓ ๒๗ ๖๒.๗๙ปวส. อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์อตุ สาหกรรม ๒๙ ๒๔ ๘๒.๗๕ คอมพิวเตอร์เพอื่ การบญั ชี ๒๖ ๑๙ ๗๓.๐๗ บริหารธุรกจิ เทคโนโลยีสาํ นกั งาน ๒๖ ๒๑ ๘๐.๗๖ คอมพิวเตอรก์ ราฟกิ ๗ ๖ ๘๕.๗๑ รวมระดบั ปวส. ๑๖๗ ๑๑๙ ๗๑.๒๕ รวมท้งั หมด ๓๕๓ ๒๖๘ ๗๕.๙๒

รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจําปีการศกึ ษา ๒๕๕๘ ๓๑ตัวบง่ ชีท้ ี่ ๑.๕ รอ้ ยละของผเู้ รยี นที่มคี ะแนนเฉล่ียจากการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตดิ ้านอาชวี ศกึ ษา(V-NET) ตง้ั แต่คา่ คะแนนเฉลี่ยระดบั ชาตขิ น้ึ ไปในกลมุ่ วชิ าภาษาองั กฤษ ความตระหนกั (Awareness) สถานศึกษา มีการติดตามข้อมูลข่าวสารเก่ียวกับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V – NET) จากสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สทศ.) และได้กําหนดแผนงาน โครงการ ปฏิทินการปฏิบัติงานประจําปี มีการชี้แจงให้นักเรียน นักศึกษา เห็นถึงความสําคัญของการเข้ารับการทดสอบ ตลอดจนให้การสนับสนุนโครงการเตรียมความพร้อม ทบทวนเนื้อหาให้กับนักเรียน นักศึกษาระดับช้ัน ปวช.๓ และ ปวส.๒ เพื่อสร้างความม่ันใจในการเข้ารับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชวี ศกึ ษา (V–NET) ความพยายาม (Attempt) สถานศึกษา โดยงานวัดผลและประเมินผล ฝ่ายวิชาการ ให้ความตระหนักและเอาใจใส่นักเรียนนักศึกษา ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียน นักศึกษา ปวช.๓ และ ปวส.๒ เข้าทดสอบทางการศึกษาระดับชาติดา้ นอาชีวศึกษา (V–NET) ผลสัมฤทธ์ิ (Achievement) จากผลการดําเนินงาน ในปีการศึกษา ๒๕๕๘ มีจํานวนผู้เรียนที่ลงทะเบียนเข้าทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V–NET) จํานวน ๓๕๓ คน มีจํานวนผู้เรียนที่มีคะแนนเฉล่ียจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V–NET) ต้ังแต่คะแนนเฉลี่ยระดับชาติข้ึนไปในกลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ จาํ นวน ๑๓๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๖.๘๓ ระดบั คณุ ภาพอยู่ในเกณฑ์ ดีความสาํ เรจ็ ภาพรวมของสถานศึกษา ร้อยละ ๓๐.๓๑ค่าคะแนน ระดับคณุ ภาพ ๓.๘๓ ดี

รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจําปีการศึกษา ๒๕๕๘ ๓๒ตารางที่ ๑.๕.๑ สรุปรอ้ ยละของผ้เู รยี นท่มี ีคะแนนเฉล่ียจากการทดสอบทางการศึกษา (V–NET) กลมุ่ วิชา ภาษาอังกฤษระดับ ประเภทวชิ า แผนกวิชา/สาขางาน จาํ นวนผเู้ รยี นท่ี จาํ นวนผเู้ รียนที่ คดิ เป็น ลงทะเบียนเข้า มคี ะแนนเฉลีย่ รอ้ ยละ ระดับชาตขิ ้ึนไป ทดสอบ (กลุ่มภาษาองั กฤษ) ยานยนต์ ๓๙ ๙ ๒๓.๐๗ ซ่อมบํารุงฯ ๗ ๑ ๑๔.๒๘ อุตสาหกรรม เช่อื มโลหะ - --ปวช. ไฟฟา้ กาํ ลงั ๒๙ ๖ ๒๐.๖๘ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ ๒๘ ๗ ๒๕.๐๐ พาณิชยกรรม การบญั ชี ๔๕ ๑๗ ๓๗.๗๗ คอมพิวเตอร์ธุรกิจ ๓๘ ๒๐ ๕๒.๖๓ รวมระดับ ปวช. ๑๘๖ ๖๐ ๓๒.๒๕ระดบั ประเภทวชิ า แผนกวิชา/สาขางาน จาํ นวนผูเ้ รียนท่ี จาํ นวนผู้เรยี นท่ี คดิ เป็น ลงทะเบยี นเขา้ มีคะแนนเฉล่ยี รอ้ ยละ ระดบั ชาติขน้ึ ไป ทดสอบ (กลมุ่ ภาษาองั กฤษ) เทคนคิ ยานยนต์ ๓๖ ๑๓ ๓๖.๑๒ อุตสาหกรรม ตดิ ต้ังไฟฟ้า ๔๓ ๑๗ ๓๙.๕๔ปวส. อิเล็กทรอนกิ ส์อตุ สาหกรรม ๒๙ ๑๑ ๓๗.๙๔ บริหารธุรกิจ คอมพิวเตอร์เพอ่ื การบญั ชี ๒๖ ๑๔ ๕๓.๘๕ ๒๖ ๑๑ ๔๒.๓๑ เทคโนโลยสี ํานกั งาน คอมพวิ เตอร์กราฟกิ ๗ ๔ ๕๗.๑๕ รวมระดับ ปวส. ๑๖๗ ๗๐ ๔๑.๙๒ รวมท้ังหมด ๓๕๓ ๑๓๐ ๓๖.๘๓ตัวบง่ ช้ีท่ี ๑.๖ ร้อยละของผเู้ รยี นทผ่ี ่านเกณฑก์ ารทดสอบมาตรฐานอาชพี ของสถาบันคณุ วุฒวิ ิชาชีพหรอื หนว่ ยงานทค่ี ณะกรรมการประเมินพร้อมผลการประเมิน *ยกเวน้ การประเมนิ ตามประกาศคณะกรรมการประกันคณุ ภาพภายในการอาชวี ศึกษา*

รายงานการประเมินตนเอง ประจาํ ปีการศึกษา ๒๕๕๘ ๓๓ตัวบง่ ชท้ี ่ี ๑.๗ รอ้ ยละของผูส้ าํ เรจ็ การศกึ ษาตามหลักสูตรเทียบกบั แรกเขา้ ความตระหนกั (Awareness) สถานศึกษา ให้ความสําคัญและตระหนักถึงระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน นักศึกษาทุกคนให้สามารถสําเร็จการศกึ ษาตามหลกั สตู รและเกณฑก์ ารสําเร็จการศึกษา มีการเก็บข้อมูลของผู้เรียนแรกเข้าในแต่ละปีและมีการจดั การเรียนการสอนแบบบรู ณาการ โดยปรับวธิ ีเรียนเปล่ียนวิธีสอน ปฏิรูปวิธีสอบ มีการประชุมวางแผนในการพัฒนาครู พัฒนาผู้เรียน และงานทะเบียนได้ดําเนินการประสานงานกับครูที่ปรึกษาในการติดตามลงทะเบียน การลงทะเบียนล่าช้า การเพิ่ม/การถอน/การเทียบโอนรายวิชา และเปิดโอกาสให้ผู้ท่ีไม่สําเร็จการศึกษาพร้อมรุ่นให้ลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนฤดูร้อน โดยงานหลักสูตรการเรียนการสอนเป็นแกนนําในการจัดตารางเรียนร่วมกับแผนกวิชา ให้นักเรียน นักศึกษาย่ืนความจํานงเปิดรายวิชาท่ีไม่ผ่านหรือปรับคะแนนเฉล่ียสะสมใหไ้ ด้ตามเกณฑ์การวัดผลและประเมนิ ผลเพ่อื สาํ เรจ็ การศกึ ษาตามหลักสูตร ความพยายาม (Attempt) สถานศึกษา มกี ารวางแผนและดําเนนิ พฒั นาผู้เรียนอย่างเปน็ ระบบและเป็นกระบวนการเพ่ือให้ผู้เรยี นมผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นและสําเรจ็ การศึกษาตามเกณฑท์ ่ีหลักสตู รกาํ หนดจัดครูที่ปรกึ ษากาํ กบั ดูแลนกั เรยี น นักศกึ ษาอยา่ งใกลช้ ดิ ประชาสัมพนั ธ์ขา่ วสารเกย่ี วกับการเรยี นให้นกั เรยี น นกั ศึกษาทราบทุกระยะ จดั ให้เรียนภาคเรียนฤดูรอ้ น ลงทะเบยี นเรียนปรับผลการเรยี น ผลสมั ฤทธ์ิ (Achievement) จากกการดาํ เนินงานดังกล่าวขา้ งต้นของสถานศกึ ษา ส่งผลให้นักเรียน ระดบั ปวช.๓ และนกั ศึกษา ระดับ ปวส.๒ สาํ เร็จการศกึ ษาตามเกณฑ์ จาํ นวน ๓๐๙ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๗๕.๙๒เทยี บกบั จํานวนผ้เู รียนแรกเขา้ ของรุน่ ทง้ั หมด จาํ นวน ๔๐๗ คน ระดับคณุ ภาพอยู่ในเกณฑ์ ดีมากความสาํ เร็จ ภาพรวมของสถานศกึ ษา ร้อยละ ๗๕.๙๒คา่ คะแนน ระดบั คณุ ภาพ ๔.๗๔ ดมี าก

รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจําปีการศกึ ษา ๒๕๕๘ ๓๔ตารางท่ี ๑.๗.๑ สรุปรอ้ ยละของผูส้ ําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรเทียบกบั ผู้เรยี นแรกเขา้ ของรนุ่ นั้น โดยพิจารณา จากภาพรวมของสถานศึกษา ปกี ารศึกษา ๒๕๕๗ระดับ ประเภทวชิ า วชิ า/สาขางาน จาํ นวนผเู้ รียน จํานวนผสู้ ําเรจ็ คิดเปน็ แรกเข้าของรนุ่ ** การศกึ ษา ร้อยละ ยานยนต์ ๕๙ ๔๐ ๖๗.๗ ซอ่ มบํารุงฯ ๕ ๔ ๘๐.๐ อุตสาหกรรม เช่ือมโลหะ ๘ ๕ ๖๒.๕ปวช. ไฟฟ้ากาํ ลัง ๕๐ ๓๕ ๗๐.๐ อเิ ล็กทรอนิกส์ ๓๗ ๒๒ ๕๙.๔๕ พาณิชยกรรม การบญั ชี ๔๘ ๓๙ ๘๑.๒๕ คอมพวิ เตอร์ธุรกิจ ๔๐ ๔๐ ๑๐๐ รวมระดบั ปวช. ๒๔๗ ๑๘๕ ๗๔.๘๙ระดบั ประเภทวชิ า วิชา/สาขางาน จํานวนผเู้ รยี น จาํ นวนผสู้ ําเรจ็ คดิ เปน็ แรกเข้าของรนุ่ ** การศกึ ษา รอ้ ยละ เทคนิคยานยนต์ ๒๗ ๒๑ ๗๗.๗๗ อุตสาหกรรม ติดตั้งไฟฟา้ ๓๘ ๒๗ ๗๑.๐๕ อิเลก็ ทรอนกิ สอ์ ตุ สาหกรรม ๒๔ ๒๓ ๙๕.๘๓ปวส. คอมพิวเตอรเ์ พอ่ื การบญั ชี ๓๑ ๒๖ ๘๓.๘๗ บรหิ ารธุรกจิ เทคโนโลยสี าํ นกั งาน ๒๗ ๑๙ ๗๐.๓๗ คอมพิวเตอรก์ ราฟิก ๑๓ ๘ ๖๑.๕๓ รวมระดับ ปวส. ๑๖๐ ๑๒๔ ๗๗.๕๐ รวมทัง้ หมด ๔๐๗ ๓๐๙ ๗๕.๙๒

รายงานการประเมินตนเอง ประจําปีการศกึ ษา ๒๕๕๘ ๓๕ตัวบง่ ชท้ี ี่ ๑.๘ ร้อยละของผสู้ าํ เรจ็ การศกึ ษาท่ไี ดง้ านทาํ หรือประกอบอาชีพอสิ ระ หรอื ศึกษาตอ่ภายใน ๑ ปี ความตระหนกั (Awareness) สถานศกึ ษา กาํ หนดนโยบายให้แผนกวิชาและงานแนะแนวอาชีพและการจัดหางานได้สร้างความเขา้ ใจ ความตระหนักให้ผู้สําเร็จการศึกษา รายงานผลการมีงานทํา การศึกษาต่อ และประกอบอาชีพอิสระกลับมายงั สถานศึกษา แผนกวิชา ครูที่ปรึกษา และงานแนะแนวอาชีพและการจัดหางาน มีหน้าท่ีติดตามการมีงานทําของผ้สู าํ เรจ็ การศึกษา การประกอบอาชีพอิสระและการศกึ ษาตอ่ อย่างต่อเนอื่ ง โดยจดั ทาํ โครงการอยู่ในแผนปฏิบตั ิการประจาํ ปีและปฏิทินการปฏิบัติงานของภาคเรยี น ความพยายาม (Attempt) สถานศึกษา ได้วางแผนและดําเนินการติดตามข้อมูลของผู้สําเร็จการศึกษาที่ได้งานทําหรือประกอบอาชีพอิสระ หรือศึกษาต่อภายใน ๑ ปี การเก็บข้อมูลผู้สําเร็จการศึกษาที่ใช้ในการรายงานเป็นการใช้ขอ้ มูลของผสู้ ําเรจ็ การศึกษาในปีการศึกษา ๒๕๕๗ ผลสัมฤทธิ์ (Achievement) จากการดําเนินงานดังกล่าวข้างต้น สถานศึกษาสามารถติดตามนักเรียน ระดับ ปวช.๓ และนกั ศกึ ษา ปวส.๒ มผี สู้ าํ เรจ็ การศึกษาเมอ่ื ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๗ ท่ีไดง้ านทําหรือประกอบอาชีพอสิ ระ หรือศกึ ษาต่อภายใน ๑ ปี จํานวน ๑๗๕ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๗๓.๒๒ ระดับคณุ ภาพอยู่ในเกณฑ์ ดีมากความสาํ เรจ็ ภาพรวมของสถานศกึ ษา ร้อยละ ๗๓.๒๒ค่าคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ๔.๕๗ ดีมาก

รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจาํ ปีการศกึ ษา ๒๕๕๘ ๓๖ตัวบ่งชท้ี ่ี ๑.๙ ระดบั ความพึงพอใจของสถานประกอบการ หน่วยงาน หรอื สถานศึกษา หรอื ผรู้ ับบรกิ ารทม่ี ีต่อคุณภาพของผู้สาํ เรจ็ การศกึ ษา ความตระหนกั (Awareness) สถานศกึ ษา จดั ทาํ โครงการประเมนิ ความพึงพอใจของสถานประกอบการ หนว่ ยงาน หรอืสถานศกึ ษา หรอื ผ้รู ับบริการที่มตี ่อคณุ ภาพผ้สู ําเร็จการศึกษา ๓ ดา้ น ด้านคณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ ด้านสมรรถนะหลกั และสมรรถนะทว่ั ไป และดา้ นสมรรถนะวิชาชีพ ความพยายาม (Attempt) สถานศึกษา ดําเนินการประเมินความพึงพอใจของสถานประกอบการ หน่วยงาน หรือสถานศึกษาหรือผู้รับบริการที่มีต่อคุณภาพของผู้สําเร็จการศึกษา ๓ ด้าน คือ ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ดา้ นสมรรถนะหลกั และสมรรถนะทั่วไป และดา้ นสมรรถนะวิชาชีพ ผลสมั ฤทธ์ิ (Achievement) จากการดําเนินงานดังกล่าวข้างต้น สถานศึกษามีระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการหนว่ ยงาน หรอื สถานศกึ ษา หรือผรู้ บั บรกิ ารทม่ี ตี อ่ คุณภาพของผสู้ ําเร็จการศึกษา ปฏิบัตติ ามประเด็น (๑) และมีผลตาม (๕) ระดบั คุณภาพอยใู่ นเกณฑ์ ดีมากความสําเรจ็ ๑.  มี ไมม่ ี การประเมนิ ความพงึ พอใจโดยกาํ หนด กลมุ่ ตวั อย่างสร้างเคร่อื งมือเก็บขอ้ มูล เก็บขอ้ มลู จากกลมุ่ ตวั อยา่ ง นาํ ขอ้ มูลมาวิเคราะห์ ๒. ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจเฉลี่ย ๓.๕๑ – ๕.๐๐ คดิ เปน็ ร้อยละ ๘๒.๙๙ คา่ คะแนน ระดับคณุ ภาพ ๕ ดมี าก

รายงานการประเมินตนเอง ประจําปีการศกึ ษา ๒๕๕๘ ๓๗สรุปผลการประเมนิ มาตรฐานท่ี ๑ ในแต่ละตัวบ่งชี้ตวั บง่ ชี้ เกณฑก์ ารตัดสนิ ผลสัมฤทธิ์ ผลการประเมนิ ของการตัวบ่งชี้ที่ ๑.๑ ร้อยละของผเู้ รยี นที่มี ดีมาก ๘๐ ข้นึ ไป ดําเนนิ งาน ๕ (ดมี าก)ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นเฉลี่ยสะสม ๒.๐๐ ดี ๗๐ – ๗๙.๙๙ ๕ (ดีมาก)ข้ึนไป พอใช้ ๖๐ – ๖๙.๙๙ ร้อยละ ๕ (ดมี าก) ตอ้ งปรบั ปรุง ๕๐ – ๕๙.๙๙ ๘๒.๖๕ ๕ (ดมี าก)ตวั บง่ ชี้ที่ ๑.๒ ระดับความพงึ พอใจของ ต้องปรบั ปรงุ เร่งด่วน < ๕๐ ๓.๘๓ (ดี)สถานประกอบการ หน่วยงาน ชมุ ชน ดมี าก ปฏบิ ัติ (๑) และมผี ล (๕) ปฏบิ ัติ (๑)ท่มี ตี ่อคุณภาพของผเู้ รยี น ดี ปฏิบัติ (๑) และมผี ล (๔) และมผี ล (๕) พอใช้ ปฏิบัติ (๑) และมีผล (๓)ตวั บง่ ชที้ ่ี ๑.๓ ร้อยละของผเู้ รยี นท่ีผา่ น ปรับปรงุ ปฏิบตั ิ (๑) และมีผล (๒) ร้อยละ ๑๐๐เกณฑก์ ารประเมินมาตรฐานวชิ าชพี ต้องปรับปรุงเร่งด่วน ปฏิบตั ิ (๑) ตั้งแตร่ อ้ ยละ ๘๐.๐๐ ข้นึ ไป เทียบได้ ร้อยละตัวบ่งช้ีที่ ๑.๔ ร้อยละของผเู้ รยี นท่ีมี ค่าคะแนน ๕ ๗๕.๙๒คะแนนเฉลยี่ จากการทดสอบทางการศึกษา ดีมาก ๔.๕๑ – ๕.๐๐ระดบั ชาติดา้ นอาชีวศึกษา (V-NET) ต้ังแต่ ดี ๓.๕๑ – ๔.๕๐ รอ้ ยละค่าคะแนนเฉลี่ยระดับชาตขิ ึน้ ไป พอใช้ ๒.๕๑ – ๓.๕๐ ๓๖.๘๓ ตอ้ งปรับปรุง ๑.๕๑ – ๒.๕๐ตวั บง่ ชีท้ ่ี ๑.๕ ร้อยละของผู้เรียนทม่ี ี ตอ้ งปรบั ปรงุ เร่งด่วน < ๑.๕๑คะแนนเฉล่ยี จากการทดสอบการศึกษา ตง้ั แต่ร้อยละ ๕๐.๐๐ ขน้ึ ไป เทียบได้ระดบั ชาตดิ ้านอาชวี ศกึ ษา (V-NET) ต้ังแต่ คา่ คะแนน ๕คา่ คะแนนเฉลย่ี ระดบั ชาติข้ึนไปในกลมุ่ วิชา ดีมาก ๔.๕๑ – ๕.๐๐ภาษาอังกฤษ ดี ๓.๕๑ – ๔.๕๐ พอใช้ ๒.๕๑ – ๓.๕๐ ต้องปรับปรงุ ๑.๕๑ – ๒.๕๐ ต้องปรับปรุงเร่งดว่ น < ๑.๕๑ ตง้ั แตร่ ้อยละ ๕๐.๐๐ ขึ้นไป เทียบได้ คา่ คะแนน ๕ ดมี าก ๔.๕๑ – ๕.๐๐ ดี ๓.๕๑ – ๔.๕๐ พอใช้ ๒.๕๑ – ๓.๕๐ ต้องปรับปรงุ ๑.๕๑ – ๒.๕๐ ต้องปรบั ปรุงเร่งด่วน < ๑.๕๑

รายงานการประเมินตนเอง ประจาํ ปีการศกึ ษา ๒๕๕๘ ๓๘ ตวั บง่ ช้ี เกณฑ์การตัดสิน ผลสมั ฤทธ์ิ ผลการประเมนิ ของการ ดําเนนิ งานตัวบง่ ชที้ ี่ ๑.๖ รอ้ ยละของผู้เรียนที่ผา่ น ตง้ั แตร่ ้อยละ ๘๐.๐๐ ขน้ึ ไป เทียบได้เกณฑก์ ารทดสอบมาตรฐานอาชพี ของ ค่าคะแนน ๕สถาบันคณุ วุฒวิ ชิ าชีพ หรอื หน่วยงานท่ี ดีมาก ๔.๕๑ – ๕.๐๐ *ยกเวน้ การประเมนิ ตามประกาศ คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในคณะกรรมการประกันคุณภาพภายใน ดี ๓.๕๑ – ๔.๕๐ การอาชวี ศึกษา*การอาชวี ศกึ ษารับรอง พอใช้ ๒.๕๑ – ๓.๕๐ ต้องปรบั ปรุง ๑.๕๑ – ๒.๕๐ ตอ้ งปรับปรุงเร่งด่วน < ๑.๕๑ตวั บ่งช้ีท่ี ๑.๗ รอ้ ยละของผสู้ าํ เร็จการ ตัง้ แตร่ ้อยละ ๘๐.๐๐ ขน้ึ ไป เทียบได้ศึกษาตามหลกั สูตรเทียบกบั แรกเข้า ค่าคะแนน ๕ รอ้ ยละ ๗๕.๙๒ ดีมาก ๔.๕๑ – ๕.๐๐ ๔.๗๔ (ดีมาก) ดี ๓.๕๑ – ๔.๕๐ พอใช้ ๒.๕๑ – ๓.๕๐ ตอ้ งปรับปรุง ๑.๕๑ – ๒.๕๐ ต้องปรับปรุงเร่งดว่ น < ๑.๕๑ตวั บ่งชท้ี ี่ ๑.๘ รอ้ ยละของผู้สําเร็จ ตั้งแตร่ อ้ ยละ ๘๐.๐๐ ขึ้นไป เทียบได้การศึกษาท่ไี ด้งานทาํ หรือประกอบอาชีพ ค่าคะแนน ๕อิสระ หรือศกึ ษาตอ่ ภายใน ๑ ปี ดีมาก ๔.๕๑ – ๕.๐๐ รอ้ ยละ ๔.๕๗ (ดมี าก) ๗๓.๒๒ ดี ๓.๕๑ – ๔.๕๐ พอใช้ ๒.๕๑ – ๓.๕๐ ตอ้ งปรบั ปรงุ ๑.๕๑ – ๒.๕๐ ตอ้ งปรับปรงุ เร่งด่วน < ๑.๕๑ตัวบง่ ชี้ท่ี ๑.๙ ระดับความพึงพอใจของ ดมี าก ปฏิบตั ิ (๑) และมีผล (๕)สถานประกอบการ หรือสถานศึกษา หรอื ผู้ ดี ปฏิบตั ิ (๑) และมีผล (๔) ปฏบิ ัติ (๑) ๕ (ดมี าก) และมผี ล (๕)รบั บรกิ ารทมี่ ตี ่อคณุ ภาพของผู้สาํ เร็จ พอใช้ ปฏิบตั ิ (๑) และมีผล (๓)การศึกษา ตอ้ งปรบั ปรงุ ปฏิบัติ (๑) และมผี ล (๒) ต้องปรบั ปรุงเรง่ ด่วน ปฏิบตั ิ (๑) สรปุ ผลการประเมินตามมาตรฐานที่ ๑สรุปจุดเดน่ และจุดทต่ี อ้ งพัฒนาของมาตรฐานที่ ๑จุดเดน่ ได้แก่ ตัวบ่งชที้ ่ี ๑.๑ รอ้ ยละของผ้เู รียนทมี่ ีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยสะสม ๒.๐๐ ขึน้ ไป ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๑.๒ ระดบั ความพึงพอใจของสถานประกอบการ หนว่ ยงาน ชุมชน ท่มี ตี อ่ คณุ ภาพของผูเ้ รียน

รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจาํ ปีการศึกษา ๒๕๕๘ ๓๙ ตัวบ่งชท้ี ่ี ๑.๓ รอ้ ยละของผู้เรียนทผี่ ่านเกณฑ์การประเมนิ มาตรฐานวชิ าชีพ ตวั บง่ ชี้ที่ ๑.๔ รอ้ ยละของผเู้ รยี นท่มี คี ะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติอาชวี ศึกษา (V-NET) ตั้งแต่คะแนนเฉลยี่ ระดบั ชาติขนึ้ ไป ตัวบ่งชี้ท่ี ๑.๕ รอ้ ยละของผู้เรียนที่มคี ะแนนเฉลยี่ จากการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตดิ ้าน อาชีวศกึ ษา (V-NET) ตั้งแตค่ ่าคะแนนเฉลยี่ ระดบั ชาติขึน้ ไปในกลุม่ วิชาภาษาอังกฤษ ตัวบ่งชที้ ่ี ๑.๗ ร้อยละของผู้สําเรจ็ การศกึ ษาตามหลกั สตู รเทียบกับแรกเขา้ ตวั บง่ ชีท้ ี่ ๑.๘ ร้อยละของผู้สําเร็จการศกึ ษาทไ่ี ดง้ านทาํ หรือประกอบอาชพี อิสระ หรอื ศกึ ษาต่อ ภายใน ๑ ปี ตวั บง่ ชีท้ ่ี ๑.๙ ระดบั ความพึงพอใจของสถานประกอบการ หน่วยงาน หรอื สถานศกึ ษา หรือผรู้ ับบริการ ท่ีมตี ่อคุณภาพของผู้สําเรจ็ การศึกษาจุดที่ต้องพฒั นา ได้แก่ -

รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจาํ ปกี ารศึกษา ๒๕๕๘ ๔๐มาตรฐานที่ ๒ ด้านหลักสตู รและการจัดการเรยี นการสอนอาชีวศึกษาตัวบง่ ช้ีท่ี ๒.๑ ระดับคุณภาพในการใชแ้ ละพัฒนาหลกั สูตรฐานสมรรถนะรายวชิ าท่สี อดคลอ้ งกบัความตอ้ งการของสถานประกอบการ หรือประชาคมอาเซียน ความตระหนกั (Awareness) สถานศึกษา มีการพัฒนาและใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะรายวิชาในระดับสาขางานโดยความร่วมมือกับสถานประกอบการ และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน ชุมชนและท้องถ่ิน ดําเนินตามขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ ซึ่งมอบหมายให้แต่ละสาขางานดําเนินการให้สอดคล้องกับบริบท และปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนเป็นหลักเพ่ือแก้ปัญหา และสร้างโอกาสในการพัฒนาผเู้ รยี นใหม้ ีสมรรถนะวชิ าชีพ ตามเป้าหมายของหลักสตู ร ความพยายาม (Attempt) สถานศึกษา ดําเนินการเพื่อนําไปสู่ความสําเร็จตามเป้าหมายมาตรฐานคุณภาพ โดยการทบทวนการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้ของแต่ละสาขางานที่คํานึงถึงผู้เรียนเป็นหลัก การลงนามความร่วมมือกับสถานประกอบการ การจัดโครงการจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี จากการดําเนินการอย่างเป็นระบบจึงทําให้เกิดการพัฒนาหลักสูตร ปรับปรุงแผนการเรียน และพัฒนาหลักสูตรรายวิชาให้เป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะสู่การจัดการทําแผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ีเนน้ ผ้เู รียนเป็นสาํ คญั นําไปใช้การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๑. สาํ รวจความต้องการในการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะรายวิชา ๒. พัฒนาหลักสตู รฐานสมรรถนะในระดบั รายวชิ าและแผนการเรียนใหม้ ีคณุ ภาพสอดคลอ้ งกบั ความต้องการของสถานประกอบการ ตลาดแรงงานและชมุ ชน ๓. ครูนาํ หลักสูตรฐานสมรรถนะรายวชิ า และแผนการเรยี นรายวชิ าทีไ่ ด้พัฒนาแล้วไปใช้จัดการเรียนการสอน ผลสัมฤทธ์ิ (Achievement) ผลการดําเนินงาน ทุกแผนกวิชาได้พัฒนาครบตามประเด็นตัวบ่งชี้กําหนด และได้นําหลักสูตรฐานสมรรถนะที่พัฒนาไปใช้ในการเรียนการสอน และสถานศึกษาได้มีการพัฒนาหลักสูตรสมรรถนะรายวิชาท่ีสอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของสถานประกอบการหรือประชาคมอาเซยี น ปฏบิ ตั ติ ามประเด็น (๑) (๒) (๓)และ (๔) ระดับคุณภาพอยใู่ นเกณฑ์ ดีความสาํ เรจ็ ปฏิบัตติ ามประเด็น (๑) (๒) (๓) และ (๔)คา่ คะแนน ระดับคณุ ภาพ ๔ ดี

รายงานการประเมินตนเอง ประจาํ ปกี ารศึกษา ๒๕๕๘ ๔๑ตัวบ่งชีท้ ี่ ๒.๒ ระดับคุณภาพในการจดั ทาํ แผนการจดั การเรียนรรู้ ายวิชา ความตระหนกั (Awareness) สถานศึกษา มีการส่งเสริมให้ครูผู้สอนจัดทําแผนการเรียนรู้รายวิชาด้วยเทคนิควิธีการสอนท่ีหลากหลาย ท่ีมุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพและบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์และปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง โดยเนน้ ผเู้ รียนเปน็ สาํ คัญ มีการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน การใชส้ ื่อการสอน การวัดและประเมินผลที่หลากหลาย เหมาะสมและสอดคล้องกับผู้เรียนตามแผนการจัดการเรียนรู้ มีการนิเทศการสอน และประเมินผลการสอนโดยรองฝ่ายวิชาการและคณะกรรมการและนําผลมาพัฒนาการจัดการเรยี นร้เู พ่อื ให้ผเู้ รียนได้พฒั นาตนเองตามธรรมชาตเิ ต็มศักยภาพ ความพยายาม (Attempt) สถานศึกษา โดยฝ่ายวิชาการ ได้มอบหมายให้หัวหน้าแผนกวิชาดําเนินการให้ครูผู้สอนทุกคนจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาแบบเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญในทุกรายวิชาท่ีสอน ด้วยเทคนิควิธีการสอนที่หลากหลาย ท่ีมุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพและบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง สกู่ ารนําไปใชใ้ นการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ การจดั ทาํ แผนการเรยี นรู้ ผลสัมฤทธิ์ (Achievement) จากการดําเนินงานข้างต้น สถานศึกษาดําเนินการให้ครูจัดทําแผนการเรียนรู้รายวิชาด้วยเทคนิควิธีการสอนที่หลากหลายที่มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ และบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ และปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งทุกรายวชิ าที่สอน จาํ นวน ๕๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐เทยี บกับจํานวนครูผสู้ อนทั้งหมด ๕๗ คน ปฏบิ ัติตามประเด็น (๑) และมผี ลตาม (๕) ระดับคุณภาพอยใู่ นเกณฑ์ ดมี ากความสําเรจ็ ปฏิบตั ิตามประเด็น (๑) และมีผลตาม (๕)คา่ คะแนน ระดบั คณุ ภาพ ๕ ดีมาก

รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจาํ ปกี ารศึกษา ๒๕๕๘ ๔๒ตวั บ่งชีท้ ่ี ๒.๓ ระดบั คณุ ภาพในการจัดการเรียนการสอนรายวิชา ความตระหนกั (Awareness) สถานศึกษา กําหนดใหค้ รูผสู้ อนทุกคนจัดการเรยี นการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ และจัดทําแผนการจดั การเรียนรู้ทกุ รายวชิ าท่สี อน โดยการปรับวธิ เี รยี นและใชเ้ ทคนคิ วธิ กี ารสอนท่หี ลากหลายทกุ หนว่ ยการสอน มีการสอนที่มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ และบูรณาการ คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม คุณลักษณะอันพึงประสงค์และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทุกรายวิชา ครูผู้สอนจัดทําสื่อและใช้เทคนิคท่ีเหมาะสมกับศักยภาพของผู้เรียน จัดให้มีการนิเทศการสอน บันทึกหลังการสอน และนําผลของปัญหามาแก้ไขและพัฒนาการจัดการเรยี นการสอนโดยการจัดทําวจิ ยั ในชัน้ เรียน ความพยายาม (Attempt) สถานศึกษา ให้ครูผู้สอนแต่ละคนจัดการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เป็นการนําแผนการจัดการเรียนรู้ที่เขียนไว้ไปใช้ให้บรรลุตามจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้โดยมุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ และบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์และปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง สูผ่ เู้ รยี นอยา่ งเหมาะสมกับเนอ้ื หาสาระการเตรียมเครอื่ งมืออุปกรณ์ ส่ือ ใบความรู้ ใบงาน นวัตกรรมทางการศึกษา ให้เหมาะสมกับสมรรถนะวิชาชีพเป็นสิ่งสําคัญของกระบวนการจดั การเรียนรู้ ผลสมั ฤทธิ์ (Achievement) จากการดําเนินงานดังกล่าวข้างต้น สถานศึกษาดําเนินการให้ครูจัดการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิควิธีการสอนท่ีหลากหลาย ที่มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพและบูรณาการคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันถึงประสงค์และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดําเนินการให้ครูใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสม ให้มีการนิเทศการจัดการเรียนการสอนและให้ครูทําบันทึกหลังการสอน ปฏิบัติตามประเด็น ๔ ขอ้ ระดบั คณุ ภาพอยใู่ นเกณฑ์ ดีความสาํ เร็จ ปฏิบตั ติ ามประเดน็ ๔ ขอ้ค่าคะแนน ระดับคณุ ภาพ ๔ ดี

รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจาํ ปกี ารศึกษา ๒๕๕๘ ๔๓ตัวบ่งชี้ท่ี ๒.๔ ระดับคณุ ภาพในการวัดผลและประเมนิ ผลการจัดการเรียนการสอนรายวชิ า ความตระหนกั (Awareness) สถานศึกษา ให้ความตระนักในกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญโดยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการจัดการเรียนการสอนต้ังแต่เริ่มต้น โดยได้มอบนโนบายให้ครูผู้สอนทุกคนดําเนนิ การกําหนด และแจง้ หลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ารวัดและประเมินผลให้ผเู้ รียนทราบกอ่ นการจัดการเรยี นการสอนมีการวัดและประเมินผล ตามแผนการจัดการเรียนรู้ ใช้วิธีการวัดและประเมินผลที่หลากหลายและเหมาะสม ให้ผู้เรยี นมสี ว่ นรว่ มในการวดั และประเมนิ ผลและนาํ ผลจากการวัดและประเมินผลไปใช้ในการพัฒนาสมรรถนะผู้เรียนท่ีมุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ และบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพือ่ ให้ผเู้ รยี นมคี ุณภาพตามมาตรฐานของหลักสตู ร ความพยายาม (Attempt) สถานศึกษา โดยงานวัดผลและประเมินผล ฝ่ายวิชาการ แจ้งนโยบายให้ครูผู้สอนทุกคนรับทราบถึงกระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ โดยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการจดั การเรยี นการสอน ผลสมั ฤทธิ์ (Achievement) จากการดําเนินงานข้างตน้ สถานศกึ ษาดําเนินการให้ครทู ุกคนกําหนดและแจ้งหลกั เกณฑ์และวธิ กี ารวดั และประเมนิ ผลใหผ้ เู้ รียนทราบกอ่ นการจดั การเรียนการสอน มีการวดั และประเมนิ ผลตามแผนการจดั การเรยี นรู้ ใชว้ ิธีการวดั และประเมนิ ผลทห่ี ลากหลายและเหมาะสม ใหผ้ ูเ้ รยี นมสี ว่ นรว่ มในการวดั และประเมนิ ผล และนาํ ผลจากการวดั และประเมินผลไปใชใ้ นการพัฒนาสมรรถนะผเู้ รยี นท่มี งุ่ เน้นสมรรถนะอาชีพและบูรณาการคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคแ์ ละหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงทกุ รายวิชาที่สอน ปฏบิ ตั ติ ามประเด็น ๕ ขอ้ ระดบั คณุ ภาพอยู่ในเกณฑ์ ดีมากความสําเรจ็ ปฏบิ ตั ติ ามประเดน็ ๕ ขอ้ค่าคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ๕ ดีมาก

รายงานการประเมินตนเอง ประจาํ ปกี ารศึกษา ๒๕๕๘ ๔๔ตัวบง่ ช้ีท่ี ๒.๕ ระดับคณุ ภาพในการฝึกงาน ความตระหนกั (Awareness) สถานศึกษา ได้ตระหนักถึงการจัดการศึกษาวิชาชีพท่ีจะต้องให้นักเรียน นักศึกษา ได้ฝึกงานในสถานประกอบการ หรือจัดการศึกษาร่วมกับสถานประกอบการ ทั้งในระบบปกติ และทวิภาคี เพื่อฝึกทักษะความชํานาญ ประสบการณ์วชิ าชพี ใหก้ ับนักเรียน นักศกึ ษาตรงตามสาขางานที่เรยี น ความพยายาม (Attempt) สถานศึกษา โดยงานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ฝ่ายวิชาการ ได้ร่วมกับแผนกวิชากําหนดหลักเกณฑ์มาตรฐาน และกระบวนการออกฝึกงานของนักเรียน นักศึกษา เพื่อให้ผู้เรียนได้รับฝึกทักษะความชํานาญ ประสบการณ์วิชาชีพตรงตามสาขางานที่เรียน โดยมีการจัดทําแผนงานและกําหนดเป็นปฏิทินการดําเนินงาน ดงั น้ี ๑. จัดปฐมนเิ ทศนักเรียน นักศกึ ษากอ่ นออกฝึกงานในสถานประกอบการ พร้อมมีคูม่ ือการฝกึ งาน ๒. จดั ทาํ หนงั สือส่งตัวนกั เรยี น นักศึกษาเข้าฝกึ งานในสถานประกอบการ ๓. กําหนดครูผูส้ อนและตารางการนิเทศนกั เรยี น นักศกึ ษาในสถานประกอบการ และให้รายงานผลการนเิ ทศเสนอวิทยาลยั ฯ ๔. มกี ารวัดแลและประเมินผลการฝึกงานของนักเรยี น นกั ศกึ ษาโดยใหค้ รผู ทู้ ําการนเิ ทศรว่ มกับสถานประกอบการ หน่วยงานทร่ี ับนักเรียน นักศกึ ษา มีส่วนร่วมในการวัดและประเมนิ ผล ๕. มกี ารคดั เลอื กสถานประกอบการ หน่วยงาน และทําความร่วมมือในการสง่ นกั เรียนนักศึกษาเข้าฝกึ งาน ผลสัมฤทธิ์ (Achievement) จากการดาํ เนินงานดังกล่าวข้างต้น สถานศึกษามีการคัดเลือกสถานประกอบการหน่วยงานและทําความร่วมมือในการส่งผู้เรียนเข้าฝึกงานตามหลักสูตร มีการปฐมนิเทศผู้เรียนก่อนการฝึกงานพร้อมมีคู่มือการฝกึ งาน มกี ารนเิ ทศการฝกึ งานของผู้เรยี นในสถานประกอบการ ปฏบิ ัติตามประเดน็ ๕ ข้อระดับคุณภาพอยใู่ นเกณฑ์ ดมี ากความสําเรจ็ ปฏิบตั ิตามประเดน็ ๕ ข้อค่าคะแนน ระดับคณุ ภาพ ๕ ดีมาก

รายงานการประเมินตนเอง ประจําปีการศกึ ษา ๒๕๕๘ ๔๕สรปุ ผลการประเมินมาตรฐานที่ ๒ ในแตล่ ะตวั บง่ ช้ี ตัวบ่งชี้ เกณฑก์ ารตัดสิน ผลสมั ฤทธิ์ ผลการประเมนิ ของการตวั บง่ ชท้ี ี่ ๒.๑ ระดับคณุ ภาพในการใช้ ดมี าก ปฏิบตั ิ (๑) – (๕) ดาํ เนนิ งาน ๔ (ด)ี ๕ (ดมี าก)และพัฒนาหลกั สูตรฐานสมรรถนะรายวชิ า ปฏบิ ตั ิ ปฏิบัติ (๑) – (๔) ปฏบิ ตั ิ (๑) – (๔) ๔ (ด)ีทส่ี อดคล้องกับความตอ้ งการของสถาน พอใช้ ปฏิบตั ิ (๑) – (๓) ๕ (ดมี าก) ปฏบิ ตั ิ (๑) ๕ (ดมี าก)ประกอบการ หรือประชาคมอาเซียน ต้องปรบั ปรุง ปฏิบัติ (๑) - (๒) และมีผล (๕) ตอ้ งปรบั ปรงุ เรง่ ด่วน ปฏิบัติ (๑) ปฏบิ ัติ ๔ ขอ้ตัวบง่ ชที้ ่ี ๒.๒ ระดบั คุณภาพในการจัด ดมี าก ปฏิบตั ิ (๑) และมีผล (๕) ปฏิบัติ ๕ ข้อทาํ แผนการจัดการเรยี นรูร้ ายวชิ า ดี ปฏิบัติ (๑) และมีผล (๔) ปฏบิ ัติ ๕ ข้อ พอใช้ ปฏิบัติ (๑) และมีผล (๓) ตอ้ งปรบั ปรงุ ปฏิบตั ิ (๑) และมผี ล (๒) ตอ้ งปรับปรงุ เรง่ ดว่ น ปฏบิ ัติ (๑)ตวั บง่ ชี้ที่ ๒.๓ ระดับคณุ ภาพในการจดั ดมี าก ปฏิบตั ิ ๕ ขอ้การเรียนการสอนรายวชิ า ดี ปฏบิ ตั ิ ๔ ขอ้ พอใช้ ปฏบิ ัติ ๓ ข้อ ต้องปรับปรงุ ปฏิบตั ิ ๒ ขอ้ ต้องปรับปรงุ เร่งดว่ น ปฏบิ ตั ิ ๑ ข้อตวั บ่งชท้ี ่ี ๒.๔ ระดับคุณภาพในการวดั ดีมาก ปฏบิ ัติ ๕ ข้อและประเมินผลการจัดการเรยี นการสอน ดี ปฏบิ ัติ ๔ ขอ้รายวชิ า พอใช้ ปฏบิ ัติ ๓ ขอ้ ต้องปรบั ปรงุ ปฏบิ ัติ ๒ ข้อ ต้องปรับปรุงเร่งด่วน ปฏบิ ัติ ๑ ข้อตัวบ่งชี้ท่ี ๒.๕ ระดบั คุณภาพในการ ดีมาก ปฏิบัติ ๕ ข้อฝกึ งาน ดี ปฏบิ ัติ ๔ ขอ้ พอใช้ ปฏบิ ตั ิ ๓ ขอ้ ตอ้ งปรับปรุง ปฏิบตั ิ ๒ ข้อ ต้องปรบั ปรงุ เร่งดว่ น ปฏิบตั ิ ๑ ข้อ สรปุ ผลการประเมนิ ตามมาตรฐานที่ ๒สรปุ จดุ เด่น และจุดทต่ี อ้ งพัฒนาของมาตรฐานท่ี ๒จดุ เด่น ได้แก่ ตวั บ่งชท้ี ี่ ๒.๑ ระดบั คณุ ภาพในการใช้และพัฒนาหลกั สตู รฐานสมรรถนะรายวิชาทส่ี อดคล้องกับ ความตอ้ งการของสถานประกอบการ หรือประชาคมอาเซยี น

รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจําปีการศึกษา ๒๕๕๘ ๔๖ ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๒.๒ ระดับคณุ ภาพในการจัดทาํ แผนการจดั การเรียนร้รู ายวชิ า ตัวบง่ ชที้ ่ี ๒.๓ ระดับคุณภาพในการจดั การเรยี นการสอนรายวิชา ตวั บง่ ช้ีท่ี ๒.๔ ระดบั คุณภาพในการวดั ผลและประเมนิ ผลการจดั การเรียนการสอนรายวชิ า ตัวบง่ ชี้ท่ี ๒.๕ ระดบั คณุ ภาพในการฝึกงานจดุ ทตี่ อ้ งพัฒนา ได้แก่ -

รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจาํ ปีการศึกษา ๒๕๕๘ ๔๗มาตรฐานท่ี ๓ ดา้ นการบริหารจดั การอาชวี ศกึ ษาตัวบ่งช้ที ี่ ๓.๑ ระดบั คณุ ภาพในการปฏิบัตงิ านของคณะกรรมการสถานศกึ ษาหรือวิทยาลยั ความตระหนกั (Awareness) สถานศึกษา ฝ่ายบรหิ ารใช้ความรู้ ความสามารถในการบรหิ ารงาน การใชภ้ าวะผู้นาํ การให้คําแนะนําการผสานความร่วมมือของบคุ ลากรในวิทยาลัยการอาชีพบวั ใหญ่ และบคุ คลภายนอกใหเ้ ขา้ มามสี ่วนร่วมในการจัดการการศึกษา ดําเนนิ การจัดโครงการ กจิ กรรม หรอื งานเพ่อื ใหบ้ รรลุตามเป้าหมายขอ้ เสนอแนะตา่ งๆ ผรู้ ับผดิ ชอบในแต่ละงานเปน็ ผรู้ ับผดิ ชอบจัดทาํ โครงการ กิจกรรม หรืองาน และนําไปกาํ หนดไว้ในแผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา แผนปฏิบัติการประจําปีของวทิ ยาลัย โดยดาํ เนินกิจกรรมต่างๆ เช่น การจัดการประชุมคณะกรรมการสถานศกึ ษา ความพยายาม (Attempt) สถานศึกษา ได้บริหารจัดการสถานศึกษาร่วมกับคณะกรรมการสถานศึกษาหรือวิทยาลัยโดยเปิดโอกาสใหป้ ระธานกรรมการและกรรมการสามารถปฏิบัติตามหลกั เกณฑ์ ข้อกาํ หนดของกฏหมายทเี่ กี่ยวข้อง ผลสัมฤทธิ์ (Achievement) จากการดําเนินงานขา้ งตน้ ส่งผลใหส้ ถานศกึ ษา มีระดับคณุ ภาพในการปฏิบัติงานของคณะกรรมการสถานศึกษาหรอื วทิ ยาลยั ปฏบิ ัติตามประเด็น ๕ ข้อ ระดับคุณภาพอยใู่ นเกณฑ์ ดีมากความสาํ เรจ็ ปฏบิ ตั ิตามประเด็น ๕ ขอ้ค่าคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ๕ ดีมาก

รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจําปีการศกึ ษา ๒๕๕๘ ๔๘ตัวบ่งชที้ ี่ ๓.๒ ระดบั คณุ ภาพในการจดั ทําแผนการบรหิ ารจดั การสถานศึกษา ความตระหนกั (Awareness) สถานศกึ ษา ให้ความตระหนักต่อการจัดทําแผนปฏิบัติการประจําปี แบบมีส่วนร่วมของครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษา ผู้เรียน ชุมชน สถานประกอบการ และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง โดยมุ่งเน้นผลสัมฤทธ์ิตามยุทธศาสตร์ นําจุดด้อยหรือข้อควรพัฒนาและข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในโดยต้นสังกัด และคณะกรรมการประเมินคุณภาพจากภายนอก (สมศ.) มาเป็นแนวทางในการพิจารณาโครงการเรียงลําดับความสําคัญนําเสนอต่อคณะกรรมการบริหารสถานศึกษาพิจารณานําเข้าแผนปฏิบัติการประจาํ ปี ก่อนจดั ทาํ แผนฉบับร่างพิจารณาทบทวนอกี ครง้ั และจดั ทําฉบับสมบรู ณ์เสนออนุมตั ิใชต้ ามลําดบั ความพยายาม (Attempt) สถานศกึ ษา มแี ผนงาน โครงการจดั ทาํ แผนพฒั นาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา โดยให้ความสําคัญตอ่ การมสี ่วนร่วมของครู และบคุ ลากรทกุ ฝ่ายในถานศกึ ษา ผ้เู รยี น ชุมชน สถานประกอบการ และหน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้อง ผลสัมฤทธิ์ (Achievement) จากการดําเนินงานดังกล่าวข้างต้น ส่งผลให้สถานศึกษา มีระดับคุณภาพในการจัดทําแผนการบริหารการสถานศกึ ษา ปฏิบตั ติ ามประเด็น (๑) (๒) (๓) (๔) และ (๕) ระดบั คณุ ภาพอย่ใู นเกณฑ์ ดีมากความสําเรจ็ ปฏบิ ัตติ ามประเด็น (๑) (๒) (๓) (๔) และ (๕)คา่ คะแนน ระดบั คณุ ภาพ ๕ ดมี าก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook