การพฒั นาส่ือมลั ตมิ เี ดยี เพือ่ การเรยี นรู้ เร่อื ง กาพยห์ อ่ โคลงประพาสธารทองแดง สาหรบั นักเรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 ของ นายชูศกั ด์ิ เชอ้ื คาจันทร์ รหสั นกั ศึกษา 60810101007 เสนอตอ่ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั รอ้ ยเอ็ด เพื่อเปน็ สว่ นหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย ปกี ารศกึ ษา 2564 ลิขสิทธ์เป็นของมหาวทิ ยาลัยราชภฏั ร้อยเอด็
ชอ่ื เรอื่ ง การพัฒนาสื่อมลั ตมิ เี ดยี เพื่อการเรียนรู้ เร่ือง กาพยห์ ่อโคลงประพาสธารทองแดง ผ้วู ิจยั สาหรบั นักเรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 ทป่ี รกึ ษา ปรญิ ญา นายชศู กั ด์ิ เชอื้ คาจันทร์ สถานศึกษา อาจารย์สันติ ทิพนา ครศุ าสตรบณั ฑิต สาขาวิชา ภาษาไทย มหาวทิ ยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด ปีการศึกษา 2564 บทคดั ย่อ วัตถุประสงค์การวิจัย 1) เพื่อเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนกอ่ นและหลงั เรยี นด้วยส่อื มัลตมิ ีเดีย เพื่อการเรียนรู้ เร่ือง เรื่อง การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียเพ่ือการเรียนรู้ เรื่อง กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง สาหรับนักเรียนช้ันมะยมศึกษาปีที่ 2 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนในการใช้สื่อมัลติมีเดีย คอมพิวเตอร์ เรื่อง กาพย์หอ่ โคลงประพาสธารทองแดง สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 กลุ่มตัวอยา่ งทีใ่ ช้ ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนธวัชบุรีวิทยาคม อาเภอธวัชบุรี จังหวัด ร้อยเอ็ด ปีการศึกษา 2564 จานวน 15 คน ได้มาโดยเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เคร่ืองมือที่ ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ ได้แก่ 1) สื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ เร่ือง กาพย์ห่อโคลงประพาสาร ทองแดง จานวน 1 ชุด 2) แผนการจัดการเรียนสาหรับจัดการเรียนรู้ จานวน 6 แผน 3) แบบทดสอบก่อน เรียนและหลังเรียน ท่ีผ่านการประเมินจากผู้เชี่ยวชาญด้านการวัดและประเมินผล จานวน 20 ข้อ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ท่ีมีต่อส่ือมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ เร่ือง กาพย์ ห่อโคลงประพาสารทองแดง ลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประเมินค่า (Rating Scales) 5 ระดับ จานวน 12 ข้อ ผลการวจิ ัยพบวา่ 1) ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนก่อนและหลังเรยี นด้วยสอ่ื มลั ติมเี ดียเพื่อการเรียนรู้ เรอื่ ง เรื่อง กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง สาหรับนักเรียนช้ันมะยมศึกษาปีท่ี 2 พบว่า ผลสัมฤทธ์ิหลังเรียนสูง กว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.5 ซ่ึงเป็นไปตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 2) ความพึงพอใจของ นกั เรยี นท่ีมตี อ่ ส่อื มลั ตมิ ีเดยี เพื่อการเรยี นรู้ เรื่อง กาพย์หอ่ โคลงประพาสธารทองแดง มคี ่าเฉลยี่ อยู่ท่ี 4.07 ซงึ่ มี ความพึงพอใจอยู่ในระดบั มาก
กิตติกรรมประกาศ การวิจัยฉบับน้ีสาเร็จสมบูรณ์ได้ด้วยความกรุณาและความช่วยเหลืออย่างดี จากท่านอาจารย์สันติ ทิพนา ท่ีให้ความเมตตา ให้คาปรึกษา แนะนาตรวจสอบ ตลอดจนให้ข้อคิดเห็นต่าง ๆ เพื่อให้งานวิจัยเสร็จ สมบูรณ์ และขอขอบคุณอาจารย์ประจาสาขาวิชาภาษาไทย ที่คอยอบรมสั่งสอนให้มีความรอบรู้ ผู้วิจัยรู้สึก ทราบซงึ้ ในความกรุณาของทา่ น จึงขอกราบขอบพระคณุ ไว้ ณ โอกาสนี้ ขอขอบพระคุณ อาจารย์ประจาสาขาวิชาภาษาไทย ที่ได้ประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู้แก่ผู้วิจัย และ ผู้เชี่ยวชาญทุกท่านที่ให้ความอนุเคราะห์ในการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือและให้ข้อเสนอแนะ ท่ีเป็น ประโยชน์ในการวิจยั ครงั้ น้ี ขอขอบคุณผู้บริหารผู้บริหาร ครู เพ่ือนสาขาวิชาภาษาไทย และนกั เรียน ท่ีให้อนุเคราะหแ์ ละให้ความ ช่วยเหลือในการเก็บรวบรวมข้อมูลการวจิ ัยคร้งั น้ี คุณค่าและประโยชนข์ องงานวิจัยฉบับน้ี ขอมอบบูชาพระคุณ บดิ า มารดา ครู อาจารยท์ ่ีมสี ่วนให้ชีวิต และปัญญา แกผ่ วู้ จิ ยั จนประสบความสาเรจ็ ชูศักด์ิ เชื้อคาจันทร์
สารบัญ หนา้ บทที่ 1 1 บทนา.......................................................................................................................... 4 4 ความเป็นมาและความสาคัญของปญั หา………………………………………………… 4 วตั ถุประสงค์การวิจยั ………………………………………………………………………….. 4 สมมตฐิ านการวจิ ัย……………………………………………………………………………… 5 ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ………………………………………………………………….. 6 ขอบเขตของการวิจยั ...................................................................................... 7 นิยามศัพทเ์ ฉพาะ……………………………………………………………………………….. 7 กรอบแนวคิดการวจิ ยั .................................................................................... 20 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวจิ ัยทเ่ี ก่ียวข้อง................................................................... 24 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551......................... 28 แนวคิด ทฤษฎีเกีย่ วกบั สอื่ ............................................................................ 33 แนวคดิ เกีย่ วกับสื่อมลั ตมิ ีเดียเพ่ือการเรียนรู้................................................. 34 แนวคิดเก่ยี วกับบวรรณคดี............................................................................ 39 ความรู้เกยี่ วกับกาพยห์ ่อโคลงประพาสธารทองแดง...................................... 41 เอกสารและงานวจิ ัยที่เก่ียวข้องกับผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน.......................... 45 ความพึงพอใจ............................................................................................... 45 งานวจิ ัยทเี่ กยี่ วข้อง....................................................................................... 45 3 วิธีดาเนินการวจิ ยั ...................................................................................................... 45 การกาหนดประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง......................................................... 50 เครื่องมือท่ีใช้ในการวิจยั ............................................................................... 50 การสร้างและหาคณุ ภาพเครื่องมอื ............................................................... 53 การเก็บรวบรวมข้อมลู .................................................................................. การวิเคราะห์ขอ้ มลู ....................................................................................... 53 4 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล.............................................................................................. 53 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลการเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนกอ่ นเรยี น 55 และหลังเรียน................................................................................................. 55 ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู การศกึ ษาความพงึ พอใจของนักเรยี น......................... 55 5 สรปุ อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ.......................................................................... 56 สรปุ ผลการวิจยั ............................................................................................. อภปิ รายผล................................................................................................... ขอ้ เสนอแนะ................................................................................................. บรรณานุกรม.............................................................................................................................. 57
สารบัญ (ตอ่ ) หน้า 61 ภาคผนวก...................................................................................................... ............................. 62 ภาคผนวก ก รายนามผูท้ รงคุณวฒุ ิ……………………………………………………… 63 ภาคผนวก ข แผนการจัดการเรียนรู้………………………………………..….……….. 82 ภาคผนวก ค ภาพส่ือมัลติมีเดียเพอื่ การเรยี นรู้…………………….……………….. 105 ภาคผนวก ง คะแนนผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน……………………………………….. 107 ภาคผนวก จ แบบประเมินความพึงพอใจของผู้เรยี น……………………………… 109 ภาคผนวก ช การหาคุณภาพของสื่อมัลติมีเดยี เพื่อการเรยี นรู้…………………. ประวตั ิผู้วิจัย............................................................................................................................... 114
บญั ชีตาราง หน้า 49 ตารางท่ี 1 แบบแผนการวจิ ัย…………………………………………………………………………………………. 53 2 แสดงการเปรยี บเทียบผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนก่อนเรียนและหลังเรยี นและของ 54 กล่มุ ตัวอยา่ ง ที่เรยี นรโู้ ดยใชส้ ่ือมลั ติมีเดียเพื่อการเรยี นรู้ เร่ือง กาพย์หอ่ โคลง ประพาสธารทองแดง……………………………………………………………………………………. 3 แสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูลการศกึ ษาความพงึ พอใจของนักเรยี นทเ่ี รียนรูโ้ ดยใช้ส่อื มัลติมีเดยี เพ่ือการเรยี นรู้ เรื่อง กาพยห์ ่อโคลงประพาสธารทองแดง………………….…
บทที่ 1 บทนำ ควำมเปน็ มำและควำมสำคญั ของปญั หำ วิชาภาษาไทย ถือเป็นวิชาท่ีมีความสาคัญวิชาหน่ึงสาหรับการศึกษาของประเทศไทย เน่ืองจาก ภาษาไทย เป็นภาษาประจาชาติ เป็นเครื่องมือท่ีจาเป็นจะต้องใช้ ไม่ว่าจะเป็นการติดต่อส่ือสารกันใน ชวี ิตประจาวัน การทางาน และการแสวงหาความรู้ การเรียนรภู้ าษาไทยมีความสาคัญและจาเป็นสาหรบั การ เรียนร้แู ละเปน็ หัวใจของทกุ วชิ า เนื่องจากวา่ จาเปน็ จะตอ้ งใชก้ ารฟงั การพดู การอ่าน และการเขียนในรายวชิ า อืน่ ๆ ด้วย ดงั นั้นแล้วถ้าขาดความรู้ความเข้าใจในการใช้ภาไทย ก็จะทาให้ประสิทธิภาพในการการเรียนรู้วิชา อ่ืนลดลงและเป็นอุปสรรคต่อการเรียนรู้ได้ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จึง กาหนดให้ภาษาไทยเป็นทักษะที่ตองฝึกฝนจนเกิดความชานาญในการใช้ภาษา เพ่ือการสื่อสาร การ เรียนรู้ อย่างมปี ระสิทธภิ าพและเพ่อื นาไปใช้ในชีวิตจรงิ (กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2551 : 37) หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกาลัง ของชาตใิ ห้เปน็ มนุษย์ท่ี มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกใน ความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดม่ันใน การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพ้ืนฐาน รวมท้ัง เจตคติ ที่จาเป็นต่อ การศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็น สาคัญ บนพื้นฐานความเช่ือว่า ทุกคนสามารถเรยี นร้แู ละพฒั นาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ ท้ังนเี้ พอื่ ใหผ้ ู้เรียนมี ทักษะในการใช้ภาษาเพ่ือการสื่อสาร การเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ และเพื่อนาไปใช้ในชีวิตจริง หลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี พ.ศ. 2551 ได้กาหนดให้ผู้เรียนระดับช้ันประถมศึกษาได้เรียนรู้ภาษาไทย อย่างเต็มศักยภาพ โดยกาหนดสาระและมาตรฐานที่จาเป็นออกเป็น 5 สาระ 5 มาตรฐาน และ 180 ตัวช้ีวัด บทบาทครูผู้สอนจะต้องเปลี่ยนจากการเป็นผู้นา ผู้ถ่ายทอดความรู้ไปเป็นผู้ช่วยเหลือส่งเสริมและสนับสนุนให้ ผู้เรียนไดแ้ สวงหาความรู้จากส่ือและแหลง่ เรียนรู้ โดยจดั กิจกรรมการเรียนการสอนท่ีเน้นผเู้ รียนเป็นสาคญั เปิด โอกาสให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในกระบวนการจัดการเรียนรู้มากที่สุด มีบทบาทมากที่สุด ซ่ึงนักจิตวิทยาแนว พุทธิปัญญานิยมให้หลักการพื้นฐานในการสอนว่า ผู้เรียนจะต้องเป็นผู้ลงมือกระทาในการร่วมกิจกรรมเพ่ือให้ บรรลุเป้าหมายและสรา้ งความรู้ด้วยตนเอง โดยมีครูเป็นผู้ช่วยเอ้ือกระบวนการสร้างความรู้ของผู้เรียน โดยใช้ วิธีท่ีเหมาะสมกับผู้เรียนแต่ละคน ส่งเสริมให้ผู้เรียนคิดเป็นและคิดอย่างมีประสิทธิภาพ รู้จักประเมินความคิด ของตนเอง มีความมนั่ ใจและภูมิใจวา่ สามารถทางานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ (สุรางค์ โควต้ ระกลู, 2552 : 319) การจัดการเรียนรู้ในรายวิชาภาษาไทยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจในเนื้อหาน้ัน ถือเป็นความท้าทาย อย่างย่ิงสาหรับครูผู้สอน เนื่องจากภาษาไทยมีเน้ือหาที่หลากหลาย โดยเพพาะด้านหลักภาษา ท่ีจะต้องทา ความเข้าใจอย่างลึกซ้ึง จึงจะทาให้สามารถใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้อง เพ่ือให้จัดการเรียนรู้ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ครูผู้สอนจะต้องจัดการเรียนรู้ให้มีองค์ประกอบท่ีครบถ้วน อันได้แก่ ลักษณะของผู้เรียน อันประกอบด้วยลักษณะทางกายภาพ จิตใจ สติปัญญา จริยธรรมค่านิยม แรงจูงใจ พฤติกรรมส่วนตัว พฤติกรรมกลมุ่ ความต้องการพิเศษ เพศ และวฒั นธรรมทต่ี ิดตวั มา ลักษณะของผู้สอนอนั ประกอบดว้ ยเจตคติ ต่อการเรียนรู้ เจตคตติ อ่ ผเู้ รยี น เจตคติตอ่ ตนเอง และความเขา้ ใจในงานวิจัยท่ีเกีย่ วข้อง กลยุทธ์ในการสอนอัน ประกอบด้วยการนาทฤษฎีการเรยี นร้มู าปฏบิ ัติจริง วิธีสอนและต้นแบบ วธิ ีสอนเพพาะรายบคุ คล แผนการสอน เทคนิคที่หลากหลาย วินัยของผู้เรียน การใช้แบบทดสอบ เน้ือหาวิชาอันประกอบด้วยโครงสร้างท่ีสาคัญ แนวคิดพื้นฐานของเนื้อหาที่จะสอน ลาดับของเน้ือหา การเลือกเน้ือหาในการสอน ระดับความสาคัญของ เน้อื หาในแตล่ ะส่วน ฯลฯ (อชั รา เอบิ สขุ สริ ิ, 2556 : 106)
2 สื่อการเรียนรู้เป็นเคร่ืองมือส่งเสริมสนับสนุนการจัดการกระบวนการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนเข้าถึงความรู้ ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะตามมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่ือการ เรียนรู้มีหลากหลายประเภท ทั้งส่ือธรรมชาติ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยี และเครือข่ายการเรียนรู้ต่างๆ ท่ีมีใน ทอ้ งถิ่น การเลอื กใช้สอื่ ควรเลือกให้มีความเหมาะสมกลับระดับพัฒนาการและลีลาการเรียนรู้ทหี่ ลากหลายของ ผู้เรียน (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551 : 27) ครูผู้สอนจงึ มีบทบาททจ่ี ะต้องจดั เตรียมและเลือกสือ่ ที่เหมาะสมกับ กจิ กรรมและเนื้อหา ส่ือการเรียนการสอนนับเป็นองคป์ ระกอบที่สาคัญมากประการหน่ึงในกระบวนการเรียน การสอน นอกเหนอจากตัวผู้สอน ผู้เรียนและเทคนิควิธีการต่าง ๆ บทบาทของส่ือการเรียนการสอนก็คือ เป็น ตัวกลาง พาหนะ หรือเคร่ืองมือ หรือช่องทางทใี่ ช้นาเรื่องราว ข้อมูล ความรู้ หรือสง่ิ บอกกล่าว (Information) ของผู้ส่งสาร หรือผู้สอนไปสู่ผู้รับหรือผู้เรียน เพื่อทาให้การเรียนรู้บรรลุผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์หรือ จุดมุ่งหมายที่วางไว้ไดเ้ ป็นอย่างดี สือ่ การเรียนการสอนไดร้ ับการพัฒนาอย่างต่อเน่ืองสอดคล้องกบั การพัฒนา ทางด้านเทคโนโลยีด้านต่าง ๆ จากส่ือพื้นฐานซึ่งเป็นภาษาพูดหรือเขียนจนถึงปัจจุบันส่ือจะมีหลายประเภท หลายรูปแบบ ให้ผู้สอนได้พิจารณาเลือกใช้ ตามความเหมาะสมของส่ือแต่ละประเภทที่มีคุณลักษณะหรือ คุณสมบัติเพพาะตัวของมันเอง ส่ือการเรียนการสอนท่ีถือว่าทันสมัยในปัจจุบันก็คือ ส่ือประเภทซอฟต์แวร์ คอมพิวเตอร์ ซึ่งการพัฒนาเป็นไปอย่างรวดเร็วควบคู่ไปกับเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ท่ีเรียกว่า บทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI) หรือส่ือประสมท่ีเีร่ยกว่ามัลติมีเดีย (Multi Media) เป็นตน้ (ชวลติ เข่งทอง, 2560 : ก) ส่ือมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้หรือคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็นส่ือการเรียนการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ รูปแบบหน่ึงซึ่งใช้ความสามารถของคอมพิวเตอร์ในการนาเสนอส่ือผสมอันได้แก่ ข้อความ ภาพน่ิง กราฟฟิก แผนภูมิ ภาพเคล่ือนไหว วีดีทัศน์และเสียง เพอ่ื ถ่ายทอดเนื้อหาบทเรียนหรือองค์ความรู้ในลักษณะที่ใกลเ้ คียง กับการสอนจริงในห้องเรียนมากท่ีสุด โดยที่คอมพิวเตอร์ช่วยสอนจะนาเสนอเน้ือหาทีละหน้าจอภาพ ซึ่งจะ ถ่ายทอดในลักษณะทีแ่ ตกต่างกันออกไป โดยมเี ป้าหมายสาคญั คือ การได้มาซึ่งบทเรยี นคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอนที่ สามารถดึงดูดความสนใจของผู้เรียน และกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความต้องการท่ีจะเรียนรู้ สื่อมัลติมีเดียหรือ คอมพิวเตอร์ช่วยสอนจึงเป็นสื่อการสอนรูปแบบหนึ่งท่ีมคี วามน่าสนใจในการนามาใช้ประกอบการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ นอกจากนี้ส่ือมัลติมีเดียยังมีความสอดคล้องกับทฤษฎีการเรียนรู้หลายทฤษฎี เช่น ทฤษฎีกลุ่ ม พฤติกรรมนิยม (Behaviorism Theory) แนวความคิดพื้นฐานของนักทฤษฎีกลุ่มน้ีจะมองมนุษย์เหมือนกับผ้า ขาวท่ีว่างเปลา่ การเรียนรู้ ของมนุษย์เกดิ จากการเช่อื มโยงระหว่างส่งิ เร้าและการตอบสนอง ซึ่งต้องจดั เตรยี ม ประสบการณ์หรือสิ่งแวดล้อมภายนอกเพ่ือให้เกิดพฤติกรรมที่ต้องการ โดยประสบการณ์ดังกล่าวหากมีการ กระทาซ้าแล้วซ้าอีกกจ็ ะกลายเปน็ พฤติกรรมอตั โนมตั ิท่ีแสดงแสดงออกให้เหน็ อยา่ งชดั เจนเปน็ รูปธรรม (มาลิณี จุโฑประมา, 2554 : 69-80) ซ่ึงนักทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยมเชื่อว่า องค์ประกอบที่สาคัญของการเรียนรู้ ประกอบด้วย 4 ประการ คอื แรงขบั (Drive) ส่ิงเรา้ (Stimulus) การตอบสนอง (Response) การเสรมิ แรง (Reinforcement) ทฤษฎีกลุ่มปัญญานิยม (Cognitivism Theory) แนวความคิดพื้นฐาน นักทฤษฎีกลุ่มน้ี กลา่ วว่าบุคคลแตล่ ะคนจะมีโครงสรา้ งความรู้หรือ โครงสร้างทางปัญญาภายในท่มี ลี ักษณะเป็นโหนด หรือกลุ่ม ท่ีมีการเช่ือมโยงกันอยู่ การที่มนุษย์จะ รับรู้อะไรใหม่ ๆ น้ัน มนุษย์จะนาความรู้ที่เพ่ิงได้รับซ่ึงอยู่ในรูปแบบ ความจาชั่วคราวนั้นไปเช่ือมโยงกบั กลุ่มความรู้ทีม่ ีอยู่เดิม เกิดเป็นความรู้หรือความจาถาวร ซึ่งการผสมผสาน ระหว่างส่ิงที่ได้รับในปัจจุบันกับประสบการณ์ในอดีต จาเป็นต้องอาศัยกระบวนการทางปัญญา เข้ามามี อทิ ธิพลในการเรียนรดู้ ้วย ทฤษฎีกลุ่มนีจ้ ึงเน้นกระบวนการทางปญั ญา เช่น การรบั รู้ การระลึกหรอื จาได้ การ
3 คิดอย่างมีเหตุผล การตัดสินใจ การแก้ปัญหาการสร้างจินตนาการ เป็นต้น มากกว่าการวางเงื่อนไขเพื่อให้ เกิดพฤตกิ รรม รวมท้งั ให้ความสาคัญกบั ความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล (สุรางค์ โค้วตระกูล, 2554 : 158-161) ผลจากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยเกี่ยวกับการผลิตและใช้สื่อการสอน พบว่า การจัดการเรียนรู้ โดยครูนาส่ือมัลติมีเดีย มาเป็นสื่อการสอนประกอบการเรียนการสอนในรายวิชาต่าง ๆ ส่ือมัลติมีเดียเพ่ือการ เรียนรู้จงึ เป็นสื่อการสอนทเี่ หมาะสมกบั สภาพการเรียนการสอนทยี่ ึดผู้เรยี นเป็นศูนย์กลางหรือผเู้ รียนเป็นสาคัญ (ณัฐศักดิ์ จันทร์เพชร, วัลลยา ธรรมอภิบาล และ จินตนา กสินันท์, 2558 : 112) ส่ือมัลติมีเดียคอมพิวเตอร์ ส่งผลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนท่ีเรียนด้วยส่ือมัลติมีเดียคอมพิวเตอร์พัฒนาข้ึน (ปรเมศวร์ สิริสุ รภักดีธเรศวร์, เตชะไตรภพ และบริบูรณ์ ชอบทาดี, 2561 : 59) สื่อมัลติมีเดียเป็นการเรียนแบบอิสระ ผู้เรียน สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับสื่อ ผู้เรียนสามารถเลือกเน้ือหาได้ตามที่ต้องการ (โกเมณ ดกโบราณ, 2560 : 82) ในปี พ.ศ. 2564 ได้เกดิ เหตกุ ารณโ์ รคระบาดไวรสั COVID-19 ท่ีได้สร้างความเสียหายใหแ้ กส่ ังคมและ เศรษฐกิจของโลกเป็นอย่างมาก การแพร่ระบาดของ COVID-19 ได้ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อการศึกษาทุก ระดับทั่วโลก ทาให้สถานศึกษาเกือบทุกแห่งท่ัวโลกต้องปิดการเรียนการสอน ข้อมูลของ UNESCO (World Economic Forum, (2020) พบวา่ มจี านวนนักเรียน 1.38 พนั ล้านคน ได้รบั ผลกระทบจากการปิดสถานศกึ ษา ซึ่งเป็นผลกระทบต่อเนื่องอย่างกว้างขวาง และเกิดการปรับเปลี่ยนระบบการจัดการศึกษา ที่เด่นชัดท่ีสุด คือ การเรยี นการสอนที่ต้องดาเนินงานต่อ มิให้หยุดชะงกั เพราะจะส่งผลต่อคุณภาพของนักเรียน น่ันก็คือคุณภาพ ของประชากรในอนาคต จึงมีการปรับการเรียนสอนในหลายรูปแบบ เกิดนวัตกรรมทางความคิด มรี ูปแบบใหม่ ทางการเรียนการสอนจากนักเรียนไม่สามารถมาโรงเรียนได้ แต่สามารถเรียนได้ แนวคิดทางการเรียนการสอน ทางไกลโดยใช้ส่ือออนไลน์ (เทื้อน ทองแก้ว 2563 : 1-8) จากสาเหตุดังกล่าวจึงทาให้เห็นว่าเทคโนโลยี สารสนเทศ มีแนวโน้มจะเข้ามามีบทบาทสาคัญต่อการจัดการศึกษาในอนาคตเพ่ิมขึ้น ซึ่งจะทาให้เกิดความ ลาบากในการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอนและการเรียนรู้ของผู้เรียน เช่น รูปแบบของการจัดกิจกรรมที่จะมี ข้อจากัดมากขึ้น การขาดแคลนอุปกรณ์การเรียน ความมีวินัยของผู้เรียน ความสนใจในบทเรียนของผู้เรียน ดังนั้นแล้ว เพื่อปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ปัจจุบันการเลือกใช้ส่ือการสอนประเภทเทคโนโลยีมาใช้จัดการ เรยี นรู้ เชน่ สือ่ ออนไลน์ หรอื สือ่ มลั ติมีเดยี ก็จะชว่ ยเกดิ ประโยชน์ด้านการศกึ ษาไดใ้ นหลาย ๆ ดา้ น ปีการศึกษา 2564 ผู้วิจัยได้ปฏิบัติหน้าที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ณ โรงเรียนธวัชบุรีวิทยาคม อาเภอ ธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด ตั้งแต่วันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2564 ถึงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ.2564 โดยได้รับ มอบหมายให้ทาการสอนในรายวิชาภาษาไทย สาหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และสืบเน่ืองมาจากสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ทาให้กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายให้โรงเรียนจัดการเรียนการสอนให้ เหมาะสม เพ่ือรับมือกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 (ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การ เล่ือนการเปิดภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 ของกระทรวงศึกษาธิการ) ทางโรงเรียนจึงมนี โยบายให้จดั การ เรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์ จากบันทึกหลังการสอน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 24 และ 25 ที่ทาการ จดั การเรียนรเู้ ร่ือง กลอนบทละคร เรื่อง รามเกียรต์ิ ตอน นารายปราบนนทก พบว่า ในการจัดการเรียนรูแ้ บบ ออนไลน์และสอนเนอ้ื หาวรรณคดีแบบปกติ ส่งผลผู้เรียนเขา้ ใจเน้ือหาไดย้ าก จาเน้ือหาและวิเคราะหเ์ นื้อหาได้ ไม่ดีเท่าท่ีควร เนื่องจากสื่อการสอนไม่มีการตอบสนองและมีปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน และยังพบว่าผู้เรียนเกิด ความเบื่อหน่ายในขณะเรียน ประกอบกับเน้ือหาในวรรณคดี เป็นเรื่องราวท่ีต้องอาศัยการเล่าเรื่องอย่างเดียว และมีเนื้อหาทยี่ าวและซบั ซ้อน ผเู้ รยี นจึงไมส่ นใจและไมจ่ ดจอ่ กับเนอ้ื หาเทา่ ที่ควร จากเหตุผลดังกล่าวทางผู้วิจัยได้พัฒนาส่ือมัลติมีเดียคอมพิวเตอร์ในรายวิชาการภาษาไทย เร่ือง การ พฒั นาสื่อมัลตมิ ีเดียเพอื่ การเรียนรู้ เร่ือง กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง สาหรบั นักเรียนชั้นมะยมศึกษาปี
4 ที่ 2 เพื่อแก้ไขปัญหาการเรียนรู้วิชาภาษาไทย เก่ียวกับการเรียนวรรณคดี โดยผู้วิจัยได้สรุปเน้ือหาที่สาคัญใน รูปแบบของสื่อมัลติมีเดียคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยข้อความ ภาพน่ิง ภาพเคล่ือนไหวประกอบเสียงบรรยาย และเสียงดนตรี ที่ดึงดูดความสนใจและทาให้ผู้เรียนสามารถเข้าเน้ือหาได้ง่ายข้ึน และมีแบบฝึกหัดเพ่ือให้ ผ้เู รยี นไดท้ บทวนความรใู้ นท้ายบทเรียน เพ่ือจุดประสงค์ในการจดั การเรยี นรู้วิชาภาษาไทยใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ วัตถปุ ระสงคก์ ำรวิจยั 1. เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนด้วยสื่อมัลติมีเดียเพ่ือการเรียนรู้ เรื่อง เรื่อง การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียเพ่ือการเรียนรู้ เรื่อง กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง สาหรับนักเรียนชั้น มะยมศกึ ษาปที ่ี 2 2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนในการใช้สื่อมัลติมีเดียคอมพิวเตอร์ เรื่อง กาพย์ห่อโคลง ประพาสธารทองแดง สาหรบั นักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 สมมตฐิ ำนกำรวจิ ัย 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2เรียนรู้ด้วยสื่อมัลติมีเดียเพ่ือการเรียนรู้ เร่ือง การพฒั นาส่ือมลั ติมีเดีย เพ่ือการเรียนรู้ เรื่อง กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง สาหรับนักเรียนชั้นมะยมศึกษาปีท่ี 2 มีผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี นทส่ี ูงขึน้ 3. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อส่ือมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง สาหรบั นักเรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 ทผ่ี ู้วิจัยสรา้ งขนึ้ อยู่ในระดับดีขึ้นไป ประโยชนท์ ่คี ำดวำ่ จะไดร้ บั 1. ได้ทราบพัฒนาการของนักเรียนท่ีได้รับการสอนดว้ ย ส่ือมัลติมีเดียเพ่ือการเรียนรู้ เรื่อง การพัฒนา สอ่ื มลั ตมิ เี ดยี เพือ่ การเรียนรู้ เรื่อง กาพยห์ อ่ โคลงประพาสธารทองแดง สาหรับนกั เรียนชัน้ มะยมศึกษาปที ่ี 2 2. ได้ทราบความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ท่ีได้รับการสอนด้วย การพัฒนาสื่อ มัลตมิ ีเดยี เพือ่ การเรียนรู้ เรื่อง กาพย์หอ่ โคลงประพาสธารทองแดง สาหรบั นักเรียนช้นั มะยมศกึ ษาปที ่ี 2 ขอบเขตของกำรวิจยั ประชำกรและกลุม่ ตัวอย่ำง 1. ประชากร คือ นกั เรียนระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนธวัชบรุ ีวทิ ยาคม อาเภอธวชั บรุ ี จงั หวัดร้อยเอ็ด ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564 จานวน 113 คน 2. กลมุ่ ตัวอยา่ งที่ใชใ้ นการวจิ ัยครั้งน้ี คือ นักเรียนระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนธวัชบุรี วิทยาคม อาเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จานวน 15 คน ได้มาโดยการเลือก แบบเจาะจง (Purposive Sampling) ตวั แปรทศี่ กึ ษำ 1. ตัวแปรตน้ ได้แก่ การจัดการเรยี นร้โู ดยใชส้ ่ือมัลติมีเดียเพ่ือการเรียนรู้ เร่ือง การพัฒนาส่ือ มัลติมีเดยี เพ่อื การเรยี นรู้ เรอ่ื ง กาพยห์ ่อโคลงประพาสธารทองแดง สาหรับนักเรียนช้ันมะยมศกึ ษาปที ี่ 2 2. ตัวแปรตาม ได้แก่ 2.1 ผลสัมฤทธิ์ของกลุ่มตัวอย่างท่ีใช้สื่อมัลติมีเดียเพ่ือการเรียนรู้ เรื่อง กาพย์ห่อโคลง ประพาสธารทองแดง สาหรบั นกั เรยี นช้นั มะยมศกึ ษาปีที่ 2
5 2.2 ความพึงพอใจของผู้เรียนในการใช้ส่ือมัลติมีเดียคอมพิวเตอร์ เร่ือง การพัฒนาส่ือ มลั ติมีเดยี เพื่อการเรียนรู้ เรอ่ื ง กาพย์หอ่ โคลงประพาสธารทองแดง1 สาหรบั นกั เรยี นชน้ั มะยมศกึ ษาปที ี่ 2 ขอบเขตของเนอ้ื หำ สาระการเรียนรู้ท่ีนามาใช้ในส่ือมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ในครั้งน้ี ได้แก่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง กาพยห์ ่อโคลงประพาสธารทองแดง ตามหลกั แกนกลางกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุธศกั ราช 2551 ขอบเขตดำ้ นเวลำ การวจิ ัยคร้งั น้ี มีขอบเขตระยะเวลาในการวิจัย ในภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 ต้งั แตเ่ ดือน เดอื นพฤศจกิ ายนถงึ เดือนธนั วาคม รวมท้ังสิน้ 2 เดอื น นิยำมศพั ท์เฉพำะ ในการวจิ ยั ในครั้งนี้ มนี ยิ ามศัพท์เพพาะทเี่ ก่ียวข้องกับงานวจิ ัยดงั ต่อไปน้ี 1. สอ่ื มัลติมีเดียเพ่ือการเรยี นรู้ หมายถึง สือ่ การเรียนรู้คอมพิวเตอร์ ทสี่ ร้างข้ึนดว้ ยโปรแกรมช่วยสรา้ ง Presentation เรือ่ ง ชนิดของประโยคในภาษาไทย เป็นตวั กลางในการนาเสนอเนอ้ื หา ซ่ึงประกอบไปด้วย การ นาเสนอ เนื้อหาบทเรียน ตวั อยา่ ง แบบฝึกหัดท่ีแสดงขอ้ ความ ภาพ ภาพเคลื่อนไหว และเสียงเพลงประกอบ มี ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับคอมพวิ เตอร์ โดยมีจุดประสงค์เพ่ือช่วยใหผ้ ู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และเข้าใจเนื้อหา ของบทเรยี น 2. แบบทดสอบ หมายถึง ข้อสอบแบบปรนยั 4 ตัวเลือก จานวน 15 ข้อ ท่ีผู้วจิ ัยสร้างขึ้นโดยผา่ นการ วิเคราะห์หาระดับความยากง่าย อานาจจาแนกและค่าความเชื่อม่ันใช้เป็นข้อสอบชุดเดียวกัน แต่สลับข้อ คาถามและขอ้ คาตอบ เพ่อื วัดความรู้ก่อนเรยี นและหลงั เรียน 3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความสามารถ ความสาเร็จและสมรรถภาพด้านต่างๆของ ผู้เรียนที่ได้จากการเรียนรู้อันเป็นผลมาจากการเรียนการสอน การฝึกฝนหรือประสบการณ์ของแต่ละบุคคลซ่ึง สามารถวัดได้จากการทาแบบทดสอบด้วยวธิ กี ารต่างๆ 4. ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกชอบหรือไม่ชอบของนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง ที่มีต่อส่ือมัลติมีเดีย เพื่อการเรียนรู้ เร่ือง ชนิดของประโยคในภาษาไทย สาหรับนกั เรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ซึ่งนักเรียนประเมิน ออกมาในรูปแบบความรู้สึก พึงพอใจมากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย หรือน้อยที่สุด โดยใช้แบบสอบถามความ พงึ พอใจ
กรอบแนวคิดกำรวิจยั 6 ตวั แปรตน้ ตวั แปรตำม การจัดการเรยี นรูโ้ ดยใช้สอ่ื - ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียน มัลตมิ ีเดยี เพื่อการเรียนรู้ เรอ่ื ง การ ด้วยส่ือมัลติมีเดียเพ่ือการเรียนรู้ เรื่อง การ พัฒนาส่ือมลั ติมีเดยี เพอ่ื การเรียนรู้ พัฒนาส่ือมัลติมเี ดยี เพือ่ การเรยี นรู้ เร่ือง กาพย์ เรื่อง หลักศิลาจารึกหลักที่ 1 ห่อโคลงประพาสธารทองแดง สาหรับนักเรียน สาหรบั นกั เรียนชน้ั มะยมศึกษาปีที่ 2 ชั้นมะยมศกึ ษาปที ี่ 2 - ความพึงพอใจของผู้เรียนในการใช้สื่อ ภำพประกอบ 1 กรอบแนวคดิ การวิจยั มัลติมีเดียคอมพิวเตอร์ เร่ือง การพัฒนาส่ือ มัลติมีเดียเพ่ือการเรียนรู้ เร่ือง กาพย์ห่อโคลง ประพาสธารทองแดง สาหรบั นักเรยี นชัน้ มะยม ศึกษาปที ี่ 2
7 บทท่ี 2 แนวคดิ ทฤษฎี และงานวจิ ัยทเ่ี ก่ียวขอ้ ง การวิจยั เรื่องการพัฒนาสอ่ื มัลติมเี ดียเพ่ือการเรยี นรู้ เร่อื ง กาพยห์ ่อโคลงประพาสธารทองแดง สาหรับ นักเรียนชั้นมะยมศึกษาปีท่ี 2 ในคร้ังนี้ ผู้วิจัยได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้องในประเด็น ดังต่อไปนี้ 1. หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 2. แนวคิด ทฤษฎเี กยี่ วกับสื่อ 3. แนวคดิ เกยี่ วกบั มัลตมิ เี ดียเพอื่ การเรยี นรู้ 4. แนวคิดเก่ียวกับบวรรณคดี 5. ความรู้เกย่ี วกับกาพยห์ ่อโคลงประพาสธารทองแดง 6. เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กย่ี วขอ้ งกบั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน 7. งานวจิ ยั ทีเ่ กี่ยวข้อง 1. หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 1.1 หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 ให้เป็นหลักสูตร แกนกลางของประเทศ โดยกาหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายและกรอบทิศทางในการ พัฒนาคุณภาพผเู้ รียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีคุณภาพชวี ิตทีด่ ีและมีขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ในเวทีระดับ โลก (กระทรวงศึกษาธิการ. 2544) พร้อมกันนี้ได้ปรับกระบวนการพัฒนาหลักสูตรให้มีความสอดคล้องกับ เจตนารมณ์แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2545 ท่ี มุ่งเน้นการกระจายอานาจทางการศึกษาให้ท้องถิ่นและสถาบันศึกษาได้มีบทบาทและมีส่วนร่วมในการพัฒนา หลักสูตร เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพและความตอ้ งการของท้องถ่ิน (สานักนายกรัฐมนตรี. 2542) จากการวิจัย และติดตามประเมินผลการใช้หลักสูตรในช่วงระยะ 6 ปีท่ีผ่านมา (สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. 2546) พบว่า หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544 มีจุดดีหลายประการ เช่น ช่วยส่งเสริมการ กระจายอานาจทางการศกึ ษาทาให้ท้องถนิ่ และสถานศกึ ษามีบทบาทสาคญั ในการพฒั นาหลักสตู รให้สอดคลอ้ ง กับความต้องการของทอ้ งถ่ิน และมีแนวคิด หลักการในการส่งเสริมการพฒั นาผเู้ รียนแบบองคร์ วมอย่างชัดเจน อย่างไรก็ตามผลการศกึ ษาดงั กลา่ วยงั ไดส้ ะทอ้ นให้เห็นถึงประเดน็ ทเ่ี ป็นปญั หาและความไม่ชัดเจนของหลักสตู ร หลายประการ ท้ังในส่วนเอกสารหลักสูตรกระบวนการนาหลักสูตร สู่การปฏิบัติ และผลผลิตที่เกิดจากการใช้ หลักสูตร ได้แก่ ปัญหาความสับสนของผู้ปฏิบัติในระดับสถานศึกษา ในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ซ่ึง สถานศึกษาส่วนใหญ่กาหนดสาระและผลการเรียนรู้ที่คาดหวังไว้มาก ทาให้เกิดปัญหาหลักสูตรแน่น การวัด และประเมินผลไม่สะท้อนมาตรฐาน ส่งผลต่อปัญหาการจัดทาเอกสารหลักฐานทางการศึกษาและการเทียบ โอนผลการเรียน รวมท้ังปัญหาคุณภาพของผู้เรียนในด้านความรู้ ทักษะ ความสามารถและคุณลักษณะที่พึง ประสงค์อนั ยงั ไมเ่ ป็นท่ีนา่ พอใจ นอกจากนั้นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 ได้ชี้ให้เห็นถึงความจาเป็นในการ ปรับเปลี่ยนจุดเน้นในการพัฒนาคุณภาพคนในสังคมไทย ให้มีคุณธรรมและมีความรอบรู้อย่างเท่าทัน ให้มี ความพรอ้ มทั้งด้านร่างกาย สตปิ ัญญา อารมณ์ และศีลธรรม สามารถก้าวทันการเปล่ียนแปลงเพื่อนาไปสู่สงั คม ฐานความรู้ได้อย่างมั่นคง แนวการพัฒนาคนดังกล่าวมุ่งเตรียมเด็กและเยาวชนให้มีพื้นฐานจิตใจที่ดีงาม มีจิต
8 สาธารณะ พร้อมท้ังมีสมรรถนะ ทักษะและความรู้พ้ืนฐานท่ีจาเป็นในการดารงชีวิต อันจะส่งผลต่อการพัฒนา ประเทศแบบยั่งยืน (สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 2549) ซึ่งแนวทางดังกล่าวสอดคล้องกับ นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนาเยาวชนของชาติเข้าสู่โลกยุคศตวรรษที่ 21 โดยมุ่งส่งเสริม ผู้เรียนมีคุณธรรม รักความเป็นไทย ให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์ สร้างสรรค์ มีทักษะด้านเทคโนโลยี สามารถ ทางานรว่ มกบั ผู้อ่ืน และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อนื่ ในสังคมโลกได้อยา่ งสนั ติ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551) จากข้อค้นพบในการศึกษาวิจัยและติดตามผลการใช้หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช 2544 ทผ่ี ่านมาประกอบกบั ข้อมูลจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับท่ี 10 เก่ียวกับแนวทางการพฒั นา คนในสังคมไทย และจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการในการพฒั นาเยาวชนสู่ศตวรรษท่ี 21 จึงเกิดการทบทวน หลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 เพ่ือนาไปสู่การพัฒนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พื้นฐานพุทธศักราช 2551 ที่มีความเหมาะสมชัดเจน ทั้งเป้าหมายของหลักสูตรในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และกระบวนการนาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติในระดับเขตพ้ืนที่การศึกษาและสถานศึกษา โดยได้มีการกาหนด วสิ ัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดท่ี ชัดเจน เพ่ือใช้เป็นทิศทางในการจัดทาหลักสูตร การเรียนการสอนในแต่ละระดับ นอกจากน้ันได้กาหนด โครงสร้างเวลาเรยี นขั้นตา่ ของแตล่ ะกลุ่มสาระการเรยี นรู้ในแต่ละชั้นปีไว้ในหลกั สูตรแกนกลาง และเปิดโอกาส ให้สถานศึกษาเพ่ิมเติมเวลาเรียนได้ตามความพร้อมและจุดเน้น อีกทั้งได้ปรับกระบวนการวัดและประเมินผล ผู้เรียน เกณฑ์การจบการศึกษาแต่ละระดับ และเอกสารแสดงหลักฐานทางการศึกษาให้มีความสอดคล้องกับ มาตรฐานการเรยี นรู้ และมีความชัดเจนต่อการนาไปปฏบิ ตั ิ เอกสารหลักสูตรแกนกลางข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 น้ีจัดทาขึ้นสาหรับท้องถิ่นและสถานศึกษา ได้นาไปใช้เป็นกรอบและทิศทางในการจัดทาสูตรสถานศึกษาและจัดการเรี ยนการสอนเพ่ือพัฒนาเด็กและ เยาวชนไทยทุกคน ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้มีคุณภาพด้านความรู้และทักษะที่จาเป็นสาหรับการ ดารงชวี ติ ในสงั คมทม่ี กี ารเปลยี่ นแปลงและแสวงหาความร้เู พื่อพัฒนาตนเองอยา่ งต่อเนื่องตลอดชีวติ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดที่กาหนดไว้ในเอกสารนี้ ช่วยทาให้หน่วยงานที่เก่ียวข้องในทุกระดับ เห็นผลคาดหวังที่ต้องการในการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนที่ชัดเจนตลอดแนว ซ่ึงจะสามารถช่วยให้ หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในระดับท้องถ่ินและสถานศึกษา ร่วมกันพัฒนาหลักสูตรได้อย่างม่ันใจ ทาให้การจัดทา หลักสูตรในระดับสถานศึกษามีคุณภาพและมีความเป็นเกภาพยิ่งข้ึนอีกท้ังยังช่วยให้เกิดความชัดเจนเรื่องการ วัดและประเมินผลการเรียนรู้ และช่วยแก้ปัญหาการเทียบโอนระหว่างสถานศึกษา ดังนั้นในการพัฒนา หลักสูตรในทุกระดับตัง้ แต่ระดับชาตจิ นกระท่ังถึงสถานศกึ ษา จะต้องสะท้อนคุณภาพตามมาตรฐานการเรยี นรู้ และตัวช้วี ดั ทก่ี าหนดไว้ในหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน รวมทั้งเปน็ กรอบทศิ ทางในการจัดการศกึ ษา ทกุ รูปแบบและครอบคลุมผู้เรียนทกุ กลุม่ เปา้ หมายในระดบั การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน การจัดหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานจะประสบความสาเร็จตามเป้าหมายท่ีคาดหวังได้ทุกฝ่ายที่ เก่ียวขอ้ งทั้งระดับชาติ ชมุ ชน ครอบครวั และบุคคลต้องร่วมรับผิดชอบ โดยร่วมกนั ทางานอย่างเป็นระบบและ ต่อเน่ือง ในการวางแผนดาเนินการส่งเสริมสนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแก้ไข เพ่ือพัฒนาเยาวชน ของชาติไปสู่คุณภาพตามมาตรฐานการเรยี นรู้ท่ีกาหนดไว้
9 1.2 หลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานกลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พุทธศกั ราช 2551 ทาไมตอ้ งเรยี นภาษาไทย ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ของชาติเป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอันก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพ และ เสริมสร้างบุคลิกภาพของชาติให้มีความเป็นไทย เป็นเคร่ืองมือในการติดต่อสื่อสารเพื่อสร้าง ความเข้าใจและ ความสัมพนั ธ์ทดี่ ตี ่อกัน ทาให้สมารถประกอบกิจธรุ ะ การงาน และดารงชีวิตร่วมในสังคมประชาธปิ ไตยได้อยา่ ง สันติสุข และเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ เพ่ือพัฒนา ความรู้ พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์วิจารณ์ และสร้างสรรค์ ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และ ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนาไปใช้ในการพฒั นาอาชีพให้มีความม่ันคงทางเศรษฐกิจ นอกจากน้ียังเป็นสื่อแสดงภูมิปัญญาของบรรพบุรษุ ดน้ วัฒนธรรม ประเพณี และสุนทรียภาพ เปน็ สมบัติล้าคา ควรแกก่ ารเรียนรู้ อนรุ กั ษ์ และ สืบสาน ให้คงอยู่คชู่ าติไทยตลอดไป เรียนรู้อะไรในภาษาไทย ภาษาไทยเปน็ ทกั ษะท่ีต้องฝึกฝนจนเกดิ ความชานาญในการใช้ภาษาเพอื่ การสื่อสาร การเรยี นรู้ อยา่ งมี ประสทิ ธิภาพ และเพอ่ื นาไปใช้ในชีวติ จริง การอ่าน อ่านออกเสียงคา ประโยค การอ่านบทร้อยแก้ว คาประพันธ์ชนิดต่าง ๆ การอ่านในใจเพ่ือ สรา้ งความเขา้ ใจ และการคดิ วเิ คราะห์ สังเคราะห์ความรู้จักส่งิ ท่ีอา่ น เพื่อนาไปปรับใชใ้ น ชีวติ ประจาวัน การเขียน การเขียนสะกดตามอักขรวิธี การเขียนสื่อสาร โดยใช้ถ้อยคาและรูปแบบต่าง ๆ ของการ เขยี น ซึ่งรวมถงึ การเขยี นเรียงความ ย่อความ รายงานชนดิ ตา่ ง ๆ การเขยี นตามจนิ ตนาการ วเิ คราะห์วจิ ารณ์ และเขยี นเชงิ สรา้ งสรรค์ การฟัง การดู และกาพูด การฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ การพูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก พูด ลาดับเรื่องราวต่าง ๆ อย่างเป็นเหตุเป็นผล การพูดในโอกาสต่าง ๆ ท้ังเป็นทางการและ ไม่เป็นทางการ และ การพูดเพื่อโน้มน้าวใจ หลักการใช้ภาษาไทย ธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของภาษาไทย การใช้ภาษาให้ถูกต้อง เหมาะสมกับ โอกาสและบุคคล การแตง่ บทประพนั ธ์ประเภทต่าง ๆ และอทิ ธพิ ลของภาษาตา่ ง ประเทศ ในภาษาไทย วรรณคดแี ละวรรณกรรม วิเคราะหว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมเพื่อศึกษาขอ้ มูล แนวความคิด คณุ ค่าของ งานประพันธ์ และความเพลิดเพลินการเรียนรู้และทาความเข้าใจบทเห่ บทร้องเล่นของเด็ก ๒ เพลงพื้นบ้านที่ เป็นภูมิปัญญาที่มีคุณค่าของไทย ซ่ึงได้ถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด ค่านิยม ขนบธรรมเนียม ประเพณี เรื่องราว ของสงั คมในอดตี และความงดงามของภาษา เพื่อใหเ้ กดิ ความซาบซ้งึ และภูมิใจ ในบรรพบรุ ุษทไ่ี ดส้ ่งั สมสบื ทอด มาจนถงึ ปจั จุบนั สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ สาระที่ 1 การอ่าน มาตรฐานท่ี 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหาและสร้าง วสิ ัยทัศน์ในการดาเนนิ ชีวิต สาระที่ 2 การเขียน มาตรฐานท่ี 2.1 ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสารเขียนเรียงความย่อความและเขียนเรื่องราวใน รูปแบบต่าง ๆ เขยี นรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงานการศกึ ษาค้นควา้ อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ สาระท่ี 3 การฟงั การดู และการพดู
10 มาตรฐานท่ี 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณและพูดแสดงความรู้ความคิด ความรู้สึกในโอกาส ต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ สาระที่ 4 หลักการใชภ้ าษา มาตรฐานท่ี 4.1 เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทยการเปล่ยี นแปลงของภาษาและพลังของ ภาษาภูมิปญั ญาทางภาษาและรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบตั ิของชาติ สารท่ี 5 วรรณคดแี ละวรรณกรรม มาตรฐานที่ 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็นวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า และนามาประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ จรงิ คุณภาพผ้เู รยี น จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 อ่านออกเสียงคา คาคล้องจอง ข้อความ เร่ืองสั้น ๆ และบทร้อยกรองง่าย ๆ ได้ถูกต้องคล่องแคล่ว เข้าใจความหมายของคาและข้อความที่อ่าน ต้ังคาถามเชิงเหตุผล ลาดับเหตุการณ์ คาดคะเน เหตุการณ์ สรุป ความรู้ข้อคิดจากเร่ืองที่อื่น ปฏิบัติตามคาส่ัง คาอธิบายจากเร่ืองท่ีอ่านได้ เข้าใจ ความหมายของข้อมูลจาก แผนภาพ แผนที่ และแผนภูมิ อา่ นหนงั สืออยา่ งสมา่ เสมอ และ มมี ารยาทในการอา่ น มที ักษะในการคดั ลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทดั เขยี นบรรยาย บันทึกประจา เขียนจดหมายลาครู เขียน เรือ่ งเกีย่ วกบั ประสบการณ์ เขียนเร่ืองตามจนิ ตนาการและมีมารยาทในการเขียน เล่ารายละเอียดและบอกสาระสาคัญ ตั้งคาถาม ตอบคาถาม รวมทั้งพูดแสดงความคิด ความรู้สึก เก่ียวกับเรื่องฟังและดู พูดสื่อสารประสบการณ์และพูดแนะนา หรือพูดเชิญชวนให้ผู้อ่ืนปฏิบัติตาม และมี มารยาทในการฟัง ดู และพูด สะกดคาและเข้าใจความหมายของคา ความแตกต่างของคาและพยางค์ หน้าท่ีของคา ในประโยค มี ทักษะการใช้พจนานุกรมในการค้นหาความหมายของคา แต่งประโยคง่าย ๆ แต่งคาคล้องจอง แต่งคาขวัญ และเลอื กใชภ้ าษไทยมาตรฐานและภาษาถิน่ ได้เหมาะสมกับกาลเทศะ เข้าใจและสามารถสรุปข้อคิดที่ได้จากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีที่อ่าน รู้จักเพลงพ้ืนบ้าน เพลงกล่อมเด็ก ซ่ึงเป็นของท้องถิ่น ร้องบทร้องเล่น สาหรับเดก็ ในทอ้ งถ่นิ ทอ่ งจาบทอาขยานและบทรอ้ ยกรอง ทีม่ ีคุณค่าตามความสนใจได้ จบชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเป็นทานองเสนาะได้ถูกต้อง อธิบาย ความหมายโดยตรง และความหมายโดยนัยของคา ประโยค ข้อความ สานวนโวหาร จากเร่ืองที่อา่ น เขา้ ใจคาแนะนา คาอธบิ ายใน คูม่ ือต่าง ๆ แยกแยะข้อคิดเห็นและข้อเท็จจริง รวมทั้งจับใจความสาคญั ของเรอ่ื งที่อ่านและนาความรู้ความคิด จากเรื่องท่ีอ่านไปตัดสินใจแก้ปัญหาในการดาเนินชีวิตได้ มีมารยาทและมีนิสัยรักการอ่าน และเห็นคุณค่าสิ่งท่ี อา่ น มที ักษะในการคดั ลายมอื ตัวบรรจงเต็มบรรทัดและคร่ึงบรรทัด เขยี นสะกดคา แต่งประโยค และเขียน ข้อความ ตลอดจนเขียนสื่อสารโดยใช้ถ้อยคาชัดเจนเหมาะสม ใช้แผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิด เพื่อพัฒนางานเขียน เขียนเรียงความ ย่อความ จดหมายส่วนตัว กรอกแบบรายการ ต่าง ๆ เขียนแสดง ความรู้สกึ และความคิดเหน็ เขียนเรือ่ งตามจินตนาการอย่างสร้างสรรค์ และมมี ารยาทในการเขียน 4
11 พูดแสดงความรู้ ความคิดเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู เล่าเรื่องย่อหรือสรุปจากเรื่องที่ฟังและดู ต้ังคาถาม ตอบคาถามจากเร่ืองท่ีฟังและดู รวมทั้งประมินความน่าเช่ือถือจากการฟังและดูโฆษณา อย่าง มีเหตุผล พูด ตามลาดบั ขัน้ ตอนเรือ่ งต่าง ๆ อย่างชัดเจน พดู รายงานหรือประเดน็ คน้ คว้าจากการฟงั การดู การสนทนา และ พดู โนม้ นา้ วได้อย่างมเี หตผุ ล รวมทั้งมมี ารยาทในการดูและพดู สะกดคาและเขา้ ใจความหมายของคา สานวน คาพังเพยและสุภาษิต รแู้ ละเขา้ ใจ ชนดิ และหนา้ ท่ขี อง คาในประโยค ชนิดของประโยค และคาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ใช้คาราชาศัพท์ และคาสุภาพได้อย่าง เหมาะสม แต่งประโยค แต่งบทร้อยกรองประเภทกลอนส่ี กลอนสุภาพ และกาพย์ยานี 11 เข้าใจและเห็น คุณคา่ วรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน เลา่ นิทานพื้นบ้าน ร้องเพลงพ้ืนบ้าน ของท้องถิ่น นาข้อคิดเห็นจกเรือ่ งที่ อา่ นไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตจริง และทอ่ งจาบทอาขยานตามทกี่ าหนดได้ จบชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 อ่านออกเสยี งบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรองเปน็ ทานองเสนาะได้ถกู ต้อง เข้าใจความหมายโดยตรงและ ความหมายโดยนัย จับใจความสาคัญและรายละเอียดของสิ่งทอี่ ่าน แสดงความคิดเห็น และข้อโต้แย้งเกี่ยวกับ เร่ืองท่ีอ่าน และเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด ย่อความ เขียนรายงานจากสิ่งท่ีอ่านได้ วิเคราะห์ วิจารณ์ อย่างมีเหตุผล ลาดับความอย่างมีขั้นตอนและความเป็นไปได้ของเร่ืองที่อ่าน รวมท้ังประเมินความถูกต้องของ ข้อมูลท่ีใช้สนับสนุนจากเร่ืองที่อ่าน เขียนส่ือสารด้วยลายมือที่อ่านง่ายชัดเจน ใช้ถ้อยคาได้ถูกต้องเหมาะสม ตามระดับภาษาเขียน คาขวัญ คาคม คาอวยพรในโอกาสต่าง ๆ โฆษณา คติพจน์ สุนทรพจน์ ชีวประวัติ อัตชีวประวัติ และ ประสบการณ์ต่าง ๆ เขียนย่อความ จดหมายกิจธุระ แบบกรอกสมัครงาน เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรูค้ วามคิดหรือโต้แย้งอย่างมีเหตุผล ตลอดจนเขียนรายงานการศกึ ษาค้นคว้าและเขียน โครงงาน พูดแสดงความคิดเห็น วิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมินสิ่งที่ได้จากการฟังและดู นาข้อคิดไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวัน พดู รายงานเรื่องหรือประเด็นท่ีได้จากการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบ มีศิลปะในกรพูด พูดใน โอกาสต่าง ๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ และพูดโน้มน้าวอย่างมีเหตุผลน่าเชื่อถือ รวมท้ังมีมารยาทในการฟัง ดู และพูด เข้าใจและใช้คาราชาศัพท์ คาบาลีสันสกฤต คาภาษาต่างประเทศอ่ืน ๆ คาทับศัพท์ และศัพท์บัญญัติ ในภาษาไทย วิเคราะห์ความแตกต่างในภาษาพูด ภาษาเขียน โครงสร้างของประโยครวม ประโยคซ้อน ลกั ษณะภาษาทเ่ี ป็นทางการ ก่ึงทางการและไม่เปน็ ทางการ และแต่งบทร้อยกรอง ประเภทกลอนสุภาพ กาพย์ และโคลงส่สี ุภาพ สรุปเน้ือหารรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน วิเคราะห์ตัวละครสาคัญ วิถีชีวิตไทย และ คุณค่า ที่ได้รับ จากวรรณคดีวรรณกรรมและบทอาขยาน พร้อมทงั้ สรปุ ความรูข้ ้อคดิ เพือ่ นาไปประยุกต์ใชใ้ นชีวิตจริง จบชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเป็นทานองเสนาะได้ถูกต้องและเข้าใจ ตีความ แปลความ และขยายความเร่ืองท่ีอ่านได้ วิเคราะห์วิจารณ์เร่ืองท่ีอ่าน แสดงความคิดเห็น โต้แย้งและเสนอความคิดใหม่ จากการอ่านอย่างมีเหตุผล คาดคะเนเหตุการณ์จากเร่ืองท่ีอ่าน เขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ย่อ- ความ และเขยี นรายงานจากสงิ่ ท่ีอ่าน สังเคราะห์ ประเมินคา่ และนาความรู้ ความคดิ จากการอ่านมาพฒั นาตน พัฒนาการเรยี น และพัฒนาความร้ทู างอาชีพ และนาความรู้ความคิดไปประยุกตใ์ ชแ้ กป้ ัญหาในการดาเนนิ ชีวิต มีมารยาทและมนี ิสัยรักการอา่ น
12 เขียนสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ โดยใช้ภาษาได้ถูกต้องตรงตามวัตถุประสงค์ ย่อความจากสือ่ ทมี่ ีรูปแบบ และเน้ือหาท่ีหลากหลาย เรียงความแสดงแนวคิดเชิงสร้างสรรค์โดยใช้โวหารต่าง ๆ เขียนบันทึกรายงาน การศึกษาค้นคว้าตามหลักการเขียนทางวิชาการ ใช้ข้อมูลสารสนเทศในการอ้างอิง ผลิตผลงานของตนเองใน รูปแบบต่าง ๆ ท้ังสารคดีและบันเทิงคดี รวมท้ังประเมินงานเขียนของผู้อื่น และนามาพัฒนางานเขียนของ ตนเอง ต้ังคาถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเร่ืองท่ีฟังและดู มีวิจารณญาณในการเลือกเร่ืองท่ีฟังและดู วิเคราะห์วัตถุประสงค์ แนวคิดการใช้ภาษา ความน่าเชื่อถือของเร่ืองที่ฟังและดู ประเมิน ส่ิงท่ีฟังและดูแล้ว นาไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชวี ิต มีทักษะการพดู ในโอกาสต่าง ๆ ทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการโดยใช้ ภาษาที่ถูกต้อง พูดแสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้มน้าว และเสนอแนวคิดใหม่ อย่างมีเหตุผล รวมท้ังมีมารยาทใน การฟัง ดู และพูด เข้าใจธรรมชาติของภาษา อิทธิพลของภาษา และลักษณะของภาษาไทย ใช้คาและกลุ่มคา สร้างประโยคได้ตรงตามวตั ถุประสงค์ แต่งคาประพันธ์ประเภท กาพย์ โคลง ร่ายและฉนั ท์ ใชภ้ าษาได้เหมาะสม กบั กาลเทศะ และใช้คาราชาศัพทแ์ ละคาสุภาพไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง วิเคราะห์หลักการสร้างคาในภาษาไทย อิทธิพล ของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยและภาษาถิ่น วิเคราะห์และประเมินการใช้ ภาษาจากส่ือสิ่งพิมพ์และสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ วิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์วรรณคดีเบ้ืองตัน รู้และเข้าใจ ลักษณะเด่นของวรรณคดี ภูมิปัญญาทางภาษาและวรรณกรรมพื้นบ้าน เชื่อมโยงกับการเรียนรู้ทาง ประวัติศาสตร์และวิถีไทย ประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ และนาข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมไป ประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ จรงิ กล่าวสรุปได้ว่าหลักสูตร คือ แบบแผนท่ีจัดทาข้ึนเพื่อเป็นแนวทางในการทาตามเป้าหมายท่ีคาดหวัง โดยมีฝ่ายท่ีเกี่ยวข้องทั้งระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว และบุคคลต้องร่วมกันรับผิดชอบ เป็นการทางานร่วมกัน อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ในการดาเนินงานมกี ารส่งเสริมสนับสนนุ ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแก้ไข เพื่อ พฒั นาเยาวชนของชาตไิ ปสู่คณุ ภาพตามมาตรฐานการเรียนร้ทู กี่ าหนดไว้ 1.3 โครงสร้างหลกั สตู รภาษาไทยระดบั ประถมศึกษา ความสาคญั ของภาษาไทย ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ประจาชาติ เป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอันก่อให้เกิดความเป็น เอกภาพ และ เสริมสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติให้มคี วามเป็นไทย เป็นเครื่องมือในการ ติดต่อสื่อสารเพ่อื สร้างความเข้าใจ และความสัมพันธ์ที่ดตี ่อกัน ทาให้สามารถประกอบกิจธุรการ งานและดารงชีวิตร่วมกันในสังคมประชาธิปไตย ไดอ้ ยา่ งสันตสิ ุข และเป็นเคร่ืองมือในการแสวงหา ความรู้ ประสบการณ์จากแหล่งขอ้ มลู สารสนเทศต่าง ๆ เพื่อ พัฒนาความรู้ ความคิด วิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรค์ให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงทางสังคมและ ความก้าวหน้าทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนาไปใช้ในการพัฒนาอาชีพให้มคี วามม่ันคงทางสงั คมและ เศรษฐกิจ นอกจากนี้ภาษาไทยยังเป็นส่ือที่แสดงภูมิปัญญาของบรรพบุรุษด้านวัฒนธรรม ประเพณี ชีวทัศน์ โลกทัศน์ และสุนทรียภาพ โดยบันทึกไว้เป็นวรรณคดีและวรรณกรรมอนั ล้าคา่ ภาษาไทยจึงเป็นสมบัติของชาติ ทคี่ วรแกก่ ารเรียนรู้ เพือ่ อนุรักษ์และสบื สานใหค้ งอยคู่ ูช่ าติไทยตลอดไป ภาษาไทยมีวิวัฒนาการต่อเน่ืองมานับเป็นพันปี และมีส่วนสาคัญในการสร้างสรรค์ ความ เจริญก้าวหน้าของชาติ พ่อขุนรามคาแหงมหาราชทรงคิดประดิษฐ์อักษรไทย (ลายสือไทย) ขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 1826 และอักษรไทยได้เปลย่ี นแปลงมาตามลาดับ ตกทอดมาเป็นอกั ษรไทยทีไ่ ด้ใช้อยใู่ นปจั จุบนั ทาใหค้ นไทยมี อกั ษรของชาติไทยใชใ้ นการติดต่อ การบันทึกเร่ืองราวการเรยี นรู้ การดาเนินชีวติ ในสังคม ฯลฯ ภาษาไทยจึงมี ความสาคัญจาเป็นท่ีคนไทยทุกคนจะต้องศึกษาและ ฝึกฝนจนเกิดทักษะเพ่ือใช้ติดต่อระหว่างคนไทยหรือชน ชาติอื่นท่รี ภู้ าษาไทยไดอ้ ยา่ งมี ประสิทธิภาพ ในท่นี ้จี ะได้ประมวลความสาคญั ของภาษาไทยบางประการดังน้ี
13 1. เป็นเครื่องมือในการติดต่อสือ่ สาร เม่ือเรามีความคิด มอี ารมณ์ ความรู้สึก ความต้องการ ฯลฯ และ ต้องการถ่ายทอดความคิด ความรู้สึก และความต้องการนั้น เราก็จะใช้ภาษาส่ือความหมายไปสู่ผู้อ่ืนด้วยการ พดู และการเขียน รวมทั้งใช้ภาษาทาความเข้าใจเรื่องราว ความคดิ ความรสู้ กึ ความตอ้ งการ ฯลฯ ของผู้อน่ื ดว้ ย การอ่าน การฟัง และการดู ภาษาไทยที่ใช้สื่อสารในชีวิตประจาวันมักเป็นการส่ือสารที่ไม่เป็นทางการ เช่น การพูดคยุ สนทนา การ พูดโทรศัพท์ การเขยี นจดหมายส่วนตวั เป็นต้น ผ้ใู ช้มกั มุ่งใหผ้ ้อู ่ืนเข้าใจอย่างรวดเร็วและมักไม่เครง่ ครัดระเบยี บ กฎเกณฑ์ในการใช้ภาษา ภาษาลักษณะนี้จึงมีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว ผันแปรไปตามบุคคลและโอกาสการ สื่อสาร เช่น ภาษาของวยั รุ่น ภาษาในสื่อสารมวลชน เป็นต้น สว่ นการสื่อสารที่เปน็ ทางการไมว่ ่าจะเป็นการพูด การเขียน ผู้ใช้ภาษามักเคร่งครัดระเบียบ กฎเกณฑ์การใช้ภาษา เลือกสรรคาที่ใช้ติดต่อส่ือสารให้ถูกต้องตรง ความหมายเหมาะสมกับบุคคลและสถานการณ์ นอกจากนี้ภาษายังเป็นเคร่ืองมือในการส่ือสารกันในวงวิชาการเฉพาะกลุ่ม เฉพาะอาชีพ ซ่ึงมีภาษา และศัพท์เฉพาะ ภาษาไทยจึงมีศัพท์เฉพาะสาขา มีศัพท์บัญญัติใหม่ ๆ ท่ีใช้ในวงการต่าง ๆ เช่น ธุรกิจ เทคโนโลยี เพื่อติดต่อส่ือสารกับคนในวงการนั้น ๆ การได้ศึกษา ความหมายของภาษาและศัพท์เฉพาะวงการ ตา่ ง ๆ รวมทั้งสามารถนามาใช้ไดอ้ ย่างเหมาะสม จะช่วยใหก้ ารสอื่ สารเป็นไปดว้ ยดแี ละมปี ระสทิ ธภิ าพยงิ่ ขนึ้ 2. เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ ความรู้และประสบการณ์อันมีคุณค่าของบรรพบุรุษได้มี การใช้ภาษา บันทึกและบอกเล่าสืบต่อ ๆ กันมาผ่านยุคสมัยมารุ่นแล้วรุ่นเล่า คนรุ่นหลังจะใช้ภาษา เป็นเคร่ืองมือศึกษา แสวงหาความรู้ ประสบการณแ์ ละรับสิง่ ที่เป็นประโยชน์น้ันมาใช้พัฒนาตน และสังคมตอ่ ไป การแสวงหาความรู้ และประสบการณโ์ ดยการฟงั การอา่ น และการดจู ากบุคคลจาก แหล่งเรียนรู้ตา่ ง ๆ และสภาพแวดล้อมรอบตัว จะใช้ภาษาช่วยพัฒนาสติปัญญา กระบวนการคิด การวิเคราะห์ การวิจารณ์ จนเกิดเป็นความรู้ใหม่ นอกจากนั้นการใช้ภาษาโดยการพูดและการเขียนเพื่อแสดงข้อมูลความรู้ และวิพากษ์วิจารณ์ความคิดเห็นต่าง ๆ แลกเปลี่ยนกับผู้อ่ืนทาให้ เกิดความรู้และประสบการณ์ท่ีงอกงาม ทาให้เป็นผู้มีชีวทัศน์และโลกทัศน์ท่ี สอดคล้องกับยุคสมัย สามารถติดตามความเจริญก้าวหน้าของศาสตร์ต่าง ๆ และทาให้รู้เท่าทันการ เปล่ียนแปลงของ สงั คมและโลกปัจจุบันได้เป็นอย่างดี ภาษายังเป็นเคร่ืองมือในการรับและถ่ายทอดวัฒนธรรม ค่านิยม คุณธรรม และ จริยธรรมท่ีพึง ประสงคจ์ ากคนรุ่นกอ่ นและจากสงั คม เพือ่ ปลูกฝังและหล่อหลอมให้เป็นผมู้ คี ุณลกั ษณะท่ีเหมาะสมตามที่สังคม คาดหวัง ในขณะเดียวกันการเปล่ียนแปลงเจตคติและค่านิยม บางประการท่ีไม่เหมาะสมก็ใช้ภาษาเป็น เคร่ืองมือโน้มน้าวใจ และชี้แนะให้เห็นโทษของเจตคติหรือ ค่านิยมที่ไม่เหมาะสมแล้วใช้ภาษาชักจูงให้เห็น คุณค่าและประโยชน์ของเจตคติและค่านิยมท่ี ต้องการปลูกฝัง ภาษาจึงเป็นเคร่ืองมือของการศึกษา ถ่ายทอด และสืบต่อวัฒนธรรมและค่านิยมท่ี ตอ้ งการให้ผเู้ รียนเกดิ การเรียนรแู้ ละประพฤติปฏบิ ัติตาม 3. เป็นเคร่ืองมือเสริมสร้างความเข้าใจอันดีต่อกัน การอยู่ร่วมกันเป็นสังคมที่มีสันติสุข น้ันสมาชิกใน สังคมจะต้องมีความเข้าใจอันดีต่อกัน มีความร่วมมือร่วมใจกันทางานเพื่อพัฒนาสังคมให้มีความก้าวหน้าตาม เป้าหมายร่วมกัน อย่างไรก็ตามการอยู่ร่วมกันในหมู่คนจานวนมาก บางครั้งอาจมีปัญหาและอุปสรรคในการ สื่อสารอันเน่ืองจากการใช้ภาษา ดังนั้นการใช้ภาษาไทยท่ีส่ือความหมายได้ชัดเจน ไม่กากวม เยิ่นเย้อ จะ กอ่ ให้เกิดความเข้าใจทด่ี ตี ่อกัน เกิดความร่วมมือของคนในสังคมไม่สร้างปัญหาและความแตกแยกในสังคม เม่ือ คนในสังคมมีความเข้าใจท่ีดีต่อกันย่อมก่อใหเ้ กิดสนั ติสุขในสงั คม สังคมไทยแม้ว่าจะมีประวัติศาสตร์และวฒั นธรรมโดยส่วนรวมร่วมกัน แตก่ ็มีกลุ่มคน บางกลุ่มที่มีถิน่ ท่ี อยู่มีวิถีชีวิตและภาษาเฉพาะกลุ่มที่แตกต่างกัน มีภาษาของกลุ่มตนโดยเฉพาะ สาหรับส่ือสารกันภายในกลุ่ม เป็นภาษาถ่ินต่าง ๆ ภาษาชนกลุ่มน้อย ดังน้ันจึงต้องมีการกาหนดให้ใช้ภาษาร่วมกัน เรียกว่า ภาษาไทยกลาง
14 หรือภาษาไทยมาตรฐานท่ีคนทุกกลุ่มทุกถิ่นยอมรับ และนามาใช้ส่ือสารให้เข้าใจตรงกันท้ังในการศึกษาในทาง ราชการและในส่อื สารมวลชน การใชภ้ าษาไทยกลาง หรือภาษาไทยมาตรฐานไดช้ ่วยเสรมิ สรา้ งความเข้าใจอนั ดี ต่อกันของผคู้ นใน สงั คมไทยและสรา้ งความเปน็ เอกภาพของชาติ นอกจากภาษาไทยจะทาให้คนในสงั คมปัจจุบันมีความเข้าใจที่ดีต่อกันแล้ว ภาษาไทยยังเป็นเครื่องมือ บันทึกและถา่ ยทอดความรู้สึกนึกคิดของบรรพบุรษุ ในรูปของวรรณคดแี ละ วรรณกรรม การอ่านและการศึกษา วรรณคดแี ละวรรณกรรมแต่ละสมัยทาให้ชนรนุ่ หลังรับรู้และเขา้ ใจความรู้สกึ นึกคดิ ของผู้แต่ง ชีวิตความเป็นอยู่ เหตกุ ารณ์ ลักษณะสังคม และวฒั นธรรมสมัยนน้ั ๆ ด้วย 4. เป็นเคร่ืองมือสร้างเอกภาพของชาติ สังคมจะเป็นปึกแผ่นม่ันคงและเจริญรุ่งเรือง ก็เพราะคนใน สังคมมีความรู้สึกเป็นอันหน่ึงอันเดียวกันและมีความรู้สึกผูกพันเป็นพวกพ้องกัน เพราะคนไทยมีภาษาไทยที่ เป็นภาษากลางหรือภาษามาตรฐานใช้ร่วมกัน ภาษาไทยยังแสดงให้เห็นถึงชาติไทยมีอารยธรรมและมีความ เจริญรุ่งเรือง มีภาษาไทยเป็นภาษาประจาชาติที่ใช้ส่ือสารกัน ทาให้เกิดมีความสัมพันธ์ต่อกันและเกิดความ ผูกพันเป็นเช้ือชาติเดียวกัน ภาษาไทยทาให้เกิดความเป็นเอกภาพของชาติ เป็นพลังสาคัญทาให้คนไทยเกิด ความปรองดอง และร่วมมือกันทีจ่ ะพัฒนาชาตไิ ทยให้เจรญิ ก้าวหนา้ มน่ั คงต่อไป บางชาติมีภาษาใช้สื่อสารจานวนมาก เช่น ประเทศอินเดียมีภาษานับร้อยภาษา การส่ือสารจึงมี อุปสรรคไมส่ ามารถทาความเขา้ ใจได้รวดเรว็ และมีประสิทธิภาพ เพราะแตล่ ะกลมุ่ มีภาษาใชเ้ ป็นของตนเอง ทา ให้มีความคิดเห็นแตกแยก ขัดแย้ง มีความรู้สึกว่าเป็นคนต่างกลุ่ม จึงขาดความเป็นเอกภาพในชาติ ซึ่งเป็น ปัญหาและอุปสรรคต่อการพัฒนาชาติ แม้อินเดียจะมีภาษากลางของชาติท่ีกาหนดให้ใช้ในการติดต่อกัน แต่ก็ ไม่สามารถทาให้คนแต่ละกลุ่มมีความคิด และมีความรู้สึกเป็นพวกเดียวกันไดอ้ ย่างสนิทใจ แต่ชาติไทยถึงแม้ว่า จะมีภาษาถ่ินใชแ้ ต่ก็ยังเปน็ ภาษาถ่นิ ทสี่ ามารถใช้สื่อสารสร้างความเขา้ ใจกันได้ 5. เป็นเคร่อื งมอื ช่วยจรรโลงใจ โดยธรรมชาตมิ นษุ ย์ทกุ เพศทุกวยั ตอ้ งการไดร้ บั ความจรรโลงใจในชวี ิต อยู่เสมอ เด็กเล็ก ๆ ต้องการฟังเสียงเห่กล่อม เม่ือโตข้ึนฟังเสียงเพลง ท้ังบทร้อง และทานองย่อมทาให้เกิด ความสาราญใจ อ่านหรือฟังนิทาน นิยาย บทกวี สารคดี บันเทิงคดี คาอวยพร สุภาษิต ฯลฯ ซึ่งผู้ประพันธ์ได้ สรรถอ้ ยคาอนั ประณตี ไพเราะ และมขี ้อคดิ ท่ีลึกซึง้ เป็นภาษา เรยี งร้อยให้เกดิ ความจรรโลงใจแกผ่ ู้อา่ นและผ้ฟู ัง ส่ือสารมวลชนในปัจจบุ ันมีบทบาทสาคัญย่ิงในการให้ความจรรโลงใจแก่คนในสังคม นอกเหนือไปจาก ประโยชนด์ ้านอนื่ ๆ ส่ือมวลชนประเภทสิ่งพิมพ์นั้น ต้องใช้ภาษาเป็นหลักในการนาเสนอขอ้ มูลข่าวสารอยู่แล้ว ส่วนส่ือมวลชนประเภทวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ ภาพยนตร์ก็ต้องใช้ภาษาเป็นส่วนประกอบสาคัญใน การนาเสนอดว้ ย จึงจะทาให้ผูฟ้ งั ผู้ชมได้เข้าใจขอ้ มูลข่าวสารอย่างชัดเจน เพมิ่ รสชาติและเกิดความจรรโลงใจได้ เต็มที่ เร่ืองราวที่ช่วยให้เกิดความจรรโลงใจและความชื่นบาน จาเป็นต้องอาศัยภาษาเป็นสื่อ ภาษาไทยจึงมี ความสาคัญช่วยให้ชีวิตคนไทยมคี วามสดชื่นร่นื รมย์ มสี ุขภาพจิตทด่ี ีไม่เคร่งเครียด เกิดความคิดสร้างสรรค์และ สงั คมไทยดารงอยไู่ ด้ด้วยดี ดังนั้นภาษาไทยจึงมีความสาคัญต่อการดารงชีวิตและความเป็นปึกแผ่นของ สังคมไทย คนไทย จาเป็นต้องตระหนักถึงความสาคัญของภาษาไทย ต้องทาความเข้าใจและศึกษาหลักเกณฑ์ทางภาษา และ ฝึกฝนให้มีทักษะ ฟงั พูด อ่าน และเขยี นภาษาไทยใหม้ ี ประสทิ ธิภาพ เพอื่ นาไปใชใ้ นการสือ่ สาร การเรียนรูก้ าร เสริมสร้างความเข้าใจอันดีตอ่ กัน การสร้าง ความเป็นเอกภาพของชาติและความจรรโลงใจ เพื่อเกิดประโยชน์ แกต่ นเอง ชมุ ชน สังคมและ ประเทศชาติ ธรรมชาติของภาษาไทย
15 ภาษาไทยเป็นภาษาในตระกูลคาโดดและเป็นภาษาเรียงคา มีวิวัฒนาการมานานกว่าพันปี คนไทยใช้ ภาษาไทยเป็นเครื่องมือการดารงชีวิตและการส่ือสารทั้งการพูด การอ่าน การฟัง และการเขียน ก่อให้เกิด ความคดิ เชิงสร้างสรรค์และสอ่ ให้เห็นบุคลิกภาพและลักษณะนสิ ัยของคน ไทยที่ต่างจากชนชาติอ่ืน ดงั คากล่าว ที่ว่า “สาเนียงบอกภาษากิริยาส่อตระกูล” ภาษาไทยช่วยดารงความเป็นชาติไทยแสดงความเป็นเอกลักษณ์ ของคนไทยในการติดต่อสื่อสาร จนได้คายกย่องว่า “สยามเมอื งย้ิม” เพราะภาษาช่วยกล่อมเกลาอุปนิสัยใจคอ ของคนไทยให้แสดงความเป็นมติ รมี ไมตรีต่อกนั อนั เปน็ ที่ภาคภมู ใิ จของคนทั้งชาติ ภาษาไทยเป็นเครื่องมือการส่ือสารเพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกันและตรงตาม 4 จุดมุ่งหมายในการ แสดงความคิด ความรู้สึก และความต้องการ คาในภาษาไทยย่อมประกอบด้วย เสียงพยัญชนะ เสียงสระ และ เสียงวรรณยุกต์ และประกอบด้วยความหมายของคา ถ้าคามีเสียงวรรณยุกต์ต่างกัน ความหมายของคาก็ เปล่ียนแปลงไป เช่น ป่า ป่า ป้า ทาให้ภาษาไทยมีคาใช้มากขึ้นจากการออกเสียงวรรณยุกต์ที่ต่างกัน นอกจากน้ันคาในภาษาไทยยังมเี สียงหนักเบา สั้น ยาวตา่ งกัน เชน่ คาวา่ กระเชา้ และเชา้ น้ี จะออกเสยี ง คาว่า เช้า ต่างกัน ภาษาไทยยังมีระดับของ ภาษาต้องใช้ให้เหมาะแก่กาลเทศะและบุคคล ภาษาไทยยังมีการ เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา เช่น แต่ก่อนเราใช้คาว่า หล่อน ในความหมายของผู้ถูกกล่าวถึง เป็นสรรพนาม บุรุษท่ี ๓ ในเชิงยกย่อง แต่ปัจจุบันคาว่า หล่อนไม่ค่อยมีการใช้แล้ว และถ้าใช้ก็เป็นทานองการดูหม่ินเหยียด หยาม เป็นต้น ภาษาจึงมีการเปล่ียนแปลงไปตามกาลเวลา และสภาพวัฒนธรรมของกลุ่มคน และสภาพ ของ สังคมและเศรษฐกิจ คนที่ได้รับการศึกษาสูงจะใช้ภาษาท่ีสูงกว่าคนในแหล่งที่มีระดับชีวิตและการศึกษาที่ต่า การใช้ภาษาเป็นทักษะที่ผู้ใช้ภาษาต้องฝึกฝนให้เกิดความชานาญไม่ว่าจะเป็นการ อ่าน การเขียน การพูด การ ฟัง และการดูสื่อต่าง ๆ ผู้ใช้ภาษาต้องใช้ภาษาให้ถูกต้องตาม หลักเกณฑ์ของภาษาในการส่ือสารให้มี ประสิทธิภาพและใช้คล่องแคล่ว ใช้ภาษาในการคิดอย่างมี วิจารณญาณ มีเหตุมีผล และใช้ภาษาอย่างมี คุณธรรม และอย่างมีมารยาท ภาษาไทยยังมีคุณสมบัติสาคัญ 3 ประการ คือ ประการแรก คาที่ใช้พูดประกอบด้วยเสียงและ ความหมาย มีการใช้ถ้อยคาที่เป็นระบบมีระเบียบแบบแผนท่ีเป็นกฎเกณฑ์ทางภาษา ประการท่ีสองภาษามี พลงั ทาให้ผอู้ ่านผฟู้ ังเกดิ อารมณ์แหง่ ความชื่นชมหรือความเศร้าใจ เพราะถ้อยคาทีใ่ ช้ทาให้ผู้รบั สารมีอารมณ์ไป ตามถ้อยคาท่ีใช้ นอกจากน้ันยังสามารถนาคามาประกอบเป็นถ้อยคา และประโยคส่ือความคิดได้มากมาย ประการที่สามภาษาเป็นการใช้สัญลักษณ์หรือ สมมติร่วมกันในความหมาย และยอมรับความหมายนั้น ๆ รว่ มกนั ภาษาไทยยังมีคณุ สมบัติอ่ืน ๆ ท่เี หมอื นกับภาษาอ่นื ๆ ในโลก คอื ความไมจ่ ากดั เพศของผสู้ ่งสารไม่ว่า จะเป็นเพศหญิง เพศชาย คนแก่หรือเด็ก ย่อมใช้ภาษาในการส่งสารและรับสารได้และใช้ภาษาพูดทั้งอดีต ปัจจุบัน และอนาคต ส่ือสารกันได้ รับรู้เรื่องราวไม่จากัดกาลเวลา ดังนั้นภาษาจึงมีคุณสมบัติเป็นเคร่ืองมือ ถา่ ยทอดวฒั นธรรมและวิทยาการต่าง ๆ ทาให้เกดิ การ เปลยี่ นแปลงพฤติกรรมและเกิดการสร้างสรรคส์ ่ิงใหม่ ๆ ขึ้นมาอีกด้วย 1.4 วิสัยทัศนก์ ารเรยี นการสอนภาษาไทย ภาษาไทยเป็นเครื่องมือการสื่อสารของคนในชาติ ใช้ทาความเข้าใจกันและใช้ภาษาประกอบกิจการ งานท้ังส่วนตน ครอบครัว และกิจกรรมในสังคมและประเทศชาติ ภาษาไทยยังเป็นเครื่องมือการเรียนรู้ การ บันทึกเรื่องราวจากอดีตจากอดีตจนถึงปัจจุบัน และยังเป็นวัฒนธรรมของชาติ ดังนั้นการเรียนการสอน ภาษาไทย จึงต้องสอนภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร และสอนภาษาไทย ให้คนรักการอ่าน การเขยี น ที่จะแสวงหา ความร้แู ละประสบการณ์ บันทึกความรูแ้ ละขอ้ มลู ขา่ วสาร สอนภาษาไทยใหใ้ ช้ภาษาไทยไดถ้ ูกต้องในฐานะเปน็
16 วัฒนธรรมทางภาษา ให้ผู้เรียนเกิดความช่ืน ชมซาบซ้ึงและภูมิใจในภาษาไทย เห็นคุณค่าของวรรณคดีและ วรรณกรรม ตลอดจนภูมิปัญญา ทางภาษาของบรรพบุรุษท่ีได้สร้างสรรค์ผลงานซึ่งเป็นส่วนสร้างเสริมความ งดงามในชีวิต ภาษาเปน็ สื่อของความคิด ผู้เรียนท่ีมีภาษาใช้กวา้ งขวางมีประมวลคาในการใชพ้ ูด ฟัง อ่าน เขียนมาก ผู้เรียนจะคิดได้กว้างขวางลกึ ซึ้ง และสรา้ งเสริมความชาญฉลาด สามารถคดิ สร้างสรรค์ คิดวพิ ากษ์วิจารณ์ คิด ตัดสินใจแก้ปัญหา และวินิจฉัยอย่างมีเหตุผล ดังน้ันการสอน ภาษาไทยจาเป็นต้องเสริมสร้างให้ผู้เรียนขยาย ประมวลคาท้ังการพูด การฟัง การอ่าน และการ เขียนให้มาก เพื่อให้ผู้เรียนใช้ภาษาในการคิดสร้างสรรค์ คิด วิพากษ์วิจารณ์ คิดตัดสนิ ใจแก้ปญั หา วินิจฉัยเร่ืองราวและส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้ภาษาอย่างมีเหตุผล ใช้ภาษาใน เชิงสร้างสรรค์ และใช้ ภาษาอย่างสละสลวยซึ่งจะช่วยสร้างบุคลิกภาพของผู้ใช้ภาษาให้เกิดความน่าเช่ือถือ ภาษาไทยเป็นวิชาทักษะทต่ี ้องฝึกฝนจนเกิดความชานาญในการใช้ภาษาเพื่อการ สื่อสารการอ่านและ การฟังเป็นทักษะของการรับรู้เรื่องราว ความรู้และประสบการณ์ การพูดและ การเขียนเป็นทักษะของการ แสดงออกด้วยการแสดงความคดิ ความเห็น ความรู้และประสบการณ์ ส่วนการดเู ปน็ การรับรู้ขอ้ มลู ข่าวสารจาก สื่อต่าง ๆ ท้ังโทรทัศน์ ภาพยนตร์ ละคร คอมพิวเตอร์ ตลอดจนการ์ตูน และสามารถแสดงทรรศนะข้อมูล ข่าวสารด้วยการพูดและการเขียน การดูจึงเป็น การเรียนรู้และการแสดงทรรศนะของตน และการดูนับวันจะมี ความสาคัญและมีอิทธิพลต่อการ ดาเนินชวี ิต ผเู้ รียนจะต้องประเมินสง่ิ ท่ีดูและใชก้ ารดูให้เป็นประโยชนใ์ นการ หาความรู้การเรียน ภาษาไทยจึงต้องเรียนเพ่ือการส่ือสารให้ผู้เรียนสามารถรับรู้ข้อมูลข่าวสารอย่างพินิจ พเิ คราะห์ สามารถเลือกใช้คาเรียบเรียงความคิด ความรูใ้ ห้ชัดเจน ใช้ภาษาได้ถกู ตอ้ งตามหลกั ภาษาใช้ ถ้อยคา ตรงตามความหมาย ถกู ต้องตามฐานะของบุคคลและสถานการณ์อย่างมีประสทิ ธิภาพ ภาษาไทยมีส่วนที่เป็นเนื้อหาสาระ ได้แก่ กฎเกณฑ์ทางภาษาหรือหลักการใช้ภาษา ผู้ใช้ภาษาจะต้อง เรียนรู้หลักภาษาไทยและใช้ได้ถูกต้อง ส่วนวรรคดีและวรรณกรรม ตลอดจนบท ร้องเล่น เพลงกล่อมเด็ก ปริศนาคาทาย เพลงพื้นบ้าน วรรณกรรมพื้นบ้านที่เป็นคติชน หรือภูมิ ปัญญาทางภาษาท่ีถ่ายทอดความรู้สึก นกึ คดิ ค่านยิ ม ขนบธรรมเนียมประเพณเี ร่ืองราวของสงั คม ในอดีต ความงดงามทางภาษาในบทประพันธ์ ทั้งร้อยแก้วและร้อยกรองเป็นส่วนท่ีเป็นเนื้อหาสาระ ชว่ ยให้เกิดความซาบซึ้งและความภาคภมู ิใจในส่ิงที่บรรพบรุ ุษได้สง่ั สมและบอกกล่าวถึงความดี ความงาม การ ประพฤติตนไว้ในวรรณคดแี ละให้คติชน ซง่ึ สืบทอดมาจนถึงปจั จบุ ัน การเรียนวรรณคดีและวรรณกรรมในส่วนของบทรอ้ ยกรองผู้เรียนจะต้องเห็นความงาม ของถอ้ ยคาใน บทรอ้ ยกรอง เข้าใจเรื่องราวของวรรณคดี สามารถท่องจาบทรอ้ ยกรองทีไ่ พเราะ จะเป็นตน้ ทุนหรือพืน้ ฐานของ การแต่งบทร้อยกรอง ดังนั้นการเรียนการสอนจาเป็นตอ้ งให้ผู้เรียนได้ ท่องจาบทอาขยานท่ีเป็นบทร้อยกรองที่ ไพเราะด้วย และการเรียนการสอนวรรณคดีและวรรณกรรม ยังทาให้ผู้เรียนได้เรียนรู้สังคม ชีวิต และ วฒั นธรรมของคนไทยอีกดว้ ย ปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีโดยเฉพาะคอมพิวเตอร์มีบทบาทสาคัญในการสื่อสาร และ นักเรียนส่วนหนึ่งมีความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์ ซ่ึงเป็นส่ืออิเล็กทรอนิกส์ นักเรียนอาจใช้ Word Processing ในการเรียนภาษาไทย การรวบรวมข้อมูลข่าวสาร การเขียน โครงงาน การเขียนรายงานด้วย แผ่นดิสก์สงครูแทนที่จะเขียนรายงานเป็นแผ่นกระดาษ การใช้ Word Processing จะช่วยให้นักเรียนใช้ใน กระบวนการเขียน จะใช้ในการปรับปรุงพัฒนาบทเขยี น ของนักเรียน ทั้งในข้ันยกร่าง ขั้นปรับปรุง พัฒนาและ สามารถพิมพ์รายงานออกมาด้วยความ เรียบร้อยเป็นการเขียนขั้นสุดท้าย และนักเรียนอาจใช้อินเทอร์เน็ตใน การคน้ หาขอ้ มูลขา่ วสารตา่ ง ๆ ใช้ E-Mail ในการสง่ ขอ้ มลู ข่าวสารการเรียนรกู้ ับเพือ่ นทงั้ ในโรงเรยี นแลเพือ่ น
17 โรงเรียน ดังนั้น ครูภาษาไทยจะต้องเรียนรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และการเชื่อมโยงเทคโนโลยีในการพัฒนา นักเรียนอาจเช่ือมโยงสอบถามปัญหาการเรียนกับครูโดยใช้โทรศัพท์มือถือหรือทางคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน (CAI) มาใช้ก็จะเปน็ สิง่ ที่เกิดขนึ้ ในการพฒั นาการเรียนการสอนภาษาไทยในอนาคต อย่างหลกี เลยี่ งไมพ่ ้น 1.5 คุณภาพของผ้เู รียน เมื่อจบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานแล้ว ผู้เรียนต้องมีความรู้ และคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม ดังน้ี 1. สามารถใชภ้ าษาส่อื สารได้อยา่ งดี 2. สามารถอ่าน เขยี น ฟงั ดู และพดู ได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 3. มคี วามคิดสร้างสรรค์ คดิ อย่างมเี หตุผล และคดิ เป็นระบบ 4. มีนิสัยรักการอ่าน การเขียน การแสวงหาความรู้และใช้ภาษาในการพัฒนาตน และสร้างสรรค์งาน อาชีพ 5. ตระหนักในวัฒนธรรมการใช้ภาษาและความเป็นไทย ภูมิใจและช่ืนชมใน “วรรณคดีและ วรรณกรรมซึ่งเป็นภมู ิปญั ญาของคนไทย” 6. สามารถนาทักษะทางภาษามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพและ ถูกต้องตาม สถานการณแ์ ละบุคคล 7. มีมนุษยสัมพันธท์ ด่ี ี และสร้างความสามคั คีในความเป็นชาตไิ ทย 8. มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม วสิ ยั ทศั น์ โลกทศั นท์ กี่ ว้างไกลและลึกซึ้ง 1.6 สาระของหลกั สตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ลกั ษณะของหลกั สตู ร หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐานได้กาหนด เป็นกรอบและ ทิศทางการพัฒนาหลักสูตรภาษาไทยของสถานศึกษาเช่นเดียวกับกลุ่มวิชาอื่น ๆ สถานศึกษาจะนาไปพัฒนา เป็นหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยและเป็นแนวทางจัดการ เรียนการสอนให้เป็นแนวทางเดียวกันทั้ง ประเทศตามมาตรฐานการเรียนรู้ ลักษณะสาคญั ของหลักสูตรกลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย มดี งั นี้ 1. กาหนดสาระที่เป็นองค์ความรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย (Strand) ซึ่งเป็นแก่นความรู้ทาง ภาษาท่ีผู้สอนต้องนาไปขยายรายละเอียดและจัดให้เหมาะสมกับผู้เรียน และสภาพแวดล้อมในท้องถ่ิน ประกอบดว้ ย การอา่ น การเขียน การฟัง การดู และการพดู หลักการใช้ ภาษา วรรณคดแี ละวรรณกรรม 2. กาหนดมาตรฐานการเรียนรู้ ประกอบด้วย มาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มวิชา และมาตรฐานการเรียนรู้ ช่วงชั้นของแต่ละสาระ เพ่ือระบุสิ่งที่ผู้เรียนจะต้องเรียนและสมรรถฐานที่ ผู้เรียนสามารถปฏิบัติได้อันเป็น คุณภาพของผเู้ รียนทีผ่ ู้สอนจะยดึ เปน็ แนวทางการจัดการเรยี นรู้ 3. กาหนดหลักสูตรเป็นช่วงชั้น ท้ังมาตรฐานการเรียนรู้และมาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น โดยแบ่งเป็น 4 ช่วงชัน้ คือ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1-3 ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4-6 ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 และชั้นมัธยมศกึ ษาปี ท่ี 4-6 มีการพัฒนาทักษะทางภาษาอย่างต่อเน่ือง ผู้สอนต้องศึกษาหลักสูตรทุกช่วงชั้นมิใช่เฉพาะช่วงชั้นท่ีจะ สอนเทา่ นน้ั เพอ่ื เหน็ ภาพการพัฒนาการเรยี นการสอนอยา่ งต่อเนื่อง 4. กาหนดเวลาเรียนตามความเหมาะสมในช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1-6 และช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1-3 กาหนดเวลาเรียนเป็นรายปี สว่ นชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 4-6 กาหนดเวลาเรียนเป็นรายภาคและเป็นหน่วยกิต
18 1.7 สาระและมาตรฐานการเรียนรกู้ ลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย หลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เป็นหลักสูตรท่ีมีลักษณะเป็นหลักสูตรมาตรฐาน (Standard-Based Curriculum) และมีลักษณะเป็นหลักสูตรสมรรถฐาน (Competency-Based Curriculum) กล่าวคือ หลักสูตรจะมีสาระการเรียน (Strand) เป็นกลุ่มเน้ือหาและทักษะที่จะต้อง สอน แต่ละสาระการเรียนรู้จะมี มาตรฐานการเรียนรู้ (Standard) เป็นตัวกาหนดคณุ ภาพของการ จดั การศึกษาแต่ละมาตรฐานการเรยี นรจู้ ะมี มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงช้ัน (Benchmark) เป็นสมรรถ ฐานที่ผู้เรียนเรียนจบการศึกษาแต่ละช่วงชั้นจะต้องมี ความรู้ความสามารถในการเรียนตาม 4 มาตรฐานการเรียนรู้และมาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น มาตรฐานการ เรียนรู้จึงเป็นข้อกาหนดคุณลักษณะและความสามารถของผู้เรียนที่ครูจะจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะ และ ความสามารถดังกล่าว ส่วนมาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นกาหนดสาระการเรียนรู้ที่เป็นมาตรฐาน เน้ือหา (Content Standard) ซึ่งส่วนมากจะเขียนเป็นความคิดรวบยอด กาหนดเนื้อหาการสอน และมาตรฐานการ ปฏิบัติ (Performance Standard) กาหนดคุณสมบัติท่ีเป็นความสามารถการ ปฏิบัติงานและคุณธรรม จริยธรรม มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นจะกาหนดความรู้ หลักการให้เกิด ความคิดระดับสูง มีทักษะและ กระบวนการและมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม ซ่ึงครูจะนาไปใช้เปน็ แนวทางการพัฒนาหลักสูตรและการ จัดการเรียนการสอนเชื่อมโยงประสบการณ์การเรียนรู้ใน ห้องเรียนสู่ชีวิตจริงและสู่สังคมภายนอก และเป็น แนวทางการประเมินผลเพ่ือพิจารณาความสาเร็จของผู้เรียน สถานศึกษาจะต้องนามาตรฐานการเรียนรู้และ มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงช้ันพัฒนาเป็น หลักสูตรของสถานศึกษาเองให้สอดคล้องกับสภาพสังคมและชุมชน และยังเป็นแนวทางการ บริหารงานวิชาการของสถานศึกษาและยังใช้เป็นเกณฑ์การประเมินคุณภาพของการ จัดการศึกษา ของสถานศึกษา ขณะเดียวกันหน่วยงานที่ทาหน้าที่ประเมินคุณภาพของสถานศึกษาจะใช้ มาตรฐานการเรียนรู้ และมาตรฐานการเรียนรู้ช่วงช้ันจัดทาเคร่ืองมือประเมินคุณภาพการศึกษา ของ สถานศึกษาเพื่อการประกันคุณภาพ นอกจากนั้นผู้บริหารสถานศึกษาจะใช้มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น ตรวจสอบคุณภาพการเรียนของผู้เรียน และใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจในการ บริหารงานวิชาการของ สถานศึกษา เพือ่ ให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาการเรยี นรู้ให้เข้าสู่มาตรฐานที่กาหนด และผู้ปกครองยังใช้มาตรฐาน ตรวจสอบผลการเรยี นของบตุ รหลานของตนได้อกี ด้วยรายงาน 1.8 การพฒั นาสือ่ การเรียนรภู้ าษาไทย พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 4 มาตรา 22-23 และหมวด 9 มาตรา 63-64 ได้กาหนดแนวทางการจัดการศึกษา กระบวนการเรียนรู้และเทคโนโลยีการศึกษาท่ีเน้นถึงบทบาทและ ความสาคัญของการพัฒนาส่ือการเรียนการสอน และแหล่งการเรียนรู้เพื่อ ปรับปรุงคุณภาพของผู้เรียนและ ผู้สอนให้สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษาตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ในคู่มือเล่มนี้ขอ นาเสนอแนวทางการพฒั นาสื่อการเรียนรู้ ภาษาไทยและแหล่งการเรียนรู้ เพ่ือใช้ประโยชน์ในการวางแผนการ จดั การเรยี นการสอนในกลุ่ม สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ดังน้ี 1.8.1 สื่อการเรยี นรู้ภาษาไทย ส่อื การเรียนหรือสื่อการเรียนการสอน เป็นเครือ่ งมือท่ีครูกาหนดข้ึนเพ่ือใช้ทาหน้าท่ีถ่ายทอดและ แลกเปลีย่ นเนือ้ หา ประสบการณ์ แนวคดิ ทักษะ และเจตคตริ ะหวา่ งผู้สอนกบั ผเู้ รยี น หรือใช้เป็นเคร่ืองมือการ แสวงหาความรู้ของผู้เรียน โดยให้ผู้เรียนเป็นผู้ใช้สื่อ เพ่ือให้เกิดความรู้ ฝึก ทักษะกระบวนการและสร้างเสริม ความรสู้ ึกนึกคดิ จนบรรลุจดุ ประสงค์ของการเรยี นรู้ 1.8.2 ความสาคญั ของสอื่ การเรียนการสอน
19 การเรียนการสอนเป็นกระบวนการสื่อสารความรู้ ประสบการณ์ ทักษะ ความคิดเห็น ตลอดจนเจตคติ ซึ่ง อาจจะทาได้หลายวิธี และอาจใช้เคร่ืองมือประกอบการสอนต่าง ๆ อีกมากมาย โดยท่ีการจัดการศึกษาตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ให้ผู้เรียนมีทั้งความรู้และคุณธรรม โดย จัดกระบวนการเรียนรู้และบูรณาการตามความเหมาะสม ของแต่ละระดับการศึกษา ดังน้ันการสอนโดยการ บรรยาย หรือการใชห้ นังสือเพียงเล่มเดียว ไม่ สามารถพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุจุดหมายตามที่คาดหวังไว้ เพราะ ในสังคมปัจจุบันเป็นยุคสมัยที่ ข้อมูลข่าวสารความรู้สมัยใหม่ ตลอดจนเทคโนโลยีการสื่อสารได้แผ่ขยาย กว้างขวางอยา่ งไม่มี ขอบเขตจากดั จาเป็นตอ้ งพฒั นาศักยภาพความสามารถของผเู้ รียนอย่างเต็มที่ ให้มนี สิ ัยใฝ่ รู้ แสวงหาความรู้ด้วยตัวเอง ผู้เรียนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเอง โดยใช้แหล่งความรู้ที่มีรูปแบบ หลากหลาย กล่าวคือ การเรียนการสอนจาเป็นต้องเลือกสรรสื่อการเรียนการสอนท่ีทาให้ผู้เรียน เรียนรู้ด้วย ตนเอง มีโอกาสร้รู ว่ มกับผอู้ ่นื และมีความรบั ผดิ ชอบทจ่ี ะสรา้ งความรดู้ ้วยตนเอง 1.9 การวัดผลและประเมินผลการเรียนการสอนภาษาไทย การวัดผลและประเมนิ การเรยี นรู้ดา้ นภาษาเปน็ งานทีย่ ากซึง่ ตอ้ งการความเข้าใจท่ีถูกตอ้ งเก่ียวกับการ พัฒนาทางภาษา ดงั น้ันผปู้ ฏิบตั หิ น้าท่ีวัดผลการเรยี นรู้ด้านภาษาจาเป็นต้องเข้าใจหลกั การของการเรียนรภู้ าษา เพอื่ เปน็ พ้ืนฐานการดาเนนิ งาน ดงั น้ี 1. ทักษะทางภาษาทัง้ การฟัง การดู การพูด การอ่านและการเขียนมคี วามสาคัญเท่า ๆ กันและทกั ษะ เหล่าน้ีจะบูรณาการกัน ในการเรียนการสอนจะไม่แยกฝึกทักษะทีละอย่างจะต้อง ฝึกทักษะไปพร้อม ๆ กัน และทักษะทางภาษาทักษะหน่ึงจะสง่ ผลต่อการพัฒนาทักษะทางภาษาอนื่ ๆ ด้วย 2. ผู้เรียนต้องได้รับการพัฒนาความสามารถทางภาษาพร้อมกับการพัฒนาความคิด เพราะภาษาเป็น ส่ือของความคิด ผู้ท่ีมีทักษะและความสามารถในการใช้ภาษา มีประมวลคา มากจะช่วยให้ผู้เรียนมี ความสามารถในการคิดด้วย ขณะเดียวกันการเรียนภาษาจะเรียนร่วมกันกับผู้อน่ื มีการติดต่อสือ่ สาร ใช้ภาษา ในการติดต่อกับเพ่ือนกับครูจึงเป็นการฝึกทักษะทางสังคมด้วย เมื่อผู้เรียนได้ใช้ภาษาในสถานการณ์จริงทั้งใน บริบททางวิชาการในห้องเรียนและในชุมชน จะทาให้ผู้เรียนได้ใช้ภาษาและได้ฝึกทักษะทางสังคมใน สถานการณ์จรงิ 3. ผู้เรียนต้องเรียนรู้การใช้ภาษาพูดและภาษาเขียนอย่างถูกต้องด้วยการฝึกการใช้ ภาษามิใช่เรียนรู้ กฎเกณฑ์ทางภาษาแต่เพียงอย่างเดียว การเรียนภาษาจะต้องเรียนรู้ไวยากรณ์ หรือหลักภาษา การสะกดคา การใช้เคร่ืองหมายวรรคตอน และนาความรู้ดังกล่าวไปใช้ในการฝึกฝนการเขียนและพัฒนาทักษะทางภาษา ของตน 4. ผูเ้ รียนทุกคนจะได้รับการพัฒนาทักษะทางภาษาเทา่ กัน แต่การพัฒนาทางภาษา จะไม่เท่ากัน และ วิธีการเรยี นรู้จะต่างกนั 5. ภาษากับวัฒนธรรมมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด หลักสูตรจะต้องให้ความสาคัญและใช้ความ เคารพและเห็นคุณค่าของเช้ือชาติ จัดกิจกรรมภูมิหลังของภาษาและการใช้ภาษาถ่ินของผู้เรียน และช่วยให้ ผู้เรียนพัฒนาภาษาไทยของตน และพัฒนาความรู้สึกท่ีดีเก่ียวกับภาษาไทยและกระตุ้นให้ผู้เรียนสามารถเรียน ภาษาไทยดว้ ยความสุข 6. ภาษาไทยเป็นเครื่องมือของการเรียนรู้ และทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้จะต้องใช้ภาษาไทยเป็น เคร่ืองมือการสื่อสารและการแสวงหาความรู้ การเรียนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้จะใช้ภาษาในการคิดวิเคราะห์ การคิดสร้างสรรค์ การอภิปราย การเขียนรายงาน การเขียนโครงการ การตอบคาถาม การตอบข้อทดสอบ
20 ดังนั้นครูทุกคนไม่ว่าจะสอนวิชาใดก็ตามจะต้องใช้ภาษาที่เป็นแบบแผน เป็นตัวอย่างท่ีดีแก่นักเรียน และต้อง สอนการใชภ้ าษาแกผ่ ูเ้ รียนด้วยเสมอ 2. แนวคิด ทฤษฎีเกย่ี วกับสอื่ ความหมายและประเภทของสอื่ การเรียนการสอน ได้มีนกั การศกึ ษาหลายทา่ น ได้ใหค้ วามหมายของสอ่ื การสอนไว้หลากหลายพอสรปุ ไดด้ ังน้ี สมบูรณ์ สงวนญาติ (2534 : 43) สื่อการสอน หมายถึง ทุกส่ิงทุกอย่างท่ีครูผู้สอนสามารถใช้ในการ สอน เพอื่ ใหก้ ระบวนการเรยี นร้ดู าเนนิ ไปสู่เป้าหมายอยา่ งมีประสิทธิภาพ เชียรศรี วิวิธสิริ (2535 : 59) สื่อการสอน หมายถึง ตัวกลางท่ีใช้สื่อความหมายและเป็นเคร่ืองมือที่ ชว่ ยใหก้ ารทากิจกรรมตา่ ง ๆ งา่ ยขนึ้ ชลิยา ลิมปิยากร (2536 : 33) ส่ือการสอน หมายถึง ตัวกลางที่ใช้ถ่ายทอดความรู้ประสบการณ์ จาก ผ้สู อนหรือแหล่งประสบการณ์อน่ื ไปยังผู้เรียน ประสิทธ์ิ เพิ่มพูน (2536 : 44) สอ่ื การสอน หมายถึง ส่ิงทถ่ี ่ายทอดความร้ไู ด้ชดั เจน เพื่อให้ผู้เรียนเกิด ความรคู้ วามเขา้ ใจดยี ่ิงขึ้น ใชป้ ระกอบการนาเข้าสบู่ ทเรียน การอธบิ ายเน้ือหาการสอน และสรุปบทเรียน สอื่ (Media) หมายถึง ตัวกลางที่ใช้ถ่ายทอดหรือนาข้อมูลข่าวสารหรือความรู้ในลักษณะต่าง ๆ จากผู้ สง่ ไปยงั ผรู้ บั ให้เข้าใจความหมายได้ตรงกนั ในการเรยี นการสอน สื่อท่ีใช้เปน็ ตวั กลางนาความรู้ ในกระบวนการ สอ่ื ความหมายระหวา่ งผูส้ อนกบั ผเู้ รียน เรยี กวา่ สื่อการเรียนการสอน (Instructional Media) ส่ือการเรียนการสอน หมายถึง ตัวกลางหรือช่องทางในการถ่ายทอดองค์ความรู้ทักษะ ประสบการณ์ จากแหล่งความรู้ไปสู่ผู้เรียน และทาให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ในทางการศึกษา มีคาท่ีมี ความหมายแนวเดียวกันกับสื่อการเรียนการสอน เช่น ส่ือการสอน (Instructional Media or Teaching Media), สือ่ การศึกษา (Educational Media), อปุ กรณช์ ่วยสอน (Teaching Aids) เป็นตน้ จากความหมายทีน่ ักการศึกษาดังกล่าวได้ให้ความหมายไว้ สรุปได้ว่า สื่อการสอน คือ ตัวกลางหรอื ส่ิง ต่าง ๆ ที่ใช้ในกระบวนการเรียนการสอนเพื่อเป็นเคร่ืองมือในการถ่ายทอดความรู้ จากครู หรือสิ่งต่างๆท่ี เกย่ี วข้องกบั การเรียนไปยงั ผูเ้ รยี น เพ่อื ให้บรรลุวตั ถปุ ระสงค์ตามทีว่ างไว้ ประเภทของส่อื การเรยี นการสอน สื่อการเรียนการสอนแบ่งตามคณุ ลักษณะ ได้ 4 ประเภทคือ (ชวลติ เขง่ ทอง, 2560) 1. สื่อประเภทวสั ดุ ได้แก่สไลด์แผ่นใส เอกสาร ตารา สารเคมีสง่ิ พมิ พ์ต่าง ๆ และคู่มือการฝึก ปฏบิ ตั ิ 2. สอ่ื ประเภทอปุ กรณ์ไดแ้ ก่ของจรงิ หุน่ จาลอง เคร่อื งเลน่ เทปเสยี ง เครือ่ งเลน่ วีดิทัศน์ เคร่อื ง ฉายแผ่นใส อุปกรณแ์ ละเครอ่ื งมอื ในห้องปฏิบัติการ 3. สอื่ ประเภทเทคนคิ หรือวิธีการ ได้แก่การสาธติ การอภปิ รายกลุ่ม การฝึกปฏบิ ตั ิการฝึกงาน การจดั นิทรรศการ และสถานการณ์จาลอง 4. สื่อประเภทคอมพิวเตอร์ได้แก่คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) การนาเสนอด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer presentation) การใช้ Intranet และ Internet เพอื่ การส่ือสาร (Electronic mail: E-mail) และการใช้ WWW (World Wide Web)
21 สื่อการเรียนการสอนจาแนกตามประสบการณ์ (Dale’s Cone of Experience) 1. ประสบการณต์ รงและมีความมุ่งหมาย ประสบการณ์ขั้นนี้เปน็ รากฐานสาคญั ของการศกึ ษา ทั้งปวง เป็นประสบการณ์ท่ีผู้เรียนได้รับมาจากความเป็นจริงและด้วยตัวเองโดยตรง ผู้รับประสบการณ์นี้จะได้ เห็น ได้จับ ได้ทา ได้รู้สึก และได้ดมกล่ินจากของจริง ดังนั้นสื่อการสอนที่ไห้ประสบการณ์การเรียนรู้ในข้ันน้ีก็ คือของจรงิ หรอื ความเปน็ จรงิ ในชวี ติ ของคนเราน่นั เอง 2. ประสบการณ์จาลอง เป็นท่ียอมรบั กันวา่ ศาสตรต์ ่างๆ ในโลก มมี ากเกนิ กวา่ ทจี่ ะเรยี นร้ไู ด้ หมดสิ้นจากประสบการณ์ตรงในชีวิต บางกรณีกอ็ ยู่ในอดีต หรอื ซับซ้อนเร้นลับหรือเปน็ อันตราย ไม่สะดวกต่อ การเรียนรู้จากประสบการณ์จริง จึงได้มีการจาลองสิ่งต่าง ๆ เหล่านั้นมาเพ่ือการศึกษาของจาลองบางอย่าง อาจจะเรียนได้งา่ ยกวา่ และสะดวกกว่า 3. ประสบการณ์นาฏการ ประสบการณ์ต่าง ๆ ของคนเรานั้นมีหลายสิ่งหลายอย่างท่ีเราไม่ สามารถประสบได้ด้วยตนเอง เช่น เหตุการณ์ในอดีต เรื่องราวในวรรณคดีการเรียนในเร่ืองที่มีปัญหาเก่ียวกับ สถานที่ หรือเร่ืองธรรมชาติท่ีเป็นนามธรรม การแสดงละครจะช่วยไปให้เราได้เขา้ ไปใกล้ความเป็นจรงิ มากทส่ี ุด เช่น ฉาก เครอ่ื งแต่งตวั เครื่องมือ หนุ่ ตา่ ง ๆ เปน็ ต้น 4. การสาธิต การสาธิตคือ การอธบิ ายถึงขอ้ เท็จจริงหรือแบ่งความคดิ หรอื กระบวนการต่าง ๆให้ผู้ฟังแลเห็นไปด้วย เช่น ครูวิทยาศาสตร์เตรียมก๊าซออกซิเจนให้นักเรียนดูก็เป็นการสาธิต การสาธิตก็ เหมือนกับนาฏการ หรือการศึกษานอกสถานท่ี เราถือเป็นสื่อการสอนอย่างหน่ึง ซึ่งในการสาธิตน้ีอาจรวมเอา ส่งิ ของที่ใชป้ ระกอบหลายอยา่ ง นับตัง้ แตข่ องจรงิ ไปจนถงึ ตวั หนงั สอื หรอื คาพูดเขา้ ไว้ด้วยแต่เราไม่เพ่งเล็งถึงส่ิง เหลา่ นีเ้ ราจะใหค้ วามสาคัญกบั กระบวนการทงั้ หมดท่ผี ู้เรยี นจะต้องเฝ้าสังเกตอยโู่ ดยตลอด 5. การศึกษานอกสถานท่ี การพานักเรียนไปศึกษานอกสถานที่ เป็นการสร้างเสริม ประสบการณ์ชีวิตเพ่ือให้นักเรียนได้เรียนจากแหล่งข้อมูล แหล่งความรู้ท่ีมีอยู่จริงภายนอกห้องเรียน ดังน้ัน การศกึ ษานอกสถานทจี่ ึงเป็นวธิ กี ารหนง่ึ ที่เปน็ สือ่ กลางให้นกั เรียน ไดเ้ รียนจากของจรงิ 6. นิทรรศการ นิทรรศการมีความหมายที่กว้างขวาง เพราะหมายถึง การจัดแสดงสิ่งต่าง ๆ เพ่ือให้ความรู้แก่ผู้ชม ดังน้ันนิทรรศการจึงเป็นการรวมส่ือต่าง ๆ มากมายหลายชนิด การจัดนิทรรศการ ท่ีให้ ผู้เรียนมามีส่วนร่วมในการจัด จะส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีโอกาสคิดสร้างสรรค์มีส่วนร่วม และได้รับข้อมูล ย้อนกลับดว้ ยตวั ของเขาเอง 7. โทรทัศนแ์ ละภาพยนตรโ์ ทรทัศนเ์ ป็นส่ือการสอนท่ีมีบทบาทมากในปัจจุบนั เพราะไดเ้ ห็น ทั้งภาพและได้ยินเสียงในเวลาเดียวกัน และยังสามารถแพร่และถ่ายทอดเหตุการณ์ที่กาลังเกิดข้ึนได้ด้วย นอกจากน้ันโทรทัศน์ยังมีหลายรูปแบบ เช่น โทรทัศน์วงจรปิด ซ่ึงโรงเรียนสามารถนามาใช้ในการเรียน การ สอนได้เป็นอย่างดีนอกจากนี้ยังมีโทรทัศน์วงจรปิด ท่ีเอื้อประโยชน์ต่อการศึกษาอย่างกว้างขวาง ภาพยนตร์ เป็นส่ือท่ีจาลองเหตุการณ์มาให้ผู้ชมหรือผู้เรียนได้ดูและได้ฟัง อย่างใกล้เคียงกับความจริงแต่ไม่สามารถ ถ่ายทอดเหตุการณ์ท่ีกาลังเกิดข้ึนได้ ถึงอย่างไรก็ตามภาพยนตร์ก็ยังนับว่าเป็นส่ือที่มีบทบาทมากในการเรียน การสอน เช่นเดยี วกนั กบั โทรทัศน์ 8. ภาพนิ่ง การบันทึกเสียง และวิทยุ ภาพนิ่ง ได้แก่ ภาพถ่าย ภาพวาดซ่ึงมีท้ังภาพทึบแสง และโปร่งแสง ภาพทบึ แสงคอื รูปถ่าย ภาพวาด หรอื ภาพในสง่ิ พิมพ์ต่าง ๆ สว่ นภาพน่ิงโปร่งใสหมายถึงสไลด์ ฟิล์มสตริป ภาพโปร่งใสท่ีใช้กับเครื่องฉายวัสดุโปร่งใส เป็นต้น ภาพนิ่งสามารถจาลองความเป็นจริงมาให้เรา ศกึ ษาบนจอไดก้ ารบันทึกเสียง ได้แก่ แผ่นเสียงและเครื่องเล่นแผ่นเสียง เทปและเคร่ืองบนั ทกึ เสียง และเคร่ือง ขยายเสียงตลอดจนอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เก่ียวกับเสียง ซึ่งนอกจากจะสามารถนามาใช้อย่างอิสระในการเรียนการ สอนด้วยแล้ว ยังใช้กับรายการวทิ ยุและกิจกรรมการศึกษาอ่ืน ๆ ได้ดว้ ย ส่วนวิทยุน้ัน ปัจจบุ ันที่ยอมรับกันแล้ว
22 ว่า ช่วยการศึกษาและการเรียนการสอนได้มาก ซึง่ ไม่จากัดอยู่แต่เพียงวิทยุโรงเรียนเท่านนั้ แต่ยังหมายรวมถึง วทิ ยุทว่ั ไปอกี ด้วย 9. ทศั นสัญลกั ษณส์ อ่ื การสอนประเภททัศนสัญญลักษณน์ ี้ มีมากมายหลายชนดิ เช่น แผนภูมิ แผนภาพ แผนที่ แผนผัง ภาพโฆษณา การ์ตูน เป็นต้น สื่อเหล่านี้เป็นส่ือท่ีมีลักษณะเป็นสัญลักษณ์สาหรับ ถ่ายทอดความหมายใหเ้ ขา้ ใจไดร้ วดเร็วข้นึ 10. วัจนสัญลักษณ์ส่ือข้ันน้ีเป็นสื่อท่ีจัดว่า เป็นข้ันที่เป็นนามธรรมมากท่ีสุด ซ่ึงได้แก่ ตัวหนังสือหรืออักษร สัญลักษณ์ทางคาพูดท่ีเป็นเสียงพูด ความเป็นรูปธรรมของส่ือประเภทน้ีจะไม่คงเหลืออยู่ เลยอย่างไรก็ดีถึงแม้สื่อประเภทน้ีจะมีลักษณะท่ีเป็นนามธรรมท่ีสุดก็ตาม เราก็ใช้ประโยชน์จากส่ือประเภทนี้ มาก เพราะต้องใชใ้ นการสอ่ื ความหมายอย่ตู ลอดเวลา ส่ือการเรยี นการสอนจาแนกตามคณุ สมบตั ิ Wilbure Young ไดจ้ ดั แบ่งไวด้ งั นี้ 1. ทัศนวัสดุ (Visual Materials) เช่น กระดานดา กระดานผ้าสาลี) แผนภูมิรูปภาพ ฟิล์ม สตริป สไลดฯ์ ลฯ 2. โสตวัสดุ (Audio Materisls ) เช่น เคร่ืองบนั ทึกเสียง (Tape Recorder) เคร่ืองรบั วทิ ยุ หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทางภาษา ระบบขยายเสยี ง ฯลฯ 3. โสตทศั นวัสดุ (Audio Visual Materials) เช่น ภาพยนตรโ์ ทรทัศน์ ฯลฯ 4. เครือ่ งมอื หรอื อุปกรณ์ (Equipments) เชน่ เคร่ืองฉายภาพยนตร์เครื่องฉายฟิลม์ สตรปิ เคร่ืองฉายสไลด์ 5. กจิ กรรมต่าง ๆ (Activities) เช่น นิทรรศการ การสาธติ ทัศนศกึ ษา ฯลฯ สือ่ การเรยี นการสอนจาแนกตามรูปแบบ (Form) Louis Shores ได้แบ่งประเภทสอ่ื การสอนตามรปู แบบไว้ดงั นี้ 1. สง่ิ ตพี ิมพ์ (Printed Materials) เช่น หนังสอื แบบเรยี น เอกสารการสอน ฯลฯ 3. วัสดุฉายและเครื่องฉาย (Projected Materials and Equipment) เช่น ภาพยนตร์สไลด์ ฯลฯ 4. วัสดถุ ่ายทอดเสยี ง (Transmission) เช่น วิทยุ เครอื่ งบนั ทึกเสยี ง ส่ือการเรยี นการสอนตามลักษณะและการใช้ในทางเทคโนโลยกี ารศกึ ษา 1. เครื่องมือหรืออุปกรณ์ (Hardware) หรือสื่อใหญ่ (Big Media) หมายถึง สิ่งท่ีเป็นอุปกรณ์ ทางเทคนิคทั้งหลายท่ีประกอบด้วยกลไก ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งไม่ใช่ส่ิงส้ินเปลือง ได้แก่ เคร่ืองฉาย ประเภทต่าง ๆ เช่น เครื่องฉายภาพยนตร์เคร่ืองฉายสไลด์เคร่ืองฉายภาพข้ามศีรษะ เคร่ืองฉายภาพจาก คอมพิวเตอรเ์ ครื่องรบั โทรทัศนเ์ ครื่องเล่นซีดี/ดีวีดีเครื่องเสียง รวมทง้ั เครือ่ งมือหรืออปุ กรณ์ทางเทคนคิ อื่น ๆ ที่ เป็นทางผ่านของความรู้เช่น เครอ่ื งฉายจุลชวี ะ เครอ่ื งคอมพิวเตอร์เปน็ ตน้ 2. วสั ดุ (Software) หรือส่ือเล็ก (Small Media) ซงึ่ เปน็ วัสดทุ ่เี กบ็ ความรใู้ นลกั ษณะของภาพ เสียง และตัวอกั ษร ในรปู แบบต่าง ๆ โดยจาแนกได้ 2 ประเภทคอื ก. วัสดุที่ต้องอาศัยเครือ่ งมืออุปกรณ์ (Hardware) เพ่ือการนาเสนอเรือ่ งราว ขอ้ มูล หรือความรู้ออกมาส่ือความหมายแก่ผู้เรียน ได้แก่ ฟิล์ม แผ่นใส เทปบันทึกเสียง แผ่นซีดี/ดีวีดีวัสดุบันทึก ขอ้ มลู คอมพิวเตอรเ์ ป็นต้น
23 ข. วัสดุท่ีเสนอความรู้ได้ดว้ ยตัวเอง โดยไม่ต้องอาศยั เครื่องมอื หรืออุปกรณใ์ ด ๆ เช่น เอกสาร ตารา หนงั สอื คู่มือ รูปภาพ แผนภาพ ของจรงิ ของตัวอยา่ ง หนุ่ จาลอง เปน็ ตน้ 3. เทคนคิ หรือวิธกี าร (Techniques or Methods) การส่ือความหมายในการเรียนการสอน บางคร้ังไม่อาจทาได้ด้วยเครื่องมืออุปกรณ์หรือวัสดุแต่จะต้องอาศัยเทคนิคหรือวิธีการ เพ่ือการให้เกิดการ เรยี นรู้หรือใช้ท้ังวัสดุอุปกรณ์และวิธีการไปพร้อม ๆ กัน แต่เน้นท่ีวิธีการเปน็ สาคัญ เช่น การสาธติ ประกอบการ ใชเ้ คร่อื งมือเคร่ืองจักร การทดลอง การแสดงบทบาท การศึกษานอกสถานท่ี การจดั นทิ รรศการ เป็นต้น ดังน้ัน เทคนิคหรือวิธีการต่าง ๆ ดังกลา่ ว จึงจัดว่าเป็นสื่อการเรียนการสอนอีกประเภทหน่งึ แต่สื่อประเภทนี้มักจะใช้ ร่วมกับสือ่ 2 ประเภทแรก จึงจะไดผ้ ลดี คณุ ค่าของส่อื การสอน การนาส่ือการสอนมาใช้ในการเรียนการสอนน้ันจะช่วยให้การสอนมีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึนเพราะสื่อ มีคุณค่า และนักการศึกษาได้สรุปคุณค่าของสื่อการสอนไว้มากมายท่ีคล้ายกันพอ สรุปให้เป็นแนวทางได้ดังน้ี (สมบรู ณ์ สงวนญาติ 2534 : 43 ; ชลยิ า ลมิ ปิยากร 2536 : 3 : ประสิทธิ์ เพมิ่ พูน 2536 : 44) 1. ช่วยใหผ้ ูเ้ รียนเรียนรูไ้ ดด้ ีข้นึ จากประสบการณท์ ีม่ ีความหมายในรูปแบบต่าง ๆ 2. ช่วยผ้เู รียนเรยี นรไู้ ดด้ ีขน้ึ และใช้เวลาในการเรียนนอ้ ยลง 3. ชว่ ยให้ผเู้ รยี นมีความสนใจในการเรียนและมีสว่ นร่วมในการเรยี น 4. ช่วยใหผ้ ู้เรียนมคี วามประทบั ใจ มั่นใจ และสามารถจดจาการเรียนรไู้ ด้นานข้ึน 5. ช่วยส่งเสริมความคิดและการแก้ปัญหาในการเรียนรู้ ช่วยให้เอาชนะข้อจากัดในรูปแบบ ตา่ ง ๆ ได้ ช่วยทาสิ่งที่ซับซ้อนให้ง่ายขน้ึ และเป็นรปู ธรรมข้ึน นาส่ิงที่อยูไ่ กลใหใ้ กล้ให้เกิดความเหมาะสม ทาสิ่ง ตา่ ง ๆ ให้มคี วามชดั เจนข้ึน และนาสง่ิ ทผ่ี า่ นมาในอดีตมาเรียนได้ 6. ชว่ ยลดเวลาในการบรรยายใหน้ อ้ ยลง และสามารถเขา้ ใจได้มากข้ึน 7. ชว่ ยลดการสูญเปล่าทางการศกึ ษาลงเพราะการเรยี นมปี ระสิทธิภาพมากขึน้ หลกั การเลอื กส่อื การสอน ไชยยศ เรืองสุวรรณ (2526 : 157) กล่าวไว้ว่า การเลือกสื่อการสอนเพื่อนามาเกื้อหนุนให้ผู้เรียนเกิด การเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพนั้นเป็นส่ิงจาเป็นอย่างยิ่ง เพราะหากครูเลือกสื่อท่ีไม่เหมาะสมเข้ามาใช้ในการ เรยี นการสอน แลว้ การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนนั้นอาจไม่บรรลตุ ามจดุ มงุ่ หมาย ดงั น้ีควรเลือกสื่อการสอน โดยยึดหลกั ดังนี้ 1. สอื่ ต้องสัมพนั ธ์กบั จดุ มงุ่ หมายและเรอ่ื งท่จี ะสอน 2. ส่อื ตอ้ งเหมาะสมกับความรู้และประสบการณ์ของผเู้ รยี น 3. สอ่ื ตอ้ งเหมาะสมกับวยั และระดับของผ้เู รยี น 4. เน้ือหาและวิธกี ารใชไ้ มย่ ุ่งยากและซบั ซอ้ นจนเกนิ ไป 5. มีความนา่ สนใจและทันสมัย 6. เนอ้ื หามีความถกู ต้อง 7. เทคนิคการผลิตดี เชน่ ขนาด สี เสียง ภาพ ความจริง เป็นต้น 8. เปน็ ส่ือที่เปิดโอกาสใหผ้ ู้เรยี นมีส่วนร่วมในกจิ กรรมการเรยี น 9. สามารถนาเข้ารว่ มกจิ กรรมการเรยี นการสอนได้ดี
24 10. ถ้ามีสื่อการสอนหลายอย่างในเรื่องเดียวกันให้กาหนดว่าสื่อใดเหมาะสม ที่สุดท่ีจะให้ ความร้คู วามเขา้ ใจแกผ่ เู้ รียนไดด้ ีที่สุด ในเวลาอันสน้ั ส่ือการสอนนั้นมีอยู่หลายชนิด และมีประโยชน์ท่ีคล้ายกัน ข้ึนอยู่ว่าส่ือชนิดใดสามารถ ถ่ายทอดความรู้ได้ดีท่ีสุดเท่าน้ัน ผู้วิจัยได้เลือกสื่อการสอนชนิดบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เพราะสื่อท่ีใช้ คอมพิวเตอร์สามารถรวมสื่อชนดิ ต่าง ๆ ได้ เช่น ภาพน่ิง ภาพเคล่อื นไหว ตวั อกั ษร เสียงบรรยาย ซ่ึงมีผลทาให้ ผเู้ รียนเกิดความสนใจในบทเรียน มีการเสริมแรง ลดเวลาการเรียนรู้ ให้นอ้ ยลงและเรียนรู้ได้มากขึ้น ชว่ ยทาส่ิง ท่ีซับซ้อนให้ดูง่ายข้ึน ซึ่งคอมพิวเตอร์สามารถทาส่ิงที่กล่าวข้างต้นได้เป็นอย่างดีและเหมาะสมอย่างมากในยุค ปัจจุบนั 3. แนวคิดเกี่ยวกบั ส่ือมัลติมเี ดยี เพ่อื การเรยี นรู้ 3.1 ความหมายของมลั ตมิ เี ดยี นลินพร แก้วศศิวิมล (2552 : 34) ได้กล่าวถึง ความหมายของมัลติมีเดียไว้ว่าเป็นเทคโนโลยีท่ีทาให้ คอมพิวเตอร์สามารถแสดงข้อความเสียงและภาพ ซ่ึงอาจจะเป็นภาพน่ึงหรือภาพเคลื่อนไหวได้พร้อม ๆ กัน โดยผู้ใชส้ ามารถได้ตอบกบั ข้อความภาพ และเสียงที่เหน็ และได้ยิน สุนิตา โดยอาษา (2550 : 12) ได้กล่าวว่าเป็นการรวบรวมกระบวนการทางานของเสียง ภาพเคลื่อนไหว ภาพน่ิง ข้อความ ฐานข้อมูลและวีดีทัศน์ เข้ามาผสมผสานและประยุกต์รวมกัน โดยใช้ระบบ คอมพวิ เตอร์เป็นช่องทางในการเผยแพร่ ข้อมูลขา่ วสารหลากหลายชนิด สุคนธ์ สินธพานนท์ (2551 : 73) ได้กล่าวว่า การใช้ส่ือหลาย ๆ อย่างนามาประยุกต์ใช้ร่วมกันในการ เรียนการสอน เช่น รูปภาพ ภาพเคล่ือนไหว เคร่ืองเล่น วีดีทัศน์ เครื่องบันทึกเสียง ฯลฯ โดยมีระบบ คอมพิวเตอร์เปน็ ตวั ควบคุม จงึ สง่ ผลให้ผู้เรียนน้ันเกิดการเรยี นรูต้ ามเปา้ หมาย ผวู้ จิ ัยสรุปไดว้ ่า การใช้ส่อื ต่าง ๆ นน้ั สามารถนามาประยุกต์ใช้ร่วมกันในการเรียนการสอน โดยใช้คอมพิวเตอร์ผสมผสานกับการนารูปแบบการ นาเสบอข้อมูลข่าวสาร กระบวนการทางานของเสยี ง ภาพเคล่อื น ไหว ภาพนิ่ง ขอ้ ความ ฐานข้อมลู และวดี ที ัศน์ เข้ามาผสมผสานรวมกัน มีการตอบได้และปฏิสัมพันธ์กันระหว่างคนกับคอมพิวเตอร์ จึงทาให้มัลติมีเดียถูก นามาประยกุ ต์ใช้เปน็ ส่ือการเรียนการสอนอย่างแพร่ หลายทงั้ ในรูปแบบสื่อทใ่ี ช้ประกอบการเรยี นการสอนและ ให้ผู้เรียนนาไปใช้เพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามเป้าหมาย เป็นส่ือท่ีกาหนดข้ึน อย่างเข้าใจงา่ ยและน่าสนใจ 3.2 องค์ประกอบของมัลตมิ เี ดีย ณัฐกร สงคราม (2554) ไดก้ ล่าวถึง องค์ประกอบของมัลติมเี ดียไว้ว่า จะต้องประกอบด้วยสื่อการรับรู้ ในรปู แบบตา่ ง ๆ โดยมีรายละเอยี ด ดังน้ี ตัวอักษร (Text) ตัวอักษรถือว่าเป็นองค์ประกอบพ้ืนฐานที่สาคัญ ในการเขียนโปรแกรมมัลติมีเดีย โปรแกรมประยุกต์ โดยมากมีตัวอักษร ให้ผู้เขียนเลือกได้หลาย ๆ แบบ และสามารถท่ีจะเลือกสีของตัวอักษร ได้ตามต้องการ นอกจากนน้ั ยงั สามารถกาหนดขนาดของตัวอักษรไดต้ ามท่ีกาหนด การไต้ตอบกับผู้ใชก้ ็ยังนิยม ใช้ตัวอักษร รวมถึงการใช้ตัวอักษรในการเชื่อมโยงแบบปฏิสัมพันธ์ได้ เช่น การคลิกไปท่ีตัวอักษรเพ่ือเช่ือมโยง ไปนาเสนอ เสยี ง ภาพกราฟิก หรือเลน่ วดี ที ศั น์ เปน็ ต้น ภาพน่ิง (Still Image) ภาพน่ิงเป็นภาพกราฟิกท่ีไม่มีการเคล่ือนไหว เช่น ภาพถ่าย หรือภาพวาด ภาพน่ิงมีบทบาทสาคัญต่อมัลติมีเดยี มาก ทั้งนี้เนื่องจากภาพจะให้ผลในเชิงของการเรียนรู้ด้วยการมองเห็น ไม่ วา่ จะดูโทรทัศน์ หนงั สอื พิมพ์ วารสาร ฯลฯ จะมีภาพเป็นองคป์ ระกอบเสมอ ดงั น้ัน ภาพนิ่งจึงมีบทบาทมากใน
25 การออกแบบมัลติมีเดียท่ีมีตัวอักษร และภาพนึ่งเป็น GUI (Graphical User Interface) ภาพนึ่งสามารถผลิต ไดห้ ลายวิธี อยา่ งเช่น การวาด (Drawing) การสแกน ภาพ (Scanning) เป็นต้น เสียง (Sound) เสียงในสื่อมัลติมีเดียจะจัดเก็บอยู่ในรูปของข้อมูลดิจิตอล และสามารถเล่นซ้า (Replay) ได้จากเคร่ืองคอมพิวเตอร์พีซี การใช้เสียงในมัลติมีเดียก็เพ่ือนาเสนอข้อมูลหรือสร้างสภาพแวดล้อม ให้น่าสนใจย่ิงขึ้น เช่น เสียงน้าไหล เสียงหัวใจเต้น เป็นต้น เสียงสามารถใช้เสริมตัวอักษรหรือนาเสนอวัตถุที่ ปรากฏบนจอภาพได้เป็นอย่างดี เสียงที่ใช้รว่ มกับโปรแกรมประยกุ ต์สามารถบันทึกเป็นข้อมูลแบบดิจิตอลจาก ไมโครโฟน แผ่นเสยี ง (CD-ROM Audio Disc) เทป เสยี ง และวทิ ยุ เปน็ ต้น ภาพเคล่ือนไหว (Animation) หมายถึง การเคลื่อนไหวของภาพกราฟิก ภาพเคลอ่ื นไหวจึงมีขอบข่าย ตัง้ แต่การสร้างภาพด้วยกราฟิกอย่างง่าย พร้อมท้ังการเคล่ือนไหวกราฟิกน้ัน จนถึงกราฟิกมีรายละเอียดแสดง การเคลื่อนไหว โปรแกรมทใี่ ชใ้ นการสรา้ งภาพเคล่ือนไหววงการธรุ กจิ ก็มี Autodesk Animator ซ่งึ มีคุณสมบัติ ดีทง้ั ในดา้ นของการออกแบบกราฟิกละเอียดสาหรับใช้ในมัลตมิ ีเดยี ตามต้องการ ปฏิสมั พนั ธ์ (Interactive) การท่ีผู้ใชส้ ามารถได้ตอบส่ือสารกับโปรแกรมมัลติมเี ดียได้ ไม่วา่ จะเป็นการ เลือกดูข้อมูลที่สนใจ หรือการสั่งงานให้โปรแกรมแสดงผลในรูปแบบที่ต้องการ โดยผู้ใช้ส่ือสารผ่านอุปกรณ์ พื้นฐาน เช่น การคลิกเมาส์ การกดแป้นพิมพ์ หรืออุปกรณ์ข้ันสูง เช่น การสัมผัสหน้าจอ หรือเสียงผ่านลาโพง เปน็ ต้น ซงึ่ องคป์ ระกอบขอ้ นนี้ ับเป็นคณุ ลักกษณะสาคญั ที่มอี ยู่เฉพาะในมลั ติมเี ดียปฏิสัมพันธ์ วดี ีทัศน์ (Video) การใชม้ ัลติมีเดียในอนาคตจะเกีย่ วข้องกับการนาเอาภาพยนตร์ วีดที ัศน์ ซึง่ อยู่ในรูป ของดิจิตอลรวมเข้าไปกับโปรแกรมประยุกต์ที่เขียนขึ้น โดยท่ัวไปของวีดีทัศน์จะนาด้วยเวลาจริงที่จานวน 30 ภาพต่อวินาที ในลักษณะน้ีจะเรียกว่า วีดีทัศน์ดิจิตอล (Video) คุณภาพของวีดีทัศน์ดิจิตอลจะทัดเทียมกับ คณุ ภาพที่เห็นจากจอ โทรทัศน์ ดังน้ัน ท้ังวีดีทัศน์ดิจิตอล และเสียง จึงเปน็ ส่วนที่ผนวกเข้าไปสู่การนาเสนอได้ ทันทีด้วยจอคอมพิวเตอร์ใน ขณะที่เสียงสามารถเล่นออกไปยังลาโพงภายนอกได้โดยผ่านการ์ดเสียง (Sound Card) 3.3 รูปแบบของมัลติมีเดยี มัลตมิ เี ดยี สามารถแบง่ ออกไดเ้ ปน็ 2 ประเภท ดงั น้ี (ณัฐกร สงคราม, 2554 : 3-4) ประเภทที่ 1 มัลติมีเดียเพ่ือการนาเสนอ มัลติมีเดียรูปแบบน้ีมุ่งสร้างความต่ืนตาตื่นใจ น่าสนใจ และ ถ่ายทอดประสาทสัมผัสท่ีหลากหลายผ่านตัวอักษร ภาพ และเสียง ซึ่งในปัจจุบันพัฒนาถึงข้ันให้ผู้ชมสามารถ สัมผัสได้ถึงความรู้สึกต่างๆ เช่น ความร้อน ความเย็น การส่ันสะเทือน หรือการสัมผัสผ่านจมูกดว้ ยการได้กล่ิน เน้นการนาไปใช้งานเพื่อเสนอข้อมูลข่าวสารท่ีตู้ผลิตวางแผนการนาเสนอเป็นขั้นตอนไว้เรียบร้อยแล้ว เช่น มัลติมีเดียแนะนาองค์กร การแสดงแสงสเี สียง โฆษณาเปิดตัวสนิ ค้า หรือในลกั ขณะประกอบการบรรยาย ส่วน ใหญ่มักใช้ได้ทั้งการนาเสนอเป็นรายบุคคลและการเสนอต่อกลุ่มใหญ่ ผู้ใช้จะทาหน้าที่เป็นเพียงผู้ชมส่ือ โดยที่ ผู้ใช้และสื่อแทบจะไม่มีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบกันติจะมีบ้างในลักษณะการกดปุ่มให้เล่นหรือให้หยุด แต่ก็ไม่ถือว่า เป็นการมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบ ซ่ึงหากมองในรูปแบบของการส่ือสารแล้วมัลติมีเดียลักษณะนี้จัดเป็นการส่ือสาร แบบทางเดียว (One way Communication) ประเภทท่ี 2 มัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ (Interactive Multimedia) เป็นรูปแบบท่ีเน้นให้ผู้ใช้สามารถใต้ ตอบส่ือสารกับส่ือได้โดยตรงผ่าน โปรแกรมมัลติมีเดียที่มีลักษณะของสื่อหลายมิติท่ีเนื้อหาภายในสามารถ เช่ือมโยงถึงกันกับมัลติมีเดียรูปแบบน้ัน นอกจากผู้ใช้จะสามารถดูข้อมูลได้หลากหลายลักษณะ เช่นเดียวกับ รูปแบบมัลติมีเดียเพื่อการนาเสนอแล้วผู้ใช้ยังสามารถส่ือสารได้ตอบกับบทเรียนผ่านการคลิกเมาส์ เป็นพิมพ์
26 หรืออุปกรณ์อนื่ ๆ เพอ่ื ส่อื สารกบั คอมพิวเตอร์ว่าผู้ใช้ตอ้ งการอะไร เช่น หากต้องการทราบข้อมูลเพิ่มเดมิ ก็คลิก ที่หัวข้อที่สนใจหรือสัญลักษณ์รูปที่เป็นปุ่มการเช่ือมโยงโปรแกรมจะแสดงภาพเสียง คาบรรยาย เพ่ือให้ศึกษา รายละเอียดได้ หรือหากต้องการวัดความเข้าใจของตนเองกับสิ่งท่ีได้เรียนมาก็สามารถทาการทดสอบผ่าน แบบฝึกหัด เกม ข้อสอบ และให้โปรแกรมคานวณผลการทดสอบหรือให้ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติมได้ มัลติมีเดีย รปู แบบนีจ้ งึ จัดเปน็ การสื่อสารแบบสองทาง (Two way Communication) ปัจจุบันมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ได้พัฒนาไปถึงลักขณะของความเป็นจริงเสมือน (Virtual Reality) ที่ เสริมอุปกรณ์ต่างๆ เพ่ือให้ผู้ใช้งานมองเห็นเสมือนหลุดเข้าไปอยู่ในสภาพแวดล้อมนั้นจริง ๆ เช่น การจาลอง การขับเครื่องบิน เคร่ืองจาลองการฝึกผ่าตัด เป็นต้น นอกจากนี้มัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ยังเพิ่มความสามารถใน การติดต่อสื่อสารที่นอกเหนือจากการโตต้ อบกับโปรแกรมแล้ว ผใู้ ช้ยังสามารถไต้ตอบสื่อสารกบั ผ้ใู ช้คนอ่นื ๆ ท่ี ใช้โปรแกรมเดียวกับผ่านเทคโนโลยีระบบเครือข่ายขนาดเล็ก (LAN) หรือแม้กระทั่งเครือข่ายอินเทอร์เน็ตท่ี เชื่อมโยงโลกเข้าไว้ด้วยกนั ทาให้มลั ติมีเดียในปจั จุบันมปี ระสิทธิภาพสงู ขนึ้ 3.4 รปู แบบคอมพวิ เตอร์ของมัลตมิ เี ดีย วารุณี ก่ีเอ่ียน (2552 : 13-15) ได้กล่าวว่า คอมพิวเตอร์เป็นสื่อการสอนท่ีเป็นเทคโนโลยีระดับสูง ทา ให้การสอนมีปฏิสัมพนั ธ์กันได้ระหว่างผเู้ รียนกับคอมพิวเตอร์ตอบสนองต่อข้อมูลที่ผู้เรียนปอ้ นเข้าไปได้ในทันที ซึ่งจะช่วยเสริมแรงให้แก่ผู้เรียน ดังนั้น จึงมีการใช้คอมพิวเตอร์มัลติมีเดียกันอย่างกว้างขวางและแพร่หลาย เพ่ือให้ผู้เรียนเรียนรู้จากโปรแกรมคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียรูปแบบต่าง ๆ ในแต่ละบทเรียน จะมีตัวอักษร ภาพกราฟิก ภาพน่ิง ภาพเคลื่อนไหว รวมท้ังเสียงประกอบ ทาให้ผู้เรียนสนุกกับการเรียนรู้ ไม่รู้สึกเบ่ือหน่าย การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียน้ันได้อาศัยแนวคิดจากทฤษฎีการเช่ือมโขงระหว่างการประเมินและ การดอบสนองของผเู้ รยี น สามารถจาแนกรูปแบบต่าง ๆ ได้ดังน้ี 4.1 การสอนเนื้อหา (Tutorial Instruction) เป็นโปรแกรมท่ีนาเสนอเนื้อหาความรู้ให้แก่ผู้เรียนใน รูปแบบของข้อความภาพ เสียง หรือทุกรูปแบบรวบรวมกัน แล้วให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ โดยการตอบคาถาม เม่อื ผเู้ รียนตอบตากามแลว้ คาตอบนั้นจะได้รบั การวิเคราะห์ เพ่อื ให้ข้อมลู ป้อนกลบั ทนั ที 4.2 การฝึกหัด (Drills and Practice) เป็นโปรแกรมท่ีไม่มีการนาเสนอเน้ือหาความรู้แก่ผู้เรียนก่อน แต่จะมีการให้คาถามหรือปัญหาที่ได้ตัดเลือกมาจากการสุ่มหรือออกแบบมาโดยเฉพาะ ให้ผู้เรียนได้ใช้ ความคิดรวบขอดในการตอบคาถามจากความรู้ความเข้าใจในเร่ืองราวและกฎเกณฑ์ท่เี ก่ียวกับเรื่องน้ัน ๆ เป็น อยา่ งดมี ากอ่ นแล้ว จงึ สามารถตอบคาถามหรือแก้ปญั หาได้และมีการประเมินตรวจสอบเพอื่ ยืนยนั ความถูกตอ้ ง 4.3 สถานการณ์จาลอง (Simulation) การสร้างโปรแกรมที่เป็นสถานการณ์จาลอง เป็นการเปิด โอกาสให้ผู้เรียนได้พบเห็นภาพจาลองของเหตุการณ์ เพ่ือใช้ในการเรียนการสอน นากิจกรรมที่ใกล้เคียงกับ ความเป็นจริงมาให้ผู้เรียนศึกษาเพื่อฝึกทักษะ ฝึกการปฏิบัติเพ่ือเพ่ิมพูนความรู้ ความชานาญ และความ คล่องแคล่ว เข้าถึงซึ่งกระบวนการเรียนรู้ต่าง ๆ ในบทเรียน โปรแกรมบทเรียนสถานการณ์จาลองน้ันจะมี โปรแกรมเรียนย่อยแทรกอยู่ด้วย ได้แก่ โปรแกรมการสาธิต (Demonstration) โปรแกรมนี้มิใช่เป็นการสอน เหมือนกบั โปรแกรมการสอนแบบธรรมดา ซ่ึงเปน็ การเสนอความรู้แล้วให้ผ้เู รยี นร่วมทากจิ กรรม 4.4 เกมเพ่ือการสอน (Instructional Dames) การใช้เกมเพ่ือการเรียนการสอนเป็นสิ่งที่สามารถ กระตุ้นผู้เรยี น ให้เกิดความอยากเรียนรูไ้ ด้โดยงา่ ย เกมยังชว่ ยเพิม่ บรรยากาศในการเรยี นรูใ้ ห้ดขี ้นึ และช่วยให้ ผู้เรียนไม่เกิดอาการเหม่อลอยหรือฝันกลางวัน ซึ่งเป็นอุปสรรคในการเรียนเน่ืองจากมีการแข่งขัน จึงทาให้ ผู้เรียนตอ้ งมีการตืน่ ตวั อยู่เสมอ รปู แบบโปรแกรมบทเรียนของเกมเพ่อื การสอนคล้ายคลึงกบั โปรแกรมบทเรยี น
27 สถานการณ์จาลอง แต่แตกต่างกันโดยโปรแกรมบทเรียนสถานการณ์จาลองมีการเพ่ิมบทบาทของผูแ้ ข่งขันเข้า ไปในโปรแกรมด้วย 4.5 การค้นพบ (Discovery) เปน็ บทเรียนในลักษณะการนาเสนอปัญหาที่ให้ผู้เรียนแก้ไขดว้ ยการลอง ผดิ ลองถูก หรือโดยวิรกี ารจัดระบบเข้ามาช่วย โปรแกรมคอมพวิ เตอร์จะใหข้ ้อมูลแก่ผู้เรียนเพื่อช่วยในการคัน พบนั้นจนกว่าจะได้ข้อสรุปที่ดีท่ีสุด ซ่ึงการค้นพบนี้เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้จาก ประสบการณข์ องตนเองให้มากท่ีสุด 4.6 การแก้ปัญหา (Problem-soling) เป็นการทาให้ผู้เรียนฝึกการคิดการตัดสินใจ โดยบทเรียนจะ เสนอปัญหาเรียนสถานการณ์และเง่ือนไขต่าง ๆ เพ่ือให้ผู้เรียนคิดแก้ปัญหาไปตามสถานการณ์ หรือผู้เรียน อาจเป็นผู้กาหนดปัญหาและเขียนโปรแกรมข้ึนเพื่อค้นพบ ซ่ึงในระหว่างฝึกการแก้ปัญหาผู้เรียนจะรู้จักปัญหา อยา่ งมีหลกั เกณฑ์ ซึ่งจะเปน็ ประโยชนต์ ่อการนาไปใชใ้ นการแก้ปญั หาอืน่ ๆ 4.7 การทดสอบ (Test) การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพ่ือการทดสอบ ไม่ใช่เป็นการใช้เพ่ือการ ปรับปรุงคุณภาพของการทดสอบเพื่อวัดความรู้ของผู้เรียนเท่านั้น แต่ยังช่วยให้ผู้สอนมีความรู้สึกที่เป็นอิสระ จากการผูกมัดทางด้านกฎเกณฑ์ต่าง ๆ เกี่ยวกับการทดสอบได้อีกด้วย เนื่องจากโปรแกรมคอมพิวเตอร์จะ สามารถเปลีย่ นแปลงการทดสอบมีปฏิสมั พันธ์ระหวา่ งคอมพิวเตอรก์ ับผู้เรยี น ซ่ึงเป็นทน่ี ่าสนกุ และนา่ สนใจกว่า 4.8 โปรแกรม ICAI (Intelligence CAI) โปรแกรมแบบน้ีใช้หลักการปัญญาประดิษฐ์ หรือ Al (Artificial Intelligence) และวิธีการฐานความรู้ (Knowledge Base) มาใช้งานเพื่อจัดเตรียมเก็บข้อมูลและ ข้อเท็จจริง (Fact) ไว้สาหรับให้โปรแกรมหาเหตุผลหรือเพ่ือใช้ในการโต้ตอบกันระหว่างเคร่ืองคอมพิวเตอร์กับ ผูเ้ รียน นอกจากน้ีอาจจะสร้างโมเดลของการเรียนรขู้ ้ึน เพ่ือใหผ้ ู้เรียนเรียนรดู้ ้วยตัวเอง ผู้เรียนสามารถทราบ ถึงความกา้ วหนา้ และข้อบกพรอ่ งในการเรยี นรขู้ องผูเ้ รียน ผู้วิจัยสรุปได้ว่า รูปแบบของบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียนั้น เป็นการใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อการ เรียนการสอน ทาให้การเรียนการสอนและสง่ ผลให้การสอนมีปฏิสัมพันธก์ ันได้ระหว่างผู้เรยี นกับคอมพิวเตอร์ ตอบสนองต่อข้อมูลท่ีผู้เรียนป้อนเข้าไปได้ในทันที ซึ่งจะช่วยเสริมแรงให้แก่ผู้เรียน การสอนเน้ือหา การฝึกหัด สถานการณ์จาลอง เกมเพ่ือการสอน การค้นพบการแก้ปัญหาในการใชโ้ ปรแกรมต่างในระบบคอมพิวเตอร์ 3.5 มัลตมิ เี ดียเพื่อการเรยี นการสอน ณัฐกร สงคราม (2554) ได้กล่าว สื่อมัลติมีเดียเพ่ือการเรียนการสอนเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ ออกแบบเพื่อใช้ในการเรียนการสอน โดยผ้อู อกแบบโปรแกรมได้บูรณการเอาข้อมูลรูปแบบต่าง ๆ เข้าไปเป็น องค์ประกอบเพื่อการสอ่ื สาร เช่น ภาพนงึ่ ภาพเคลื่อนไหว เสียง วดี ที ัศน์ และข้อความและการใหป้ ระสบการณ์ เพื่อการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ มีข้อแตกต่างจากส่ือมัลติมีเดียที่ใช้เพ่ือการนาเสนอข้อมูลหรือการ ประชาสัมพันธ์อยู่หลายด้าน บทบาทของสือ่ มัลติมเี ดียท้ัง 2 ลกั ษณะ ดังต่อไปน้ี 5.1 สอื่ มัลตมิ ีเดีย เพือ่ การเรยี นการสอน ประกอบดว้ ย 1) เป้าหมาย คอื ใช้เปน็ สื่อที่ชว่ ยในการเรียนการสอนหรอื การสอนเสรมิ ได้ 2) ผเู้ รียนสามารถเรยี นรู้ได้ดว้ ยตนเอง หรอื เรียนเปน็ กลุม่ ยอ่ ย 2-3 คน 3) มีวัตถุประสงค์ทั่วไปและวัตถุประสงค์เฉพาะ โดยให้ครอบคลุมทักษะความรู้ ความจา ความเขา้ ใจ และเจตคติ เน้นอย่างใดมากน้อยขนึ้ อยูก่ ับวัตถปุ ระสงค์และโครงสร้างของเน้อื หา 4) เป็นลักษณะการสอื่ สารแบบสองทาง 5) ใช้เพื่อการเรยี นการสอน แตไ่ ม่จากัดว่าตอ้ งอยูใ่ นระบบโรงเรียนเทา่ นน้ั 6) สื่อมัลติมเี ดียเปน็ ชดุ ของฮารด์ แวรอ์ ยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ท่ีใชใ้ นการรบั และสง่ ข้อมลู
28 7) เน้นการออกแบบการสอนด้วยการมีปฏิสัมพันธ์ การตรวจสอบความรู้โดยประยุกต์ทฤษฎี จิตวิทยา และทฤษฎีการเรียนรูเ้ ปน็ หลัก 8) โปรแกรม ไดร้ ับการออกแบบ ใหผ้ เู้ รยี นเป็นผูค้ วบคุมกจิ กรรมการเรียนท้งั หมด 9) การตรวจสอบประสิทธิภาพของส่ือ นับเป็นข้ันตอนสาคัญทีต่ ้องกระทา 5.2 ส่ือมัลตมิ ีเดีย เพอื่ การนาเสนอข้อมูล 1) การนาเสนอขอ้ มูลเพื่อประกอบการคดิ การตัดสนิ ใจ ใชก้ ับทกุ สาขาอาชพี 2) ผรู้ ับขอ้ มูลอาจเป็นรายบคุ คล กลุม่ ย่อย จนถึงกลมุ่ ใหญ่ 3) มวี ัตถุประสงคท์ ั่วไปเพื่อเนน้ ความรแู้ ละทัศนคติ 4) เป็นลกั ษณะการสอ่ื สารแบบทางเดียว 5) ใช้มากในการโฆษณา ประชาสมั พนั ธ์ และงานค้านธรุ กจิ 6) อาจต้องใช้อุปกรณ์ต่อพ่วงอ่นื ๆ เพ่ือเสนอข้อมูลที่มีความซับซ้อน หรือเพ่ือต้องการให้ผู้ชม ไดช้ ่ืนชมและคลอ้ ยตาม 7) เน้นโครงการสร้างและรูปแบบการให้ข้อมูลเป็นขั้นตอน ไม่ตรวจสอบความรู้ของผู้รับ ขอ้ มูล 8) โปรแกรมส่วนมากจะควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ หรือผู้นาเสนอสื่อมัลติมีเดียเพ่ือการ เรยี นการสอน นบั เป็นวฒั นธรรมทางการศกึ ยาทน่ี กั การศึกษาให้ความสาคัญอยา่ งยิ่ง ผู้วิจัยสรุปได้ว่า มัลติมีเดียเพื่อการเรียนการสอน เป็นการประยุกต์โดยการเอาข้อมูลรูปแบบต่าง ๆ เช่น ภาพนึ่ง ภาพเคล่ือนไหว เสียง วีดีทัศน์และข้อความเข้าไปเป็นองค์ประกอบเพื่อการสื่อสาร และการให้ ประสบการณเ์ พือ่ การเรียนร้ทู ่ีมปี ระสทิ ธภิ าพ เพอื่ ให้การเรยี นการสอนเกดิ ประสิทธภิ าพอยา่ งสูงสุด 4. แนวคิดเก่ียวกบั บวรรณคดี 4.1 ความหมายของวรรณคดี วรรณคดี ตามความหมายของราชบณั ฑิตยสถาน (ราชบัณฑติ ยสถาน, 2556 : 1100) หมายถงึ วรรณกรรมท่ีได้รับยกย่องวา่ แต่งดมี คี ุณคา่ เชิงวรรณศลิ ป์ถงึ ขนาด เชน่ พระราชพิธีสบิ สองเดอื น มทั นะ พาธา สามกก๊ เสภา เร่อื งขุนชา้ งขุนแผน ถนิมรกั ษ์ ชชู ัยมงคล (2557: 20) ไดใ้ หค้ วามหมายของวรรณคดไี ว้วา่ วรรณคดี หมายถงึ บทประพนั ธ์ทมี่ ศี ิลปะในการเรยี บเรียงการใช้ภาษาได้อยา่ งไพเราะ มีเนอื้ เรื่องท่ใี ห้ความเพลดิ เพลนิ ให้ขอ้ คดิ และมีการใชถ้ ้อยคาให้ผ้อู า่ นเกิดความรู้สกึ คล้อยตามผูป้ ระพนั ธ์ จติ ต์นภิ า ศรไี สย์, ประนอม วิบูลพนั ธ์, และอนิ ทรว์ ธุ เกษตระชนม์ (2563 : 6) กลา่ วว่า วรรณคดี คอื งานเขียนที่ไดร้ ับการยกย่องวา่ แตง่ ดี โดยใช้กาลเวลาเปน็ เครื่องพสิ ูจนว์ า่ เป็นผลงานอมตะและถา่ ยทอด อยา่ งมีศลิ ปะ ไม่ทาลายศลี ธรรมประเพณีอนั ดีงามของไทย มคี วามดเี ดน่ ด้านเน้ือหาและวรรณศลิ ป์ เชน่ อเิ หนา พระอภัยมณี สามก๊ก สรปุ ได้ว่า วรรณคดี หมายถึง บทประพนั ธท์ ี่ไดร้ ับการยกย่องว่าแต่งดี ถูกต้องตามระเบยี บ กฎเกณฑท์ างภาษามีศลิ ปะในการเรียบเรยี งการใชภ้ าษา มีคณุ ค่าทางวรรณศลิ ป์ ทางสติปญั ญา ใหข้ อ้ คดิ ทาใหผ้ ้อู า่ นเกิดความร้สู กึ คลอ้ ยตามผปู้ ระพันธ์ 4.2 คุณคา่ ของวรรณคดี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (2551: 43) ได้กลา่ วถงึ คุณค่าของวรรณคดที ี่ผูเ้ รียนควรไดร้ บั จากการอา่ นไว้ ดงั ต่อไปน้ี ผู้อ่านวรรณคดี หรอื วรรณกรรมแลว้ จะตอ้ งประเมนิ งานประพันธใ์ ห้เหน็ คุณคา่ ของงานประพนั ธ์
29 ทาให้ผอู้ า่ นอา่ นอย่างสนกุ และได้รับประโยชน์จากการอา่ นงานประพันธ์ คณุ ค่าของงานประพันธ์แบ่งได้ เป็น 2 ประการ คอื 1) คุณค่าดา้ นวรรณศิลป์ ถา้ อา่ นบทร้อยกรองกจ็ ะพจิ ารณากลวธิ กี ารแตง่ การเลือกเฟน้ ถอ้ ยคามาใช้ได้ไพเราะ มีความคิดสร้างสรรค์ และใหค้ วามสะเทอื นอารมณ์ ถา้ เปน็ บทร้อยแก้วประเภทสาร คดรี ปู แบบการเขยี นจะเหมาะสมกบั เน้ือเรื่อง วิธกี ารนาเสนอนา่ สนใจ เน้ือหามีความถูกต้อง ใช้ภาษาสละสลวย ชดั เจน การนาเสนอมีความคดิ สรา้ งสรรค์ ถา้ เปน็ ร้อยแกว้ ประเภทบนั เทิงคดี องค์ประกอบของ เรื่องไม่วา่ เรือ่ งสัน้ นวนิยาย นิทาน จะมีแก่นเร่อื ง โครงเรอื่ ง ตัวละครมคี วามสมั พนั ธก์ นั กลวิธกี ารแต่ง แปลกใหม่ นา่ สนใจ ปมขดั แย้งในการแตง่ สรา้ งความสะเทือนอารมณ์ การใช้ถอ้ ยคาสร้างภาพไดช้ ัดเจน คาพดู ในเรือ่ งเหมาะสมกับบุคลิกของตวั ละครมคี วามคิดสรา้ งสรรค์เกี่ยวกบั ชีวติ และสังคม 2) คุณค่าดา้ นสงั คม เปน็ คุณคา่ ทางด้านวฒั นธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ศลิ ปะ ชีวิต ความเป็นอยูข่ องมนุษย์ และคณุ คา่ ทางจรยิ ธรรม คณุ ค่าดา้ นสังคม เป็นคุณคา่ ทีผ่ ู้อ่านจะ เขา้ ใจชวี ิต ทั้งในโลกทศั นแ์ ละชวี ทัศน์ เข้าใจการดาเนนิ ชวี ิตและเข้าใจเพือ่ นมนษุ ยด์ ขี น้ึ เนื้อหาย่อมเกีย่ วข้องกับ การชว่ ยจรรโลงใจแก่ผู้อ่าน ช่วยพฒั นาสังคมชว่ ยอนุรกั ษ์ส่ิงมคี ณุ คา่ ของชาตบิ า้ นเมือง และสนับสนุน ค่านิยมอนั ดงี าม ฟองจันทร์ สุขย่งิ และคณะ (ม.ป.ป. : บทนา) กลา่ วไว้ในหนังสือเรียนภาษาไทย วรรณคดแี ละ วรรณกรรม ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 วา่ การพจิ ารณาคณุ ค่าของวรรณคดี แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ คณุ ค่า ดา้ นเนือ้ หา และคุณค่าดา้ นวรรณศิลปด์ งั นี้ 1) คณุ ค่าด้านเนื้อหา คือการพจิ ารณาเนื้อหาที่ให้คุณประโยชน์ ซ่งึ ผ้อู า่ นควรอา่ นอย่างมี วิจารณญาณ หาคุณคา่ ของวรรณคดอี ย่างมหี ลักเกณฑ์ สาหรบั แนวทางในการพจิ ารณาคุณคา่ ดา้ นเนื้อหามี หลายประการ ดังนี้ 1.1) ควรพจิ ารณาว่าผูแ้ ตง่ มีจดุ มุง่ หมายอย่างไร เนื้อเร่ืองมแี นวคิด ใหค้ าสอน คตธิ รรมขอ้ เตือนใจ หรือใหแ้ นวทางในการดาเนนิ ชีวิตอย่างไร 1.2) พิจารณาภาพสะทอ้ นของสังคม วถิ ชี วี ิตความเป็นอยู่ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี ความเชือ่ และค่านยิ มตา่ ง ๆ ในสมัยของผแู้ ตง่ 1.3) พิจารณาคณุ คา่ ในด้านความร้ทู ี่จะชว่ ยเสรมิ สรา้ งสตปิ ัญญาแก่ผู้อา่ น 2) คณุ คา่ ดา้ นวรรณศิลป์ เปน็ การพจิ ารณาการใชถ้ อ้ ยคา สานวนโวหารท่แี สดง ความสามารถของผแู้ ต่งวา่ ใช้ศิลปะทางภาษาในการเรียบเรยี ง คดั สรรถ้อยคา สานวนโวหาร เพือ่ สอ่ื ให้ ผ้อู า่ นได้รับความเพลดิ เพลินและเกดิ สนุ ทรียะทางอารมณ์อย่างไร 4.3 กลวธิ ีในการพิจารณาวรรณศิลป์ในวรรณคดีไทย วรรณศลิ ป์ในวรรณคดไี ทยเปน็ เครอ่ื งสะทอ้ นให้เหน็ ว่างานประพนั ธ์แตล่ ะเรื่องจะต้องเลือกสรรคา ประพันธใ์ หเ้ หมาะสมกบั ผลงาน เพ่ือส่ือความหมายและถ้อยคาท่ีไพเราะสละสลวยอันเป็นลกั ษณะเฉพาะ ของภาษากวีและทาใหผ้ ้อู ่านเกดิ ความสะเทอื นอารมณ์ กลวธิ ใี นการพิจารณาวรรณศลิ ปใ์ นวรรณคดีไทย มดี ังน้ี 1) รสวรรณคดีไทย รสวรรณคดเี ป็นส่งิ ท่สี มั ผสั ได้ดว้ ยตาและหเู ปน็ รสท่บี ่งบอกถงึ สภาวะ ของอารมณ์ถา้ วรรณคดเี รอ่ื งใดสามารถโน้มน้าวใจผอู้ ่านให้เกดิ ความเพลดิ เพลนิ และเกิดอารมณ์ฝ่ายสูง วรรณคดีเร่ืองนน้ั ก็มคี ณุ คา่ ทางวรรณศลิ ป์และวรรณคดยี อดถ่ายทอดผา่ นภาษาจากผู้แต่งสูผ่ ู้อ่าน ดังน้ัน ภาษากบั วรรณคดีจึงแยกกนั ไม่ได้และวรรณคดีไทยแบ่งออกไดเ้ ป็น 4 รส ดงั นี้ 1.1) เสาวรจนเี ป็นบทที่ชมความงาม ไมว่ า่ จะเป็นความงามของตวั ละครหรอื
30 ความงามของสถานที่ เช่น ความงามของนางศกุนตลา ดูผวิ สนิ วลละอองออ่ น มะลิซอ้ นดดู าไปหมดสน้ิ สองเนตร งามกว่ามฤคิน นางนี้เป็นป่ินโลกา งามโอษฐด์ งั ใบไมอ้ อ่ น งามกรดังลายเลขา งามรูปเลอสรรขวัญฟา้ งามยงิ่ บุปผาเบง่ บาน (ศกนุ ตลา: พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยูห่ วั ) 1.2) นารีปราโมทย์เป็นบทท่แี สดงความรกั ใคร่หรอื พดู จาอ้อโลมให้อีกฝ่ายเกิด ความปฏพิ ัทธเ์ ชน่ บทแสดงความรักท่ที า้ วชัยเสนมตี อ่ นางมัทนา ผลิ ิ้นพ่จี ะมีหลาย กท็ กุ ล้ินจะรุมกลา่ ว แสดงรัก ณ โฉมฉาย และทกุ ลนิ้ จะเปรยปราย ประกาศถอ้ ยปะฏิญญา พะจีว่าจะรกั ยืด บจางจดื สเิ นหา, สบถใหล้ ะตอ่ หนา้ พระจนั ทรแ์ จ่ม ณ เวหน (มทั นะพาธา : พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อย่หู วั ) 1.3) พิโรธวาทัง เป็นบทแสดงความโกรธ ตัดพอ้ เหนบ็ แนม เสียดสหี รอื แสดงถงึ ความเคยี ดแค้น เชน่ ตัวนางเป็นไทแต่ใจทาส ไมร่ ักชาติรสหวานมาพานขม ดังสกุ รฟอนฝา่ แตอ่ าจม ห่อนนยิ มรักรสสุคนธาร น้าใจนางเปรยี บอยา่ งชลาลยั ไม่เลือกไหลห้วยหนองคลองละหาน เสียดายทรงแสนวไิ ลแตใ่ จพาล ประมาณเหมือนหนง่ึ ผลอทุ มุ ทอง สุกแดงด่งั แสงปัทมราช ขา้ งในล้วนกมิ ิชาติเบียนบ่อน (กากกี ลอนสุภาพ : เจา้ พระยาพระคลงั (หน)) 1.4) สัลลาปังคพิสยั เปน็ บททีแ่ สดงการคร่าครวญโศกเศรา้ เชน่ แล้วว่าอนจิ จาความรัก พง่ึ ประจกั ษ์ด่งั สายน้าไหล ตั้งแตจ่ ะเชยี วเปน็ เกลียวไป ไหนเลยจะไหลคืนมา สตรใี ดในพภิ พจบแดน ไมม่ ใี ครได้แคน้ เหมือนอกข้า ดว้ ยใฝ่รักใหเ้ กินพักตรา จะมีแต่เวทนาเป็นเนอื งนิตย์ (อเิ หนา : พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหล้านภาลยั ) 4.4 การใชภ้ าพพจน์ พจนานกุ รมฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน พุทธศักราช 2554 ได้ใหค้ วามหมาย ของ “ภาพพจน์” ว่า ถ้อยคา ทีเ่ ป็นสานวนโวหารทาให้นึกเป็นภาพ ถ้อยคาที่เรียบเรียงอย่างมีชั้นเชิงเป็นโวหาร มีเจตนาให้มีประสิทธิผลต่อ ความคิด ความเข้าใจ ให้จินตนาการและถ่ายทอดอารมณ์ได้อย่างกว้างขวางลึกซึ้งมากกว่าบอกอย่าง ตรงไปตรงมา กลวิธีในการนาเสนอทผี่ ูแ้ ตง่ นยิ มใชใ้ นการประพันธ์ มีดังนี้ 1) การใช้ความเปรยี บวา่ สง่ิ หน่งึ เหมือนกับส่ิงหน่งึ เรียกว่า อปุ มา โดยมีคาเปรียบ ปรากฏอย่ใู นขอ้ ความ คาเปรยี บเหล่านี้ เช่น เสมือน ดจุ เฉก ดงั ด่งั ปูน เพยี ง เหมอื น เปน็ ต้น ดงั ตวั อย่าง
31 ...อนั สตรรี ูปงามไมด่ เี ท่าสตรที ่นี า้ ใจงาม อันสตรรี ูปงามอุปมาดังดอกสายหยดุ ทรงคันธรส ประทนิ อยูแ่ ตเ่ วลาเชา้ ครนั สายแสงพระสรุ ิยส์ อ่ งกล้าแล้ว กส็ ินกลิ่นหอม อันสตรนี า้ ใจงามน้าใจดซี ่ือสัตย์ ต่อสามนี นั อปุ มาดังดอกซ่อนกลิ่นดอกพกิ ุลยอ่ มหอมชน่ื อยชู่ า้ นาน... (ราชาธริ าช : เจ้าพระยาพระคลัง (หน)) ออ่ นหวานมานมิตรลน้ เหลอื หลาย หยาบบ่มีเกลอกราย เกล่อื นใกล้ ดจุ ดวงศศิฉาย ดาวดาษ ประดบั นา สุรยิ สอ่ งดาราไร้ เม่อื รอ้ นแรงแสง (โคลงโลกนิติ : สมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเดชาดศิ ร) 2) การคิดวา่ ส่ิงหน่งึ เปน็ อีกสง่ิ หนงึ่ เรยี กว่า อุปลักษณ์เป็นภาพพจนท์ ่ีท้าส่ิงที่แตกต่างกนั แต่มี ลักษณะร่วมกันมาเปรียบเทียบโดยใช้ค้าเช่ือมว่า เป็น คือ หรือไม่ปรากฏค้าเช่ือมก็ได้ชายข้าวเปลือก หญิงขา้ วสารโบราณว่า น้าพึ่งเรือเสอื พึ่งป่าอชั ฌาสยั เราก็จิตดูเลา่ เขากใ็ จ รกั กนั ไวด้ ีกว่าชังระวงั การ (อิศรญาณภาษิต : หม่อมเจา้ อศิ รญาณ) สารสยามภาคพร้อม กลกานท์ นฤี า คือคู่มาลาสวรรค์ ชอ่ ชอ้ ย เบญญาพิศาลแสดง เดมิ เกยี รติ พระฤา คือคไู่ หมแสร้งร้อย กึ่งกลาง (ลลิ ิตยวนพา่ ย : ไม่ปรากฏนามผู้แต่ง) 3) การสมมติให้สงิ่ ต่าง ๆ มกี ริ ยิ าอาการหรือความรู้สึกเหมือนมนุษย์เรยี กว่า บุคคลวตั เป็นการสมมติให้ส่ิงไมม่ ีชีวติ พชื สตั วม์ คี วามคิดและการแสดงออกมนุษย์ เชน่ การทก่ี วกี ล่าวว่าสัตว์ ทงั หลายในมหาสมทุ รก็พลอยแสดงความโศกเศรา้ เสียใจไปด้วย เมือ่ ถงึ วันท่ีกวตี อ้ งจากนางอนั เปน็ ที่รกั แสนสตั วน์ าเนกถ้วน แสนสินธ์ุ ทกุ ข์บันดาลไฟฟอน ชว่ ยเศร้า วันเจยี รสดุ าพนิ ท์ พกั เตรศ แสนสุเมรุม้วนเข้า ดั่งลาญ (โคลงทวาทศมาส : พระยาเยาวราช) สัตภัณฑ์บรรพตทงั หลาย ออ่ นเอียงเพยี งปลาย ประนอมประนมชัย (บทพากยเ์ อราวัณ : พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหล้านภาลัย) กวเี ปรียบเทยี บว่าภเู ขาทังหลายตามค้อมศีรษะลงเพ่ือแสดงความเคารพ เม่ือเหน็ ขบวน เสด็จขององค์อมรนิ ทร์ 4) การใชค้ ้าเลยี นเสยี งธรรมชาติเรยี กวา่ สทั พจน์ คือ การใช้ถอ้ ยคา้ เลยี นเสียง ธรรมชาตเิ ช่น เสียงสตั วร์ ้อง เสียงดนตรี เชน่ ระวังตัวกลัวครูหนูเอย๋ ไมเ้ รียวเจียวเหวย กเู คยเขด็ หลาบขวาบเขวยี ว (กาพยพ์ ระไชยสุริยา : สนุ ทรภู่) ค้าว่า “ขวาบเขวยี ว” เปน็ ค้าเลียนเสียงของไม้เรยี วยามทแี่ หวกอากาศมากระทบผวิ หนัง
32 4.5 การสรรคา การสรรค้า คือ การเลือกใชค้ ้าให้สอื่ ความคิด ความเขา้ ใจ ความรสู้ ึก และอารมณไ์ ด้อยา่ งงดงาม โดยคา้ นึงถงึ ความงามดา้ นเสียงของถอ้ ยคา้ เป็นสา้ คญั กลวิธใี นการเลอื กสรรคา้ มดี ังนี 1) การเล่นเสียง เปน็ การสรรค้าทที่ ้าใหเ้ กิดทว่ งทา้ นองทีไ่ พเราะ ไมว่ ่าจะเปน็ การเล่น เสียงสระ การเล่นเสียงพยัญชนะ และการเลน่ เสยี งวรรณยุกต์ 1.1) การเลน่ เสียงสระ เป็นการใชค้ า้ ท่ีมีเสียงสระตรงกัน ถ้ามีตวั สะกดกต็ อ้ ง เป็นตัวสะกดในมาตราเดียวกนั ส่วนวรรณยกุ ต์จะตา่ งรูปหรือต่างเสียงกนั ได้ ดหู นสู ่รู งู ู งูสดุ สู้หนสู ้งู ู หนูงูสดู้ ูอยู่ รปู งทู ่หู นมู ูทู ดูงูข่ฝู ดู ฝู้ พรูพรู หนูสรู่ ูงงู ู สดุ สู้ งูสู้หนหู นสู ู้ งูอยู่ หนรู รู้ ู้งู รปู ถ้มู ูทู (กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง : เจ้าฟ้าธรรมธเิ บศร) 1.2) การเลน่ เสียงพยญั ชนะ เปน็ การใชค้ า้ ทมี่ พี ยัญชนะต้นเสยี งเดยี วกนั อาจ เป็นตัวอักษรท่ีเป็นพยัญชนะรูปเดียวกัน หรือพยัญชนะที่มีเสียงสูงต้่าเข้าคู่กันหรือพยัญชนะควบชุดเดียวกันก็ ได้ 1.3) การเล่นเสียงวรรณยุกต์เสียงวรรณยุกต์เป็นข้อก้าหนดท่ีบังคับใช้ในการแต่งค้า ประพันธ์บางประเภท เช่น โคลงหรือกลบท การเล่นเสียงวรรณยุกต์เป็นการไล่ระดับเสียงเป็นชุด ซ่ึงท้าให้เกิด เสียงทีไ่ พเราะชวนฟงั เปน็ อย่างยงิ่ เชน่ ลางลงิ ชิงคา่ งขนึ ลางลิง กาหลงลงก่งิ กาหลงลง เพกากาเกาะทุกกา้ นกงิ่ กรรณิการก์ าชงิ กันชมหลง มัดกากากวนลว้ นกาดง กาฝากกงลงท้ารงั กา (เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน : พระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หล้านภาลัย) 2) การเล่นค้า เป็นความไพเราะของบทประพันธ์ทเี่ กดิ จากการเลือกใชถ้ ้อยค้าเปน็ พเิ ศษ การเล่นคา้ แบ่งออกเปน็ การซ้าคา้ และการหลากคา้ เสนาสสู สู่ ู้ ศรแผลง ยงิ คา่ ยหลายเมืองแยง แย่งแย้ง รุกร้นร่นรนแรง ฤทธริ์ ีบ ลวงล่วงลว้ นวงั แลว้ รวบเร้าเอามา (โคลงอักษรสามหมู่ : พระศรมี โหสถ) 2.1) การซ้าค้า เป็นการกล่าวซ้า ๆ ในค้าเดิมเพื่อเพ่ิมน้าหนักของค้าและย้าให้ ความหมายชดั เจนขึน เชน่ เหลอื บเหน็ สตรวี ไิ ลลักษณ์ พศิ พักตรผ์ ่องเพยี งแขไข งามโอษฐง์ ามแก้มงามจไุ ร งามนยั นเ์ นตรงามกร งามถันงามกรรณงามขนง งามองค์ยิง่ เทพอปั สร งามจริตกริ ิยางามงอน งามเอวงามอ่อนทังกายา (รามเกียรติ์ : พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา้ จฬุ าโลก)
33 2.2) การหลากค้า เป็นการใช้ค้าที่มีความหมายเหมือนกันหรือค้าไวพจน์ในบท ประพันธ์เดยี วกนั เช่น - พระอิศวร ใช้ สยมภู ศุลี ศิวะ ตรีโลจนะ จทั รเศขร รุทร ทิคัมพร ภเู ตศวรปศี าจบดี ศงั กร เป็นต้น - ดวงอาทิตย์ ใช้ ตะวัน พนั แสง สหสั รังสี ภาณุ จาตุรนต์ ไถง ภาสกร สุริยา เป็นต้น จากการศึกษาคณุ คา่ ของวรรณคดีขา้ งต้น สรุปไดว้ า่ วรรณคดีเปน็ บทประพันธ์ทมี่ ศี ลิ ปะในการ นา้ เสนอเรอ่ื งราว มคี วามงามของการใชค้ ้า ท้าให้ผอู้ า่ นไดร้ บั ความสนุกสนาน เพลิดเพลนิ ยกระดับจิตใจ มคี ุณค่าทังด้านเนือหา ดา้ นวรรณศิลป์ ดา้ นสังคม และขอ้ คิดทน่ี า้ ไปประยุกตใ์ ชไ้ ดใ้ นชีวติ ประจา้ วัน 5. ความรู้เกีย่ วกบั กาพย์หอ่ โคลงประพาสธารทองแดง ประวัตขิ องผแู้ ต่ง เจ้าฟ้าธรรมธิเบศ ไชยเชษฐสุริยวงศ์ มีพระนามที่เรียกกันเป็นสามัญว่า “เจ้าฟ้ากุ้ง” เป็น พระราช โอรสองค์ใหญ่ ในสมเด็จพระเจ้าบรมโกศ และสมเด็จพระพันวัสสาใหญ่ ซ่ึงโปรดให้สถาปนาเปน็ กรมหลวงอภัย นุชิตเป็นพระมารดา เจ้าฟ้าธรรมธิเบศทรงมีภคินีร่วมพระชนอีก 6 พระองค์ รวมเป็น 7 พระองค์ด้วยกัน คือ เจ้าฟ้าหญิงบรม (กรมขุนเสนีนุรักษ์) เจ้าฟ้าธรรมธิเบศ เจ้าฟ้าหญิงธิดา เจ้าหญิงรัศมี เจ้าฟ้าหญิงสุริยวงศ์ เจ้าฟ้าหญิงสุริยา เจ้าฟ้าหญิงนุ่ม หรืออินทสดุ าวดี และทรงมีพระเจ้าน้องยาเธอ และน้องยาต่างพระชนนีอีก หลายองค์ เม่ือสมเด็จพระราชธิดาได้เสวยราชย์แล้ว โปรดให้สถาปนาพระอิสริยยศเจ้าฟ้าธรรม-ธิเบศเป็นเจ้า ฟา้ ต่างกรม มพี ระนามว่าเจา้ ฟา้ ฯ กรมขนุ เสนาพทิ ักษ์ เมjื อ พ.ศ. 2276 เจ้าฟ้าธรรมธิเบศ กรมขุนเสนาพิทักษ์ ทรงเป็นกวีเอกองค์หน่ึงของไทย ได้ทรงนิพนธ์บทร้อยกรองไว้ หลายเร่ือง แตบ่ ทที่นับถือกันวา่ ไพเราะอย่างยอดเย่ียมเป็นทขี่ ้ึนช่ือลือชาก็คือ บทเห่เรือ 4 บท บทเห่เร่ืองกากี 3 บท เหส่ ังวาส และเห่ครวญ อีกอยา่ งละ 1 บท กาพย์ห่อโคลงนิราศธารโศก และนิราศธารทองแดง รวม 2 เรื่อง บทเห่เรือก็คือ บทเห่ชมเรือกระบวน บทเห่ชมปลา และ ชมนกชมไม้ เป็นต้น ซ่ึงเราท่านย่อมรู้จักได้ดี แล้วเป็นส่วนมาก เพราะเป็นฉบับของบทเห่เรือสานวนต่าง ๆ ซ่ึงแต่งกันต่อมาในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ส่วน กาพย์ห่อโคลงน้ัน ทรงนิพนธ์เป็น อย่างนิราศ นอกจากทรงนิพนธ์ร้อยกรองพรรณนาเรื่องราวอย่างอ่ืนแล้ว ยัง พรรณนาถึงลกั ษณะของ ป่าและสตั วน์ านาพนั ธ์ไุ วอ้ ย่างไพเราะ งานวรรณคดขี องเจ้าฟ้าธรรมธเิ บศ พระนิพนธ์ของเจ้าฟา้ ธรรมธิเบศ กรมพระราชวังบวรมหาเสนาพิทกั ษ์ มีดงั นี้ 1) บทเหเ่ รอื 4 บท 2) บทเห่เรื่องกากี 3 ตอน 3) บทเหส่ งั วาสและเหค่ รวญอยา่ งละบท 4) กาพยห์ อ่ โคลงนิราศธารโศก 5) กาพยห์ ่อโคลงนริ าศธารทองแดง (ประพาสธารทองแดง) 6) ลลิ ิตนันโทปนนั ทสตู รคาหลวง 7) ลลิ ติ พระมาลัยคาหลวง นอกจากนยี้ งั มี “เพลงยาว” ซ่งึ กล่าวกนั ว่าเปน็ ผลงานที่เจา้ ฟา้ ธรรมธิเบศทรงนิพนธ์ไว้ อกี ดว้ ย เนื้อเร่ืองยอ่ เรื่อง กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง แม้ว่าจะดาเนินเรื่องตามแบบฉบับของ
34 วรรณคดีนิราศ คือ พรรณนาถึงการเดินทาง แตก่ ็มิไดม้ ีการคร่าครวญถงึ การพลัดพรากจากนางอัน เป็นที่รัก ซึ่ง เป็นธรรมเนียมนิยม เน้ือเรื่องพรรณนาการที่ได้โดยเสด็จพระราชดาเนินสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศทาง สถลมารคไปนมัสการพระพุทธบาท จากท่าเจ้าสนุกริมลาน้าป่าสัก สระบุรี ผ่านตาบลธารทองแดง จนกระทั่ง ถึงเขาพระพุทธบาท โดยแต่งเป็นกาพย์ห่อโคลง อันเป็น ลักษณะการประพันธ์ด้วยกาพย์และโคลงให้มี เน้ือความและคาสอดคล้องรอ้ ยเรยี งกนั บทต่อบท การดาเนนิ เร่ืองเริ่มจากการพรรณนาชมกระบวน ชมสตั ว์ ชม นก ชมไม้ และชมปลา ตามลาดับ ซึ่ง นอกจากความไพเราะงดงามของลีลาโวหารแล้ว กาพยห์ ่อโคลงประพาส ธารทองแดง ยังได้ถ่ายทอด บอกเล่าถึงความอุดมสมบูรณ์ของผืนป่าเมื่อสามร้อยปี ก่อนท่ีนับวันจะสูญหายไป พชื พรรณบาง ชนดิ กลายเปน็ ส่ิงหายาก สัตว์หลายชนิดกลายเปน็ สัตวส์ งวนเนื่องจากใกลส้ ญู พันธุ์ จึงนบั ว่าเป็น วรรณคดีทมี่ คี ุณค่าเชิงอนรุ ักษแ์ ละเชิงธรรมชาตวิ ทิ ยาดว้ ย กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงจึงเป็นวรรณคดีกวีนิพนธ์ท่ีมีสุนทรียภาพทางภาษาให้คุณค่าทาง ธรรมชาติวิทยา สัตวศาสตร์ พฤกษศาสตร์ และอักษรศาสตร์ เป็นวรรณกรรมชิ้นเอกท่ีอุดมด้วยสารประโยชน์ ควรแก่การศกึ ษาสืบไป 6. เอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน 6.1 ความหมายของผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน ความหมายของผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน มผี ู้ใหค้ วามหมายไว ดงั นี ประกิจ รัตนสุวรรณ (2525: 200) กล่าวว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คุณลักษณะและ ความสามารถของบุคคลที่เกิดจากการเรียนการสอน เปนการเปล่ียนแปลง พฤติกรรมและประสบการณการ เรียนรูจากการฝกฝนอบรมหรอื การสอน อัจฉรา สุขารมณ และอรพินทร ชูชม (2530: 10) ได้กล่าวไว ว า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (Achievement) หมายถึง ความส้าเร็จที่ไดจากการท้างานท่ีตองอาศัยความพยายามจ้านวนหนึ่ง ซ่ึงอาจเป็น ผลมาจากการกระทา้ ท่ีอาศยั ความสามารถทางรางกายหรอื สมอง ดังนัน ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน จึงเปนขนาด ของความส้าเร็จท่ีไดจากการเรียนที่อาศัยการทดสอบ (Non testing procedures) เชน จากการสังเกตหรือ การตรวจการบาน หรืออาจอยูในรูปของเกรดท่ีไดมาจากโรงเรียน (School grade) ซ่ึงตองอาศัยกรรมวิธีท่ี ซับซอนและชวงเวลาในการประเมินอันยาวนาน หรืออีกวิธีหนึ่งอาจวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนดวยแบบวัด ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนทั่วไป (Published Achievement Test) ไพศาล หวังพานิช (2533: 209) ไดใหความหมายผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นไว ดังนี ผลสัมฤทธ์ิทางการ เรียน (Academic Achievement) หมายถึง คุณลักษณะและความสามารถของบุคคล อันเกิดจากการเรียน การสอนเป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม และประสบการณการเรียนรูที่เกิดจากการฝึกอบรม หรือจากการ สอน การวดผลสัมฤทธิ์ จึงเป นการตรวจสอบระดับความสามารถหรือความสัมฤทธิ์ผล ( Level of Accomplishment) ของบุคคลวาเรียนรูแลวเทาไร มีความสามารถชนิดใดซ่ึงสามารถวัดได้ แบบ ตาม จดุ มงุ่ หมายและลกั ษณะวิชาทสี่ อน คอื 1. การวัดด้วยการปฏิบัติ เป็นการตรวจสอบระดับความสามารถในการปฏิบัติหรือทักษะ ของผูเรียน โดยมุงเนนใหผูเรียนไดแสดงความสามารถดังกลาวในรูปการกระท้าจริงใหออกมาเปนผลงาน เชน วิชาศิลปศึกษา พลศึกษา การชาง เปนตน การวัด แบบนี จึงตองวัดโดยใชขอสอบปฏิบัติ (Performance Test)
35 2. การวัดด้านเนือหา เป็นการตรวจสอบความสามารถเก่ียวกับเนือหาวิชา (Content) อัน เป็นประสบการณการเรียนรูของผูเรียน รวมถึงพฤตกรรมความสามารถในด้านตาง ๆ สามารถวัดไดโดยใช้ ข้อสอบผลสมั ฤทธิ์ (Achievement Test) วรรณี โสมประยูร (2537: 262) ไดใหความหมายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวา หมายถึง ความสามารถ หรือพฤติกรรมของนกั เรียนท่เี กิดจากการเรียนรู้ซ่งึ พัฒนาขึนหลงั จากไดรบั การอบรมส่งั สอนและฝกฝนโดยตรง ภพ เลาหไพบูลย (2537: 295) ไดใหความหมายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คือ พฤติกรรมที่แสดงออก ถึงความสามารถในการกระท้าส่ิงหนึ่งส่ิงใด จากที่ไมเคยกระท้าไดหรือกระท้าไดนอยกอนที่จะมีการเรียนรู้ ซึ่ง เปนพฤติกรรมท่ีสามารถวัดได กูด (Good. 1973: 103) ใหความหมายของผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวา ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง ความรูที่ไดรับ หรือทักษะที่พัฒนามาจากการเรยี น ในสถานศึกษา โดยปกติวัดจากคะแนนท่ีครูเปนผู ให หรอื จากแบบทดสอบหรอื อาจรวมทงั คะแนนท่ีครเู ปนผูใหและคะแนนท่ีไดจากแบบทดสอบ จากความหมายดังกลาว สรุปไดว่า ผลสมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง ความรูหรือทักษะ ซ่ึงเกิดจาก การท้างานท่ีประสานกัน และตองอาศัยความพยายามอยางมาก ทังองคประกอบทางดานสติปัญญา และองค ประกอบท่ีไมใชสติปญญา แสดงออกในรูปของความส้าเร็จ สามารถวัดไดโดยการใชแบบทดสอบ หรือคะแนน ทีค่ รูให 6.2 ประเภทของแบบทดสอบการวัดผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น ประกจิ รัตนสวุ รรณ (2525: 210) ไดแบงประเภทของแบบทดสอบผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนไวดงั นี 1. แบบทดสอบท่ีครูสรางขึนใช้เอง (Teacher – Made Test) ครูผูสอนจัดสรางขึน เพื่อวัดความกาวหนาของนักเรียน ภายหลังจากไดมีการเรียนการสอน ไประยะหน่งึ แลว โดยปกตแิ บบทดสอบประเภทนี จะใชเฉพาะภายในกลุมนักเรยี นทคี่ รผู ูออกขอสอบเปนผูสอน จะไมน้าไปใชกบนักเรียนกลุมอ่นื ทังนี โดยมีจดุ มุงหมายเพ่ือตรวจสอบนักเรยี น มีความรูความสามารถตามจุด มุงหมายของการเรียนรูมากนอยเพียงใดและจะน้าผลการสอบนีไปใชทังปรับปรุงซอมเสริมการเรียนการสอน กับน้าไปใชตัดสินผลการเรียนของนักเรียนดวยตัวอยางแบบทดสอบท่ีครูใชในการสอบปลายภาค หรือปลายป หรอื เม่ือสนิ สดุ การเรยี นการสอนในแตละบทแตละตอนนน่ั เอง 2. แบบทดสอบมาตรฐาน (Standardized Test) เปนแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ เชนเดียวกับแบบทดสอบที่ครูสรางขึนใชเองแตมจี ุดมุงหมาย เพอ่ื เปรยี บเทยี บการเรยี นดานตาง ๆ ของนักเรยี นทต่ี างกลุมกนั บุญชม ศรสี ะอาด (2532: 8 – 9) ไดแบงลกั ษณะของแบบทดสอบออกเปน 2 ประเภท คือ 1. แบบทดสอบแบบอิงเกณฑ หมายถึง แบบทดสอบที่สรางขึนตามจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม มีคะแนนจุดตดหรือคะแนนเกณฑท่ีใชส้าหรับตัดสินวา ผูเรียนมีความรูตามเกณฑท่ีก้าหนดไวหรือไม การวัด เพ่ือใหตรงตามจดุ ประสงคซง่ึ เปนหัวใจของขอสอบในการทดสอบประเภทนี 2. แบบทดสอบแบบอิงกลุม หมายถึง แบบทดสอบท่ีสรางเพ่ือวัดใหครอบคลุมหลักสูตร สร้างตามตารางวิเคราะหหลักสูตร สามารถจ้าแนกผูเรียนตามความเกงออนได้ การรายงานผลการสอบอาศัย คะแนนมาตรฐานซ่ึงเป็นคะแนนทส่ี ามารถวดั ไดทแี่ สดงสถานภาพความสามารถของบุคคล เม่ือเปรียบเทยี บกับ บคุ คลอนื่ ทใี่ ชเปนกลุมเปรยี บเทียบ ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ (2536: 146 – 147) ไดแบงแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิไดเปน 2 พวก คอื
36 1. แบบทดสอบของครู หมายถึง ชุดของค้าาถามที่ครเู ปนผูสรางขึนซ่ึงเปนขอค้าถามเก่ียวกับ ความรูที่นักเรียนไดเรยี นในหองเรียนวานกั เรียนมีความรูมากแคไหนบกพรองตรงไหนจะไดสอนซอมเสริม หรือ เปนการวัดความพรอมที่จะไดเรยี นในบทเรยี นใหม ขึนอยูกบั ความตองการของครู 2. แบบทดสอบมาตรฐาน แบบทดสอบประเภทนีสรางขึนจากผูเชี่ยวชาญในแตละสาขาวิชา หรือจากครูผูสอนวิชานัน แตผานการทดลองคุณภาพหลายครังจนกระท่ังมีคุณภาพดี จึงสรางเกณฑปกติของ แบบทดสอบนัน สามารถใชเปนหลักเปรียบเทียบผลเพ่ือประเมินคาของการเรียนการสอนในเรื่องใด ๆ ก็ได แบบทดสอบมาตรฐานจะมีคูมือด้าเนินการสอบ บอกวิธีสอนและยังมีมาตรฐานในดานการแปลคะแนนดวยทัง แบบทดสอบทีค่ รสู รางขึนและแบบทดสอบมาตรฐาน มีวิธกี ารสรา้ งข้อค้าถามเหมอื นกัน เปนค้าถามที่วดั เนือหา และพฤตกิ รรมทีส่ อนไปแลว จะเปนพฤติกรรมท่ีสามารถตังค้าถามวัดไดซึ่งควรวัดให้ครอบคลุมพฤติกรรมตางๆ ดงั นี 2.1 ความรูความจ้า 2.2 ความเขา้ ใจ 2.3 การนา้ ไปใช 2.4 การวิเคราะห 2.5 การสังเคราะห 2.6 การประเมินคา จากท่กี ลาวมาพอสรุปประเภทของแบบทดสอบการวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นได คือ 1. เปนแบบทดสอบของครู หรอื แบบทดสอบมาตรฐาน 2. เปนแบบทดสอบแบบอิงเกณฑ หรอื แบบทดสอบแบบอิงกลุม 3. เปนลกั ษณะการวดั ดานปฏบิ ัตหิ รอื การวัดดานเนอื หา 6.3 องคประกอบท่มี ีอทิ ธพิ ลตอผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น องคประกอบท่มี ีอทิ ธพิ ลตอผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนมีผูท่ีไดใหคา้ อธิบายไว้ ดังตอไปนี เพรสคอตต (Prescott. 1961: 14 – 16) ไดใชความรูทางชีววิทยา สังคมวิทยาจิตวิทยา และการ แพทย ศึกษาเกี่ยวกบการเร ั ียนของนักเรียนทังในและนอกหองเรียน สรุปผลการศึกษาวา องคประกอบท่ีมี อทิ ธพิ ลตอผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนมีดงั นี 1. องคประกอบทางดานรางกาย ได้แก อัตราการเจรญเติบโตของรางกายสุขภาพ ขอบกพร่องทาง กายและบคุ ลกิ ภาพทาทาง 2. องคประกอบทางความรัก ไดแก่ ความสัมพันธของบิดามารดา ความสัมพันธ์ของบิดากับลูก มารดากับลกู ความสัมพันธระหวางลกู ดว้ ยกนั และความสัมพนั ธระหวางสมาชิกในครอบครวั ทังหมด 3. องคประกอบทางวฒั นธรรมและสังคม ไดแก่ ขนบธรรมเนยี มประเพณี ความเปนอยขู องครอบครวั สภาพแวดลอมทางบาน การอบรมทางบาน และฐานะทางบ้าน 4. องคประกอบทางการพัฒนาแหงตน ไดแก่ สติปญญา ความสนใจ เจตคตขิ องนักเรียนตอการเรยี น 5. องคประกอบทางการปรับตน ไดแก่ ปญหาปรับตัว การแสดงออกทางอารมณขององคประกอบ ต่างๆ ที่มีผลตอระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน โดยน้าเอาครู นักเรียน และหลักสูตรมาเป นองค ประกอบส้าคัญ โดยเช่ือวาเวลาและคณุ ภาพของการสอนมีอทิ ธิพลโดยตรงตอปริมาณความรูที่นักเรียนไดรับ จากอิทธิพลท่ีมีผลตอผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนดังกลาวมาขางตน พอท่ีจะสรุปไดว่า ผลกระทบตอผล สมั ฤทธท์ิ างการเรยี นมีหลายองคประกอบดวยกัน แตผลทเ่ี กดิ ขึนโดยตรงนัน ไดแก่ วีธิ ิสอนของครูและกิจกรรม การเรยี นการสอนท่คี รูเปนผูจัดขนึ
37 6.4 กระบวนการสรางแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น บุญเชิด ภิญโญอนันตพงษ (2525 : 21 – 30) ไดกลาวถงึ ขนั ตอนของ กระบวนการสรางแบบทดสอบ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนไวดังนี ขัน้ ที่ 1 การวางแผนสรางแบบทดสอบ พิจารณาถึงจุดประสงคของการน้าแบบทดสอบไปใชการวางแผนสรางแบบทดสอบวาจะสรางแบบ สอบวาจะสรางแบบทดสอบอยางไร จ้าเปนตองเรียนรูเสยี กอนวาเราจะนา้ แบบทดสอบไปใชเพอ่ื ทา้ อะไร หรอื ต องทราบ จุดประสงคของการน้าแบบทดสอบไปใชนั่นเองโดยหลักการแลวการน้าแบบทดสอบไปใชจะสัมพันธ อยูกับการสอน เชน การสอบเพ่ือตรวจสอบความรูเดิมจะสอบกอ่ นการทา้ การสอน การสอบ เพ่ือปรับปรุงการ เรยี นการสอนและวินิจฉัยขอบกพรอง จะสอบในระหว่างดา้ เนินการสอน และการสอน เพ่ือสรุปผลการเรียนจะ สอบหลังจากการสอนเสร็จสินทังหมดแลว ดังนัน จุดประสงค์ของการน้าแบบทดสอบไปใช อาจจ้าแนกเปน 4 จดุ ประสงค์ ดงั นี 1. ใช้ตรวจสอบความรูเดิม จะทา้ การสอบกอนทจี่ ะเร่ิมตนการสอนเพ่ือพิจารณา 1.1 นักเรียนมีความรูพนื ฐานที่จา้ เปนส้าหรับเนอื หาทีจ่ ะเรยี นเพียงพอหรือไม 1.2 นักเรยี นมีความรูเนือหาท่จี ะสอนหรือไม 2. ใช้ตรวจสอบความก้าวหนาและปรบั ปรงุ การเรียนการสอน 3. ใช้วนิ ิจฉัยผูเรียน 4. ใชสรุปผลการเรยี น เน้ือหาและพฤตกิ รรมทีต่ องการวัด เนือหาวชิ า และพฤติกรรมทตี่ องการวดั ก็คอื เนือหาและพฤตกิ รรมที่ท้าการสอน การวเิ คราะหหลักสตู ร การวิเคราะห์หลักสูตรเปนกระบวนการในการจ้าแนกแยกแยะในวิชานัน ๆ มีหัวขอเนือหา สาระท่ีส้าคัญอะไรบางมีจุดประสงคท่ีจะใหเกิดพฤติกรรมอะไรบาง ดังนัน การวิเคราะห์หลักสูตร จึง ประกอบด้วยการวเิ คราะห์ 2 อยาง คอื 1. การวิเคราะหเนอื หาวิชา 2. การวเิ คราะหจดุ ประสงค การวิเคราะหเนือ้ หาวชิ า การวิเคราะหเนอื หาวิชา เป็นการจา้ แนก หรอื จัดหมวดหมูเนือหาวชิ าเปนหัวขอ ส้าคญั โดยค้านงึ ถึงส่ิงตอไปนี 1. ความสัมพันธเก่ยี วของกันของเนอื หา 2. ความยากงายของเนอื หา 3. ขนาดความยาวของเนอื หา 4. เวลาท่ีใชสอน
38 การวเิ คราะหจดุ ประสงค การวิเคราะหเนือหาวิชา เป็นการจ้าแนก หรือจัดหมวดหมูเนือหาวิชาเปนหัวขอส้าคัญ โดย ค้านึงถงึ สงิ่ ตอไปนี 1. รวบรวมจุดประสงคข์ องเนือหาวิชาทังหมด จากหนังสอื หลักสตู รและคมู อื ครู 2. เขยี นพฤตกิ รรมทสี่ า้ คญั ของแตละจดุ ประสงคทงั หมด 3. ยบุ พฤติกรรมท่ีมีลักษณะคลายคลึงกันใหเปนพฤติกรรมเดียวกนั 4. นิยามความหมายของพฤตกิ รรมทย่ี ุบรวมแลว ขนั้ ที่ 2 การตระเตรยี มงานและเขียนขอสอบ เม่ือวางแผนการสรางแบบทดสอบโดยการสรางเป็นตารางวิเคราะหหลักสูตรเรียบรอยแลว ตอง ตระเตรียมงาน และเขยี นขอสอบตอไป ข้ันที่ 3 การทดลองสอบ เมอ่ื เขียนขอสอบและจดั พมิ พเรยี บรอยกน็ ้าไปทดลองสอบ ขน้ั ท่ี 4 การประเมินผลแบบทดสอบ การประเมินผลแบบทดสอบ เปนการตรวจสอบวาแบบทดสอบมีคุณภาพหรือไม โดยพิจารณาตาม คณุ ลักษณะที่ดีของแบบทดสอบซง่ึ มีอยู 10 ประการ คอื 1. ความแมนตรง หมายถึง แบบทดสอบสามารถวัดพฤติกรรมไดตรงตามท่ีระบุไวในจุดประ สงคและตามทีท่ ้าการสอนจริง 2. ความเชือ่ มนั่ หมายถงึ แบบทดสอบใหผลการสอบสอดคลอง ตรงกันทกุ ครงั 3. อ้านาจจ้าแนก หมายถงึ ขอสอบทแี่ บงแยกคนเกงออนออกจาก กันได กลาวคอื คนเกงจะตอบถกู คนออนจะตอบผ ิด 4. ความยากงาย หมายถึง จา้ นวนเปอรเซน็ ตผู้ตอบถูกทวั่ ไปแลว ความยากงายท่ีเหมาะสมจะมจี ้านวนครึ่งหนึ่งตอบถูก 5. ความเปนปรนัย หมายถงึ ขอสอบทม่ี ีค้าถามชัดเจนและการใหคะแนนชัดเจน 6. ความเฉพาะเจาะจง หมายถึง ขอสอบที่มคี ้าถามชัดเจนและการ ใหคะแนนชดเจน 7. ประสิทธิภาพ หมายถึง แบบทดสอบที่ใชนันประหยัดเวลาการสราง การด้าเนิน การสอบ การตรวจใหคะแนนแตใหผลการสอบถูกตอง 8. ความสมดุล หมายถงึ แบบทดสอบสามารถวัดไดครอบครอง ตามจดุ ประสงคและเนอื หามีสดั สวนจา้ นวนขอสอบสอดคลองตามตารางวิเคราะหหลักสตู ร 9. ความยุติธรรม หมายถึง แบบทดสอบมคี วามชดั เจนไมคลุมเครือ และเปดโอกาสให้ทกุ คนมโี อกาสทจี่ ะตอบถกู ไดเทากัน 10. ความเหมาะสมของเวลา หมายถึง แบบทดสอบไดก้าหนดเวลา ใหอยางเพียงพอในการตอบขอสอบจนเสร็จ
39 7. ความพึงพอใจ 7.1 ความหมายของความพึงพอใจ พจนาบกุ รมฉบับราชบณั ฑติ สถาน พ.ศ.2554 (ราชบัณทิตยสถาน, 2556 : 840) ไดใ้ ห้ความหมายของ ความพึงพอใจไว้ว่า พงึ พอใจ หมายถึง รัก ชอบใจ และ พึงใจ หมายถึง พอใจชอบใจ พลั ลภ คงนุรัตน์ (2547 : 34) ได้กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สกึ ความนึกคดิ ความเช่ือท่ี มีแนวโน้มที่แสดงออกของพฤติกรรม ต่อการปฏิบตั กิ ิจกรรมทที่ ้าใหเ้ กดิ ความเจริญงอกงามในทุกด้านของแต่ละ บุคคล อาจเป็นทางด้านบวกหรือทางดา้ นลบของพฤตกิ รรมนัน สยาม สิงหาทอง (2549 : 47 ได้สรุปไว้ว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกนึกคิด หรือเจตคติของ บุคคลต่อการท้างานหรือการปฏิบัติกิจกรรมในเชิงบวก ดังนัน ความพึงพอใจในการเรียนรู้หมายถึง ความรู้สึก พึงพอใจ ชอบในการร่วมกิจกรรมการเรยี นการสอนและตอ้ งการดา้ เนนิ กจิ กรรมนันจนบรรลุความสา้ เรจ็ สร ชัย พิศาลบุตร (2550, หน้า 47 ได้กล่าวถึงความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ หมายถึง การท่ี ผู้ใช้บริการได้รับในสิ่งท่ีต้องการแต่ต้องอยู่ในขอบเขตที่ผู้ให้บริการสามารถจัดหาหรือท้าให้ได้โดยไม่ขัดต่อ วตั ถปุ ระสงค์หรอื ความถกู ตอ้ งเหมาะสมในการให้บริการ เกริก ท่วมกลาง และจินตนา ท่วมกลาง (2555 : 274) กล่าวว่า ความพึงพอใจการเรียนรู้ หมายถึง ความรู้สึกพอใจ ชอบใจในการรว่ มปฏิบัตกิ ิจกรรมการเรียนรู้ และการตอ้ งการดา้ เนินกิจกรรมการเรยี นรู้นนั จน บรรจุผลส้าเร็จในกาจัดการเรียนการสอน การท้าให้ผู้เรียนเกิดความพึงพอใจ องค์ประกอบส้าคัญที่ท้าให้เกิด การเรียนร้ไู ด้อย่างมีประสิทธภิ าพ คือ กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีจัดให้กบั นักเรียนได้เรยี นรู้ด้วยความประทับใจ และ ยงั ไดก้ ล่าวถึง ความพึงพอใจต่อการเรียนรู้โดยใชส้ อ่ื /นวตั กรรม หมายถงึ ความรู้สกึ พอใจ ประทับใจ ความรสู้ ึก ท่ีดี ชอบในใจการร่วมปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ โดยมีสื่อ/นวัตกรรมท่ีสร้างขึนเป็นองค์ประกอบส้าคัญในการ ด้าเนินกิจกรรมการเรียนรู้จนบรรลุผลส้าเร็จในการเรียนรู้ การท้าให้ผู้เรียนเกิดความพึงพอใจในการเรียนรู้ ส่ือ/นวัตกรรมที่สร้างขึนจึงเป็นองค์ประกอบที่ส้าคัญ ท้าท่ีให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพตาม วัตถปุ ระสงค์ของการสรา้ งสือ่ /นวัตกรรม จากการศึกษาความหมายของความพึงพอใจ สรุปได้ว่า ความพึงพอใจในการเรียน หมายถึง ความรู้สกึ ของนักเรียนท่ีมตี อ่ การเรียนท่ีแสดงออกมาในรูปแบบชอบใจต่อสงิ่ ท่ีได้รับจากการเรียน และความพึง พอใจของนักเรียนต่อบทเรียน โปรแกรม หมายถึง ความรู้สึกชอบหรอื ไม่ชอบของนกั เรียนต่อการเรียนในเร่ือง ตา่ ง ๆ 7.2 ทฤษฎที ่ีเก่ยี วขอ้ งกับความพงึ พอใจ ส้าหรบั ทฤษฎีท่เี กี่ยวขอ้ งกับความพงึ พอใจ ผู้วิจัยไดศ้ ึกษาเอกสารทเี่ กี่ยวขอ้ ง ดังนี ทฤษฎแี รงจงู ใจของมาสโลว์ (Maslow's theory motivation) สุรางค์ โคว้ ตระกูล (2554, หนา้ 158 - 159 ไดก้ ล่าววา่ นกั จิตวทิ ยามนษุ ยนิยม มีความเชอื่ ในหลักการ พืนฐานว่า ทุกคนมีแรงจูงใจท่ีจะประกอบกิจกรรมอยู่เสมอ ถือว่าแรงจูงใจเป็นแรงขับท่ีให้มนุษย์เจริญเติบโต และพัฒนา ผู้ท่ีได้ตังทฤษฎเี ก่ียวกับแรงจูงใจคือ มาสโลว์ ไดแ้ บ่งความต้องการพืนฐานออกเป็น 5 ประเภท คือ ความต้องการทางกาย (Physiological needs) ความต้องการความมั่นคงปลอดภัยหรือสวัสดิการ (Safety needs) ความด้องการความรักและเป็นส่วนหน่ึงของหมู่ (Love & belong needs) ความต้องการรู้สึกว่า ตนเองมีค่า (Esteem needs) และความต้องการรู้จักตนเองและพัฒนาตนเต็มท่ีตามศักยภาพของตน (self- actualization need) มาสโลว์ได้จัดลา้ ดับชันของความต้องการจากต้่า ไปสูง เร่ิมจากความต้องการทางสรีระ
40 ซึง่ มาสโลวเ์ ช่ือว่าเป็นความตอ้ งการพืนฐานเปน็ แรงผลักดนั รนุ แรงที่สุด ถ้าความต้องการนีขาด จะเป็นแรงผลัก คนั ให้บุคคลนนั มีพฤติกรรมตอบสนองจนเป็นที่พอใจ ถึงจะมีความต้องการขันสูงขึนต่อไป ตัวอย่างเช่น คนที่มี ความหิวมาก ๆ มักจะไม่สนใจว่าตนจะเป็นที่ยอมรับของเพื่อนหรือไม่ หรือคนท่ีมีชีวิตอยู่ในช่วงที่อันตราย เพราะมีคนปองรา้ ย จะไมม่ ีความต้องการท่ีจะร้สู ึกว่าคนเองมีค่า ความตอ้ งการขันสูงสุดคือความต้องการท่ีจะ รู้จักตนเองอย่างแท้จรงิ และพัฒนาตนเองตามศักยภาพของตน จะเกิดได้ก็ตอ่ เมื่อความตอ้ งการทงั 4 ประเภท ได้รับการตอบสนองก่อน นอกจากความต้องการ 5 ประเภท ดังกล่าวแล้ว ทฤษฎีของมาสโลว์ยังมีควา ม ตอ้ งการอกี 2 ประเภท รวมอยูด่ ้วยนั่นคอื ความดอ้ งการทจ่ี ะรแู้ ละเข้าใจ (Need to know and understand) และความตอ้ งการทางสุนทรียภาพ (Aesthetic needs) เปน็ ล้าดบั ขันท่ี 6 และล้าดับขนั ท่ี 7 ตามลา้ ดบั จากทฤษฎีแรงจูงใจของมาสโลว์ จะเห็นว่ามีความเกี่ยวข้องโดยตรงกับการสร้างความพึงพอใจในการ เรยี น จึงไดศ้ ึกษาเอกสารท่เี กี่ยวข้องกับแรงจงู ใจเพ่ิมเดิม ดังนี แรงจูงใจภายในและแรงจูงใจภายนอก สรุ างค์ โค้วตระกลู (2554 : 169 ไดก้ ล่าวว่า แรงจูงใจภายใน หมายถึง แรงจูงใจท่ีเกิดจากภายในตัว บุคคล และเป็นแรงขับท่ีท้าให้บุคคลนัน แสดงพฤติกรรมโดยไม่หวังรางวัลหรือแรงเสริมภายนอก ตัวอย่าง แรงจูงใจภายใน เช่น ความอยากที่จะมีสมรรถภาพ ส่วนวรรณี ลิมอักษร (2551, หน้า 117) ได้กล่าวถึง แรงจูงใจภายใน เป็นแรงจูงใจให้บุคคลเกิดความสนใจ พยายามแสวงหาความรู้ มีการฝึกฝน ทุ่มเทก้าลัง ความสามารถในการท้างานให้ประสบความ ไม่หวังรางวัล แต่บุคคลใช้ความส้าเร็จในกิจกรรมหรืองานที่ท้า เป็นรางวัลส้าหรับตนเองเรียบร้อยแล้ว หรือสรุปได้ว่า แรงจูงใจภายในเป็นแรงจูงใจให้บุคคลแสดงพฤติกรรม หรอื ทา้ กจิ กรรมอย่างอย่างมีความสขุ ด้วยความเตม็ ใจ และมงุ่ กระทา้ เพือ่ ความส้าเร็จ ความภาคภูมิใจ กระท้า โดยมีจดุ หมายปลายทางอยู่ทีก่ ิจกรรม เชน่ ศกึ ษาเลา่ เรยี นหรืออา่ นหนังสอื เพราะอยากรู้ สุรางค์ โคว้ ตระกูล (2554 : 171) ได้กลา่ วว่า แรงจูงใจภายนอก หมายถึง แรงจงู ใจทีไ่ ด้รับอทิ ธิพลจาก ภายนอก เช่น มาจากแรงเสริมชนิดต่าง ๆ ตังแต่ค้าชม จนถึงการได้รับรางวัลเป็นสิ่งของ หรือเงินและตัวแปร ต่าง ๆ ที่มาจากบุคคลและลักษณะของเหตุการณ์ สิ่งแวดล้อมภายนอกเช่น การให้ข้อมูลป้อนกลับ ความ คาดหวังของผู้อื่น การอ้างสาเหตุพฤติกรรมโดยผู้อ่ืน การตังเป้าหมายในการท้างาน ในกรณีของนักเรียน การ ตังเข้าหมายว่าจะให้ได้เกรดดี เช่น A หรือ B ก็มี ค่าอิทธิพลแรงจูงใจในการเรียนรู้ หรือความตังใจ ความ คาดหวังของผู้ปกครอง รวมทังการตังรางวัลของผู้ปกครอง นักจิตวิทยาที่ได้ท้าวิจัยเรื่องการเรียนการสอน ได้ เห็นความส้าคญั ของแรงจูงใจภายนอก เพราะตระหนกั วา่ วิชาท่ีสอนในโรงเรียนไม่ไดม้ ีคณุ ลกั ษณะหรอื แรงจูงใจ นักเรียนให้เรียนรู้ โดยอาศัยความสนใจในวิชา และสนุกสนานในประสบการณ์ จึงได้ให้ค้าแนะน้าเก่ียวกับการ ใช้แรงจงู ใจภายนอก ดงั ต่อไปนี -ครูควรบอกให้นักเรียนทราบว่าครูมีความคาดหวังอะไร จากนักเรียน เช่น ควรจะบอกวัตถุประสงค์ ของบทเรียนใหแ้ จ่มแจ้ง นักเรียนควรจะประกอบกิจกรรมอะไรบ้าง การวัดผลและประเมินผลมเี กณฑ์อะไรบ้าง และเมื่อนกั เรยี นมคี วามรู้ความเข้าใจในบทเรยี นและเรียนรแู้ ล้วมปี ระโยชน์ท่จี ะไดร้ บั อะไรบา้ ง - ครูควรจะให้ข้อมูลป้อนกลับแก่นักเรียนอย่างแจ่มแจ้ง ตรงกับความหมายของค้าว่า \"ข้อมูล ป้อนกลับ\" (Feedback) ซ่ึงหมายความว่า การให้ข้อมูลข่าวสารให้นักเรียนเมื่อพบงานที่นักเรียนท้าดีหรือไม่ดี ถกู หรือไมถ่ กู อย่างไร โดยขยายความใหน้ กั เรยี นทราบว่ามีข้อดีและขอ้ เสยี อะไรบา้ ง - ครูควรจะพยายามให้ข้อมูลป้อนกลับทันทีทุกโอกาสที่ท้าได้ นอกจากนีควรจะให้บ่อยกรังเพ่ือจะให้ มักเรียนมีแรงงใจสม่้าเสมอ ผลก็คือ จะตังไงเรียนสม่้าเสมอทังแรงจูงในภายในและแรงจูงใจภายนอก มี ความส้าคัญต่อการจัดการเรียนการสอนพอ ๆ กนั ในหลายกจิ กรรมอาจจูงใจภายในโดยการกระตุ้นให้ผู้เรียนมี ความสนใน มีความอยากรูอ้ ยากเห็น หรอื อยากประสบความส้าเรจ็ ในการเรียนได้ แต่กไ็ ม่อาจจงู ใจไดใ้ นทุก
41 ประสบความสาเร็จในการเรียนได้ แต่ก็ไม่อาจจูงใจได้ในทุกกิจกรรม บางคร้ังจาเป็นต้องใช้การจูงใจภายนอก โดยการใช้เกรด คะแนนหรือ โอกาสทางสังคมมาเป็นเครือ่ งจูงใจจงึ จะทาให้ผเู้ รียนมคี วามแรงจูงใจในการเรียน เกิดขนึ้ ซงึ่ ผลจากการจูงไจกอ็ าจจะสามารถสร้างความพึงพอใจในการเรียนได้ 8. งานวจิ ยั ท่ีเกย่ี วข้อง งานวิจยั ภายในประเทศ ศิริพล แสนบญุ สง่ , นิป เอมรฐั และศกั ดา จนั ทราศร (2561 : บทคัดย่อ) ไดศ้ กึ ษาวจิ ัยเร่อื ง การพัฒนา สอื่ มลั ตมิ ีเดยี เพ่ือการเรียนรู้ เรอ่ื ง โปรแกรมค้นหา สาหรบั นักเรียนระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 โรงเรียนวัดพระ ขาว (ประชานุเคราะห์) จังหวดั พระนครศรีอยุธยา กลุ่มตัวอย่างทใ่ี ชใ้ นการวิจัย คือ นักเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาชั้น ปีท่ี 1 โรงเรียนวัดพระขาว (ประชานุเคราะห์) จานวน 40 คน ผลการวิจยั พบวา่ ผลการวจิ ัยพบว่า สอ่ื มลั ตมิ ีเดีย เพ่อื การเรียนรูท้ ่ีผ่านการประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญด้านเน้อื หา และด้านเทคนิคและการออกแบบส่ือคอมพิวเตอร์ มคี ุณภาพอยู่ในระดบั มากท่ีสดุ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นกอ่ นเรยี นกับหลังเรียนด้วยสอ่ื มัลตมิ ีเดยี เพอ่ื การเรียนรู้ พบว่าคะแนนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 และ ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อ ส่ือมัลติมีเดยี เพอื่ การเรยี นรทู้ พี่ ฒั นาขนึ้ อย่ใู นระดับมากทส่ี ดุ ชุติมา จันทรจิตร ( 2544 : บทคัดย่อ) วิจัยเพื่อสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง คาศัพท์ใน วิชาภาษาไทย สาหรบั นกั เรียนชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 5 กลมุ่ ตวั อยา่ งที่ใชใ้ นการวิจัย คือ นักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษา ปีที่ 5 โรงเรียนอนุบาลสงขลา จังหวัดสงขลา จานวน 30 คน เครื่องมือ ท่ีใช้ในการวิจัยได้แก่ บทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเร่ือง คาศัพท์ท่ีมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ มาตรฐาน 80 / 80 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน และนักเรียนมีความพึงพอใจ ในระดับมากต่อ การเรยี นด้วยบทเรียนคอมพวิ เตอรช์ ว่ ย วิไลพร จีนเมือง (2545 : บทคัดย่อ) วิจัยเพ่ือพัฒนาและหาประสิทธิภาพของบทเรียน คอมพิวเตอร์ ชว่ ยสอนเรือ่ ง คาลักษณะนาม กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวจิ ัยคือ ชาวต่างประเทศทีม่ ี ความรู้ทางภาษาไทยอยู่ใน ระดับเร่ิมต้นท่ีสมัครใจจานวน 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง คา ลักษณะนามจานวน 4 บทเรียน แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรยี น และแบบสอบถาม ความคิดเห็นที่มีต่อบทเรียน ผลการวิจัยพบว่าบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนท่ีสร้างขึ้นมีประสิทธิภาพสูงกว่า เกณฑ์มาตรฐานที่ กาหนดไว้ คือ 75/75 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ ช่วย สอน และกลุ่มตัวอย่างมคี วามคิดเหน็ ต่อการเรียนดว้ ยบทเรยี นคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนชว่ ยสอนอยู่ ในระดับ ดี สชุ าดา โพธิสมภาพวงษ์ (2545 : บทคัดย่อ) ได้พฒั นาและหาประสิทธิภาพบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วย สอนเพื่อประกอบการสอนเสียงภาษาอังกฤษท่ีเป็นปัญหาสาหรับนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 2 ของโรงเรียน พระปฐมวิทยาลัย จังหวดั นครปฐม จานวน 50 คน ใช้เวลาในการ ทดลอง 10 คาบ รวม 5 สัปดาห์ ผลการวิจัย พบว่า ความสามารถในการฟังเสียง และการออกเสียง ภาษาอังกฤษท่ีเป็นปัญหาหลังการเรียนด้วยบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติท่รี ะดับ .05 นอกจากนี้ขณะทดลองยังสังเกต พบว่านักเรยี นสนุก ต่ืนเตน้ และมี ความสขุ ในการเรยี น กรองแก้ว ก่ิงสวัสด์ิ (2546 : บทคัดย่อ) ได้วิจัยเพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน และความ คงทนในการเรียนรูว้ ิชาภาษาไทย สาหรบั นักเรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 จากบทเรยี น คอมพิวเตอร์ช่วยสอนท่ีมี ตัวช้ีนาและไม่มีตัวชี้นา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีท่ี 1 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2545 จานวน 2 ห้องเรียน โรงเรียนขามแก่นนคร อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น เคร่ืองมือท่ีใช้ใน
42 การวิจัยได้แก่ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่มีตัว ช้ีนาและไม่มีตัวช้ีนา และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียน ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนที่ เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่มีตัวชี้นา มีผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนแตกต่างจากนักเรียน ท่ีเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนท่ีไม่มีตัวช้ีนา โดยผลสัมฤทธ์ิของ นักเรียนท่ีเรียนด้วย บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนท่ีมีตัวชี้นาสูงกว่านักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ทไ่ี มม่ ตี วั ชน้ี าอยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสถติ ิที่ระดบั .05 พงศวีร์ สุภานนท์ (2548 : บทคัดย่อ) ได้พัฒนาและหาประสิทธิภาพบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาภาษาฝร่ังเศส เรื่อง วัฒนธรรมฝร่ังเศส ด้านวัฒนธรรมการกิน เพื่อ เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน และศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สายศิลป์-ภาษาฝรั่งเศส โรงเรียนราชวินิต มัธยม จานวน 35 คน ผลการวิจัยพบว่า ประสิทธิภาพของบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่สร้างข้ึนมีค่า 80.34/80.21 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของ นักเรียนระหว่าง ก่อนเรียนและหลังเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ 0.01 และความคิดเห็นของ นักเรยี น ทม่ี ีตอ่ บทเรียนคอมพวิ เตอร์ช่วยสอนอยู่ในระดบั ดี เกรียงศักดิ์ รอดเล็ก (2555 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาเร่ืองการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนกลุ่ม สาระภาษาไทย เสภาเรื่อง ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 6 ผลการวิจยั พบวา่ ประสิทธภิ าพของบทเรยี นคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน เสภาเรอ่ื งขุนช้างขนุ แผน ตอน ขุนชา้ งถวาย ฎีกา มีค่าเท่ากับ 80.00/ 83.33 เป็นไปตามเกณฑ์ที่กาหนด และมีคะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสูงกว่าก่อนเรยี นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิตทิ ่ีระดับ .01 และความคิดเห็นต่อ บทเรยี นคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนอยูใ่ นระดบั มากมีค่าเฉลีย่ เทา่ กับ 4.30 และคา่ เบ่ยี งเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.77 ศิริรตั น์ กระจาดทอง (2555 : บทคัดย่อ) ไดท้ าการวิจัยเรอื่ ง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน แบบมีเกม วิชาคอมพวิ เตอร์ เร่ือง สว่ นประกอบของคอมพิวเตอรข์ องนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนศร ประจันทร์ “เมธีประมุข” จังหวัดสุพรรณบุรี ผลการวิจัยพบว่า 1) บทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพวิ เตอร์ มีประสิทธภิ าพ 80.02/ 82.58 สูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ที่กาหนดไว้ 2) ผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนของผู้เรียนท่ีเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบ มีเกม วิชาคอมพิวเตอร์เบื้องต้น เร่ือง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 3) นักเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีความคิดเห็นต่อบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบมีเกม เร่ือง ส่วนประกอบของ คอมพิวเตอร์อยใู่ นระดับ ดี (X = 4.29, SD = 0.50) กันนิกา ผิวอ่อนดี (2548 : บทคัดย่อ) วิจัยเพ่ือสร้างและพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนวิชา ภาษาอังกฤษด้านการอา่ นเพื่อความเข้าใจของนกั เรียนระดับมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรยี นในสังกัดอาเภอบางปลา ม้า จังหวัดสุพรรณบุรี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดวังน้าเย็น อาเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี จานวน 30 คน โดย วิธีการสุ่มแบบช้ันภูมิ ผลการวิจัยพบว่า ครูผู้สอน และผู้เก่ียวข้องมีความต้องการให้มีการพัฒนา บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยให้นักเรียนได้เรียนรู้ด้วย ตนเอง ตามความแตกต่างของบุคคล ประสิทธิภาพของบทเรียนมีค่า 75.39/75.11 นักเรียนมีความรู้ความ เข้าใจเก่ียวกับเร่ืองที่อ่าน ก่อนและหลังเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิตทิ ี่ ระดบั ,01 ความคิดเห็นของนักเรียนทม่ี ตี อ่ บทเรยี นคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอนอยู่ในระดบั ดี ภา ทวศี ิลป์ อัยวรรณ (2549 : บทคัดย่อ) วจิ ัยเพ่ือสรา้ งและพฒั นาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ชว่ ยสอนเพื่อ แก้ไขข้อบกพรอ่ งทางการเขียนสะกดคาไม่ตรงมาตรา สาหรับนกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 4 กลมุ่ ตวั อยา่ งท่ีใช้ ในการวิจัย คือ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนวัด พระแท่นดงรัง อาเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี กลุ่มตัวอย่างจานวน 30 คน ผลการวิจัยพบว่า บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่สร้างข้ึนมีประสิทธิภาพสูงกว่า
43 เกณฑ์มาตรฐานที่กาหนดไว้ คือ 80/80 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 และกลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นต่อการเรียนด้วยบทเรียน คอมพวิ เตอรช์ ่วยสอนอยู่ในระดับดี (4.48) อรรณพ วิริยะสัจจะ (2549 : บทคัดย่อ) วิจัยเพ่ือพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง คาศัพท์ ภาษาองั กฤษเก่ียวกับคานาม สาหรับนกั เรียนชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรียนวัดปาก บอ่ (เหลืองราษฎรบ์ ารุง) อาเภอเมอื งสมุทรสาคร จงั หวัดสมทุ รสาคร กลุ่มตัวอยา่ งจานวน 30 คน ผลการวิจัยพบว่า แนวทางการพัฒนา บทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนเร่ือง คาศัพท์ภาษาอังกฤษ เกีย่ วกบั คานาม ผ้เู ชีย่ วชาญดา้ นเน้ือหาและด้านการ สร้างบทเรียนคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอนเสนอแนะ ว่า บทเรียนควรมีทกั ษะทางภาษาทั้ง 4 ด้าน คอื การฟัง การพูด การเขียนและการอ่าน ประกอบด้วยสื่อมัลติมีเดีย ให้มีความหลากหลาย มีแบบทดสอบและแบบฝึกหัด บทเรียนมีประสิทธิภาพเท่ากับ 71.3373.22 เป็นไปตามเกณฑ์ที่กาหนด 70/70 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นักเรียนมีความคิดเห็น ต่อบทเรียน คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนอยูใ่ นระดบั ดี งานวจิ ยั ต่างประเทศ มาชาโด และ แพทริคเซีย (Machado and Patricia 1997) ได้ศึกษาเปรียบเทียบ ผลสมั ฤทธ์ิทางการ เรยี นวิชาภาษาอังกฤษของนกั เรยี นเกรด 6-8 ทเี่ รยี นวิชาภาษาทีส่ องจานวน 200 คน ของโรงเรียน Norwalk - La - Mirada Unified School District โดยผู้วิจัยจัดให้ นักเรียนกลุ่มตัวอย่างดังกล่าวเรียนโดยใช้บทเรียน คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน กบั นักเรยี นโดยวิธี SDAIE (Specially Designed Academic Instruction in English ) ผลการศึกษาพบว่า นักเรียนท่ีเรียนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชา ภาษาอังกฤษสูง กว่ากลมุ่ ทเ่ี รียนโดยวิธปี กติ บัลเดอรัส (Balderas 1998) ได้ทาการศึกษาความสามารถในการอ่านของนักเรียนวิชา ธุรกิจระดับ มัธยมศึกษาตอนปลายจาการใช้สื่อคอมพิวเตอร์ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนท่ีเรียนวิชา 4 ธุรกิจระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย ทาการทดลองโดยให้กลุ่มตัวอย่างทากิจกรรมการอ่าน โดยใช้ ส่ือคอมพิวเตอร์และทา ภาระงานตามที่กาหนดไว้ ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีความสามารถ ในการอ่านเพิ่มขึ้น และมีทัศนคติใน การปฏิบัติภาระงานเป็นไปในทางบวก จึงสรุปได้ว่าการใช้ ส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยพัฒนาทักษะการอ่าน และทา การปฏิบัติภาระงานเป็นไปตามความตอ้ งการ ของผู้เรยี น อัลคาทานิ (Alkahtani 1999) ได้ศึกษาการใช้คอมพิวเตอร์ในการสอนภาษาอังกฤษเป็น ภาษาที่สอง โดยให้นักเรียนอ่านข้อความบนจอคอมพิวเตอร์ และตอบคาถาม จากผลการวิจัย พบว่านักเรียนมี ความก้าวหน้าในการอ่านเพม่ิ ข้นึ และให้ข้อเสนอแนะว่า ครูควรใช้คอมพิวเตอร์ใน ห้องเรียนเพราะมีประโยชน์ มาก ซอฟต์แวรใ์ นการอา่ นจะทาใหผ้ ู้เรียนไม่เคร่งเครียด นักเรียนร้สู ึก อสิ ระนอกจากนโี้ ปรแกรมยังมีประโยชน์ ท้ังตอ่ ครู และนักเรียนในการทาให้บรรลเุ ป้าหมายในการ เรยี นการสอนดว้ ย โซและคณะ (Soe et al. 2000) ได้ทาการวิเคราะห์งานวิจัยเรื่องผลของคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนท่ีมี ผลสัมฤทธทิ์ างการอา่ นกาหนดขอบเขตเป็นงานวิจัยระหว่างเดือนมกราคม 1982 ถึง เดือนมกราคม 1999 ซึง่ มี การรายงานข้อมูลเพียงพอ และมีประเดน็ เกี่ยวกับผลของคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนทมี่ ีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการอ่าน หรือการอ่านเพ่ือความเข้าใจ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียน เกรด K-12 จากการศึกษาพบว่ามีงานวิจัยในขอบเขต การวิจัย 17 เรื่อง จาก 33 เรื่องผลการ วิเคราะห์งานวิจัย 17 เร่ือง พบว่าคอมพิวเตอร์ช่วยสอนส่งเสริมให้ผล สัมฤทธ์ิทางการอ่านสูงขึ้น นอกจากนี้ผู้วิจัยได้ให้ข้อเสนอแนะว่า การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนอ่านเพียงอย่าง เดียวไม่เพยี งพอ คอมพิวเตอร์เป็นเครอื่ งมือ อุปกรณอ์ ย่างหน่ึงท่ีมีผลตอ่ การทาให้ผลสัมฤทธ์ทิ างการอ่านสงู ขึ้น โดยเฉพาะอย่างยง่ิ เม่ือนามาใชเ้ สรมิ การสอนปกติ แต่ควรพิจารณาถึงตัวแปรอื่นในการสอนอ่านดว้ ย
44 Alissgari and Mojdehavar (2010) ไดศ้ กึ ษาบทเรยี นคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอนและเจตคติ ของนกั เรียน ตอ่ การเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ พบว่า กลุ่มนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย สอนมีพัฒนาการการเรียนรู้ที่เพิ่มข้ึน รวมถึงมีเจตคติท่ีดีต่อวิชา คณิตศาสตร์ เม่ือเปรียบเทียบกับการเรียนรู้ แบบเดิม Carter (2004) ทาการวิจัย เร่ือง การวิเคราะห์และเปรยี บเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น และทัศนคติ ของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนกับ การสอนแบบปกติในวิชาคณิตศาสตร์ วัตถุประสงค์ ของการวิจัย คือ เปรียบเทียบผลการสอนด้วย บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนกับการสอน แบบปกติ วธิ ีดาเนินการวจิ ัย แบ่งนักศึกษาออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มแรกเปน็ กลุ่มทดลองเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย สอน และกลุ่มท่ีควบคุม เรียนด้วยวิธีสอนแบบปกติ ผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและ หลังเรยี น มีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคญั ทางสถิติ เม่ือเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มพบว่าคะแนนของท้ัง 2 กลุ่ม ไม่แตกตา่ งกัน ในขณะเดียวกันคะแนนด้านทศั นคติของท้งั 2 กลุ่ม ไม่แตกต่างกัน
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120