ก
คำนำ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ ไดจ้ ัดทาหลักสูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ ฉบับน้ี ซง่ึ เป็นเอกสารประกอบหลกั สูตร สถานศึกษา โรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑และสาระการเรียนรู้ท้องถ่ิน เพ่ือเป็นเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และกระบวนการจัดการ เรียนรู้ เพื่อเป็นกรอบและทิศทางในการจัดการเรียนการสอน ให้ตรงตามมาตรฐานตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้ ของกลุ่ม สาระการเรียนรู้ศิลปะ โดยพิจารณาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) หลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรยี นชมุ ชนประชาธปิ ตั ย์วิทยาคาร พุทธศักราช ๒๕๖๕ ซง่ึ มอี งคป์ ระกอบ ดงั นี้ - วสิ ยั ทศั น์ หลกั การ จุดหมาย - สมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รยี น - คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ - สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ - คุณภาพผู้เรียน - ตัวชีว้ ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง - รายวชิ าท่ีเปิด - คาอธิบายรายวชิ า - ส่อื /แหลง่ เรยี นรู้ - การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ คณะผู้จัดทาขอขอบคุณผู้ท่ีมีส่วนร่วมในการพัฒนาและจัดทาหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ฉบับน้ี จนสาเร็จลุลว่ งเป็นอยา่ งดี และหวงั เป็นอยา่ งย่ิงวา่ จะเกิดประโยชน์ตอ่ การจดั การเรียนรใู้ หก้ บั ผเู้ รียนต่อไป กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ โรงเรียนชมุ ชนประชาธปิ ตั ยว์ ทิ ยาคาร
สำรบญั ข คานา หนำ้ สารบญั ก วสิ ัยทศั น์ ข พนั ธกจิ ๑ จุดหมาย ๑ สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน ๑ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ๑ ทาไมต้องเรียนศิลปะ ๒ เรียนรู้อะไรในศลิ ปะ ๓ สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ ๓ ทกั ษะกระบวนการทางศลิ ปะ ๔ คณุ ภาพของผูเ้ รยี น ๔ ตัวช้ีวดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง ๕ สาระการเรียนรทู้ ้องถน่ิ ๙ รายวชิ าที่เปิดสอน ๓๗ โครงสร้างเวลาเรยี น ๔๖ คาอธิบายรายวิชา ๔๗ สื่อและแหล่งเรยี นรู้ ๔๘ การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ศิลปะ ๐๐ อภธิ านศพั ท์ ๐๐ ภำคผนวก ๐๐ คณะผู้จดั ทา ๑๑๑ บรรณานกุ รม ๑๑๐
๑ วสิ ัยทศั น์ กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ มงุ่ พัฒนาให้ผูเ้ รียนเกิดทักษะกระบวนการ มคี วามคดิ ริเร่ิมสรา้ งสรรค์ มีสมาธิ กล้า แสดงออกอย่างอสิ ระ มสี นุ ทรยี ภาพ เห็นคุณคา่ ชนื่ ชมในงานศลิ ปะ และรักษา สบื สาน ภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ อันเป็นรากฐาน ทางศิลปวัฒนธรรมของไทย ตามแนวทางของหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง พนั ธกจิ หลกั กำร หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนชมุ ชนประชาธิปตั ย์วทิ ยาคาร สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ มีหลักการสาคญั ดังน้ี ๑. เป็นหลักสูตรท่ีจัดการเรียนรู้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และ สัมพันธก์ บั บริบทของท้องถิน่ ให้ผู้เรยี นได้ปฏบิ ตั ิจรงิ โดยเน้นทักษะกระบวนการ ๒. เป็นหลักสูตรที่พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ ให้ผู้เรียนเกิดความกล้าแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และนาฏศิลป์ อยา่ งมน่ั ใจ และมีความสุข รวมถึงชน่ื ชมผลงานศิลปะ ดนตรี และนาฏศิลปข์ องผูอ้ ื่น ๓. เปน็ หลักสูตรส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นเหน็ คณุ ค่าของงานศิลปะ ดนตรี และนาฏศิลปใ์ นทอ้ งถิน่ สืบสาน รักษา และต่อ ยอดใหย้ ัง่ ยนื ตามแนวทางของหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง จดุ หมำย หลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ มุง่ พฒั นาใหผ้ ู้เรียนเกดิ ความรคู้ วามเข้าใจ มีทักษะวิธกี ารทางศิลปะ เกดิ ความ ซาบซง้ึ ในคณุ คา่ ของศลิ ปะ เปดิ โอกาสใหผ้ ้เู รยี นแสดงออกอยา่ งอสิ ระในศิลปะแขนงต่าง ๆ ประกอบดว้ ยสาระสาคญั คอื • ทัศนศิลป์ มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบศิลป์ ทัศนธาตุ สร้างและนาเสนอผลงาน ทางทัศนศิลป์จาก จินตนาการ โดยสามารถใช้อุปกรณ์ท่ีเหมาะสม รวมท้ังสามารถใช้เทคนิค วิธีการ ของศิลปินในการสร้างงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และ วฒั นธรรม เห็นคณุ คา่ งานศิลปะทเ่ี ป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภมู ิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล ช่ืนชม ประยุกต์ใช้ ในชีวติ ประจาวนั • ดนตรี มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบดนตรีแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์วิพากษ์ วิจารณ์ คณุ คา่ ดนตรี ถ่ายทอดความรู้สกึ ทางดนตรีอยา่ งอสิ ระ ชนื่ ชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน เข้าใจความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง ดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าดนตรี ท่ีเปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และ สากล รอ้ งเพลง และเล่นดนตรี ในรปู แบบตา่ งๆ แสดงความคดิ เหน็ เกยี่ วกับเสียงดนตรี แสดงความรู้สึกท่ีมีต่อดนตรีในเชิง สุนทรียะ เข้าใจความสัมพันธ์ระหวา่ งดนตรกี ับประเพณีวฒั นธรรม และเหตกุ ารณ์ในประวตั ศิ าสตร์ • นาฏศิลป์ มีความรู้ความเข้าใจองคป์ ระกอบนาฏศลิ ป์ แสดงออกทางนาฏศลิ ป์ อย่างสรา้ งสรรค์ ใช้ศพั ท์เบื้องต้น ทางนาฏศิลป์ วิเคราะห์วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึกความคิดอย่างอิสระ สรา้ งสรรคก์ ารเคล่ือนไหว ในรูปแบบต่าง ๆ ประยุกต์ใชน้ าฏศิลป์ ในชีวติ ประจาวันเข้าใจความสัมพันธร์ ะหวา่ งนาฏศิลป์กับประวตั ศิ าสตร์ วัฒนธรรม เห็นคุณค่า ของนาฏศิลป์ทเ่ี ปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่ิน ภมู ปิ ัญญาไทย และสากล สมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ ซ่ึงการพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุ มาตรฐานการเรยี นรทู้ กี่ าหนดนนั้ จะชว่ ยให้ผเู้ รยี นเกดิ สมรรถนะสาคญั ๕ ประการ ดงั น้ี ๑. ความสามารถในการส่ือสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับ
๒ ขอ้ มูลข่าวสารด้วยหลกั เหตผุ ลและความถกู ต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการส่อื สารที่มปี ระสิทธิภาพโดยคานงึ ถงึ ผลกระทบ ทมี่ ีตอ่ ตนเองและสังคม ๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ การคิดสงั เคราะห์ การคิดอย่างสรา้ งสรรค์ การคดิ อยา่ งมี วิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ เพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและ สังคมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ๓. ความสามารถในการแก้ปญั หา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอปุ สรรคต่าง ๆ ที่เผชิญไดอ้ ย่างถูกตอ้ งเหมาะสม บนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการปูองกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจท่ีมีประสิทธิภาพโดย คานึงถงึ ผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ ต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดลอ้ ม ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวัน การเรยี นรู้ด้วยตนเอง การเรียนรอู้ ยา่ งต่อเนอ่ื ง การทางาน และการอยู่รว่ มกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อัน ดรี ะหวา่ งบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสมการปรับตัวให้ทันกบั การเปลย่ี นแปลงของสงั คม และความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกบั การเปลี่ยนแปลงของสงั คมและสภาพแวดล้อม และการรู้จัก หลกี เล่ยี งพฤตกิ รรมไม่พงึ ประสงค์ท่ีสง่ ผลกระทบต่อตนเองและผู้อ่นื ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลอื กและใช้เทคโนโลยีด้านต่างๆ และมีทักษะกระบวนการ ทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้การส่ือสาร การทางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกตอ้ งเหมาะสมและมคี ุณธรรม คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ม่งุ พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ เพ่ือใหส้ ามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนใน สงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้ ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ๒. ซ่ือสัตย์สจุ รติ ๓. มวี ินยั ๔. ใฝ่เรยี นรู้ ๕. อยู่อย่างพอเพยี ง ๖. มงุ่ มั่นในการทางาน ๗. รกั ความเปน็ ไทย ๘. มีจิตสาธารณะ
๓ ทำไมต้องเรยี นศิลปะ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะเป็นกลุ่มสาระที่ช่วยพัฒนาใหผ้ ูเ้ รียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีจนิ ตนาการทางศิลปะ ช่ืนชมความงาม มีสุนทรียภาพ ความมีคุณค่า ซึ่งมีผลต่อคุณภาพชีวิตมนุษย์ กิจกรรมทางศิลปะช่วยพัฒนาผู้เรียนทั้งด้าน ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม ตลอดจน การนาไปสู่การพัฒนาส่ิงแวดล้อม ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความเชื่อม่ันใน ตนเอง อนั เปน็ พ้ืนฐาน ในการศึกษาต่อหรอื ประกอบอาชพี ได้ เรยี นรอู้ ะไรในศลิ ปะ กลมุ่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะมุ่งพฒั นาให้ผู้เรียนเกดิ ความร้คู วามเขา้ ใจ มีทกั ษะวธิ ีการทางศิลปะ เกดิ ความซาบซง้ึ ใน คุณคา่ ของศลิ ปะ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสดงออกอยา่ งอสิ ระในศิลปะแขนงตา่ ง ๆ ประกอบด้วยสาระสาคัญ คือ • ทัศนศิลป์ มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบศิลป์ ทัศนธาตุ สร้างและนาเสนอผลงาน ทางทัศนศิลป์จาก จินตนาการ โดยสามารถใช้อุปกรณ์ท่ีเหมาะสม รวมทั้งสามารถใช้เทคนิค วิธีการ ของศิลปินในการสร้างงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และ วัฒนธรรม เหน็ คุณค่างานศิลปะที่เป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมปิ ัญญาท้องถิน่ ภมู ิปญั ญาไทยและสากล ชน่ื ชม ประยุกต์ใช้ ในชวี ิตประจาวนั • ดนตรี มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบดนตรีแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คณุ ค่าดนตรี ถา่ ยทอดความรู้สึก ทางดนตรีอย่างอสิ ระ ชื่นชมและประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจาวนั เข้าใจความสัมพนั ธ์ระหว่าง ดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าดนตรี ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และ สากล ร้องเพลง และเลน่ ดนตรี ในรูปแบบต่าง ๆ แสดงความคดิ เห็นเกย่ี วกับเสียงดนตรี แสดงความรสู้ ึกทม่ี ีต่อดนตรใี นเชิง สนุ ทรยี ะ เข้าใจความสมั พันธร์ ะหว่างดนตรกี บั ประเพณวี ฒั นธรรม และเหตุการณใ์ นประวัติศาสตร์ • นำฏศิลป์ มีความร้คู วามเข้าใจองคป์ ระกอบนาฏศิลป์ แสดงออกทางนาฏศิลป์ อย่างสร้างสรรค์ ใช้ศัพทเ์ บื้องต้น ทางนาฏศิลป์ วิเคราะห์วิพากษ์ วิจารณ์คณุ คา่ นาฏศลิ ป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอสิ ระ สร้างสรรคก์ ารเคลื่อนไหว ในรูปแบบต่าง ๆ ประยุกตใ์ ช้นาฏศิลป์ ในชวี ิตประจาวัน เข้าใจความสัมพันธร์ ะหว่างนาฏศิลปก์ ับประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม เหน็ คณุ คา่ ของนาฏศิลป์ทเี่ ปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภูมปิ ญั ญาท้องถ่นิ ภูมิปญั ญาไทย และสากล
๔ สำระและมำตรฐำนกำรเรียนรู้ กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้ศิลปะ สำระท่ี ๑ ทศั นศิลป์ มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ช่ืนชม และประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวัน มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่างาน ทัศนศิลปท์ เ่ี ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ัญญาท้องถิ่น ภูมิปญั ญาไทย และสากล สำระท่ี ๒ ดนตรี มาตรฐาน ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์วิจารณค์ ุณค่าดนตรี ถา่ ยทอดความรู้สึก ความคดิ ต่อดนตรอี ย่างอิสระ ชื่นชม และประยกุ ต์ใช้ ในชีวติ ประจาวนั มาตรฐาน ศ ๒.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคณุ ค่าของดนตรี ทเี่ ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถนิ่ ภมู ิปัญญาไทยและสากล สำระท่ี ๓ นำฏศิลป์ มาตรฐาน ศ ๓.๑ เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่า นาฏศลิ ป์ถา่ ยทอดความรู้สกึ ความคิดอยา่ งอสิ ระ ช่ืนชม และประยุกต์ใช้ ในชีวติ ประจาวนั มาตรฐาน ศ ๓.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า ของ นาฏศิลปท์ เี่ ป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภมู ิปญั ญาท้องถ่ิน ภมู ปิ ญั ญาไทยและสากล ทักษะและกระบวนกำรทำงศิลปะ ทักษะและกระบวนการทางศิลปะเป็นความสามารถที่มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ มีทักษะวิธีการ ทางศิลปะ เกิดความซาบซ้ึงในคุณคา่ ของศิลปะ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสดงออกอย่างอิสระในศิลปะแขนงต่าง ๆ นาความรู้ ไปประยุกตใ์ ช้ในการเรยี นร้สู ่ิงต่างๆ และประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ประจาวนั ได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ เพื่อให้ได้มาซ่ึงความรู้ ทักษะ และกระบวนการทางศลิ ปะในท่นี ้ี เนน้ ทที่ ักษะและกระบวนการทางศลิ ปะที่จาเป็น และต้องการพัฒนาให้เกิดขึน้ กับผูเ้ รยี น ไดแ้ กค่ วามสามารถตอ่ ไปนี้ ๑. การคิดสร้างสรรค์ กระบวนการคิดของสมอง ซึ่งมีความสามารถในการคิดได้หลากหลายและแปลกใหม่ จากเดิม โดยสามารถนาไปประยุกต์ทฤษฎี หรือหลักการได้อย่างรอบคอบและมีความถูกต้อง จนนาไปสู่การคิดค้น และสรา้ งสงิ่ แปลกใหมไ่ ด้ ๒. กระบวนการปฏิบัติ เป็นกระบวนการให้ผู้เรียนฝึกฝน มักใช้กับการจัดการเรียนรู้ประสบการณ์ด้านทักษะ ไดแ้ ก่ สงั เกต และรบั รู้ ทาตามแบบ ทาเองโดยไมม่ ีแบบ และฝึกให้เกดิ ความชานาญ ๓. กระบวนการสร้างค่านิยม ค่านิยม เป็นส่วนหน่ึงของคุณธรรมที่ต้องเน้นคล้ายเจตคติ แต่ค่านิยมเป็นการ ยอมรับและนาไปปฏิบัติ ได้แก่ สังเกตและตระหนัก การวเิ คราะห์ การเลือกกาหนดเป็นค่านิยมเหน็ คุณค่า และนาไปปฏบิ ัติ ๔. การแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการทาความเข้าใจปัญหา คิดวิเคราะห์ วางแผนแก้ปัญหาและเลือกใช้ วธิ กี ารทีเ่ หมาะสม
๕ คณุ ภำพของผู้เรียนกลุ่มสำระกำรเรียนรูศ้ ลิ ปะ คณุ ภำพผเู้ รียน จบช้นั ประถมศึกษำปที ี่ ๓ รู้และเข้าใจเกี่ยวกับรูปร่าง รูปทรง และจาแนกทัศนธาตุของส่ิงต่าง ๆ ในธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและงาน ทัศนศิลป์ มีทักษะพื้นฐานการใช้วัสดุอุปกรณ์ในการสร้างงานวาดภาพระบายสี โดยใช้เส้น รูปร่าง รูปทรง สี และพื้นผิว ภาพปะติด และงานป้ัน งานโครงสร้างเคลื่อนไหวอย่างงา่ ย ๆ ถา่ ยทอดความคิด ความรู้สึกจากเรื่องราว เหตุการณ์ ชีวิตจริง สร้างงานทศั นศลิ ป์ตามท่ีตนชนื่ ชอบ สามารถแสดงเหตผุ ลและวิธกี ารในการปรับปรุงงานของตนเอง รแู้ ละเข้าใจความสาคัญของงานทศั นศิลป์ในชีวิตประจาวัน ที่มาของงานทัศนศิลป์ ในท้องถ่ิน ตลอดจนการ ใช้วัสดุ อปุ กรณ์ และวธิ ีการสร้างงานทศั นศิลป์ในท้องถ่ิน รแู้ ละเขา้ ใจแหลง่ กาเนิดเสียง คณุ สมบตั ิของเสยี ง บทบาทหน้าท่ี ความหมาย ความสาคัญของบทเพลงใกล้ตัว ที่ได้ยิน สามารถท่องบทกลอน ร้องเพลง เคาะจังหวะ เคลื่อนไหวร่างกาย ให้สอดคล้องกับบทเพลง อ่าน เขียน และใช้ สัญลักษณ์แทนเสียงและเคาะจังหวะ แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับดนตรี เสียงขับร้องของตนเอง มีส่วนร่วมกับกิจกรรม ดนตรใี นชวี ิตประจาวัน รู้และเข้าใจเอกลักษณ์ของดนตรีในท้องถิ่น มีความชื่นชอบ เห็นความสาคัญและประโยชน์ของดนตรีต่อการ ดาเนินชวี ิตของคนในท้องถนิ่ สร้างสรรค์การเคล่ือนไหวในรูปแบบต่าง ๆ สามารถแสดงท่าทางประกอบจังหวะเพลงตามรูปแบบนาฏศิลป์ มมี ารยาทในการชมการแสดง รู้หนา้ ท่ีของผู้แสดงและผู้ชม รู้ประโยชน์ ของการแสดงนาฏศิลป์ในชีวิตประจาวัน เข้าร่วม กจิ กรรมการแสดงทเ่ี หมาะสมกับวยั รู้และเข้าใจการละเล่นของเด็กไทยและนาฏศิลป์ท้องถ่ิน ช่ืนชอบและภาคภูมิใจ ในการละเล่นพ้ืนบ้าน สามารถเช่ือมโยงส่ิงท่ีพบเห็นในการละเล่นพ้ืนบ้านกับการดารงชีวิต ของคนไทย บอกลักษณะเด่นและเอกลักษณ์ของ นาฏศิลป์ไทยตลอดจนความสาคัญของการแสดงนาฏศิลปไ์ ทยได้
๖ จบชั้นประถมศึกษำปที ี่ ๖ รู้และเข้าใจการใช้ทัศนธาตุ รูปร่าง รูปทรง พื้นผิว สี แสงเงา มีทักษะพ้ืนฐานในการใช้วัสดุอุปกรณ์ ถ่ายทอดความคดิ อารมณ์ ความรู้สึก สามารถใช้หลักการจัดขนาด สดั ส่วน ความสมดุล น้าหนัก แสงเงา ตลอดจน การใช้สคี ูต่ รงขา้ มท่ีเหมาะสมในการสร้างงานทัศนศลิ ป์ ๒ มติ ิ ๓ มติ ิ เช่น งานสือ่ ผสม งานวาดภาพระบายสี งานป้ัน งานพิมพ์ภาพ รวมท้ังสามารถ สร้างแผนภาพ แผนผัง และภาพประกอบเพื่อถ่ายทอดความคิดจินตนาการเป็น เร่ืองราวเก่ียวกับเหตุการณ์ต่าง ๆ และสามารถเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างงานทัศนศิลป์ท่ีสร้างสรรค์ ด้วย วัสดุอุปกรณ์และวิธีการทแ่ี ตกต่างกัน เข้าใจปัญหาในการจัดองคป์ ระกอบศิลป์ หลักการลด และเพิม่ ในงานป้ัน การ สอื่ ความหมายในงานทัศนศิลปข์ องตน รู้วธิ กี ารปรับปรุงงานให้ดขี ึ้น ตลอดจน รู้และเข้าใจคุณค่าของงานทัศนศลิ ป์ท่ี มผี ลต่อชวี ิตของคนในสังคม รู้และเข้าใจบทบาทของงานทัศนศิลป์ท่ีสะท้อนชีวิตและสังคม อิทธิพลของความเช่ือ ความศรัทธา ใน ศาสนา และวฒั นธรรมทีม่ ผี ลตอ่ การสร้างงานทัศนศลิ ป์ในทอ้ งถิน่ รู้และเข้าใจเกี่ยวกับเสียงดนตรี เสียงร้อง เครื่องดนตรี และบทบาทหน้าที่ รู้ถึงการเคล่ือนที่ข้ึน ลง ของ ทานองเพลง องคป์ ระกอบของดนตรี ศัพท์สงั คตี ในบทเพลง ประโยค และอารมณ์ของบทเพลงท่ีฟงั ร้องและบรรเลง เคร่ืองดนตรี ด้นสดอย่างงา่ ย ใช้และเก็บรักษา เคร่ืองดนตรีอย่างถกู วิธี อ่าน เขียนโน้ตไทยและสากลในรูปแบบตา่ ง ๆ รู้ลักษณะของผู้ที่จะเล่นดนตรีได้ดี แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับองค์ประกอบดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึกของบทเพลงท่ี ฟัง สามารถใชด้ นตรีประกอบกิจกรรมทางนาฏศลิ ปแ์ ละ การเล่าเรอื่ ง รู้และเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีกับวิถีชีวิต ประเพณี วัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมต่าง ๆ เร่ืองราวดนตรีในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของวัฒนธรรมต่อดนตรี รู้คุณค่าดนตรีท่ีมาจากวัฒนธรรมต่างกัน เห็น ความสาคัญในการอนรุ ักษ์ รู้และเข้าใจองค์ประกอบนาฏศิลป์ สามารถแสดงภาษาทา่ นาฏยศพั ทพ์ ้ืนฐาน สร้างสรรค์การเคล่อื นไหว และการแสดงนาฏศิลป์ และการละครง่าย ๆ ถ่ายทอดลีลาหรืออารมณ์ และสามารถออกแบบเคร่ืองแต่งกายหรือ อุปกรณ์ประกอบการแสดงง่าย ๆ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์และการละครกับส่ิงที่ประสบใน ชีวติ ประจาวนั แสดงความคิดเห็นในการชมการแสดง และบรรยายความรู้สกึ ของตนเองทม่ี ีต่องานนาฏศลิ ป์ รู้และเข้าใจความสัมพันธ์และประโยชน์ของนาฏศิลป์และการละคร สามารถเปรียบเทียบการแสดง ประเภทต่าง ๆ ของไทยในแต่ละทอ้ งถิน่ และสิง่ ที่การแสดงสะท้อนวัฒนธรรมประเพณี เห็นคณุ ค่าการรักษาและสืบ ทอดการแสดงนาฏศิลป์ไทย
๗ จบช้ันมัธยมศกึ ษำปที ่ี ๓ • รู้และเข้าใจเร่ืองทัศนธาตุ และหลักการออกแบบ และเทคนิคท่ีหลากหลายในการ สร้างงานทัศนศิลป์ ๒ มิติ และ ๓ มิติ เพื่อสื่อความหมายและเรื่องราวต่าง ๆ ได้อย่างมีคุณภาพ วิเคราะห์รูปแบบเนื้อหาและประเมินคุณค่างาน ทัศนศิลป์ของตนเองและผู้อื่น สามารถเลือกงานทัศนศิลป์โดยใช้เกณฑ์ท่ีกาหนดข้ึนอย่างเหมาะสม สามารถออกแบบ รูปภาพ สญั ลักษณ์ กราฟกิ ในการนาเสนอข้อมลู และมคี วามรู้ ทกั ษะท่จี าเปน็ ด้านอาชีพท่ีเกีย่ วข้องกันกับงานทัศนศิลป์ • รู้และเข้าใจการเปลย่ี นแปลงและพฒั นาการของงานทัศนศลิ ป์ของชาติและท้องถ่ิน แต่ละยุคสมัย เห็นคณุ ค่างาน ทศั นศิลป์ท่สี ะท้อนวัฒนธรรมและสามารถเปรียบเทยี บงานทศั นศิลป์ ทมี่ าจากยคุ สมัยและวัฒนธรรมตา่ ง ๆ • รู้และเข้าใจถึงความแตกต่างทางด้านเสียง องค์ประกอบ อารมณ์ ความรู้สึก ของบทเพลงจากวัฒนธรรมต่าง ๆ มที ักษะในการร้อง บรรเลงเคร่ืองดนตรี ทงั้ เดี่ยวและเป็นวงโดยเนน้ เทคนิคการรอ้ งบรรเลงอย่างมีคุณภาพ มีทักษะในการ สร้างสรรค์บทเพลงอย่างง่าย อ่านเขียนโน้ต ในบันไดเสียงท่ีมีเครื่องหมาย แปลงเสียงเบ้ืองต้นได้ รู้และเข้าใจถึงปัจจัยที่มี ผลต่อรูปแบบของผลงานทางดนตรี องคป์ ระกอบของผลงานดา้ นดนตรีกับศิลปะแขนงอื่น แสดงความคิดเห็นและบรรยาย อารมณ์ความรู้สึกท่ีมีต่อบทเพลง สามารถนาเสนอบทเพลงทชี่ ื่นชอบได้อย่างมเี หตุผล มีทักษะในการประเมินคุณภาพของ บทเพลงและการแสดงดนตรี รู้ถึงอาชพี ต่าง ๆ ทีเ่ กย่ี วข้องกับดนตรีและบทบาทของดนตรีในธุรกิจบันเทิง เข้าใจถึงอิทธิพล ของดนตรที ี่มตี ่อบุคคลและสังคม • รแู้ ละเข้าใจท่ีมา ความสัมพันธ์ อิทธพิ ลและบทบาทของดนตรีแตล่ ะวัฒนธรรมในยุคสมัยต่าง ๆ วิเคราะห์ปัจจัย ที่ทาให้งานดนตรไี ด้รับการยอมรบั • รู้และเข้าใจการใช้นาฏยศพั ท์หรอื ศัพท์ทางการละครในการแปลความและส่ือสาร ผ่านการแสดง รวมทัง้ พัฒนา รูปแบบการแสดง สามารถใช้เกณฑ์ง่าย ๆ ในการพิจารณาคุณภาพ การแสดง วิจารณ์เปรียบเทียบงานนาฏศิลป์ โดยใช้ ความรเู้ รื่ององคป์ ระกอบทางนาฏศลิ ป์ ร่วมจดั การแสดง นาแนวคิดของการแสดงไปปรบั ใชใ้ นชวี ิตประจาวนั • รู้และเข้าใจประเภทละครไทยในแต่ละยุคสมัย ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง ของนาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์ พื้นบ้าน ละครไทย และละครพ้ืนบ้าน เปรียบเทียบลักษณะเฉพาะ ของการแสดงนาฏศิลป์จากวัฒนธรรมต่าง ๆ รวมท้ัง สามารถออกแบบและสร้างสรรค์อุปกรณ์ เครื่องแต่งกายในการแสดงนาฏศิลป์และละคร มีความเข้าใจ ความสาคัญ บทบาทของนาฏศิลป์ และละครในชีวติ ประจาวนั
๘ จบช้นั มธั ยมศึกษำปที ่ี ๖ • รแู้ ละเข้าใจเกี่ยวกับทศั นธาตแุ ละหลักการออกแบบในการส่ือความหมาย สามารถใช้ศพั ทท์ างทศั นศิลป์ อธบิ าย จุดประสงค์และเน้ือหาของงานทัศนศิลป์ มีทักษะและเทคนิคในการใช้วัสดุ อุปกรณ์และกระบวนการท่ีสูงขึ้นในการสร้าง งานทัศนศิลป์ วิเคราะห์เนื้อหาและแนวคิด เทคนิควิธีการ การแสดงออกของศิลปินท้ังไทยและสากล ตลอดจนการใช้ เทคโนโลยีต่าง ๆ ในการออกแบบสร้างสรรค์งานท่ีเหมาะสมกับโอกาส สถานที่ รวมท้ังแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับสภาพ สงั คมด้วยภาพล้อเลยี นหรือการต์ นู ตลอดจนประเมนิ และวจิ ารณ์คณุ ค่างานทัศนศิลป์ดว้ ยหลักทฤษฎวี จิ ารณ์ศลิ ปะ • วิเคราะห์เปรียบเทียบงานทัศนศิลป์ในรูปแบบตะวันออกและรูปแบบตะวันตก เข้าใจอิทธิพลของมรดกทาง วฒั นธรรมภมู ิปญั ญาระหว่างประเทศทม่ี ีผลตอ่ การสร้างสรรค์ งานทศั นศิลป์ในสงั คม • รู้และเข้าใจรูปแบบบทเพลงและวงดนตรีแต่ละประเภท และจาแนกรูปแบบ ของวงดนตรีทั้งไทยและสากล เข้าใจอิทธิพลของวัฒนธรรมต่อการสร้างสรรค์ดนตรี เปรียบเทียบอารมณ์และความรู้สึกที่ได้รับจากดนตรีท่ีมาจาก วฒั นธรรมต่างกัน อา่ น เขียน โน้ตดนตรีไทยและสากล ในอัตราจังหวะต่าง ๆ มีทักษะในการร้องเพลงหรือเล่นดนตรีเดี่ยว และรวมวงโดยเน้นเทคนิค การแสดงออกและคณุ ภาพของการแสดง สรา้ งเกณฑ์สาหรบั ประเมินคุณภาพการประพันธ์ การ เล่นดนตรขี องตนเองและผอู้ นื่ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม สามารถนาดนตรไี ประยกุ ต์ใชใ้ นงานอน่ื ๆ • วิเคราะห์ เปรียบเทียบรูปแบบ ลักษณะเด่นของดนตรีไทยและสากลในวัฒนธรรมต่าง ๆ เข้าใจบทบาทของ ดนตรีท่สี ะท้อนแนวความคิดและคา่ นยิ มของคนในสงั คม สถานะทางสงั คม ของนักดนตรีในวัฒนธรรมต่าง ๆ สรา้ งแนวทาง และมีส่วนร่วมในการสง่ เสริมและอนรุ กั ษด์ นตรี • มีทักษะในการแสดงหลากหลายรูปแบบ มีความคิดริเร่ิมในการแสดงนาฏศิลป์เป็นคู่ และเป็นหมู่ สร้างสรรค์ ละครสั้นในรูปแบบท่ชี ื่นชอบ สามารถวิเคราะห์แก่นของการแสดงนาฏศิลปแ์ ละละครทต่ี อ้ งการสื่อความหมายในการแสดง อิทธิพลของเครื่องแต่งกาย แสง สี เสียง ฉาก อุปกรณ์ และสถานท่ีที่มีผลต่อการแสดง วิจารณ์การแสดงนาฏศิลป์และ ละคร พัฒนาและใช้เกณฑ์การประเมินในการประเมินการแสดง และสามารถวิเคราะห์ท่าทางการเคลื่อนไหวของผู้คนใน ชีวติ ประจาวัน และนามาประยุกตใ์ ช้ในการแสดง • เข้าใจวิวัฒนาการของนาฏศิลป์และการแสดงละครไทย และบทบาทของบุคคลสาคัญ ในวงการนาฏศิลป์และ การละครของประเทศไทยในยุคสมัยต่าง ๆ สามารถเปรียบเทียบ การนาการแสดงไปใช้ในโอกาสตา่ ง ๆ และเสนอแนวคิด ในการอนรุ ักษ์นาฏศลิ ป์ไทย
๙ ตัวช้ีวัดและสำระกำรเรียนรู้แกนกลำงกำรศึกษำขั้นพนื้ ฐำน ๒๕๕๑ กลุ่มสำระกำรเรียนร้ศู ลิ ปะ สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์ มาตรฐาน ศ ๑.๑ สรา้ งสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจนิ ตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์วจิ ารณ์ คุณคา่ งานทัศนศิลป์ ถา่ ยทอดความรสู้ ึก ความคิดต่องานศลิ ปะอยา่ งอสิ ระ ชนื่ ชม และประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจาวนั ชั้น ตัวชีว้ ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป.๑ ๑. อภิปรายเก่ียวกบั รปู รา่ ง ลักษณะ รูปร่าง ลักษณะ และขนาดของสิ่งต่าง ๆ รอบตัว และขนาดของสิง่ ตา่ ง ๆ รอบตวั ในธรรมชาตแิ ละสิ่งทมี่ นุษยส์ ร้างขึ้น ในธรรมชาตแิ ละส่ิงท่ีมนุษยส์ ร้างขึน้ ๒. บอกความรูส้ กึ ที่มตี อ่ ธรรมชาติ ความรสู้ กึ ทมี่ ีตอ่ ธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ มรอบตวั และสง่ิ แวดลอ้ มรอบตวั เชน่ รูส้ กึ ประทับใจกบั ความงาม ของบริเวณรอบอาคาร เรียน หรอื รู้สึกถงึ ความไม่เป็นระเบยี บ ของสภาพภายใน หอ้ งเรยี น ๓. มีทักษะพ้นื ฐานในการใช้วสั ดุ การใช้วัสดุ อุปกรณ์ เช่น ดินเหนยี ว ดินนา้ มัน อุปกรณส์ รา้ งงานทัศนศลิ ป์ ดินสอ พู่กัน กระดาษ สเี ทียน สนี ้า ดนิ สอสสี รา้ งงาน ทัศนศลิ ป์ ๔. สร้างงานทัศนศิลปโ์ ดยการ การทดลองสดี ว้ ยการใชส้ นี ้า,สโี ปสเตอร์ สีเทียน ทดลองใช้สี ดว้ ยเทคนิคงา่ ย ๆ และสจี ากธรรมชาติท่ีหาไดใ้ นท้องถ่นิ ๕. วาดภาพระบายสภี าพธรรมชาติ การวาดภาพระบายสีตามความรู้สกึ ของตนเอง ตามความรู้สกึ ของตนเอง ป.๒ ๑. บรรยายรูปรา่ ง รปู ทรงท่ีพบใน รูปร่าง รปู ทรงในธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม เชน่ ธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม รปู กลม รี สามเหลยี่ ม สี่เหลย่ี ม และกระบอก ๒. ระบทุ ศั นธาตุที่อยู่ในส่งิ แวดลอ้ ม เส้น สี รูปรา่ ง รปู ทรงในสง่ิ แวดล้อม และงาน และงานทัศนศลิ ป์ โดยเน้นเร่ืองเส้น ทศั นศิลป์ประเภทต่าง ๆ เช่น งานวาด งานป้ัน และงาน สี รปู รา่ ง และรปู ทรง พิมพ์ภาพ ๓. สร้างงานทัศนศลิ ป์ตา่ ง ๆ โดยใช้ เสน้ รูปร่างในงานทศั นศลิ ป์ประเภทตา่ ง ๆ เช่น ทศั นธาตทุ เ่ี น้นเสน้ รูปรา่ ง งานวาด งานปน้ั และงานพิมพ์ภาพ ๔. มีทกั ษะพ้ืนฐานในการใชว้ สั ดุ การใชว้ สั ดุ อุปกรณ์ สร้างงานทศั นศลิ ป์ ๓ มติ ิ อปุ กรณ์ สร้างงานทัศนศิลป์ ๓ มติ ิ ชนั้ ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ๕. สรา้ งภาพปะตดิ โดยการตดั หรือ ภาพปะตดิ จากกระดาษ ฉีกกระดาษ ๖. วาดภาพเพื่อถ่ายทอดเร่ืองราว การวาดภาพถา่ ยทอดเรอื่ งราว เกีย่ วกบั ครอบครวั ของตนเองและเพื่อน บ้าน
๑๐ ๗. เลอื กงานทัศนศลิ ป์ และบรรยาย เน้อื หาเรือ่ งราวในงานทัศนศิลป์ ถึงสิ่งทมี่ องเห็น รวมถึงเน้ือหาเรือ่ งราว ๘. สรา้ งสรรค์งานทัศนศิลปเ์ ป็น งานโครงสรา้ งเคลอื่ นไหว รปู แบบงานโครงสร้างเคลื่อนไหว ป.๓ ๑. บรรยาย รปู ร่าง รูปทรงใน รปู รา่ ง รูปทรงในธรรมชาตสิ ่ิงแวดลอ้ มและงาน ธรรมชาตสิ ง่ิ แวดลอ้ ม และงานทัศนศิลป์ ทัศนศิลป์ ๒. ระบุ วสั ดุ อปุ กรณ์ที่ใชส้ ร้าง วสั ดุ อุปกรณท์ ่ใี ชส้ รา้ งงานทัศนศลิ ปป์ ระเภทงาน ผลงาน วาด งานปน้ั งานพมิ พ์ภาพ เมอื่ ชมงานทัศนศิลป์ ๓. จาแนกทัศนธาตุของส่ิงต่าง ๆ เสน้ สี รูปรา่ ง รปู ทรง พ้ืนผวิ ในธรรมชาติ ในธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและงาน สิ่งแวดลอ้ มและงานทัศนศิลป์ ทัศนศลิ ป์ โดยเนน้ เรอื่ ง เส้น สี รูปรา่ ง รูปทรง และพื้นผิว ๔. วาดภาพ ระบายสสี ง่ิ ของรอบตัว การวาดภาพระบายสสี ่งิ ของรอบตวั ดว้ ยสเี ทยี น ดนิ สอสี และสโี ปสเตอร์ ๕. มีทกั ษะพ้นื ฐาน ในการใช้วัสดุ การใช้วสั ดอุ ปุ กรณ์ในงานปัน้ อปุ กรณส์ ร้างสรรค์งานปัน้ ๖. วาดภาพถา่ ยทอดความคิด การใช้เส้น รปู ร่าง รูปทรง สี และพ้นื ผวิ ความร้สู ึกจากเหตุการณช์ วี ิตจริง โดยใช้ วาดภาพถา่ ยทอดความคดิ ความรสู้ ึก เสน้ รูปรา่ ง รปู ทรง สี และพื้นผวิ ๗. บรรยายเหตุผลและวิธีการใน วัสดุ อปุ กรณ์ เทคนิควิธีการในการสร้างงาน การสรา้ งงานทัศนศิลป์ โดยเนน้ ถึงเทคนิค ทัศนศลิ ป์ และวัสดุ อปุ กรณ์ ๘. ระบุสง่ิ ทชี่ ่นื ชมและสิ่งทค่ี วร การแสดงความคดิ เห็นในงานทศั นศิลป์ของตนเอง ปรับปรงุ ในงานทัศนศลิ ปข์ องตนเอง ๙. ระบุ และจัดกลุม่ ของภาพตาม การจัดกลุ่มของภาพตามทศั นธาตุ ทศั นธาตทุ เี่ น้นในงานทัศนศิลป์นนั้ ๆ ชนั้ ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ๑๐. บรรยายลกั ษณะรปู ร่าง รปู ทรง รูปรา่ ง รปู ทรง ในงานออกแบบ ในงานการออกแบบสง่ิ ต่าง ๆ ท่ีมีในบ้าน และโรงเรียน ป.๔ ๑. เปรยี บเทียบรปู ลักษณะของ รูปร่าง รูปทรง ในธรรมชาติ สิ่งแวดลอ้ มและงาน รปู ร่าง รปู ทรงในธรรมชาติ ส่ิงแวดลอ้ ม ทศั นศลิ ป์ และงานทัศนศิลป์
๑๑ ๒. อภปิ รายเก่ยี วกับอิทธิพลของสี อทิ ธพิ ลของสี วรรณะอุ่น และวรรณะเยน็ วรรณะอ่นุ และสีวรรณะเย็นท่ีมตี ่ออารมณ์ ของมนุษย์ ๓. จาแนกทัศนธาตขุ องสง่ิ ตา่ ง ๆ เส้น สี รปู รา่ ง รปู ทรง พ้นื ผวิ และพื้นท่วี ่าง ในธรรมชาตสิ ง่ิ แวดล้อมและงานทศั นศิลป์ ในธรรมชาตสิ งิ่ แวดลอ้ มและงานทัศนศิลป์ โดยเนน้ เรือ่ งเส้น สี รปู รา่ ง รปู ทรงพ้นื ผิว และพน้ื ที่วา่ ง ๔. มที ักษะพนื้ ฐานในการใชว้ ัสดุ การใชว้ ัสดุ อุปกรณส์ รา้ งงานพิมพภ์ าพ อปุ กรณ์สร้างสรรคง์ านพิมพ์ภาพ ๕. มที ักษะพนื้ ฐานในการใช้วัสดุ การใชว้ ัสดุ อปุ กรณใ์ นการวาดภาพระบายสี อปุ กรณ์สรา้ งสรรคง์ านวาดภาพระบายสี ๖. บรรยายลกั ษณะของภาพโดยเน้น เร่ือง การจดั ระยะความลึก นา้ หนกั และแสงเงา การจัดระยะ ความลึก นา้ หนักและแสงเงา ในการวาดภาพ ในภาพ ๗. วาดภาพระบายสี โดยใชส้ วี รรณะ การใช้สีวรรณะอุ่นและใชส้ วี รรณะเย็น วาด อนุ่ และสวี รรณะเยน็ ถา่ ยทอดความรู้สึก ภาพถา่ ยทอดความรู้สกึ และจินตนาการ และจินตนาการ ๘. เปรยี บเทียบความคดิ ความรสู้ ึก ความเหมือนและความแตกตา่ งในงานทัศนศิลป์ ทีถ่ า่ ยทอดผ่านงานทัศนศิลป์ของตนเอง ความคดิ ความรู้สึกท่ีถา่ ยทอดในงานทศั นศลิ ป์ และบคุ คลอืน่ ๙. เลอื กใช้วรรณะสเี พื่อถา่ ยทอด การเลอื กใชว้ รรณะสีเพ่ือถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึก อารมณ์ ความรู้สึกในการสรา้ งงาน ทัศนศิลป์ ชน้ั ตวั ช้วี ดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง ป.๕ ๑. บรรยายเก่ยี วกับจังหวะตาแหน่ง จงั หวะ ตาแหน่งของสง่ิ ต่าง ๆ ในสิง่ แวดล้อมและ ของสิง่ ต่าง ๆ ที่ปรากฏในสงิ่ แวดลอ้ ม งานทัศนศิลป์ และงานทัศนศลิ ป์ ๒. เปรียบเทยี บความแตกต่าง ความแตกต่างระหวา่ งงานทัศนศิลป์ ระหวา่ งงานทัศนศิลป์ ทส่ี ร้างสรรค์ดว้ ย วสั ดอุ ุปกรณแ์ ละวิธกี ารทต่ี า่ งกัน ๓. วาดภาพ โดยใช้เทคนิคของแสงเงา แสงเงา น้าหนัก และวรรณะสี นา้ หนกั และวรรณะสี ๔. สรา้ งสรรคง์ านปนั้ จาก ดนิ นา้ มนั การสร้างงานปน้ั เพื่อถ่ายทอดจินตนาการดว้ ยการ หรือดินเหนียว โดยเนน้ การถ่ายทอด ใช้ดนิ นา้ มันหรือดนิ เหนียว จินตนาการ
๑๒ ๕. สร้างสรรค์งานพมิ พภ์ าพ โดย การจัดภาพในงานพิมพ์ภาพ เน้น การจดั วางตาแหน่งของสิ่งตา่ ง ๆ ใน ภาพ ๖. ระบปุ ญั หาในการจดั การจัดองคป์ ระกอบศลิ ป์และการสื่อความหมาย ในงาน องค์ประกอบศิลป์ ทศั นศลิ ป์ และการสื่อความหมายในงานทศั นศิลป์ ของตนเอง และบอกวิธีการปรบั ปรุงงาน ให้ดขี ึ้น ๗. บรรยายประโยชน์และคณุ ค่า ประโยชน์และคณุ ค่าของงานทัศนศิลป์ ของงานทัศนศลิ ป์ที่มีผลต่อชีวติ ของคน ในสงั คม ป.๖ ๑. ระบุสีคตู่ รงข้าม และอภิปราย วงสีธรรมชาติ และสคี ่ตู รงข้าม เกีย่ วกับการใชส้ ีคตู่ รงขา้ มในการ ถา่ ยทอดความคดิ และอารมณ์ ๒. อธิบายหลกั การจดั ขนาดสัดส่วน หลักการจัดขนาด สัดสว่ นความสมดลุ ในงาน ความสมดุลในการสรา้ งงานทัศนศิลป์ ทศั นศิลป์ ๓. สรา้ งงานทศั นศลิ ป์จากรปู แบบ งานทศั นศลิ ป์รปู แบบ ๒ มิติ และ ๓ มิติ ๒ มิติ เป็น๓ มิติ โดยใช้หลักการ ของแสงเงาและน้าหนัก ๔. สร้างสรรค์งานปั้นโดยใช้ การใชห้ ลักการเพ่ิมและลดในการสร้างสรรคง์ าน หลักการเพ่ิมและลด ปั้น ช้นั ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ๕. สรา้ งสรรค์งานทัศนศลิ ปโ์ ดยใช้ รปู และพ้ืนท่ีว่างในงานทัศนศิลป์ หลักการ ของรูปและพื้นท่วี ่าง ๖. สรา้ งสรรคง์ านทัศนศิลปโ์ ดยใช้ การสรา้ งสรรคง์ านทัศนศิลป์โดยใช้ สี สคี ตู่ รงข้ามหลักการจดั ขนาดสัดสว่ น และ คู่ตรงข้าม หลกั การจัดขนาด สดั ส่วนและความสมดุล ความสมดุล ๗. สรา้ งงานทัศนศิลปเ์ ปน็ แผนภาพ การสรา้ งงานทัศนศิลปเ์ ป็นแผนภาพ แผนผงั แผนผงั และภาพประกอบ เพอื่ ถา่ ยทอด และภาพประกอบ ความคดิ หรือเรื่องราวเกยี่ วกับเหตกุ ารณ์ ตา่ ง ๆ ม.๑ ๑. บรรยายความแตกต่างและความ ความแตกตา่ งและความคลา้ ยคลึงกัน ของ คลา้ ยคลงึ กันของงานทัศนศิลป์ ทศั นธาตุในงานทศั นศิลป์ และส่งิ แวดลอ้ ม และสิง่ แวดล้อมโดยใชค้ วามรเู้ รอ่ื งทศั น ธาตุ
๑๓ ๒. ระบุ และบรรยายหลักการ ความเปน็ เอกภาพ ความกลมกลืน ความสมดลุ ออกแบบงานทัศนศลิ ป์ โดยเนน้ ความเป็น เอกภาพความกลมกลนื และความสมดลุ ๓. วาดภาพทัศนยี ภาพแสดงใหเ้ หน็ หลกั การวาดภาพแสดงทัศนียภาพ ระยะไกลใกล้ เปน็ ๓ มิติ ๔. รวบรวมงานป้นั หรอื สอ่ื ผสมมา เอกภาพความกลมกลืนของเรื่องราวในงานปน้ั สรา้ งเปน็ เรือ่ งราว ๓ มิติโดยเนน้ ความ หรอื งานสื่อผสม เปน็ เอกภาพ ความกลมกลืน และการสื่อ ถึงเร่อื งราวของงาน ๕. ออกแบบรปู ภาพ สัญลักษณ์ การออกแบบรูปภาพ สญั ลกั ษณ์ หรือ หรอื กราฟิกอืน่ ๆ ในการนาเสนอความคิด งานกราฟิก และข้อมลู ๖. ประเมนิ งานทศั นศลิ ป์ และ การประเมินงานทัศนศลิ ป์ บรรยายถงึ วิธกี ารปรับปรงุ งานของตนเอง และผ้อู ื่นโดยใช้เกณฑ์ทก่ี าหนดให้ ชัน้ ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ม.๒ ๑. อภปิ รายเกยี่ วกบั ทัศนธาตุในดา้ น รปู แบบของทศั นธาตุและแนวคิดในงาน รปู แบบ และแนวคดิ ของงานทศั นศลิ ป์ท่ี ทศั นศลิ ป์ เลือกมา ๒. บรรยายเก่ียวกบั ความเหมอื นและ ความเหมอื นและความแตกต่างของรูปแบบการ ความแตกต่างของรูปแบบการใช้วสั ดุ ใช้วสั ดุ อปุ กรณใ์ นงานทัศนศิลป์ ของศิลปิน อปุ กรณ์ในงานทัศนศลิ ป์ของศิลปนิ ๓. วาดภาพด้วยเทคนิคท่หี ลากหลาย เทคนิคในการวาดภาพสื่อความหมาย ในการส่ือความหมายและเรื่องราวตา่ ง ๆ ๔. สรา้ งเกณฑ์ในการประเมิน การประเมนิ และวจิ ารณ์งานทัศนศลิ ป์ และวิจารณ์งานทัศนศิลป์ ๕. นาผลการวจิ ารณไ์ ปปรบั ปรงุ แก้ไข การพัฒนางานทัศนศลิ ป์ และพัฒนางาน การจดั ทาแฟ้มสะสมงานทัศนศลิ ป์ ๖. วาดภาพแสดงบคุ ลิกลกั ษณะ การวาดภาพถ่ายทอดบุคลิกลักษณะ ของตวั ละคร ของตัวละคร ๗. บรรยายวิธกี ารใช้งานทศั นศิลป์ งานทัศนศิลป์ในการโฆษณา ในการโฆษณาเพ่ือโนม้ นา้ วใจ และ นาเสนอตัวอย่างประกอบ
๑๔ ม.๓ ๑. บรรยายสง่ิ แวดลอ้ ม และงาน ทัศนธาตุ หลกั การออกแบบในส่งิ แวดลอ้ มและ ทศั นศลิ ปท์ เี่ ลือกมาโดยใชค้ วามรูเ้ รอ่ื งทัศน งานทศั นศิลป์ ธาตุ และหลกั การออกแบบ ๒. ระบุ และบรรยายเทคนิค วิธกี าร เทคนคิ วิธกี ารของศิลปินในการสร้างงาน ของศิลปนิ ในการสรา้ งงาน ทัศนศิลป์ ทศั นศลิ ป์ ๓. วิเคราะห์ และบรรยายวธิ ีการใช้ วธิ ีการใชท้ ศั นธาตุและหลักการออกแบบในการ ทศั นธาตุ และหลักการออกแบบในการ สร้างงานทศั นศิลป์ สรา้ งงานทัศนศิลป์ของตนเอง ใหม้ คี ุณภาพ ๔. มีทักษะในการสรา้ งงานทศั นศลิ ป์ การสรา้ งงานทัศนศลิ ป์ทั้งไทยและสากล อยา่ งน้อย ๓ ประเภท ชั้น ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ม.๓ ๕. มที กั ษะในการผสมผสานวสั ดุ การใช้หลกั การออกแบบในการสรา้ งงานสอื่ ผสม ตา่ ง ๆ ในการสรา้ งงานทัศนศิลป์โดยใช้ หลักการออกแบบ ๖. สรา้ งงานทัศนศิลป์ ทัง้ ๒ มติ ิ การสรา้ งงานทัศนศลิ ปแ์ บบ ๒ มิติ และ ๓ มติ ิ และ ๓ มติ ิ เพื่อถ่ายทอดประสบการณ์ เพ่ือถ่ายทอดประสบการณ์ และจนิ ตนาการ และจนิ ตนาการ ๗. สรา้ งสรรคง์ านทศั นศลิ ป์สอ่ื การประยุกต์ใช้ทศั นธาตุและหลักการ ความหมายเปน็ เรื่องราว โดยประยุกต์ใช้ ออกแบบสร้างงานทัศนศิลป์ ทศั นธาตุ และหลักการออกแบบ ๘. วิเคราะหแ์ ละอภิปรายรปู แบบ การวิเคราะหร์ ปู แบบ เนื้อหา และคณุ คา่ ใน เนอื้ หาและคุณค่าในงานทศั นศิลป์ งานทัศนศลิ ป์ ของตนเอง และผู้อนื่ หรือของศลิ ปิน ๙. สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์เพ่ือ การใชเ้ ทคนิค วิธีการทห่ี ลากหลาย สร้างงาน บรรยาย เหตุการณ์ตา่ ง ๆ โดยใชเ้ ทคนคิ ท่ี ทศั นศลิ ปเ์ พ่อื สื่อความหมาย หลากหลาย ๑๐.ระบุอาชีพทีเ่ ก่ียวข้องกับงาน การประกอบอาชีพทางทัศนศิลป์ ทศั นศิลป์และทักษะท่จี าเป็นในการ ประกอบอาชีพนั้น ๆ ๑๑.เลอื กงานทศั นศลิ ปโ์ ดยใชเ้ กณฑ์ที่ การจัดนทิ รรศการ กาหนดข้นึ อยา่ งเหมาะสม และนาไป จดั นิทรรศการ
๑๕ ชั้น ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ม.๔-๖ ๑. วเิ คราะหก์ ารใช้ทัศนธาตุ ทศั นธาตุและหลักการออกแบบ และหลกั การออกแบบในการส่อื ความหมายในรูปแบบตา่ ง ๆ ๒. บรรยายจดุ ประสงค์และเน้ือหาของ ศพั ท์ทางทัศนศลิ ป์ งานทัศนศิลป์โดยใชศ้ ัพท์ทางทศั นศลิ ป์ ๓. วิเคราะห์การเลือกใชว้ ัสดอุ ปุ กรณ์ วัสดุ อปุ กรณ์ และเทคนิคของศลิ ปนิ และเทคนิคของศิลปินในการแสดงออก ในการแสดงออกทางทศั นศลิ ป์ ทางทศั นศลิ ป์ ๔. มที ักษะและเทคนิคในการใชว้ ัสดุ เทคนิค วัสดุ อุปกรณ์ กระบวนการในการ อุปกรณ์และกระบวนการทีส่ งู ขึน้ สรา้ งงานทัศนศิลป์ ในการสร้างงานทัศนศลิ ป์ ๕. สร้างสรรคง์ านทัศนศิลป์ดว้ ย หลกั การออกแบบและการจดั องคป์ ระกอบ เทคโนโลยี ศลิ ป์ด้วยเทคโนโลยี ตา่ ง ๆ โดยเน้นหลักการออกแบบและ การจดั องคป์ ระกอบศิลป์ ๖. ออกแบบงานทัศนศลิ ป์ได้เหมาะกับ การออกแบบงานทัศนศลิ ป์ โอกาสและสถานที่ ๗. วเิ คราะหแ์ ละอธิบายจดุ มงุ่ หมาย จดุ มุ่งหมายของศิลปนิ ในการเลอื กใชว้ ัสดุ ของศิลปินในการเลือกใชว้ สั ดุ อปุ กรณ์ อุปกรณ์ เทคนคิ และเน้ือหา ในการสร้างงาน เทคนคิ และเนื้อหา เพื่อสรา้ งสรรค์งาน ทัศนศิลป์ ทัศนศลิ ป์ ๘. ประเมินและวิจารณ์งานทัศนศิลป์ ทฤษฎีการวิจารณ์ศลิ ปะ โดยใชท้ ฤษฎีการวจิ ารณ์ศิลปะ ๙. จดั กลมุ่ งานทศั นศลิ ปเ์ พ่ือสะท้อน การจดั ทาแฟ้มสะสมงานทัศนศลิ ป์ พฒั นาการและความกา้ วหนา้ ของตนเอง ๑๐.สรา้ งสรรคง์ านทศั นศลิ ปไ์ ทย สากล การสรา้ งงานทัศนศลิ ปจ์ ากแนวคิดและ โดยศึกษาจากแนวคิดและวธิ กี าร สรา้ งงานของศลิ ปินท่ีตนช่นื ชอบ วธิ กี ารของศิลปิน ๑๑.วาดภาพ ระบายสเี ป็นภาพลอ้ เลยี น การวาดภาพล้อเลียนหรือภาพการ์ตูน หรือภาพการ์ตูนเพ่ือแสดงความคิดเหน็ เกยี่ วกบั สภาพสังคมในปจั จุบัน
๑๖ สาระท่ี ๑ ทัศนศิลป์ มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข้าใจความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งทัศนศลิ ป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เหน็ คุณค่า งานทัศนศิลป์ที่เป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ ภูมปิ ญั ญาไทย และสากล ช้นั ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป.๑ ๑. ระบงุ านทัศนศิลปใ์ น งานทศั นศิลป์ในชวี ิตประจาวัน ชีวติ ประจาวัน ป.๒ ๑. บอกความสาคญั ของงาน ความสาคญั ของงานทัศนศลิ ป์ในชีวติ ประจาวนั ทัศนศลิ ป์ ทพ่ี บเหน็ ในชีวิตประจาวนั ๒. อภปิ รายเก่ยี วกบั งานทศั นศลิ ป์ งานทัศนศลิ ป์ในท้องถ่นิ ประเภทตา่ ง ๆ ในท้องถิ่นโดยเนน้ ถึง วธิ ีการสรา้ งงานและวสั ดอุ ุปกรณ์ ทใ่ี ช้ ป.๓ ๑. เล่าถงึ ทม่ี าของงานทัศนศลิ ปใ์ น ที่มาของงานทศั นศลิ ปใ์ นท้องถน่ิ ท้องถนิ่ ๒. อธบิ ายเก่ียวกบั วัสดุอุปกรณ์และ วัสดุ อปุ กรณ์ และวธิ ีการสร้างงานทัศนศิลป์ใน วิธีการสร้างงานทศั นศิลป์ในท้องถนิ่ ทอ้ งถนิ่ ป.๔ ๑. ระบุ และอภปิ รายเกย่ี วกบั งาน งานทศั นศิลป์ในวฒั นธรรมท้องถน่ิ ทศั นศลิ ป์ ในเหตุการณ์ และงานเฉลิม ฉลอง ของวัฒนธรรมในท้องถิ่น ๒. บรรยายเกี่ยวกับงานทัศนศิลป์ งานทัศนศิลปจ์ ากวฒั นธรรมต่าง ๆ ที่มาจากวฒั นธรรมตา่ ง ๆ ป.๕ ๑. ระบุ และบรรยายเก่ยี วกับ ลกั ษณะรูปแบบของงานทศั นศิลป์ ลกั ษณะรูปแบบของงานทัศนศลิ ป์ใน แหล่งเรยี นรู้หรือนทิ รรศการศิลปะ ๒. อภปิ รายเกย่ี วกบั งานทัศนศลิ ป์ งานทศั นศลิ ป์ท่ีสะท้อนวฒั นธรรมและ ภูมปิ ัญญา ทส่ี ะท้อนวฒั นธรรมและภมู ิปัญญา ในทอ้ งถิน่ ในทอ้ งถ่นิ ป.๖ ๑. บรรยายบทบาทของงาน บทบาทของงานทศั นศลิ ป์ในชีวิต และสงั คม ทัศนศลิ ป์ ที่สะทอ้ นชีวติ และสังคม ๒. อภปิ รายเกี่ยวกบั อทิ ธิพลของ อิทธพิ ลของศาสนาท่มี ีตอ่ งานทัศนศลิ ป์ในท้องถิ่น ความเชอื่ ความศรทั ธาในศาสนาที่มีผลตอ่ งานทัศนศิลป์ในท้องถ่นิ ๓. ระบุ และบรรยายอิทธิพลทาง อิทธิพลทางวฒั นธรรมในทอ้ งถนิ่ ทม่ี ีผล ตอ่ วฒั นธรรมในทอ้ งถ่ินที่มผี ลตอ่ การสร้าง การสร้างงานทัศนศลิ ป์ งานทัศนศลิ ป์ของบุคคล
๑๗ ชัน้ ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ม.๑ ๑. ระบุ และบรรยายเก่ียวกับ ลักษณะ รปู แบบงานทัศนศลิ ป์ของชาติและ ลกั ษณะ รปู แบบงานทัศนศิลป์ของชาติ ท้องถ่นิ และของท้องถิน่ ตนเองจากอดีตจนถึง ปัจจุบนั ๒. ระบุ และเปรยี บเทยี บงาน งานทัศนศลิ ป์ภาคต่าง ๆ ในประเทศไทย ทศั นศลิ ปข์ องภาคตา่ ง ๆ ในประเทศไทย ๓. เปรยี บเทยี บความแตกต่างของ ความแตกต่างของงานทศั นศิลป์ ในวัฒนธรรม จุดประสงค์ในการสร้างสรรคง์ าน ไทยและสากล ทัศนศลิ ป์ของวัฒนธรรมไทยและสากล ม.๒ ๑. ระบุ และบรรยายเกีย่ วกบั วฒั นธรรมทส่ี ะท้อนในงานทัศนศลิ ป์ปจั จบุ ัน วัฒนธรรม ต่าง ๆ ทสี่ ะท้อนถึงงาน ทศั นศิลป์ในปจั จุบัน ๒. บรรยายถึงการเปลีย่ นแปลง งานทศั นศลิ ป์ของไทยในแตล่ ะยุคสมัย ของ งานทัศนศิลป์ของไทยในแตล่ ะยุค สมัยโดยเนน้ ถงึ แนวคดิ และเนื้อหาของ งาน ๓. เปรยี บเทียบแนวคดิ ในการ การออกแบบงานทัศนศิลปใ์ นวัฒนธรรมไทยและ ออกแบบงานทศั นศลิ ปท์ มี่ าจาก วฒั นธรรมไทยและสากล สากล ม.๓ ๑. ศกึ ษาและอภิปรายเกี่ยวกบั งาน งานทศั นศลิ ป์กับการสะท้อนคุณคา่ ของ ทัศนศิลป์ ทีส่ ะท้อนคุณค่าของวฒั นธรรม วฒั นธรรม ๒. เปรียบเทียบความแตกต่างของ ความแตกตา่ งของงานทัศนศิลปใ์ นแตล่ ะยคุ สมัย งานทัศนศลิ ป์ในแตล่ ะยุคสมยั ของวัฒนธรรมไทยและสากล ของวฒั นธรรมไทยและสากล ม.๔-๖ ๑. วเิ คราะห์ และเปรยี บเทียบงาน งานทัศนศลิ ป์รปู แบบตะวนั ออกและ ทัศนศิลปใ์ นรูปแบบตะวันออกและ รปู แบบตะวนั ตก ตะวันตก ๒. ระบงุ านทัศนศลิ ปข์ องศิลปินทม่ี ี งานทัศนศิลป์ของศิลปนิ ที่มีช่ือเสียง ช่อื เสียงและบรรยายผลตอบรบั ของ สังคม ๓. อภปิ รายเกีย่ วกับอิทธิพลของ อิทธิพลของวฒั นธรรมระหวา่ งประเทศ วัฒนธรรมระหว่างประเทศท่ีมผี ลตอ่ ทมี่ ีผลต่องานทศั นศลิ ป์ งานทศั นศลิ ป์ในสังคม
๑๘ สาระท่ี ๒ ดนตรี มาตรฐาน ศ ๒.๑ เขา้ ใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษ์วจิ ารณค์ ุณคา่ ดนตรี ถา่ ยทอดความรสู้ กึ ความคิดต่อดนตรอี ย่างอิสระ ชนื่ ชม และประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจาวนั ชน้ั ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป.๑ ๑. รวู้ า่ สง่ิ ตา่ ง ๆ สามารถกอ่ กาเนดิ การกาเนดิ ของเสยี ง เสยี ง - เสียงจากธรรมชาติ ท่ีแตกตา่ งกัน - แหลง่ กาเนิดของเสยี ง - สีสันของเสียง ๒. บอกลกั ษณะของเสียงดัง-เบา และ ระดับเสยี งดัง-เบา (Dynamic) ความชา้ - เร็วของจังหวะ อตั ราความเรว็ ของจังหวะTempo ๓. ท่องบทกลอน ร้องเพลงง่าย ๆ การอา่ นบทกลอนประกอบจังหวะ การร้องเพลงประกอบจังหวะ ช้นั ตัวชวี้ ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ๔. มสี ว่ นรว่ มในกิจกรรมดนตรีอย่าง กิจกรรมดนตรี สนกุ สนาน - การร้องเพลง - การเคาะจังหวะ - การเคลอื่ นไหวประกอบบทเพลง -ตามความดงั - เบาของบทเพลง -ตามความชา้ เร็วของจังหวะ ๕. บอกความเกีย่ วข้องของเพลงทใ่ี ช้ เพลงทีใ่ ช้ในชวี ิตประจาวนั ในชีวติ ประจาวนั - เพลงกล่อมเดก็ - บทเพลงประกอบการละเลน่ - เพลงสาคัญ (เพลงชาติไทย เพลง สรรเสริญพระบารมี) ป.๒ ๑. จาแนกแหลง่ กาเนิด ของเสยี งทีไ่ ด้ สีสนั ของเสยี งเคร่ืองดนตรี ยิน สีสันของเสยี งมนุษย์ ๒. จาแนกคุณสมบตั ขิ องเสยี ง สูง- ต่า การฝกึ โสตประสาท การจาแนกเสียง สูง- , ดัง-เบา ยาว-สน้ั ของดนตรี ตา่ ดงั -เบา ยาว-สนั้ ๓. เคาะจังหวะหรอื เคล่ือนไหว การเคล่อื นไหวประกอบเนื้อหาในบทเพลง รา่ งกาย ให้สอดคล้องกบั เนอื้ หาของ การเลน่ เครือ่ งดนตรีประกอบเพลง เพลง ๔. ร้องเพลงง่าย ๆ ทเ่ี หมาะสมกับวยั การขับร้อง ๕. บอกความหมายและความสาคัญ ความหมายและความสาคญั ของเพลง ที่ ของเพลงท่ีได้ยนิ ไดย้ นิ
๑๙ - เพลงปลุกใจ - เพลงสอนใจ ป.๓ ๑. ระบุรปู ร่างลกั ษณะของเครื่อง รปู ร่างลกั ษณะของเครอื่ งดนตรี ดนตรี ที่เห็นและได้ยนิ ใน เสียงของเครื่องดนตรี ชีวิตประจาวนั ๒. ใชร้ ปู ภาพหรอื สญั ลกั ษณ์แทนเสยี ง สญั ลกั ษณแ์ ทนคุณสมบตั ิของเสยี ง (สงู -ต่า ดัง- และจังหวะเคาะ เบา ยาว-สั้น) สัญลักษณ์แทนรูปแบบจังหวะ ชนั้ ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๓. บอกบทบาทหน้าท่ขี องเพลงที่ได้ บทบาทหนา้ ท่ีของบทเพลงสาคัญ ยนิ - เพลงชาติ - เพลงสรรเสรญิ พระบารมี - เพลงประจาโรงเรยี น ๔. ขับรอ้ งและบรรเลงดนตรงี ่าย ๆ การขับร้องเด่ยี วและหมู่ การบรรเลงเครื่องดนตรปี ระกอบเพลง ๕. เคล่อื นไหวทา่ ทางสอดคล้องกับ การเคลื่อนไหวตามอารมณข์ องบทเพลง อารมณ์ของเพลงทฟ่ี งั ๖. แสดงความคิดเห็นเกย่ี วกับ การแสดงความคดิ เห็นเก่ยี วกับเสยี งรอ้ งและ เสยี งดนตรี เสยี งขบั ร้องของตนเองและผ้อู ่นื เสยี งดนตรี - คณุ ภาพเสียงร้อง - คุณภาพเสียงดนตรี ๗. นาดนตรีไปใช้ในชวี ติ ประจาวัน การใชด้ นตรีในโอกาสพเิ ศษ หรอื โอกาสต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม - ดนตรใี นงานรืน่ เรงิ - ดนตรใี นการฉลองวนั สาคัญของชาติ ป.๔ ๑. บอกประโยคเพลงอยา่ งงา่ ย โครงสรา้ งของบทเพลง - ความหมายของประโยคเพลง - การแบ่งประโยคเพลง ๒. จาแนกประเภทของเคร่ืองดนตรีท่ี ประเภทของเครื่องดนตรี ใชใ้ นเพลงที่ฟงั เสยี งของเครือ่ งดนตรีแตล่ ะประเภท ๓. ระบุทศิ ทางการเคล่ือนท่ขี ึ้น – ลง การเคล่ือนทข่ี ้นึ - ลงของทานอง ง่าย ๆ ของทานอง รปู แบบจังหวะ รูปแบบจงั หวะของทานองจังหวะ และความเร็ว ของจังหวะใน รปู แบบจังหวะ เพลงท่ีฟงั ความช้า - เร็วของจังหวะ
๒๐ ๔. อา่ น เขยี นโน้ตดนตรีไทยและสากล เครือ่ งหมายและสญั ลักษณ์ทางดนตรี - กญุ แจประจาหลัก - บรรทัดหา้ เส้น - โนต้ และเครอ่ื งหมายหยดุ - เส้นกนั้ ห้อง โครงสรา้ งโนต้ เพลงไทย - การแบ่งห้อง - การแบง่ จงั หวะ ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ๕. รอ้ งเพลงโดยใชช้ ่วงเสียงที่ การขับรอ้ งเพลงในบนั ไดเสียงท่ีเหมาะสมกบั ตนเอง เหมาะสมกับตนเอง ๖. ใช้และเก็บเคร่ืองดนตรอี ย่าง การใชแ้ ละการดูแลรกั ษาเครอื่ งดนตรี ของตน ถูกต้องและปลอดภยั ๗. ระบวุ ่าดนตรสี ามารถใชใ้ นการสอ่ื ความหมายของเน้ือหาในบทเพลง เร่ืองราว ป.๕ ๑. ระบุองคป์ ระกอบดนตรใี นเพลงท่ี การสอ่ื อารมณ์ของบทเพลงด้วยองคป์ ระกอบดนตรี ใช้ในการสอ่ื อารมณ์ - จงั หวะกบั อารมณ์ของบทเพลง - ทานองกับอารมณ์ของบทเพลง ๒. จาแนกลกั ษณะของเสียงขับร้อง ลกั ษณะของเสียงนักร้องกล่มุ ตา่ ง ๆ และเคร่ืองดนตรีท่ีอยูใ่ นวงดนตรีประเภท ลกั ษณะเสียงของวงดนตรีประเภทต่าง ๆ ตา่ ง ๆ ๓. อา่ น เขียนโนต้ ดนตรีไทยและสากล เครื่องหมายและสัญลักษณท์ างดนตรี ๕ ระดับเสยี ง - บันไดเสียง ๕ เสียง Pentatonic scale - โน้ตเพลงในบันไดเสียง ๕ เสยี ง Pentatonic scale ๔. ใชเ้ คร่อื งดนตรบี รรเลงจังหวะ และ การบรรเลงเคร่ืองประกอบจงั หวะ ทานอง การบรรเลงทานองดว้ ยเครื่องดนตรี ๕. ร้องเพลงไทยหรือเพลงสากลหรือ การร้องเพลงไทยในอตั ราจงั หวะสองชั้น เพลง ไทยสากลที่เหมาะสมกบั การร้องเพลงสากล หรอื ไทยสากล วยั การร้องเพลงประสานเสยี งแบบ Canon Round ๖. ด้นสดงา่ ย ๆ โดยใชป้ ระโยคเพลง การสร้างสรรคป์ ระโยคเพลงถาม-ตอบ แบบถามตอบ ๗. ใชด้ นตรรี ว่ มกับกจิ กรรมในการ การบรรเลงดนตรีประกอบกิจกรรมนาฏศลิ ป์ แสดงออกตามจินตนาการ
๒๑ การสรา้ งสรรค์เสยี งประกอบการเล่าเรื่อง องค์ประกอบดนตรแี ละศัพทส์ ังคีต ป.๖ ๑. บรรยายเพลงที่ฟัง โดยอาศยั องค์ประกอบดนตรี และศัพท์สังคตี เครอื่ งดนตรีไทยแตล่ ะภาค บทบาทและหนา้ ที่ของเคร่ืองดนตรี ๒. จาแนกประเภทและบทบาทหนา้ ที่ ประเภทของเคร่ืองดนตรสี ากล เครอื่ งดนตรีไทยและเคร่ืองดนตรที ่ี มาจากวัฒนธรรมต่าง ๆ ชั้น ตัวชวี้ ดั สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ๓. อ่าน เขียนโน้ตไทย และโนต้ สากล เคร่ืองหมายและสญั ลักษณ์ทางดนตรี ทานองง่าย ๆ โนต้ บทเพลงไทย อตั ราจงั หวะสองชั้น โน้ตบทเพลงสากลในบันไดเสียง C Major ๔. ใช้เคร่ืองดนตรีบรรเลงประกอบ การร้องเพลงประกอบดนตรี การร้องเพลง ดน้ สด ท่ีมีจงั หวะและทานอง การสรา้ งสรรค์รปู แบบจังหวะและทานองดว้ ยเครอ่ื ง งา่ ย ๆ ดนตรี ๕. บรรยายความรสู้ ึกท่ีมตี อ่ ดนตรี การบรรยายความรสู้ กึ และแสดงความคิดเหน็ ท่ี ๖. แสดงความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั ทานอง มตี ่อบทเพลง จังหวะการประสานเสยี ง และคุณภาพเสียง - เน้ือหาในบทเพลง ของเพลงท่ีฟงั - องค์ประกอบในบทเพลง - คณุ ภาพเสยี งในบทเพลง ม.๑ ๑. อ่าน เขยี น ร้องโน้ตไทย และโนต้ เครอ่ื งหมายและสญั ลักษณ์ทางดนตรี สากล -โน้ตบทเพลงไทย อตั ราจังหวะสองชน้ั -โน้ตสากล ในกุญแจซอลและฟาในบันไดเสยี ง C Major ๒. เปรียบเทียบเสยี งรอ้ งและเสยี ง เสียงรอ้ งและเสียงของเครื่องดนตรี ในบทเพลง ของเครือ่ งดนตรีทม่ี าจากวัฒนธรรม จากวัฒนธรรมต่าง ๆ ทตี่ ่างกัน - วิธีการขับร้อง ๓. รอ้ งเพลงและใชเ้ ครือ่ งดนตรี - เครอ่ื งดนตรีที่ใช้ บรรเลงประกอบการร้องเพลงด้วยบทเพลง ทห่ี ลากหลายรปู แบบ การรอ้ งและการบรรเลงเคร่ืองดนตรี ประกอบการร้อง - บทเพลงพื้นบา้ น บทเพลงปลุกใจ - บทเพลงไทยเดิม - บทเพลงประสานเสยี ง ๒ แนว - บทเพลงรปู แบบ ABA - บทเพลงประกอบการเตน้ รา
๒๒ ช้นั ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ม.๑ ๔. จดั ประเภทของวงดนตรีไทยและ วงดนตรพี ืน้ เมือง วงดนตรีทม่ี าจากวัฒนธรรมต่าง ๆ วงดนตรีไทย วงดนตรสี ากล ๕. แสดงความคดิ เหน็ ที่มีต่ออารมณข์ อง การถ่ายทอดอารมณ์ของบทเพลง บทเพลงท่ีมีความเร็วของจงั หวะ - จังหวะกับอารมณ์เพลง และความดัง - เบา แตกตา่ งกัน - ความดงั -เบากบั อารมณ์เพลง ๖. เปรยี บเทียบอารมณ์ ความรู้สึกใน - ความแตกตา่ งของอารมณ์เพลง การ ฟังดนตรีแต่ละประเภท ๗. นาเสนอตัวอย่างเพลงท่ีตนเองช่นื การนาเสนอบทเพลงที่ตนสนใจ ชอบ และอภิปรายลักษณะเดน่ ที่ทาใหง้ านนัน้ น่าชืน่ ชม ๘. ใชเ้ กณฑ์สาหรบั ประเมินคุณภาพ การประเมนิ คุณภาพของบทเพลง งานดนตรหี รอื เพลงที่ฟัง - คุณภาพดา้ นเนือ้ หา - คุณภาพดา้ นเสียง - คุณภาพดา้ นองค์ประกอบดนตรี ๙. ใช้และบารงุ รกั ษาเคร่ืองดนตรี การใชแ้ ละบารงุ รักษาเคร่ืองดนตรขี องตน อยา่ งระมัดระวังและรบั ผดิ ชอบ ม.๒ ๑. เปรียบเทียบการใช้องค์ประกอบ องคป์ ระกอบของดนตรีจากแหลง่ วัฒนธรรม ดนตรที ม่ี าจากวัฒนธรรมต่างกนั ต่าง ๆ ๒. อ่าน เขยี นร้องโน้ตไทย และโน้ต เคร่อื งหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี สากลท่ีมีเครื่องหมายแปลงเสียง - โน้ตจากเพลงไทยอัตราจงั หวะสองชั้น - โน้ตสากล (เคร่อื งหมายแปลงเสียง) ๓. ระบปุ จั จยั สาคญั ท่ีมีอิทธิพลต่อการ ปจั จยั ในการสรา้ งสรรคบ์ ทเพลง สรา้ งสรรค์งานดนตรี - จนิ ตนาการในการสรา้ งสรรค์บทเพลง - การถ่ายทอดเรื่องราวความคิด ในบทเพลง ๔. ร้องเพลง และเลน่ ดนตรีเด่ียวและ เทคนิคการร้องและบรรเลงดนตรี รวมวง - การรอ้ งและบรรเลงเด่ยี ว - การรอ้ งและบรรเลงเปน็ วง ๕. บรรยายอารมณข์ องเพลงและ การบรรยายอารมณแ์ ละความรู้สกึ ในบทเพลง ความรสู้ กึ ท่มี ีต่อบทเพลงท่ีฟัง
๒๓ ชั้น ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ๖. ประเมิน พัฒนาการทกั ษะทาง การประเมนิ ความสามารถทางดนตรี ดนตรขี องตนเอง หลงั จากการฝกึ ปฏบิ ัติ - ความถูกตอ้ งในการบรรเลง - ความแม่นยาในการอา่ นเครื่องหมายและ สัญลักษณ์ - การควบคมุ คุณภาพเสยี งในการร้องและบรรเลง ๗. ระบงุ านอาชพี ต่าง ๆ ท่เี ก่ยี วขอ้ ง อาชีพทางดา้ นดนตรี กับดนตรีและบทบาทของดนตรใี นธุรกจิ บทบาทของดนตรีในธุรกิจบันเทงิ บนั เทงิ ม.๓ ๑. เปรยี บเทียบองค์ประกอบทใี่ ช้ในงาน การเปรยี บเทยี บองคป์ ระกอบในงานศิลปะ ดนตรีและงานศลิ ปะอนื่ - การใชอ้ งค์ประกอบในการสร้างสรรค์งานดนตรี และศลิ ปะแขนงอน่ื - เทคนิคทใี่ ช้ในการสร้างสรรค์งานดนตรีและ ศิลปะแขนงอ่ืน ๒. รอ้ งเพลง เล่นดนตรเี ด่ยี ว และรวม เทคนคิ และการแสดงออกในการขบั รอ้ งและบรรเลง วง โดยเน้นเทคนิคการร้อง การเลน่ การ ดนตรีเด่ยี วและรวมวง แสดงออก และคุณภาพสียง ๓. แตง่ เพลงสัน้ ๆ จังหวะง่าย ๆ อัตราจงั หวะ ๒ และ ๔ ๔๔ การประพนั ธ์เพลงในอตั ราจังหวะ๒ และ ๔ ๔๔ ๔. อธบิ ายเหตุผลในการเลือกใช้ การเลอื กใชอ้ งค์ประกอบในการสรา้ งสรรค์บทเพลง องค์ประกอบดนตรีในการสร้างสรรค์ งานดนตรีของตนเอง - การเลือกจังหวะเพื่อสรา้ งสรรค์ บทเพลง - การเรยี บเรียงทานองเพลง ๕. เปรียบเทยี บความแตกตา่ งระหวา่ ง การเปรียบเทยี บความแตกต่างของบทเพลง งานดนตรขี องตนเองและผู้อืน่ - สาเนยี ง - อตั ราจังหวะ - รูปแบบบทเพลง - การประสานเสยี ง - เครือ่ งดนตรีท่บี รรเลง
๒๔ ๖. อธบิ ายเกย่ี วกบั อทิ ธิพลของดนตรี อทิ ธิพลของดนตรี ทีม่ ีตอ่ บุคคลและสังคม - อทิ ธิพลของดนตรีต่อบุคคล - อิทธิพลของดนตรีตอ่ สงั คม ช้นั ตัวชวี้ ดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ม.๓ ๗.นาเสนอหรือจดั การแสดงดนตรี การจัดการแสดงดนตรีในวาระตา่ ง ๆ ท่เี หมาะสมโดยการบูรณาการกับสาระ - การเลอื กวงดนตรี การเรียนรูอ้ นื่ ในกลุ่มศลิ ปะ - การเลอื กบทเพลง - การเลือกและจัดเตรยี มสถานที่ - การเตรยี มบุคลากร - การเตรียมอุปกรณเ์ ครื่องมือ - การจัดรายการแสดง ม.๔-๖ ๑. เปรียบเทียบรูปแบบของบทเพลงและ การจัดวงดนตรี วงดนตรีแตล่ ะประเภท - การใชเ้ คร่ืองดนตรีในวงดนตรี ประเภทต่างๆ - บทเพลงท่บี รรเลงโดยวงดนตรี ประเภทต่างๆ ๒. จาแนกประเภทและรปู แบบของ ประเภทของวงดนตรี วงดนตรที ้งั ไทยและสากล - ประเภทของวงดนตรไี ทย - ประเภทของวงดนตรสี ากล ๓. อธิบายเหตผุ ลท่คี นตา่ งวฒั นธรรม ปจั จัยในการสรา้ งสรรคผ์ ลงานดนตรี สร้างสรรค์งานดนตรีแตกตา่ งกนั ในแต่ละวฒั นธรรม - ความเชือ่ กับการสรา้ งสรรค์งาน ดนตรี - ศาสนากบั การสรา้ งสรรค์งานดนตรี - วิถชี ีวิตกับการสร้างสรรค์งานดนตรี - เทคโนโลยีกบั การสรา้ งสรรคง์ าน ดนตรี ๔. อ่าน เขยี น โนต้ ดนตรไี ทยและสากล เครอื่ งหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี ในอัตราจงั หวะต่าง ๆ - เคร่ืองหมายกาหนดอัตราจงั หวะ - เครอ่ื งหมายกาหนดบันไดเสียง โนต้ บทเพลงไทยอัตราจังหวะ ๒ ชัน้ และ ๓ ชั้น ๕. รอ้ งเพลง หรอื เล่นดนตรีเดี่ยวและ เทคนิค และ การถา่ ยทอดอารมณ์เพลง รวมวงโดยเนน้ เทคนคิ การแสดงออก ดว้ ยการร้อง บรรเลงเครื่องดนตรเี ด่ยี วและ และคุณภาพของการแสดง รวมวง
๒๕ ๖. สร้างเกณฑ์สาหรบั ประเมินคณุ ภาพ เกณฑ์ในการประเมนิ ผลงานดนตรี การประพนั ธ์และการเลน่ ดนตรี - คุณภาพของผลงานทางดนตรี ของตนเองและผอู้ ่นื ได้อย่างเหมาะสม - คุณค่าของผลงานทางดนตรี การถา่ ยทอดอารมณ์ ความรู้สึกของงาน ๗. เปรียบเทยี บอารมณ์ และความรสู้ ึก ดนตรจี ากแต่ละวัฒนธรรม ทไ่ี ด้รบั จากงานดนตรีท่ีมาจากวัฒนธรรม ตา่ งกนั ดนตรีกบั การผ่อนคลาย ๘. นาดนตรีไปประยกุ ต์ใช้ในงานอ่ืน ๆ ดนตรีกบั การพัฒนามนุษย์ ดนตรกี บั การประชาสมั พนั ธ์ ดนตรกี บั การบาบัดรักษา ดนตรีกับธุรกจิ ดนตรีกับการศึกษา สาระที่ ๒ ดนตรี มาตรฐาน ศ ๒.๒ เขา้ ใจความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งดนตรี ประวตั ศิ าสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคณุ ค่า ของดนตรีท่เี ป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมปิ ญั ญาท้องถ่ิน ภูมิปัญญาไทยและสากล ชน้ั ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป.๑ ๑. เล่าถึงเพลงในทอ้ งถิ่น ท่ีมาของบทเพลงในทอ้ งถิ่น ๒. ระบสุ ิง่ ที่ช่ืนชอบในดนตรี ความน่าสนใจของบทเพลงในท้องถน่ิ ทอ้ งถ่นิ ป.๒ ๑. บอกความสมั พันธ์ของเสียง บทเพลงในทอ้ งถ่นิ รอ้ ง เสยี งเคร่ือง - ลกั ษณะของเสยี งร้องในบทเพลง ดนตรีในเพลงท้องถน่ิ โดยใช้ - ลกั ษณะของเสยี งเคร่ืองดนตรีทใ่ี ช้ ในบทเพลง คางา่ ย ๆ ๒. แสดงและเข้ารว่ มกจิ กรรม กิจกรรมดนตรีในโอกาสพเิ ศษ ทางดนตรี ในท้องถิน่ - ดนตรกี บั โอกาสสาคญั ในโรงเรียน - ดนตรีกบั วนั สาคัญของชาติ ป.๓ ๑. ระบลุ กั ษณะเด่นและ เอกลักษณ์ของดนตรใี นท้องถ่ิน เอกลกั ษณ์ ของดนตรีใน - ลักษณะเสยี งรอ้ งของดนตรใี นท้องถนิ่ ทอ้ งถน่ิ - ภาษาและเนื้อหาในบทร้องของดนตรีในท้องถ่นิ - เครื่องดนตรีและวงดนตรใี นท้องถนิ่ ๒. ระบุความสาคัญและ ดนตรกี ับการดาเนนิ ชวี ติ ในท้องถิน่ ประโยชนข์ องดนตรตี ่อการดาเนินชีวิต - ดนตรใี นชีวติ ประจาวนั ของคนในท้องถิ่น - ดนตรใี นวาระสาคญั
๒๖ ป.๔ ๑. บอกแหล่งทีม่ าและ ความสมั พนั ธ์ของวถิ ีชีวิตกับผลงานดนตรี ความสมั พนั ธ์ ของวิถีชวี ติ - เนอ้ื หาเร่ืองราวในบทเพลงกับวิถชี ีวิต ไทย ทส่ี ะท้อนในดนตรี และ - โอกาสในการบรรเลงดนตรี เพลงท้องถน่ิ ช้นั ตวั ชีว้ ดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ๒. ระบุความสาคัญในการอนุรักษ์ การอนุรักษ์วฒั นธรรมทางดนตรี ส่งเสรมิ วัฒนธรรมทางดนตรี - ความสาคัญและความจาเปน็ ในการอนรุ ักษ์ - แนวทางในการอนุรักษ์ ป.๕ ๑. อธบิ ายความสัมพันธร์ ะหวา่ งดนตรี ดนตรีกบั งานประเพณี กับประเพณีในวัฒนธรรมตา่ ง ๆ - บทเพลงในงานประเพณีในท้องถิน่ - บทบาทของดนตรีในแต่ละประเพณี ๒. อธบิ ายคุณคา่ ของดนตรีท่ีมาจาก คุณคา่ ของดนตรีจากแหลง่ วัฒนธรรม วัฒนธรรมที่ตา่ งกนั - คุณคา่ ทางสงั คม - คุณคา่ ทางประวตั ศิ าสตร์ ป.๖ ๑. อธบิ ายเรื่องราวของดนตรีไทย ดนตรไี ทยในประวตั ศิ าสตร์ ในประวัติศาสตร์ ๒. จาแนกดนตรที ่ีมาจากยุคสมัยที่ - ดนตรใี นเหตุการณ์สาคัญทางประวัติศาสตร์ ตา่ งกนั - ดนตรใี นยุคสมยั ต่าง ๆ ๓. อภิปรายอทิ ธิพลของวัฒนธรรม - อทิ ธพิ ลของวฒั นธรรมท่ีมีต่อดนตรี ต่อดนตรใี นท้องถิน่ ม.๑ ๑. อธบิ ายบทบาทความสัมพันธ์และ บทบาทและอิทธพิ ลของดนตรี อทิ ธิพลของดนตรที ม่ี ีต่อสงั คมไทย - บทบาทดนตรใี นสงั คม - อทิ ธิพลของดนตรใี นสังคม ๒. ระบคุ วามหลากหลายของ องคป์ ระกอบของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม องค์ประกอบดนตรใี นวฒั นธรรมตา่ งกัน ม.๒ ๑. บรรยายบทบาท และอิทธิพลของ ดนตรใี นวฒั นธรรมตา่ งประเทศ ดนตรใี นวฒั นธรรมของประเทศต่าง ๆ - บทบาทของดนตรีในวัฒนธรรม - อิทธิพลของดนตรีในวฒั นธรรม ๒. บรรยายอทิ ธพิ ลของวฒั นธรรม เหตกุ ารณป์ ระวตั ศิ าสตร์กบั การเปลีย่ นแปลง และเหตุการณใ์ นประวัติศาสตร์ทม่ี ตี อ่ ทางดนตรใี นประเทศไทย รปู แบบของดนตรใี นประเทศไทย -การเปล่ยี นแปลงทางการเมืองกับงานดนตรี
๒๗ ชนั้ ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ม.๓ ๑. บรรยายววิ ัฒนาการของดนตรี ประวัติดนตรีไทยยคุ สมยั ตา่ ง ๆ แตล่ ะ ยุคสมยั ประวัติดนตรตี ะวนั ตกยุคสมยั ตา่ ง ๆ ๒. อภิปรายลักษณะเดน่ ท่ีทาให้งานดนตรี ปจั จัยทีท่ าให้งานดนตรไี ด้รบั การยอมรับ นนั้ ไดร้ บั การยอมรบั ม.๔-๖ ๑. วเิ คราะห์รปู แบบของดนตรไี ทย รปู แบบบทเพลงและวงดนตรไี ทยแตล่ ะยคุ สมยั และดนตรีสากลในยุคสมยั ตา่ ง ๆ รปู แบบบทเพลงและวงดนตรสี ากล แต่ละยคุ สมยั ๒. วเิ คราะห์สถานะทางสังคม ประวตั ิสงั คีตกวี ของนักดนตรใี นวัฒนธรรมต่าง ๆ ๓. เปรียบเทียบลกั ษณะเด่นของดนตรี ลักษณะเด่นของดนตรี ในวฒั นธรรมต่าง ๆ ในแต่ละวฒั นธรรม - เครอ่ื งดนตรี - วงดนตรี - ภาษา เนอ้ื ร้อง - สาเนยี ง - องค์ประกอบบทเพลง ๔. อธิบายบทบาทของดนตรี บทบาทดนตรีในการสะทอ้ นสงั คม ในการสะทอ้ นแนวความคดิ - ค่านิยมของสังคมในผลงานดนตรี และคา่ นิยมทเี่ ปลยี่ นไป - ความเชอ่ื ของสงั คมในงานดนตรี ของคนในสังคม ๕. นาเสนอแนวทางในการส่งเสริมและ แนวทางและวธิ ีการในการสง่ เสรมิ อนุรักษ์ดนตรใี นฐานะมรดกของชาติ อนุรักษ์ดนตรไี ทย สาระที่ ๓ นาฏศลิ ป์ มาตรฐาน ศ ๓.๑ เขา้ ใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อยา่ งสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษว์ จิ ารณ์ คุณค่านาฏศิลป์ ถา่ ยทอดความร้สู ึก ความคิดอยา่ งอสิ ระ ช่ืนชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวนั ชัน้ ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป.๑ ๑. เลียนแบบการเคลื่อนไหว การเคลื่อนไหวลักษณะต่าง ๆ - การเลียนแบบธรรมชาติ - การเลยี นแบบคน สัตว์ สิ่งของ ๒. แสดงท่าทางงา่ ย ๆ เพือ่ สื่อ การใชภ้ าษาท่า และการประดิษฐ์ ท่าประกอบ ความหมาย แทนคาพดู เพลง การแสดงประกอบเพลงท่ีเกย่ี วกับธรรมชาตสิ ัตว์ ๓. บอกสงิ่ ที่ตนเองชอบ จากการดู การเปน็ ผชู้ มทีด่ ี หรอื ร่วมการแสดง
๒๘ ป.๒ ๑. เคลอ่ื นไหวขณะอยู่กบั ทแ่ี ละ การเคลอ่ื นไหวอยา่ งมีรปู แบบ เคลือ่ นที่ - การนง่ั - การยืน - การเดนิ ๒. แสดงการเคล่ือนไหวที่สะท้อน การประดิษฐ์ท่าจากการเคลื่อนไหว อยา่ งมี อารมณ์ของตนเองอยา่ งอิสระ รูปแบบ เพลงทเ่ี กี่ยวกบั ส่ิงแวดล้อม ๓. แสดงท่าทาง เพ่ือสือ่ ความหมาย หลักและวธิ ีการปฏบิ ัตนิ าฏศิลป์ แทนคาพดู - การฝึกภาษาท่าสือ่ ความหมายแทนอากปั กิริยา - การฝึกนาฏยศัพท์ในสว่ นลาตัว ๔. แสดงท่าทางประกอบจังหวะ การใชภ้ าษาท่าและนาฏยศัพทป์ ระกอบจังหวะ อยา่ งสรา้ งสรรค์ ๕. ระบมุ ารยาทในการชมการแสดง มารยาทในการชมการแสดง การเข้าชมหรอื มี ส่วนร่วม ช้นั ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ป.๓ ๑. สร้างสรรคก์ ารเคลื่อนไหวใน การเคลื่อนไหวในรปู แบบต่าง ๆ รปู แบบต่าง ๆ ในสถานการณ์สั้น ๆ - ราวงมาตรฐาน - เพลงพระราชนพิ นธ์ - สถานการณส์ ั้น ๆ - สถานการณ์ท่กี าหนดให้ ๒. แสดงทา่ ทางประกอบเพลงตาม หลักและวธิ กี ารปฏิบตั นิ าฏศลิ ป์ รปู แบบนาฏศิลป์ - การฝกึ ภาษาท่าส่ืออารมณ์ของมนุษย์ - การฝกึ นาฎยศัพท์ในสว่ นขา ๓. เปรยี บเทียบบทบาทหน้าทข่ี องผู้ หลักในการชมการแสดง แสดงและผ้ชู ม - ผแู้ สดง ๔. มสี ่วนร่วมในกจิ กรรมการแสดงท่ี เหมาะสมกับวยั - ผู้ชม - การมีสว่ นร่วม ๕. บอกประโยชน์ของการแสดง การบรู ณาการนาฏศิลป์กับสาระ การเรียนรู้อน่ื นาฏศิลปใ์ นชวี ิตประจาวัน ๆ ป.๔ ๑. ระบุทักษะพื้นฐานทางนาฏศลิ ป์ หลกั และวิธีการปฏบิ ตั นิ าฏศลิ ป์ และ - การฝึกภาษาท่า การละครทใ่ี ชส้ อ่ื ความหมายและอารมณ์ - การฝกึ นาฏยศัพท์
๒๙ ๒. ใชภ้ าษาทา่ และนาฏยศัพท์หรือ การใชภ้ าษาทา่ และนาฏยศัพท์ประกอบเพลง ศพั ท์ทางการละครงา่ ย ๆ ในการถา่ ยทอด ปลกุ ใจและเพลงพระราชนิพนธ์ เร่อื งราว การใช้ศพั ทท์ างการละครในการถา่ ยทอด เรอ่ื งราว ๓. แสดง การเคลื่อนไหวในจังหวะต่าง การประดิษฐท์ ่าทางหรอื ท่าราประกอบจงั หวะ ๆ ตามความคดิ ของตน พืน้ เมือง ๔. แสดงนาฏศลิ ปเ์ ป็นคู่ และหมู่ การแสดงนาฏศิลป์ ประเภทคู่และหมู่ - ราวงมาตรฐาน - ระบา ๕. เล่าส่งิ ทีช่ นื่ ชอบในการแสดงโดย การเล่าเร่ือง เน้นจุดสาคญั ของเรื่องและลักษณะเดน่ - จุดสาคัญ ของตัวละคร - ลักษณะเด่นของตวั ละคร ช้นั ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป.๕ ๑. บรรยายองค์ประกอบนาฏศลิ ป์ องคป์ ระกอบของนาฏศลิ ป์ - จังหวะ ทานอง คาร้อง - ภาษาท่า นาฏยศัพท์ - อปุ กรณ์ ๒. แสดงท่าทางประกอบเพลงหรือ การประดิษฐ์ท่าทางประกอบเพลง หรือ เร่อื งราวตามความคิดของตน ทา่ ทางประกอบเรื่องราว ๓. แสดงนาฏศิลป์ โดยเน้นการใช้ การแสดงนาฏศิลป์ ภาษาทา่ ระบา - ฟ้อน และนาฏยศพั ท์ในการสอ่ื ความหมายและ ราวงมาตรฐาน - การแสดงออก - ๔. มสี ่วนรว่ มในกลุ่มกบั การเขยี น องค์ประกอบของละคร เคา้ โครงเร่ืองหรอื บทละครสน้ั ๆ - การเลอื กและเขียนเค้าโครงเร่ือง - บทละครสนั้ ๆ ๕. เปรยี บเทียบการแสดงนาฏศิลป์ชดุ ทม่ี าของการแสดงนาฏศิลป์ชุดตา่ ง ๆ ต่าง ๆ ๖. บอกประโยชนท์ ่ีไดร้ ับจากการชม หลักการชมการแสดง การแสดง การถ่ายทอดความรสู้ ึกและคุณค่าของการแสดง ป.๖ ๑. สร้างสรรค์การเคล่ือนไหวและการ การประดิษฐท์ า่ ทางประกอบเพลงปลุกใจหรือ แสดงโดยเนน้ การถ่ายทอดลีลาหรืออารมณ์ เพลงพ้ืนเมืองหรือท้องถิน่ เน้นลลี า หรืออารมณ์
๓๐ ๒. ออกแบบเครอ่ื งแตง่ กาย หรือ การออกแบบสรา้ งสรรค์ อปุ กรณ์ประกอบการแสดงอย่างงา่ ย ๆ เคร่อื งแตง่ กาย - อปุ กรณ์ ฉากประกอบการแสดง - การแสดงนาฏศลิ ป์และการแสดงละคร ราวงมาตรฐาน ๓. แสดงนาฏศลิ ปแ์ ละละครง่าย ๆ ระบา ฟอ้ น - ละครสรา้ งสรรค์ - - - ชน้ั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป.๖ ๔. บรรยายความรสู้ ึกของตนเองท่มี ี บทบาทและหน้าทีใ่ นงานนาฏศิลป์และการ ต่องานนาฏศิลปแ์ ละการละครอยา่ ง ละคร สร้างสรรค์ ๕. แสดงความคิดเห็นในการชมการ หลักการชมการแสดง แสดง - การวเิ คราะห์ - ความรู้สึกชนื่ ชม ๖. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง องค์ประกอบทางนาฏศิลปแ์ ละการละคร นาฏศิลป์และการละครกบั สงิ่ ท่ีประสบ ในชวี ติ ประจาวนั ม.๑ ๑. อธิบายอิทธิพลของนกั แสดงช่ือดัง การปฏิบตั ขิ องผูแ้ สดงและผู้ชม ทมี่ ีผลตอ่ การโนม้ น้าวอารมณ์หรอื ความคิด ประวัตินกั แสดงท่ีชื่นชอบ ของผชู้ ม การพฒั นารูปแบบของการแสดง อิทธพิ ลของนักแสดงท่ีมีผลตอ่ พฤติกรรมของ ผูช้ ม ๒. ใช้นาฏยศัพทห์ รือศัพทท์ างการ นาฏยศพั ท์หรือศัพทท์ างการละคร ในการแสดง ละครในการแสดง ภาษาทา่ และการตีบท ทา่ ทางเคลอื่ นไหวทีแ่ สดงสอ่ื ทางอารมณ์ ระบาเบด็ เตลด็ ราวงมาตรฐาน ๓. แสดงนาฏศลิ ปแ์ ละละครใน รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์ รูปแบบง่าย ๆ - นาฏศลิ ป์ - นาฏศลิ ป์พน้ื บ้าน - นาฏศิลป์นานาชาติ
๓๑ ๔. ใชท้ กั ษะการทางานเป็นกล่มุ บทบาทและหน้าทข่ี องฝา่ ยต่าง ๆ ในการจัดการ ในกระบวนการผลิตการแสดง แสดง การสร้างสรรค์กิจกรรมการแสดงท่ีสนใจ โดยแบ่งฝา่ ยและหนา้ ที่ใหช้ ัดเจน ๕. ใช้เกณฑ์งา่ ย ๆ ที่กาหนดให้ในการ หลักในการชมการแสดง พิจารณาคณุ ภาพการแสดงท่ีชม โดยเนน้ เรอื่ งการใช้เสียงการแสดงทา่ และ การเคล่อื นไหว ช้ัน ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ม.๒ ๑. อธิบายการบรู ณาการศิลปะแขนง ศลิ ปะแขนงอืน่ ๆ กับการแสดง อ่นื ๆ กบั การแสดง - แสง สี เสียง - ฉาก - เครือ่ งแต่งกาย - อุปกรณ์ ๒. สรา้ งสรรค์การแสดงโดยใช้ หลักและวธิ ีการสรา้ งสรรคก์ ารแสดง โดยใช้ องค์ประกอบนาฏศลิ ป์และการละคร องคป์ ระกอบนาฏศลิ ป์และการละคร ๓. วเิ คราะหก์ ารแสดงของตนเองและ หลักและวธิ กี ารวิเคราะหก์ ารแสดง ผู้อนื่ โดยใช้นาฏยศัพทห์ รือศัพท์ทางการ ละคร ท่ีเหมาะสม ๔. เสนอข้อคดิ เหน็ ในการปรับปรุง วิธกี ารวิเคราะห์ วจิ ารณ์การแสดง นาฏศิลป์ การแสดง และการละคร ราวงมาตรฐาน ๕. เชอื่ มโยงการเรียนร้รู ะหว่าง ความสมั พนั ธ์ของนาฏศลิ ปห์ รือ การละครกับ นาฏศิลปแ์ ละการละครกับสาระการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้อ่ืน ๆ อน่ื ๆ ม.๓ ๑. ระบุโครงสร้างของบทละครโดยใช้ องคป์ ระกอบของบทละคร ศัพท์ทางการละคร - โครงเร่ือง - ตัวละครและการวางลักษณะนสิ ัย ของตัวละคร - ความคิดหรือแก่นของเรอ่ื ง - บทสนทนา
๓๒ ๒. ใช้นาฏยศัพทห์ รือศัพทท์ างการ ภาษาท่าหรอื ภาษาทางนาฏศิลป์ ละคร ทีเ่ หมาะสมบรรยายเปรยี บเทยี บการ - ภาษาทา่ ทีม่ าจากธรรมชาติ แสดงอากัปกิรยิ าของผู้คนในชีวิตประจาวนั - ภาษาทา่ ทมี่ าจากการประดิษฐ์ และในการแสดง - ราวงมาตรฐาน ๓. มที ักษะในการใช้ความคดิ ในการ รูปแบบการแสดง พัฒนารปู แบบการแสดง - การแสดงเปน็ หมู่ - การแสดงเดีย่ ว - การแสดงละคร - การแสดงเป็นชดุ เป็นตอน ชน้ั ตวั ชว้ี ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ๔. มที กั ษะในการแปลความและ การประดิษฐท์ า่ ราและทา่ ทางประกอบ การสื่อสารผ่านการแสดง การแสดง - ความหมาย - ความเป็นมา - ท่าทางท่ีใชใ้ นการประดิษฐ์ท่ารา ๕. วิจารณ์เปรียบเทียบงานนาฏศิลป์ องคป์ ระกอบนาฏศลิ ป์ ท่ีมคี วามแตกตา่ งกนั โดยใชค้ วามรู้ - จังหวะทานอง เรอื่ งองคป์ ระกอบนาฏศลิ ป์ - การเคล่อื นไหว - อารมณ์และความรู้สึก - ภาษาท่า นาฎยศพั ท์ - รปู แบบของการแสดง - การแตง่ กาย ๖. ร่วมจัดงานการแสดงในบทบาท วิธีการเลอื กการแสดง หนา้ ทต่ี ่าง ๆ - ประเภทของงาน - ขัน้ ตอน - ประโยชน์และคุณค่าของการแสดง ๗. นาเสนอแนวคดิ จากเน้ือเรื่อง ละครกบั ชวี ติ ของการแสดงท่สี ามารถนาไปปรับใช้ ในชวี ติ ประจาวัน ม.๔-๖ ๑. มีทักษะในการแสดงหลากหลาย รปู แบบของการแสดง รูปแบบ - ระบา รา ฟ้อน - การแสดงพื้นเมืองภาคต่าง ๆ - การละครไทย - การละครสากล
๓๓ ๒. สรา้ งสรรคล์ ะครส้นั ในรูปแบบ ละครสร้างสรรค์ ทชี่ นื่ ชอบ - ความเปน็ มา - องค์ประกอบของละครสร้างสรรค์ ๓. ใชค้ วามคดิ รเิ รม่ิ ในการแสดงนาฏศิลป์ - ละครพูด เปน็ คู่ และหมู่ o ละครโศกนาฏกรรม o ละครสขุ นาฏกรรม ๔. วิจารณก์ ารแสดงตามหลกั นาฏศลิ ป์ o ละครแนวเหมือนจริง และการละคร o ละครแนวไมเ่ หมือนจรงิ ๕. วเิ คราะหแ์ กน่ ของการแสดงนาฏศิลป์ และการละครท่ตี ้องการสอ่ื ความหมาย การประดิษฐ์ทา่ ราที่เปน็ คู่และหมู่ ในการแสดง - ความหมาย - ประวัติความเปน็ มา ๖. บรรยาย และวิเคราะห์ อิทธพิ ลของ - ท่าทางท่ใี ช้ในการประดษิ ฐท์ ่ารา เครอ่ื งแตง่ กาย แสง สี เสียง ฉากอปุ กรณ์ - เพลงท่ใี ช้ และสถานท่ีทมี่ ีผลตอ่ การแสดง หลักการสร้างสรรคแ์ ละการวิจารณ์ ๗. พัฒนาและใช้เกณฑก์ ารประเมินในการ ประเมนิ การแสดง หลักการชมการแสดงนาฏศลิ ปแ์ ละละคร ๘. วิเคราะห์ท่าทาง และการเคล่อื นไหว ประวัตคิ วามเปน็ มาของนาฏศลิ ป์ ของผคู้ นในชีวิตประจาวันและนามา และการละคร ประยุกต์ใช้ในการแสดง - วิวฒั นาการ - ความงามและคุณค่า เทคนิคการจดั การแสดง - แสงสีเสียง - ฉาก - อปุ กรณ์ - สถานที่ - เครอื่ งแตง่ กาย การประเมนิ คุณภาพของการแสดง - คณุ ภาพดา้ นการแสดง - คุณภาพองค์ประกอบการแสดง การสรา้ งสรรคผ์ ลงาน - การจัดการแสดงในวันสาคัญ ของโรงเรียน - ชุดการแสดงประจาโรงเรียน
๓๔ สาระท่ี ๓ นาฏศลิ ป์ มาตรฐาน ศ ๓.๒ เข้าใจความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งนาฏศิลป์ ประวตั ิศาสตร์และวัฒนธรรม เหน็ คณุ คา่ ของนาฏศิลป์ทเี่ ป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปญั ญาท้องถ่ิน ภูมปิ ัญญาไทยและสากล ชน้ั ตัวชวี้ ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป.๑ ๑. ระบุ และเล่นการละเล่นของ การละเล่นของเด็กไทย เด็กไทย - วิธกี ารเลน่ - กติกา ๒. บอกส่ิงที่ตนเองชอบในการแสดง การแสดงนาฏศลิ ป์ นาฏศิลป์ ป.๒ ๑. ระบแุ ละเล่นการละเลน่ พ้ืนบ้าน การละเล่นพน้ื บ้าน - วธิ กี ารเลน่ - กตกิ า ช้นั ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง ๒. เช่ือมโยงสิ่งที่พบเห็นในการละเล่น ทม่ี าของการละเล่นพน้ื บ้าน พ้ืนบา้ นกบั ส่งิ ท่พี บเห็นในการดารงชีวติ ของ คนไทย ๓. ระบสุ ิ่งที่ช่ืนชอบและภาคภูมิใจ การละเล่นพ้นื บ้าน ในการละเล่นพ้ืนบ้าน ป.๓ ๑. เลา่ การแสดงนาฏศลิ ป์ทเ่ี คยเห็น การแสดงนาฏศิลป์พืน้ บ้านหรือท้องถิน่ ของตน ในท้องถ่ิน ๒. ระบสุ ง่ิ ทีเ่ ป็นลกั ษณะเด่นและ การแสดงนาฏศลิ ป์ เอกลกั ษณ์ของการแสดงนาฏศลิ ป์ - ลกั ษณะ - เอกลักษณ์ ๓. อธบิ ายความสาคัญของการแสดง ทีม่ าของการแสดงนาฏศิลป์ นาฏศลิ ป์ - สงิ่ ทเ่ี คารพ ป.๔ ๑. อธบิ ายประวตั ิความเป็นมาของ ความเป็นมาของนาฏศลิ ป์ นาฏศิลป์ หรือชดุ การแสดงอยา่ งงา่ ย ๆ ทม่ี าของชดุ การแสดง ๒. เปรยี บเทียบการแสดงนาฏศลิ ป์ การชมการแสดง กบั การแสดงที่มาจากวัฒนธรรมอ่นื - นาฏศิลป์ - การแสดงของท้องถิน่ ๓. อธบิ ายความสาคัญของการแสดง ความเป็นมาของนาฏศลิ ป์ ความเคารพในการเรียนและการแสดง นาฏศลิ ป์ - การทาความเคารพก่อนเรยี นและก่อนแสดง ๔. ระบุเหตุผลทีค่ วรรักษา และสืบทอด ความเปน็ มาของนาฏศิลป์ การแสดงนาฏศลิ ป์ - คุณคา่
๓๕ ป.๕ ๑. เปรยี บเทียบการแสดงประเภทต่าง การแสดงนาฏศลิ ป์ประเภทต่าง ๆ ๆ ของไทย ในแตล่ ะท้องถ่นิ - การแสดงพนื้ บา้ น ๒. ระบุหรือแสดงนาฏศิลป์ นาฏศลิ ป์ การแสดงนาฏศลิ ป์ประเภทต่าง ๆ พืน้ บา้ นทีส่ ะท้อนถงึ วฒั นธรรมและประเพณี - การแสดงพ้นื บ้าน ป.๖ ๑. อธบิ ายสิ่งที่มีความสาคัญต่อการ ความหมาย ความเป็นมา ความสาคญั ของ แสดงนาฏศลิ ปแ์ ละละคร นาฏศิลปแ์ ละละคร - บคุ คลสาคญั - คุณค่า ๒. ระบุประโยชน์ท่ไี ด้รบั จากการแสดง การแสดงนาฏศลิ ปแ์ ละละคร ในวันสาคัญ หรือการชมการแสดงนาฏศลิ ปแ์ ละละคร ของโรงเรยี น ช้นั ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ม.๑ ๑. ระบปุ จั จยั ที่มผี ลต่อการ ปจั จยั ทม่ี ผี ลต่อการเปลยี่ นแปลง ของ เปลย่ี นแปลงของนาฏศิลป์ นาฏศิลป์ นาฏศลิ ป์ นาฏศลิ ปพ์ ้นื บ้าน ละครไทย และละคร พืน้ บา้ น ละครไทยและละครพน้ื บา้ น พ้นื บ้าน ๒. บรรยายประเภทของละครไทย ประเภทของละครไทยในแต่ละยคุ สมยั ในแตล่ ะยคุ สมยั ม.๒ ๑. เปรียบเทียบลกั ษณะเฉพาะของ นาฏศิลปพ์ ้นื เมือง การแสดงนาฏศิลปจ์ ากวัฒนธรรมต่างๆ - ความหมาย - ที่มา - วฒั นธรรม - ลักษณะเฉพาะ ๒. ระบุหรอื แสดงนาฏศิลป์ นาฏศิลป์ รูปแบบการแสดงประเภทต่าง ๆ พ้นื บา้ น ละครไทย ละครพนื้ บ้าน หรอื มหรสพอืน่ ทีเ่ คยนิยมกนั ในอดีต - นาฏศลิ ป์ - นาฏศลิ ป์พน้ื เมือง - ละครไทย - ละครพื้นบ้าน ๓. อธบิ ายอทิ ธิพลของวฒั นธรรมท่มี ี การละครสมยั ตา่ ง ๆ ผลต่อเนอื้ หาของละคร ม.๓ ๑. ออกแบบ และสรา้ งสรรค์อุปกรณ์ การออกแบบและสรา้ งสรรค์อุปกรณแ์ ละ และเคร่ืองแตง่ กาย เพื่อแสดงนาฏศลิ ป์ เครื่องแต่งกายเพื่อการแสดงนาฏศิลป์ และละครทม่ี าจากวัฒนธรรมต่าง ๆ ๒. อธิบายความสาคัญและบทบาท ความสาคญั และบทบาทของนาฏศิลป์ และการ ของนาฏศลิ ป์และการละครใน ละครในชวี ิตประจาวัน ชวี ติ ประจาวนั ๓. แสดงความคิดเหน็ ในการอนุรักษ์ การอนรุ ักษน์ าฏศิลป์
๓๖ ม.๔-๖ ๑. เปรียบเทียบการนาการแสดงไปใช้ใน การแสดงนาฏศลิ ปใ์ นโอกาสต่างๆ โอกาสต่าง ๆ ๒. อภิปรายบทบาทของบุคคลสาคัญ บุคคลสาคญั ในวงการนาฏศิลป์และ ในวงการนาฏศิลป์และการละคร การละครของไทยในยคุ สมัยต่าง ๆ ของประเทศไทยในยคุ สมยั ต่างๆ ๓. บรรยายววิ ฒั นาการของนาฏศิลปแ์ ละ วิวฒั นาการของนาฏศลิ ปแ์ ละการละคร การละครไทย ตง้ั แต่อดีตจนถึงปัจจบุ นั ไทยตัง้ แตอ่ ดตี จนถึงปจั จุบัน การอนุรักษ์นาฏศิลป์ ภมู ปิ ัญญาท้องถนิ่ ๔. นาเสนอแนวคดิ ในการอนุรักษ์ นาฏศลิ ป์ไทย
๓๗ ตวั ช้วี ดั สำระกำรเรียนรแู้ กนกลำงและสำระกำรเรยี นรู้ท้องถ่นิ สำระท่ี ๑ ทศั นศิลป์ มำตรฐำน ศ ๑.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่างานทัศนศิลป์ที่เป็น มรดกทางวัฒนธรรม ภมู ปิ ัญญาท้องถิ่น ภูมปิ ัญญาไทย และสากล ชัน้ ตัวชีว้ ดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ป.๒ ๑.บอกความสาคัญของงานทัศนศิลป์ ความสาคญั ของงานทัศนศิลปใ์ นชวี ิต ประจาวัน ทพี่ บเห็นในชีวิตประจาวนั สาระการเรียนรู้ท้องถ่ิน - ความสาคญั ของงานทศั นศิลปใ์ นชุมชนและท้องถน่ิ ที่ นักเรยี นพบเห็น ๒.อภิปรายเกยี่ วกบั งานทัศนศิลป์ประเภท งานทัศนศิลปใ์ นท้องถ่นิ ตา่ ง ๆ ในทอ้ งถ่นิ โดยเนน้ ถึงวิธกี ารสร้างงาน และวัสดอุ ุปกรณ์ ทใี่ ช้ สาระการเรียนรู้ท้องถน่ิ - แยกประเภทงานทศั นศิลปใ์ นท้องถิน่ และบอกเล่า ความเปน็ มาของทัศนศลิ ปใ์ นท้องถ่นิ ป.๓ ๑.เล่าถึงที่มาของงานทัศนศิลปใ์ นทอ้ งถ่ิน ทมี่ าของงานทัศนศิลปใ์ นท้องถิ่น สาระการเรยี นรู้ท้องถ่นิ - ทีม่ าของงานทัศนศลิ ปใ์ นท้องถิน่ พวงมโหตร สไบมอญ เคร่ืองปั้นดนิ เผา ๒.อธบิ ายเก่ียวกบั วสั ดุอปุ กรณแ์ ละวธิ ีการ วสั ดุ อุปกรณ์ และวธิ กี ารสรา้ งงานทศั นศิลปใ์ น สรา้ งงานทัศนศิลป์ในท้องถน่ิ ทอ้ งถิน่ สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น - วสั ดุ อุปกรณ์ และวธิ ีการสร้างงานทัศนศลิ ป์ใน ทอ้ งถนิ่ พวงมโหตร สไบมอญ เคร่ืองป้นั ดินเผา ป.๔ ๑.ระบุ และอภิปรายเกี่ยวกบั งานทัศนศลิ ป์ งานทัศนศิลปใ์ นวัฒนธรรมท้องถิ่น ในเหตกุ ารณ์ และงานเฉลิมฉลอง ของ วัฒนธรรมในท้องถิ่น สาระการเรียนรู้ท้องถน่ิ - งานทศั นศลิ ปใ์ นวฒั นธรรมท้องถนิ่ ความเปน็ มาของ การทาพวงมโหตร สไบมอญ เคร่อื งปน้ั ดนิ เผา
๓๘ ๒.บรรยายเก่ยี วกบั งานทศั นศิลป์ งานทัศนศิลป์จากวัฒนธรรมตา่ ง ๆ ทีม่ าจากวัฒนธรรมตา่ ง ๆ สาระการเรียนรู้ท้องถนิ่ - เช่ือมโยงความรู้ของวฒั นธรรมท้องถน่ิ กับงาน ทศั นศลิ ป์ในทอ้ งถิ่นพวงมโหตร สไบมอญ เครอ่ื งปั้นดนิ เผา ป.๕ ๑.ระบุ และบรรยายเกีย่ วกบั ลกั ษณะ ลกั ษณะรปู แบบของงานทัศนศิลป์ รปู แบบของงานทัศนศิลป์ในแหลง่ เรียนรู้ สาระการเรียนรู้ท้องถน่ิ หรอื นิทรรศการศิลปะ - ลักษณะรปู แบบของงานทศั นศิลป์ พวงมโหตร สไบมอญ เคร่ืองป้ันดนิ เผา ๒.อภิปรายเก่ียวกบั งานทัศนศิลป์ งานทัศนศลิ ปท์ ่สี ะทอ้ นวัฒนธรรมและ ภูมิปญั ญา ที่สะท้อนวัฒนธรรมและภมู ิปัญญา ในทอ้ งถน่ิ ในท้องถิ่น สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น - วัสดุ อุปกรณ์ในการทางานทศั นศลิ ป์ พวงมโหตร สไบมอญ เครื่องปั้นดินเผา - วธิ ีการทา พวงมโหตร สไบมอญ เคร่ืองปั้นดินเผา ป.๖ ๑.บรรยายบทบาทของงานทัศนศิลป์ บทบาทของงานทัศนศลิ ป์ในชีวิต ที่สะท้อนชวี ิตและสังคม และสังคม ๒.อภปิ รายเก่ยี วกับอิทธิพลของ สาระการเรยี นรู้ท้องถิน่ ความเช่อื ความศรัทธาในศาสนาทม่ี ผี ลต่อ - บทบาทของพวงมโหตร สไบมอญ เคร่ืองปน้ั ดนิ เผา งานทัศนศิลป์ในท้องถน่ิ ท่ีมีต่อวถิ ชึ ีวิตของคนในชุมชนและสงั คม ๓.ระบุ และบรรยายอิทธิพลทางวัฒนธรรม อทิ ธิพลของศาสนาท่ีมีตอ่ งานทศั นศิลป์ ในท้องถ่ิน ในท้องถน่ิ ทม่ี ผี ลต่อการสร้างงานทัศนศิลป์ ของบุคคล สาระการเรียนรู้ท้องถน่ิ - อิทธิพลของศาสนาทมี่ ตี ่องานทัศนศิลปใ์ นท้องถิ่น พวงมโหตร สไบมอญ เครื่องป้ันดินเผา สืบคน้ วิธกี ารทา พวงมโหตร สไบมอญ เครื่องปนั้ ดนิ เผาจากแหลง่ เรียนรูท้ ห่ี ลากหลาย และ ประดิษฐผ์ ลงานอย่างถูกต้อง อิทธิพลทางวัฒนธรรมในท้องถิน่ ทีม่ ีผล ต่อการ สรา้ งงานทศั นศลิ ป์ สาระการเรยี นรู้ท้องถน่ิ อิทธิพลทางวัฒนธรรมของงานทศั นศลิ ป์ พวงมโหตร สไบมอญ เคร่ืองป้ันดินเผาผลตอ่ การ สรา้ งงานทศั นศิลป์
๓๙ ม.๑ ๑.ระบุ และบรรยายเกี่ยวกบั ลักษณะ ลักษณะ รูปแบบงานทัศนศิลปข์ องชาติและท้องถิน่ รปู แบบงานทศั นศลิ ป์ของชาติและของ ท้องถิ่นตนเองจากอดตี จนถึงปจั จุบนั สาระการเรียนรู้ท้องถนิ่ การพัฒนา รูปแบบงานทัศนศลิ ป์ท้องถ่นิ ๒.ระบุ และเปรียบเทยี บงานทศั นศลิ ปข์ อง พวงมโหตร สไบมอญ เครื่องป้ันดินเผา และสบื ทอด ภาคต่าง ๆ ในประเทศไทย วัฒนธรรมทอ้ งถิน่ พวงมโหตร สไบมอญ เครอ่ื งปั้นดินเผา ม.๔-๖ ๒.ระบงุ านทัศนศิลปข์ องศลิ ปินทมี่ ชี อื่ เสียง งานทศั นศลิ ปภ์ าคต่าง ๆ ในประเทศไทย และบรรยายผลตอบรบั ของสังคม สาระการเรียนรู้ท้องถ่นิ วิเคราะหค์ ุณค่างานทัศนศลิ ปภ์ าคต่าง ๆ ใน ประเทศไทยและนาเสนอความโดดเด่นของทศั นศิลป์ ในทอ้ งถิ่นพวงมโหตร สไบมอญ เครื่องปั้นดินเผา งานทศั นศิลปข์ องศลิ ปนิ ท่ีมีชือ่ เสยี ง สาระการเรยี นรู้ท้องถน่ิ ต่อยอดแนวคดิ ของงานทัศนศิลป์ท้องถิน่ พวงมโหตร สไบมอญ เครื่องป้ันดนิ เผา และนาเสนอ วธิ กี ารในการเผยแพรว่ ฒั นธรรมท้องถิน่ ใหเ้ ปน็ ท่ีรู้จัก ๓.อภิปรายเก่ยี วกับอิทธิพลของวัฒนธรรม อิทธิพลของวฒั นธรรมระหว่างประเทศ ท่ีมผี ลต่อ ระหว่างประเทศที่มผี ลตอ่ งานทศั นศิลป์ใน งานทัศนศิลป์ สังคม
๔๐ สำระที่ ๒ ดนตรี มำตรฐำน ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วจิ ารณ์คณุ ค่าดนตรี ถา่ ยทอดความรูส้ ึก ความคดิ ต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ ประจาวัน ชน้ั ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป.๑ ๕.บอกความเกีย่ วข้องของเพลงที่ใช้ เพลงท่ีใชใ้ นชวี ติ ประจาวัน ในชวี ิตประจาวัน - เพลงกลอ่ มเด็ก บทเพลงประกอบการละเลน่ เพลงสาคญั (เพลงชาติไทย เพลงสรรเสรญิ พระ บารม)ี สาระการเรียนรูท้ ้องถิ่น • เพลงที่ใชใ้ นชีวิตประจาวัน - เพลงโนเน ชั้น ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ป.๓ ๓.บอกบทบาทหน้าทข่ี องเพลงทไ่ี ด้ยนิ บทบาทหนา้ ทข่ี องบทเพลงสาคญั เพลงชาติ เพลงสรรเสรญิ พระบารมี เพลงประจาโรงเรียน สาระการเรยี นรู้ท้องถ่นิ บทบาทหน้าท่ีของบทเพลงสาคัญ เพลงราพาข้าวสาร
๔๑ สำระท่ี ๒ ดนตรี มำตรฐำน ศ ๒.๒ เข้าใจความสัมพนั ธ์ระหวา่ งดนตรี ประวัติศาสตร์ และวฒั นธรรม เหน็ คณุ คา่ ของดนตรีทเี่ ป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญั ญาทอ้ งถ่นิ ภมู ิปัญญาไทยและสากล ชัน้ ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.๑ ๑.เลา่ ถงึ เพลงในท้องถ่ิน ทมี่ าของบทเพลงในท้องถน่ิ ๒.ระบุสิ่งทชี่ ื่นชอบในดนตรีท้องถ่นิ สาระการเรียนรู้ท้องถน่ิ ทมี่ าของบทเพลงในท้องถนิ่ เพลงโนเน ความนา่ สนใจของบทเพลงในทอ้ งถ่ิน ป.๒ ๑.บอกความสัมพันธ์ของเสียงร้อง สาระการเรยี นรู้ท้องถิน่ เสียงเคร่อื งดนตรีในเพลงทอ้ งถ่ิน โดยใชค้ างา่ ย ๆ ความน่าสนใจของบทเพลงในท้องถิน่ - เพลงโนเน บทเพลงในท้องถ่นิ ลักษณะของเสียงร้องในบทเพลง ลักษณะของเสยี งเครื่องดนตรีที่ใช้ ในบทเพลง ๒.แสดงและเขา้ รว่ มกจิ กรรมทางดนตรี สาระการเรยี นรูท้ ้องถ่ิน ในท้องถน่ิ บทเพลงในทอ้ งถนิ่ - ลักษณะของเสยี งร้องในบทเพลงโนเน - ลกั ษณะของเสียงเครอื่ งดนตรที ใี่ ช้ในบทเพลงโนเน กิจกรรมดนตรีในโอกาสพิเศษ ดนตรกี บั โอกาสสาคญั ในโรงเรียน ดนตรีกบั วันสาคัญของชาติ สาระการเรียนรทู้ ้องถน่ิ กิจกรรมดนตรีในโอกาสพิเศษ - ป่พี ำทย์มอญ ป.๓ ๑.ระบลุ กั ษณะเด่นและเอกลักษณ์ เอกลักษณข์ องดนตรใี นทอ้ งถน่ิ ของดนตรีในท้องถนิ่ ลกั ษณะเสยี งร้องของดนตรีในทอ้ งถ่ิน ภาษาและเน้ือหาในบทร้องของดนตรใี นท้องถนิ่ เครอ่ื งดนตรีและวงดนตรใี นท้องถ่ิน
๔๒ สาระการเรยี นรทู้ ้องถิน่ เอกลกั ษณ์ของดนตรใี นท้องถ่ิน - ลักษณะเสียงรอ้ งของดนตรใี นทอ้ งถิ่น (เพลงรำ พำข้ำวสำร) - ภาษาและเน้ือหาในบทร้องของดนตรใี นท้องถิ่น (เพลงรำพำข้ำวสำร) - เครอื่ งดนตรีและวงดนตรีในท้องถนิ่ (มอญรำ) ๒.ระบคุ วามสาคัญและประโยชนข์ องดนตรี ดนตรีกบั การดาเนินชีวติ ในท้องถ่นิ ต่อการดาเนนิ ชีวติ ของคนในท้องถ่นิ ดนตรใี นชวี ิตประจาวัน ดนตรใี นวาระสาคญั ป.๔ ๑.บอกแหลง่ ท่ีมาและความสัมพนั ธ์ สาระการเรยี นรทู้ ้องถ่ิน ของวถิ ชี วี ิตไทย ทส่ี ะทอ้ นในดนตรี และเพลงท้องถนิ่ ดนตรีกับการดาเนินชวี ติ ในทอ้ งถนิ่ (เพลงรำพำ ข้ำวสำร) - ดนตรใี นชีวิตประจาวัน (มอญรำ) - ดนตรใี นวาระสาคญั (ปพี่ ำทย์มอญ) ความสัมพันธ์ของวถิ ีชีวติ กบั ผลงานดนตรี เน้อื หาเร่อื งราวในบทเพลงกับวถิ ชี ีวิต โอกาสในการบรรเลงดนตรี สาระการเรยี นร้ทู ้องถิน่ ความสมั พันธข์ องวถิ ีชีวติ กบั ผลงานดนตรี - เน้อื หาเร่ืองราวในบทเพลงกับวถิ ีชวี ิต(ทะแยมอญ) - โอกาสในการบรรเลงดนตรี (ปี่พาทย์มอญ : เพลงยกศพ) ชนั้ ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป.๕ ๑.อธบิ ายความสมั พนั ธ์ระหวา่ งดนตรกี ับ ดนตรีกับงานประเพณี ประเพณใี นวัฒนธรรมต่าง ๆ บทเพลงในงานประเพณีในท้องถิน่ บทบาทของดนตรีในแตล่ ะประเพณี สาระการเรียนรู้ท้องถน่ิ ดนตรกี ับงานประเพณี - บทเพลงในงานประเพณใี นทอ้ งถิน่ (ประเพณกี ารแหน่ างหงส์ ) - บทบาทของดนตรีในแต่ละประเพณี (ปพี่ ำทย์มอญ บ้านบัวหลวง)
๔๓ ป.๖ ๑.อธบิ ายเรอ่ื งราวของดนตรไี ทย ดนตรีไทยในประวัติศาสตร์ ในประวตั ศิ าสตร์ ดนตรใี นเหตกุ ารณส์ าคัญทางประวตั ศิ าสตร์ ๒.จาแนกดนตรีทมี่ าจากยคุ สมัยท่ตี า่ งกัน ดนตรใี นยคุ สมยั ตา่ ง ๆ ๓.อภิปรายอทิ ธพิ ลของวัฒนธรรม อิทธิพลของวัฒนธรรมที่มีต่อดนตรี ต่อดนตรใี นทอ้ งถิ่น สาระการเรียนรูท้ ้องถน่ิ ดนตรไี ทยในประวตั ิศาสตร์ - ดนตรใี นเหตกุ ารณส์ าคญั ทางประวตั ศิ าสตร์ (ป่ีพำทย์มอญ บ้านบวั หลวง) - ดนตรีในยุคสมยั ตา่ ง ๆ อิทธิพลของวัฒนธรรมที่มีตอ่ ดนตรี (ปพ่ี ำทยม์ อญ : มอญยกศพ) ประเพณีการแหน่ างหงส์ สำระที่ ๓ นำฏศลิ ป์ มำตรฐำน ศ ๓.๒ เข้าใจความสัมพันธร์ ะหว่างนาฏศลิ ป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมเห็นคณุ ค่าของนาฏศลิ ปท์ ่ี เป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภมู ิปัญญาท้องถน่ิ ภมู ปิ ัญญาไทยและสากล ช้นั ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป.๑ ๑.ระบุ และเล่นการละเล่นของเดก็ ไทย การละเลน่ ของเดก็ ไทย วธิ ีการเลน่ กติกา สาระการเรียนรู้ท้องถ่นิ การละเลน่ ประเพณีแข่งขนั ลกู หนู - วธิ ีการเล่น - กติกา ป.๒ ๑.ระบแุ ละเลน่ การละเล่นพน้ื บ้าน การละเล่นพ้นื บ้าน วธิ ีการเลน่ กติกา สาระการเรียนร้ทู ้องถ่ิน การละเล่นราพาขา้ วสาร - วธิ กี ารเลน่ - กติกา
๔๔ ๒.เชอ่ื มโยงส่ิงทพ่ี บเห็นในการละเลน่ พ้นื บา้ น ทีม่ าของการละเลน่ พน้ื บ้าน กับสิง่ ท่ีพบเหน็ ในการดารงชวี ิตของคนไทย สาระการเรยี นรทู้ ้องถิ่น ๓.ระบสุ ิง่ ทช่ี ืน่ ชอบและภาคภูมใิ จ ทม่ี าของการละเล่นพ้นื บ้าน ในการละเล่นพนื้ บา้ น - การละเลน่ ประเพณแี ขง่ ขันลูกหนู การละเลน่ พน้ื บ้าน สาระการเรยี นรทู้ ้องถน่ิ การละเลน่ พื้นบ้าน ป.๓ ๑.เล่าการแสดงนาฏศิลปท์ เี่ คยเห็น การแสดงนาฏศิลป์พ้นื บ้านหรอื ทอ้ งถิ่นของตน ในท้องถนิ่ สาระการเรยี นรู้ท้องถิ่น การแสดงนาฏศิลป์พ้ืนบ้านหรอื ท้องถน่ิ ของตน (มอญรำ) ๒.ระบสุ ่ิงทีเ่ ปน็ ลักษณะเดน่ และเอกลักษณ์ การแสดงนาฏศลิ ป์ ของการแสดงนาฏศลิ ป์ ลกั ษณะ เอกลกั ษณ์ สาระการเรียนรู้ท้องถนิ่ การแสดงนาฏศลิ ป์ (มอญรำ) ลกั ษณะ (มอญรำ) เอกลกั ษณ์ (มอญรำ) ๓.อธบิ ายความสาคัญของการแสดงนาฏศลิ ป์ ท่มี าของการแสดงนาฏศลิ ป์ สิ่งทีเ่ คารพ สาระการเรียนรู้ท้องถนิ่ ทม่ี าของการแสดงนาฏศิลป์ (มอญรำ) ป.๔ ๑.อธบิ ายประวัตคิ วามเป็นมาของนาฏศิลป์ ความเป็นมาของนาฏศิลป์ หรอื ชุดการแสดงอย่างง่าย ๆ ทีม่ าของชดุ การแสดง สาระการเรียนร้ทู ้องถน่ิ ความเป็นมาของนาฏศิลป์(มอญรำ) ท่มี าของชดุ การแสดง(มอญรำ) ๒.เปรียบเทียบการแสดงนาฏศลิ ป์ การชมการแสดง กบั การแสดงท่ีมาจากวัฒนธรรมอ่นื นาฏศิลป์ การแสดงของท้องถนิ่
๔๕ สาระการเรยี นรทู้ ้องถน่ิ การชมการแสดง - นาฏศลิ ป์ (มอญรำ) การแสดงของท้องถ่ิน ป.๔ ๓.อธิบายความสาคญั ของการแสดงความ ความเปน็ มาของนาฏศิลป์ เคารพในการเรียนและการแสดงนาฏศิลป์ การทาความเคารพก่อนเรยี นและก่อนแสดง สาระการเรยี นร้ทู ้องถน่ิ ความเป็นมาของนาฏศลิ ป์(มอญรำ) ทีม่ าของชดุ การแสดง(มอญรำ) ป.๕ ๑.เปรียบเทยี บการแสดงประเภทต่าง ๆ การแสดงนาฏศิลป์ประเภทต่าง ๆ ของไทย ในแต่ละท้องถ่นิ การแสดงพนื้ บา้ น สาระการเรียนร้ทู ้องถน่ิ ความเปน็ มาของนาฏศิลป์ ทะแยมอญ ๒.ระบุหรอื แสดงนาฏศิลป์ นาฏศลิ ปพ์ ืน้ บ้าน การแสดงนาฏศลิ ปป์ ระเภทตา่ ง ๆ ที่สะท้อนถึงวัฒนธรรมและประเพณี การแสดงพ้นื บ้าน สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น ความเปน็ มาของนาฏศิลป์ คุณคา่ ทะแยมอญ ม.๔-๖ ๓.บรรยายวิวฒั นาการของนาฏศิลปแ์ ละ วิวฒั นาการของนาฏศลิ ปแ์ ละการละครไทยต้งั แต่ การละครไทย ตั้งแต่อดีตจนถึงปจั จุบนั อดีตจนถึงปัจจุบัน สาระการเรียนรทู้ ้องถิ่น การละครสมัยตา่ ง ๆ ๔.นาเสนอแนวคดิ ในการอนรุ ักษ์ นาฏศิลป์ การอนุรักษน์ าฏศิลป์ ภมู ิปัญญาท้องถิน่ ไทย
๔๖ รำยวชิ ำที่เปิดสอน หลักสูตร กลุ่มสำระกำรเรียนรูศ้ ลิ ปะ หลักสูตรชั้นประถมศึกษำ ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๑ ๑ ชว่ั โมง / สปั ดาห์ ๑.๐ หนว่ ยกิต รำยวิชำพน้ื ฐำน ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๒ ๑ ชว่ั โมง / สปั ดาห์ ๑.๐ หน่วยกิต ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๓ ๑ ชั่วโมง / สปั ดาห์ ๑.๐ หน่วยกิต ศ๑๑๑๐๑ ศิลปะ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๔ ๒ ชั่วโมง / สปั ดาห์ ๒.๐ หน่วยกิต ศ๑๒๑๐๑ ศิลปะ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๕ ๒ ชว่ั โมง / สัปดาห์ ๒.๐ หนว่ ยกิต ศ๑๓๑๐๑ ศิลปะ ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๖ ๒ ชวั่ โมง / สัปดาห์ ๒.๐ หน่วยกติ ศ๑๔๑๐๑ ศลิ ปะ ศ๑๕๑๐๑ ศลิ ปะ ศ๑๖๑๐๑ ศลิ ปะ หลักสูตรชั้นมธั ยมศึกษำตอนตน้ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ ๑ ชัว่ โมง / สัปดาห์ ๐.๕ หนว่ ยกิต รำยวิชำพื้นฐำน ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๑ ๑ ชั่วโมง / สัปดาห์ ๐.๕ หนว่ ยกติ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ ๒ ๑ ชั่วโมง / สัปดาห์ ๐.๕ หน่วยกติ ศ๒๑๑๐๑ ดนตรี- นาฏศลิ ป์ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ ๒ ๑ ชวั่ โมง / สปั ดาห์ ๐.๕ หน่วยกติ ศ๒๑๑๐๒ ทัศนศลิ ป์ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี ๓ ๑ ชั่วโมง / สัปดาห์ ๐.๕ หน่วยกิต ศ๒๒๑๐๑ ดนตรี- นาฏศิลป์ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ๓ ๑ ชัว่ โมง / สัปดาห์ ๐.๕ หน่วยกิต ศ๒๒๑๐๒ ทศั นศลิ ป์ ศ๒๓๑๐๑ ดนตรี- นาฏศิลป์ ศ๒๓๑๐๒ ทศั นศิลป์ หลักสตู รชัน้ มัธยมศกึ ษำตอนปลำย ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๔ ๑ ชั่วโมง / สัปดาห์ ๐.๕ หนว่ ยกติ รำยวชิ ำพื้นฐำน ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๔ ๑ ชวั่ โมง / สัปดาห์ ๐.๕ หน่วยกติ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๕ ๑ ชว่ั โมง / สัปดาห์ ๐.๕ หน่วยกติ ศ๓๑๑๐๑ ศิลปะ(ทศั นศิลป์) ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๕ ๑ ชั่วโมง / สัปดาห์ ๐.๕ หนว่ ยกติ ศ๓๑๑๐๒ ศิลปะ(ดนตรี- นาฏศลิ ป์) ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๖ ๑ ชั่วโมง / สปั ดาห์ ๐.๕ หน่วยกติ ศ๓๒๑๐๑ ศลิ ปะ(ทัศนศลิ ป์) ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๖ ๑ ช่วั โมง / สปั ดาห์ ๐.๕ หนว่ ยกิต ศ๓๒๑๐๒ ศิลปะ(ดนตรี- นาฏศิลป์) ศ๓๓๑๐๑ ศลิ ปะ(ทศั นศิลป์) ศ๓๓๑๐๒ ศิลปะ(ดนตรี- นาฏศิลป์)
โครงสรำ้ งเวลำเรยี น กล่มุ สำระกำรเรยี นรู้ศิลปะ ๔๗ รำยวชิ ำ/กิจกรรม ช้นั เวลำเรยี น (ชม./ป)ี รำยวชิ ำพื้นฐำน ชั้นประถมศึกษำ (ป.๑ – ป.๖) ป.๑ ๔๐ ป.๒ ๔๐ ศ ๑๑๑๐๑ ศลิ ปะ ป.๓ ๔๐ ป.๔ ๘๐ ศ ๑๒๑๐๑ ศิลปะ ป.๕ ๘๐ ป.๖ ๘๐ ศ ๑๓๑๐๑ ศิลปะ ศ ๑๔๑๐๑ ศลิ ปะ ม.๑ ๒๐ ม.๑ ๒๐ ศ ๑๕๑๐๑ ศิลปะ ม.๑ ๒๐ ม.๑ ๒๐ ศ ๑๖๑๐๑ ศิลปะ ม.๒ ๒๐ รำยวชิ ำพน้ื ฐำน ม.๒ ๒๐ ชนั้ มัธยมศึกษำตอนต้น (ม.๑ – ม.๓) ม.๒ ๒๐ ม.๒ ๒๐ ศ ๒๑๑๐๑ ดนตรี- นาฏศลิ ป์ ม.๓ ๒๐ ศ ๒๑๑๐๒ ทัศนศลิ ป์ ม.๓ ๒๐ ศ ๒๑๑๐๓ ดนตรี- นาฏศิลป์ ม.๓ ๒๐ ศ ๒๑๑๐๔ ทัศนศลิ ป์ ม.๓ ๒๐ ศ ๒๒๑๐๑ ดนตรี- นาฏศิลป์ ศ ๒๒๑๐๒ ทศั นศลิ ป์ ม.๔ ๒๐ ศ ๒๒๑๐๓ ดนตรี- นาฏศลิ ป์ ม.๔ ๒๐ ศ ๒๒๑๐๔ ทัศนศลิ ป์ ม.๕ ๒๐ ศ ๒๓๑๐๑ ดนตรี- นาฏศลิ ป์ ม.๕ ๒๐ ศ ๒๓๑๐๒ ทัศนศิลป์ ม.๖ ๒๐ ศ ๒๓๑๐๓ ดนตรี- นาฏศิลป์ ม.๖ ๒๐ ศ ๒๓๑๐๔ ทัศนศลิ ป์ รำยวิชำพื้นฐำน ชน้ั มธั ยมศึกษำตอนปลำย (ม.๔ – ม.๖) ศ ๓๑๑๐๑ ศิลปะ(ดนตรี- นาฏศลิ ป์) ศ ๓๑๑๐๒ ศลิ ปะ(ทศั นศลิ ป์) ศ ๓๒๑๐๑ ศลิ ปะ(ดนตรี- นาฏศลิ ป์) ศ ๓๒๑๐๒ ศิลปะ(ทัศนศลิ ป์) ศ ๓๓๑๐๑ ศลิ ปะ(ดนตรี- นาฏศลิ ป์) ศ ๓๓๑๐๒ ศลิ ปะ(ทศั นศิลป์)
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119