Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรภาษาจีน

หลักสูตรภาษาจีน

Published by Wan Piti, 2022-05-12 10:11:33

Description: ChineseLanguage ตัวชี้วัด

Search

Read the Text Version

ภาษาจนีตัวช้ีวดั และสาระการเรียนรู ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 กลมุ สาระการเรียนรภู าษาตางประเทศ สํานกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ภาษาจนี a กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ภาษาจนี b กล่มุ สาระการเรยี นร้ภู าษาต่างประเทศ

คํานํา เม่อื เข้าสู่ศตวรรษที่ 21 โลกยง่ิ เห็นความสาำ คัญของภาษาตา่ งประเทศชัดเจนมากข้ึนๆ ควบคู่ความสาำ คัญ ของไอซที ี เพราะทัง้ สองสง่ิ น้เี ปน็ เคร่อื งมือสาำ คญั ของโลกาภิวัตน์สาำ หรบั เข้าถึงองค์ความรู้ของโลก รวมท้ังการเขา้ ถงึ และรว่ มมอื กนั ของผคู้ นตา่ งชาตติ า่ งวฒั นธรรม การรวมกลมุ่ ประเทศเพอื่ พฒั นาเศรษฐกจิ และแลกเปลย่ี นความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศ นอกจากภาษาองั กฤษซึง่ เป็นภาษาสากลจะมีบทบาทสาำ คญั แลว้ ภาษาอ่นื ก็มคี วามสำาคญั ต่อการส่อื สาร เชน่ กนั โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ภาษาของประเทศที่มีเศรษฐกจิ ขนาดใหญ่ จะเพิม่ ความสาำ คญั ตามขนาดและอทิ ธพิ ล ของเศรษฐกจิ ดว้ ย ดังน้นั หลกั สูตรการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พ.ศ. 2544 และฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2551 จึงให้ความสาำ คัญ ตอ่ การพฒั นาการเรยี นการสอนภาษาต่างประเทศ โดยกำาหนดใหผ้ เู้ รียนทกุ ระดบั ชั้นตอ้ งเรียนภาษาองั กฤษ และ ให้เลือกเรียนภาษาต่างประเทศอื่นๆ ตามความพรอ้ มของสถานศกึ ษาและความต้องการของผ้เู รียน ในสังคมไทย ภาษาจีนถือเป็นภาษาต่างประเทศท่สี องท่มี ผี ูเ้ ลือกเรียนมากทส่ี ุด ต้ังแตร่ ะดบั ประถมศกึ ษา จนถึงอุดมศึกษา และเป็นนโยบายของรัฐบาลท่ีต้องการส่งเสริมให้ผ้เู รียนและประชาชนมีความสามารถใช้ภาษานี้ ในการสอื่ สาร เพราะเศรษฐกจิ จีนเตบิ โตอยา่ งมัน่ คงและกา้ วไกล การคา้ และการลงทุนระหว่างจีนกับไทย และกบั ประเทศต่างๆ ในทกุ ทวีปทวมี ลู คา่ อยา่ งรวดเร็วและต่อเนือ่ ง ฉะนน้ั ไมใ่ ช่เพียงประเทศไทยเท่านน้ั ท่เี หน็ ความจำาเป็น ในการเตรียมพร้อมประชาชนของตนใหส้ ามารถสื่อสารดว้ ยภาษาจนี ประเทศตา่ งๆ กม็ นี โยบายในทาำ นองเดียวกัน เพอ่ื เพม่ิ ศกั ยภาพดา้ นภาษาของประชาชน อนั เปน็ กลยทุ ธห์ นง่ึ ของการเพมิ่ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ บนเวทรี ะหว่างประเทศ การพัฒนาผเู้ รียนใหม้ ีความรู้และทักษะภาษาจีนในระบบการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน ตอ้ งเปน็ ไปตามมาตรฐาน สาระการเรียนรู้ในหลักสูตรการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ แต่ภาษาจนี เป็นเพียง วชิ าเลือก สภาพจรงิ ของการเรยี นร้ไู มต่ ่อเนือ่ งเหมือนเชน่ ภาษาอังกฤษ ครผู ้สู อนและสถานศกึ ษาส่วนใหญจ่ ึงประสบ ความยุง่ ยากในการกาำ หนดขอบขา่ ยและสาระการเรยี นร้ใู หส้ อดคลอ้ งกับประสบการณ์ของผู้เรยี น ซ่งึ มที ้งั ผูเ้ รียน ที่มีประสบการณ์มาบ้างแล้ว หรือบางคนไม่เคยมีมาก่อน ครูจึงต้องการแนวทางที่ชัดเจนว่าขอบข่ายการเรียนรู้ ภาษาจีนในแตล่ ะระดบั ชั้นควรมมี ากหรอื น้อยเพียงใด สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐานจงึ พฒั นา หลักสูตรการเรียนการสอนภาษาจีนให้สอดคลอ้ งตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ด้วยการจดั ทาำ มาตรฐานสาระการเรยี นรู้ภาษาจนี ระดบั การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน เพอ่ื ให้สถานศกึ ษาที่เกีย่ วขอ้ งนำาไป ปรับใชใ้ หเ้ หมาะสมกับสภาพการเรยี นการสอนของตน จาำ นวน 3 หลกั สตู ร ได้แก่ 1. หลกั สูตรภาษาจนี 12 ปี (ป.1 - ม.6) 2. หลักสูตรภาษาจีน 6 ปี (ม.1 - ม.6) 3. หลกั สตู รภาษาจนี 3 ปี (ม.4 - ม.6) สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานหวังเป็นอย่างย่ิงว่าเอกสารหลักสูตรฉบับน้ีจะอำานวย ความสะดวกในการพัฒนาการเรียนการสอนภาษาจีนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานได้เป็นอย่างดี ขอขอบคุณ คณะกรรมการและผู้ท่ีมีส่วนร่วมในการจัดทำามาตรฐานการเรียนรู้ภาษาจีนและตัวชี้วัด ให้มีความสมบูรณ์และ เหมาะสมสาำ หรบั การจัดการเรียนการสอนให้ก้าวหนา้ สบื ไป (นายชนิ ภทั ร ภูมริ ัตน) เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน



คาํ ชีแ้ จง เอกสารมาตรฐานสาระการเรียนรู้ภาษาจีน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานฉบับนี้ จัดทำาขึ้น ตามกรอบมาตรฐาน ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรู้ และรปู แบบตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ โดยประยกุ ตป์ รบั เปลย่ี น และเพม่ิ ตวั อยา่ ง เน้อื หาใหเ้ หมาะสมกบั การจดั การเรียนการสอนภาษาจีน มาตรฐานสาระการเรียนรู้ภาษาจีนระดับการศึกษาขน้ั พื้นฐานจัดทำาเป็น 3 หลักสูตร คือ 1) หลกั สูตร 12 ปี (ป.1 - ม.6) 2) หลักสูตร 6 ปี (ม.1 - ม.6) และ 3) หลกั สูตร 3 ปี (ม.4 - 6) แต่ละ หลกั สตู รเรม่ิ ตง้ั แตร่ ะดบั พน้ื ฐาน ซง่ึ ผเู้ รยี นยงั ไมม่ ปี ระสบการณเ์ รยี นภาษาจนี มากอ่ น และคอ่ ยๆ เพมิ่ ความยากขนึ้ ตามระดับพัฒนาการและประสบการณอ์ ยา่ งตอ่ เนื่อง เมื่อผ้เู รียนเรยี นจบแต่ละหลักสตู ร จะมีความร้แู ละทกั ษะทางภาษาจนี เท่าเทียมกัน ที่ออกแบบเช่นนี้ เพือ่ ใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพจริง ทสี่ ถานศึกษาเปดิ สอนตามความพรอ้ มของสถานศึกษา และตามความสนใจของผเู้ รยี น บางแหง่ มีความพร้อมจะเปิดสอนในระดับประถมศึกษา บางแห่งมีความพร้อมระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และ บางแห่งมคี วามพร้อมระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ท้งั สามหลักสูตรมตี วั ชี้วัดและสาระการเรยี นรภู้ าษาจนี เป็นรายชั้นปี ตามสาระการเรียนรทู้ ง้ั 4 กลมุ่ และมาตรฐานการเรยี นรทู้ ง้ั 8 มาตรฐานของกลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ ซงึ่ กาำ หนด ไว้เป็นมาตรฐานแกนกลาง สถานศึกษาแต่ละแห่งอาจกำาหนดโครงสร้างเวลาเรียนและเป้าหมาย ความสำาเร็จไม่เหมือนกัน ดังน้ันจึงต้องประยุกต์หรือปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับสภาพท่ีสถานศึกษา กำาหนด ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ภาษาจีนในแต่ละระดับช้ันถือเป็นแกนหลักรวมของการเรียนรู้ และอาจซาำ้ กนั ไดใ้ นแตล่ ะระดบั ชน้ั ครผู สู้ อนจะตอ้ งกาำ หนดจดุ ประสงคห์ รอื ผลการเรยี นรพู้ รอ้ มทง้ั เพมิ่ ความเข้มขน้ และความซบั ซอ้ นของเนื้อหา รวมทั้งความยากงา่ ยของโครงสรา้ งทางภาษา ตามระดบั ความรู้และทักษะของผู้เรียน ตัวอยา่ งที่กำาหนดไว้ในแต่ละหลกั สูตรเป็นเพียงตวั อยา่ งเบือ้ งตน้ เท่าน้นั สถานศึกษาควรประยุกต์และออกแบบเพ่ิมเติมให้สอดคล้องและเหมาะสมกับเป้าหมายและผลลัพธ์ ท่ีต้องการ เนอื่ งจากเปน็ หลกั สตู รทเี่ รมิ่ ตงั้ แตร่ ะดบั พนื้ ฐานทง้ั สามหลกั สตู ร ดงั นน้ั คณะผจู้ ดั ทาำ หวงั เปน็ อยา่ งยงิ่ วา่ มาตรฐานสาระการเรยี นรภู้ าษาจนี ฉบบั นี้ ซงึ่ จดั ทาำ ขนึ้ โดยประยกุ ตต์ ามตวั ชวี้ ดั และสาระ การเรียนรู้ กลุ่มภาษาต่างประเทศ จะอำานวยความสะดวกให้ผู้สอนเข้าใจเป้าหมายของการเรียนรู้ ภาษาจนี และสามารถกาำ หนดผลการเรยี นรหู้ รอื จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรไู้ ดต้ รงตามเปา้ หมายของหลกั สตู ร ครูผู้สอนควรมุ่งจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนเกิดทักษะการใช้ภาษาในการสื่อสารมากกว่าเพียงแค่ รูภ้ าษาเทา่ น้ัน คณะผจู้ ัดทำา

สารบัญ หน้� คาำ นำา 1 คำาชแ้ี จง 1 2 บทนาำ 3 ความสาำ คัญของภาษาจนี 6 วสิ ัยทัศนภ์ าษาจีน 8 เรยี นรู้อะไรในภาษาจีน 9 จุดประสงค์การเรียนรู้ 11 ผลลพั ธท์ ค่ี วรเกดิ จากการเรียนรู้ 12 รปู แบบการเรยี นการสอน แหล่งการเรยี นรู้ 13 การประเมนิ ผลการเรยี น 91 ตวั ช้ีวัดและสาระการเรียนรู้ภาษาจนี 139 168 1. หลักสูตรภาษาจนี 12 ปี (ป. 1 - ม. 6) 170 2. หลักสูตรภาษาจนี 6 ปี (ม. 1 - ม. 6) 171 3. หลกั สูตรภาษาจนี 3 ปี (ม. 4 - ม. 6) 175 อภธิ านศพั ท์ เอกสารอ้างองิ ภาคผนวก คณะผจู้ ดั ทำา ตวั ชี้วัดและสาระการเรยี นรภู้ าษาจีน f กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ

บทน�ำ ความส�ำ คัญของภาษาจนี จุดมงุ่ หมายของการเรยี นภาษาจีนคอื การสร้างศักยภาพในการใช้ภาษาจนี เพื่อสอื่ สาร กบั ชาวจีนหรอื ผคู้ นทใี่ ช้ภาษาจนี ดว้ ยวัตถปุ ระสงค์ต่างๆ เช่น การท�ำ ธุรกจิ การคา้ ระหว่างประเทศ การศกึ ษา การท่องเที่ยว การร่วมมอื กันของภาครัฐและเอกชน การกระชับความสมั พันธ์และแลกเปลย่ี น วัฒนธรรม แม้ต้นทางของการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศคือการศกึ ษา แต่เม่อื เข้าสอู่ าชพี นัน่ คอื การดำ�เนนิ ชวี ิตดว้ ยเศรษฐกจิ การมงี านท�ำ พร้อมมีรายได้ และการเรยี นรู้ตลอดชวี ิต ถอื เป็นการพัฒนา เศรษฐกจิ ส่วนตนใหม้ ีความมั่นคง อันเป็นสว่ นหน่งึ ของการพัฒนาเศรษฐกจิ ชาติ ความรงุ่ เรือง ทางเศรษฐกจิ น�ำ มาซงึ่ ความมน่ั คงในชวี ติ ความเปน็ อยู่ของประชาชน ในสังคมโลกปัจจุบันและอนาคต ทกั ษะและความสามารถในการใชภ้ าษาตา่ งประเทศถอื เป็นปจั จยั ที่สำ�คัญของการส่อื สาร แมบ้ คุ คล จะมีศักยภาพโดดเด่นหลากหลายดา้ นในเชงิ วิชาการหรอื ศาสตรอ์ ่นื ๆ แตห่ ากด้อยความสามารถ ด้านภาษาต่างประเทศ ศักยภาพท่มี ีอยูย่ อ่ มเสมอื นลดทอนลง ภาษาต่างประเทศท่ีส�ำ คญั ๆ ล้วนเป็น ภาษาของประเทศท่ีมีเศรษฐกจิ ขนาดใหญ่ ซ่งึ รฐั ตา่ งประเทศตอ้ งการรว่ มทำ�การค้าด้วย อยา่ งเช่น สาธารณรัฐประชาชนจีนซ่ึงมีเศรษฐกิจเติบโตก้าวหน้าในประชาคมโลกอย่างมั่นคงและต่อเน่ือง ภาษาจนี จงึ เปน็ ภาษาตา่ งประเทศทมี่ คี วามส�ำ คญั ตามอทิ ธพิ ลทางเศรษฐกจิ ซงึ่ คนทว่ั โลกนยิ มเรยี นรู้ อกี ทั้งยังเป็นภาษาหนึ่งขององค์การสหประชาชาติ การเรยี นรู้ภาษาจีนของคนไทยจึงมีความจ�ำ เปน็ ในการเพิม่ ศกั ยภาพการสื่อสารกับประชากรในประเทศจนี และในประชาคมโลก เพราะภาษาจนี มิใชส่ ่ือสารกันเพียงภายในประเทศจีนเท่านน้ั หากมผี ้นู ิยมใชก้ นั ทั่วโลก และมผี นู้ ิยมใช้มากทส่ี ุดดว้ ย การส่งเสรมิ ใหค้ นไทยสามารถใชภ้ าษาจีนได้ จะสง่ ผลต่อการเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศในเวทีระหวา่ งประเทศ และการมีสมั พันธไมตรอี นั ดีกับสาธารณรัฐประชาชนจนี การจัดการเรียนการสอนภาษาจีนเป็นภาษาต่างประเทศที่สองในประเทศไทยได้ขยายตัว เพม่ิ มากขึน้ เม่อื กระทรวงศกึ ษาธิการประกาศใชห้ ลกั สูตรการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พ.ศ. 2544 ซึ่ง เปิดโอกาสให้ผู้เรียนไดเ้ พิ่มการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมากข้ึน ทนั การณก์ ับการเปลี่ยนแปลง อนั รวดเร็วของโลกาภิวตั น์ ซง่ึ เกดิ เสรนี ยิ มทางการค้า การพัฒนาเทคโนโลยี และการไหลเวียน สารสนเทศอยา่ งรวดเรว็ ทนั ทที ี่ประกาศใชห้ ลักสตู ร โรงเรยี นระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐานท้ังของรัฐ และเอกชนจ�ำ นวนมากจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนเปน็ วชิ าเพิ่มเตมิ ต้ังแต่ระดับอนุบาลจนถงึ ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย เพอื่ สรา้ งสงั คมฐานเศรษฐกจิ ทอี่ าศัยภาษาจีนเปน็ เครอื่ งมือของการสื่อสาร แต่ทวา่ ยังไมม่ หี ลกั สตู รภาษาจีนโดยเฉพาะ สถานศกึ ษาต่างจัดท�ำ หลักสูตรของตนเอง ตามมาตรฐาน สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ จึงไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษา ข้ันพ้นื ฐาน ซ่งึ เป็นหน่วยงานหลกั ท่รี บั ผิดชอบหลกั สูตรการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานของกระทรวงศึกษาธกิ าร ตวั ช้ีวดั และสาระการเรียนรู้ภาษาจีน 1 กลุม่ สาระการเรียนร้ภู าษาตา่ งประเทศ

ตระหนกั ถึงความสาำ คัญในการพฒั นาการเรียนการสอนภาษาจีนให้เป็นมาตรฐานเดยี วกนั และเปน็ ไป ตามมาตรฐานสากลของเจา้ ของภาษา รวมทั้งเพอื่ ให้การส่อื สารภาษาจีนของคนไทยมีประสิทธภิ าพ จึงไดจ้ ัดทาำ มาตรฐานสาระการเรียนร้ภู าษาจีน ระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ตามกรอบหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ โดยกาำ หนดตวั ช้ีวัด และสาระการเรยี นรูภ้ าษาจีนเปน็ ช้ันปี เพื่อเป็นแนวทางสำาหรับสถานศกึ ษาในการนาำ ไปออกแบบ บทเรียนและพัฒนาการเรียนการสอนภาษาจีนให้เหมาะสมกับผู้เรียนและสภาพการเรียนการสอน ในโรงเรียน วสิ ัยทศั น์ภ�ษ�จีน ใชภ้ าษาจนี สือ่ สาร ในสถานการณต์ ่างๆ มีความรคู้ วามเขา้ ใจ ใชภ้ าษาจีน วฒั นธรรมจนี ถ่ายทอดความรู้ ความคดิ และ วภสิ �ัยษท�จัศนีน์ วัฒนธรรมไทย ใช้ภาษาจนี ไดอ้ ย่างสร้างสรรค์ แสวงหาความรู้ เพอื่ ศกึ ษาตอ่ และ ประกอบอาชพี มีเจตคตทิ ด่ี ี ต่อภาษาจีน ตัวชี้วดั และสาระการเรียนรู้ภาษาจนี 2 กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาต่างประเทศ

เรียนรอู้ ะไรในภาษาจีน จุดมุ่งหมายของการเรียนภาษาจีนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 คือ พัฒนาผเู้ รยี นใหม้ ีทักษะและสามารถส่อื สารภาษาจนี ข้ันพ้นื ฐานอย่างมี ประสทิ ธภิ าพตามสถานการณต์ ่างๆ ท้งั การฟัง - พดู - อ่าน - เขียน - และแสดงออก สามารถใช้ ภาษาจนี ในการแสวงหาความรู้ ศกึ ษาตอ่ ประกอบอาชพี มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเรอ่ื งราวและวฒั นธรรมจนี เพ่อื เข้าถงึ ปรชั ญา วธิ คี ิด และวถิ ชี ีวิตของชาวจนี สามารถเปรยี บเทยี บและถา่ ยทอดความคดิ และ วัฒนธรรมไทย-จีนด้วยภาษาจีนอย่างสร้างสรรค์ และมีเจตคติที่ดีต่อภาษาจีน ดังนั้นเพื่อให้บรรลุ วตั ถปุ ระสงค์ดงั กล่าว สาระสำ�คญั ของการเรยี นร้ภู าษาจนี ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 จงึ ประกอบด้วย J การใช้ภาษาจีนในการฟัง-พูด-อ่าน-เขียน-แสดงออก แลกเปลี่ยน ข้อมูล ข่าวสาร แสดงความรสู้ กึ และความคิดเห็น ตคี วาม สรุปความ นำ�เสนอขอ้ มลู ความคิดรวบยอด และ ความคิดเหน็ ในเรื่องตา่ งๆ รวมทงั้ สรา้ งความสัมพันธร์ ะหวา่ งบคุ คลอยา่ งเหมาะสม J การใช้ภาษาจีนตามแบบแผนและวัฒนธรรมจีน รู้และเข้าใจความเหมือนและ ความแตกต่างระหว่างภาษาและวฒั นธรรมของจีนกับของไทย และนำ�ไปใชอ้ ย่างเหมาะสม J การใชภ้ าษาจนี ในการเชอ่ื มโยงความรกู้ บั กลมุ่ สาระการเรยี นรอู้ น่ื เปน็ พน้ื ฐานในการ พัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทศั น์ของตน J การใชภ้ าษาจีนในสถานการณต์ ่างๆ ท้งั ในหอ้ งเรียนและนอกห้องเรียน ชมุ ชน และ สังคมโลก เปน็ เครื่องมือพื้นฐานในการศกึ ษาตอ่ ประกอบอาชพี และแลกเปลี่ยนเรยี นรกู้ ับสงั คมโลก ท้งั นี้ เปา้ หมายการเรยี นรู้ดงั กล่าวกำ�หนดข้ึนตามมาตรฐานการเรยี นรูใ้ นกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาตา่ งประเทศ ดังนี้ มาตรฐาน 1.1 เขา้ ใจและตีความเรื่องทฟ่ี งั และอา่ นจากสอ่ื ประเภทต่างๆ และแสดง ความคิดเหน็ อยา่ งมเี หตุผล มาตรฐาน 1.2 มที กั ษะการสอื่ สารทางภาษาในการแลกเปล่ยี นขอ้ มูลขา่ วสาร แสดง ความรสู้ ึกและความคดิ เห็นอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ มาตรฐาน 1.3 น�ำ เสนอขอ้ มลู ขา่ วสาร ความคดิ รวบยอด และความคดิ เหน็ ในเรอ่ื งตา่ งๆ โดยการพดู และการเขียน มาตรฐาน 2.1 เขา้ ใจความสมั พนั ธ์ระหวา่ งภาษาและวฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา และ น�ำ ไปใชไ้ ดอ้ ยา่ งเหมาะสมกบั กาลเทศะ มาตรฐาน 2.2 เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของ เจา้ ของภาษา กับภาษาและวฒั นธรรมไทย และนำ�ไปใช้อยา่ งถกู ตอ้ งและเหมาะสม ตวั ช้วี ดั และสาระการเรียนรภู้ าษาจีน 3 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ

มาตรฐาน 3.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในการเช่ือมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืน และเปน็ พนื้ ฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศน์ของตน มาตรฐาน 4.1 ใชภ้ าษาจนี ในสถานการณต์ ่างๆ ท้งั ในสถานศกึ ษา ชมุ ชน และสังคม มาตรฐาน 4.2 ใช้ภาษาจนี เป็นเคร่ืองมือพ้ืนฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ และ การแลกเปลีย่ นเรยี นรกู้ ับสงั คมโลก ภาษาจีนจัดเป็นภาษาต่างประเทศในจำ�นวนหลายภาษาท่ีหลักสูตรกำ�หนดให้ผู้เรียนเลือกเรียน ตามความถนดั และความสนใจ ซึ่งแตล่ ะโรงเรียนมรี ะดบั ความพร้อมและจดุ เน้นการจัดการเรยี นการสอน ภาษาจนี แตกตา่ งกัน จำ�นวนผเู้ รียนและจำ�นวนคาบเรยี นในแต่ละระดับชัน้ และในแต่ละโรงเรยี น กแ็ ตกต่างกัน บางแห่งอาจมาก บางแหง่ อาจน้อย ขึน้ อยู่กับความพรอ้ มและจดุ เนน้ ของโรงเรยี น จากสภาพการณด์ งั กล่าว สำ�นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐานจึงออกแบบหลักสตู รภาษาจนี ใหส้ อดคล้องและเอ้ืออำ�นวยต่อสถานการณ์ดงั กลา่ ว รวม 3 หลกั สูตร ไดแ้ ก่ 1. หลกั สูตรภาษาจีนต่อเน่อื ง 12 ปี ส�ำ หรับการเรยี นต่อเนือ่ ง ต้ังแตช่ ้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ถงึ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 2. หลักสูตรภาษาจีน 6 ปี สำ�หรบั การเรม่ิ เรียนตง้ั แตร่ ะดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 และ ตอ่ เน่ืองจนถึงช้นั มัธยมศึกษาชนั้ ปีท่ี 6 3. หลกั สูตรภาษาจนี 3 ปี สำ�หรับการเรม่ิ เรยี นในชัน้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย หรือ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 - 6 เนื้อหาสาระสำ�หรับการเรียนรู้ภาษาจีนมีรายละเอียดสังเขปดังผังมโนทัศน์ในหน้าถัดไป ในแต่ละมาตรฐานการเรียนรู้ได้กำ�หนดตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้ที่สอดคล้องตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พ.ศ. 2551 กลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาตา่ งประเทศ โดยก�ำ หนดขอบขา่ ย การเรียนรูเ้ ป็นรายปี เพ่อื ใหโ้ รงเรียนไดพ้ ฒั นาผูเ้ รียนให้เพมิ่ พนู ความรูค้ วามสามารถ ทักษะการสือ่ สาร ภาษา และความเขา้ ใจในวัฒนธรรมจีน ตามระดับวัยของผู้เรยี น ซึ่งซับซ้อนข้ึนทัง้ แนวกวา้ งและแนวลกึ และมีความหลากหลายท่ีครอบคลุมสาระตามผงั มโนทศั น์ รวมทั้งเป็นไปตามหลกั การและมาตรฐานสากล ของการเรยี นรูภ้ าษาจีนในฐานะภาษาต่างประเทศ ตัวชวี้ ดั และสาระการเรยี นรู้ภาษาจนี 4 กลุม่ สาระการเรียนร้ภู าษาต่างประเทศ

ผังมโนทศั นส์ �ระก�รเรยี นรภู้ �ษ�จนี เขา้ ใจและมีทักษะในการสอ่ื สารดว้ ยภาษาจีน มีความรคู้ วามสามารถในการใชภ้ าษาจนี เพอื่ แลกเปล่ียน และนาำ เสนอขอ้ มูลข่าวสาร สบื ค้นขอ้ มลู ความรู้ อยา่ งเหมาะสมกบั บุคคลและกาลเทศะ ตามความสนใจในหัวข้อเรอ่ื งเกย่ี วกบั - คาำ ศัพท์ - ตนเอง - เสียง ส�ระท่ี 1 - ครอบครวั - ประโยคผสม ภ�ษ�เพ่อื ก�รสอ่ื ส�ร ส�ระท่ี 3 - โรงเรยี น - ประโยคซบั ซ้อน ภ�ษ�กบั คว�มสมั พันธ์กบั - สิง่ แวดลอ้ มรอบตวั - ขอ้ ความท่ีเปน็ ความเรยี ง กลมุ่ ส�ระก�รเรยี นรู้อืน่ - อาหาร เครอ่ื งดมื่ - ความสัมพันธ์ระหวา่ งบุคคล ท่มี ตี ัวเชื่อมขอ้ ความ - เวลาว่างและนนั ทนาการ - ข้อความทไ่ี ม่เปน็ ความเรียง - การศกึ ษาและอาชีพ - บทสนทนาทเ่ี ปน็ ทางการ - การซอื้ ขาย และไมเ่ ปน็ ทางการ ส�ระก�รเรียนรู้ - ลมฟา้ อากาศ ภ�ษ�จีน - การเดนิ ทางท่องเทยี่ ว - การแสดงความรู้สึกนกึ คิด - การบริการ - การสรุปความคิดรวมยอด - สถานท่ี - การแสดงความคิดเหน็ - ภาษา - วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ส�ระที่ 2 ส�ระที่ 4 - อนื่ ๆ ภ�ษ�และวฒั นธรรม ภ�ษ�กบั คว�มสัมพนั ธ์ กับชมุ ชนและโลก มคี วามรคู้ วามรู้ความเข้าใจเกยี่ วกับ ใชภ้ าษาภายในและนอกบริบทโรงเรียนเพ่ือ - วฒั นธรรมทางภาษา - ขยายเพม่ิ พูนความร้แู ละแสวงหาความเพลดิ เพลิน - วัฒนธรรมทางชีวติ ความเปน็ อยู่ - ศึกษาต่อและเตรียมเข้าสอู่ าชีพ ตัวช้ีวดั และสาระการเรยี นร้ภู าษาจีน 5 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ การเรียนรู้ในแต่ละหลักสูตรเร่ิมจากระดับพ้ืนฐานตามสภาพท่ีเป็นจริงของนักเรียนไทย แลว้ ทวีความซับซ้อนขนึ้ ทงั้ แนวลกึ และกว้างตามระดับวยั ของผู้เรียน ต้งั แต่เรม่ิ เรยี นรู้และท�ำความเขา้ ใจ เน้อื หาภาษาง่ายๆ ท่ีเป็นเรื่องใกล้ตวั แลว้ ค่อยๆ ขยายออกในลักษณะซำ�้ แล้วคืบ ผู้เรยี นจะเขา้ ใจ กลวธิ กี ารเรยี นรู้แตล่ ะเน้อื หา การเชื่อมโยงข้ามเน้ือหา จนถงึ ข้นั พัฒนาวธิ กี ารเรยี นรทู้ ่เี ปน็ ของตนเอง สามารถสื่อสารด้วยภาษาจนี มีความสนุกสนานและความมัน่ ใจในการเรียนและการใช้ภาษาจีน เมอ่ื เรยี นรูด้ ้วยระยะเวลาท่ีเพียงพอและครบถว้ นตามมาตรฐานในหลักสตู ร เมือ่ จบหลกั สตู ร ผู้เรยี น ท้ังสามหลักสูตรจะมีความรู้ ความสามารถ และทักษะการสอื่ สารภาษาจีนในระดบั ทีเ่ ทา่ เทียมกัน ครูต้องท�ำความเข้าใจหลักสูตรและออกแบบบทเรียนโดยบูรณาการกิจกรรมการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนได้พัฒนาทง้ั ดา้ นความรู้ ทักษะ และค่านิยมทางวัฒนธรรมท่ีเหมาะสมกับระดับวัยและ ความสามารถของผ้เู รยี น จดุ ประสงค์การเรียนร้ทู ีเ่ รามุ่งหวงั เพือ่ การพฒั นาจะเกิดผลลพั ธ์ใน 3 ลกั ษณะ ได้แก่ ความรู้ทางภาษา ทักษะและสมรรถนะ และความเข้าใจในวัฒนธรรมจีน ซึ่งขยายความ โดยสงั เขปไดด้ ังนี้ ความร้ทู างภาษา 1. รแู้ ละเข้าใจการออกเสียง – รู้พยัญชนะและสระในรปู สัทอกั ษรพนิ อนิ พร้อมเปรยี บเทียบ กับอกั ษรจนี สามารถประสมพยัญชนะกบั สระได้ รูแ้ ละเขา้ ใจการออกเสียงต่อเน่อื งและการเปล่ยี นเสียง การแยกแยะเสยี ง สามารถสรา้ งความเชอ่ื มโยงระหวา่ งเสยี ง ตวั อักษร และความหมายได้ รวู้ า่ ภาษาจีนมเี สียงวรรณยุกต์ 4 เสยี ง และเสยี งเบา 1 เสยี ง เมอื่ เขา้ ใจหลกั การเบ้ืองตน้ เช่นนี้ จึงสามารถใช้เป็นฐานในการพัฒนาการเรียนรู้ของตนในขั้นสูงขึ้นเป็นล�ำดับได้ จนสามารถออกเสียงได้ อยา่ งคล่องแคล่วและเปน็ ธรรมชาติ รวมทง้ั ออกเสียงด้วยท�ำนองเสยี งและน�ำ้ หนักเสยี งเพ่ือสือ่ สาร ความหมายพเิ ศษได้ 2. รู้ตวั อักษรและค�ำศัพท์ - ร้ตู ัวอักษรและค�ำศพั ท์โดยเร่ิมจากสว่ นท่ีใช้บอ่ ยในชวี ิต ประจ�ำวัน สามารถจ�ำและอ่านตัวอกั ษรจีนและค�ำศัพท์ สามารถแยกแยะเสียงอ่าน รูป และความหมาย ของตวั อกั ษรจีน รู้เส้นขดี และล�ำดับขีดของตัวอกั ษรจีน รเู้ สน้ ขดี พ้นื ฐานและเสน้ ขีดพเิ ศษทใี่ ช้บอ่ ย ของตัวอักษรจนี เขา้ ใจความสัมพนั ธร์ ะหว่างตัวอักษรกบั ค�ำศพั ท์ รตู้ วั อักษรเด่ียวและอักษรประสม รหู้ มวดค�ำและส่วนประกอบของตวั อักษรจีน ร้วู ธิ ปี ระกอบตัวอักษรและโครงสร้างของตวั อกั ษร เขา้ ใจ ความหมายของค�ำศัพทใ์ นบรบิ ทตา่ งๆ เรียนรู้และเพม่ิ พนู ค�ำศัพทใ์ หมๆ่ จากเรอ่ื งใกล้ตวั และเร่อื งราว ในชีวิตประจ�ำวันจนถงึ เรื่องในสงั คมวงกวา้ งและขา้ มสาระวชิ า สามารถเลอื กใชค้ �ำศัพทเ์ พ่ือสอื่ สาร และสอ่ื ความหมายในหวั ข้อตา่ งๆ ในระดับประถมศึกษาควรรจู้ กั ตัวอกั ษรประมาณ 200 ตวั ค�ำศพั ท์ พน้ื ฐานท่ีเก่ียวขอ้ งประมาณ 500-600 ค�ำ ส่วนระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ควรรูแ้ ละใช้ค�ำศัพท์ ไมต่ �่ำกวา่ 1,000 ค�ำ และระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ควรร้แู ละใช้ค�ำศพั ท์ไม่ต่�ำกวา่ 1,500 ค�ำ ตวั ชว้ี ัดและสาระการเรียนรูภ้ าษาจีน 6 กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาต่างประเทศ

3. รแู้ ละสามารถใช้ไวยากรณ์ - รแู้ ละเข้าใจหน้าทขี่ องค�ำท่ใี ชบ้ ่อยในชวี ิตประจ�ำวนั เพราะค�ำศัพท์แตล่ ะค�ำจะสือ่ ความหมาย และท�ำหนา้ ทตี่ า่ งกนั เมือ่ น�ำมาเรียงกนั ตามหลักไวยากรณ์ จึงจะสือ่ ความหมายได้ครบถว้ นและกว้างข้ึน ผ้เู รียนจึงตอ้ งรู้และเขา้ ใจหน้าท่ีของค�ำ ไดแ้ ก่ ค�ำนาม ลักษณะนาม สรรพนาม บพุ บท สันธาน คุณศพั ท์ ค�ำวเิ ศษณ์ ค�ำกรยิ า กริยาช่วย การซ้ำ� ค�ำกรยิ า และรลู้ �ำดับของค�ำ โครงสร้างและรปู ประโยคที่ใช้บอ่ ย ไดแ้ ก่ ประโยคบอกเล่า ประโยคปฏิเสธ ประโยคค�ำถาม ประโยคอุทาน ประโยคเปรยี บเทียบ ประโยคความรวมประเภทต่างๆ ท่ีซบั ซอ้ นขึ้น เปน็ ล�ำดับในบริบทตา่ งๆ รวมท้ังไวยากรณ์อนื่ ๆ ทเ่ี ป็นแบบแผนส�ำหรับการสอ่ื สารทถ่ี ูกตอ้ งตาม ระเบยี บวธิ ที างภาษา เพราะเมื่อผเู้ รียนรคู้ �ำศัพท์และความหมายของค�ำเหลา่ น้นั แล้ว ไวยากรณ์จะเป็น ส่วนท่ีจดั เรียงค�ำลงในล�ำดับตามหนา้ ที่ทถ่ี กู ตอ้ งของค�ำนัน้ ๆ เพอื่ สือ่ ความหมาย ทกั ษะทางภาษา 1. มีสมรรถนะทางภาษา - เข้าใจและสามารถใชท้ ักษะการส่ือสารที่คล่องแคล่วข้ึนเปน็ ลำ�ดับตามวยั และประสบการณ์ที่สั่งสม ไดแ้ ก่ การทกั ทาย อำ�ลา ขอบคณุ ขอโทษ ชมเชย อวยพร เชอื้ เชิญ แนะน�ำ สอบถาม เตอื น เลา่ เร่ือง อธิบาย บรรยาย แสดงอารมณ์ความรู้สึก ท่าที ความคดิ เหน็ สนทนาโตต้ อบพดู คุยเกย่ี วกับการใชช้ วี ติ - การเรยี น - สถานการณ์ - ประเด็นทาง สังคมและวฒั นธรรม 2. เขา้ ใจและสามารถใชป้ ระเดน็ สนทนาจากเรอ่ื งใกลต้ วั ในชวี ติ ประจ�ำ วนั สเู่ รอ่ื งไกลตวั เชน่ ขอ้ มลู ส่วนตัว งานอดเิ รก ครอบครัว โรงเรียน ชีวติ การเรยี น การด�ำ เนินชวี ิตในสังคม สภาพแวดลอ้ ม ขนบธรรมเนยี มประเพณี ประเดน็ เกี่ยวกบั สงั คม ศลิ ปวัฒนธรรม วทิ ยาศาสตร์ ส่งิ แวดลอ้ ม เศรษฐกจิ การเมอื ง ท้งั ในระดับชาติและนานาชาติ เรอื่ งในอดตี - ปัจจบุ นั - อนาคต 3. เขา้ ใจและสามารถส่ือความหมายตรงตัวและความหมายแฝง จับใจความสำ�คญั ใชภ้ าษากายหรอื สิ่งของเพื่อช่วยในการส่อื สารในชวี ติ ประจ�ำ วัน เขียนความเรยี งและขดั เกลาภาษา ไดอ้ ย่างเหมาะสม ความรแู้ ละเขา้ ใจทางวัฒนธรรม 1. รู้และเขา้ ใจวัฒนธรรมจีน และสามารถเปรยี บเทยี บความคลา้ ยคลงึ และความแตกตา่ ง กับวัฒนธรรมไทย เช่น ชนชาติ บคุ คลส�ำ คัญ เทศกาล ขนบธรรมเนยี มประเพณี ความเชอ่ื ศรัทธา มารยาท อาหาร การละเลน่ สิง่ ประดิษฐ์ วถิ ชี วี ิตในอดีตและปจั จุบัน ประวัตศิ าสตร์ ภูมิศาสตร์ ระบอบการปกครอง และความเป็นไปตา่ งๆ ท่สี ะท้อนถึงความเป็นชนชาตแิ ละวัฒนธรรมจีน ตวั ชว้ี ัดและสาระการเรียนรูภ้ าษาจนี 7 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ

ผลลพั ธ์ท่คี วรเกดิ จากการเรียนรู้ * ปฏิบตั ิตามค�ำสง่ั ค�ำขอรอ้ ง ค�ำแนะน�ำในคูม่ อื การใชง้ านตา่ งๆ ค�ำชีแ้ จง ค�ำอธิบายและ ค�ำบรรยายทฟี่ งั และอา่ น อา่ นออกเสยี งค�ำ ประโยค ข้อความ ขา่ ว ประกาศ โฆษณา บทรอ้ ยกรอง และบทละครส้ันตามหลักการอ่าน อธิบายและเขียนประโยคและข้อความให้สัมพันธ์กับส่ือที่ไม่ใช่ ความเรยี งรูปแบบต่างๆ รวมทงั้ ระบแุ ละเขยี นสือ่ ทีไ่ ม่ใชค่ วามเรยี งรปู แบบตา่ งๆ ใหส้ มั พันธ์กบั ประโยค และขอ้ ความทฟี่ งั หรอื อ่าน จบั ใจความส�ำคัญ วเิ คราะห์ความ สรุปความ ตีความ และแสดงความคิดเห็น จากการฟังและอ่านเร่ืองที่เปน็ สารคดีและบันเทิงคดี พรอ้ มท้งั ใหเ้ หตุผลและยกตัวอยา่ งประกอบ * สนทนาและเขยี นโต้ตอบข้อมูลเกย่ี วกบั ตนเอง เรื่องใกล้ตัว ประสบการณ์ สถานการณ์ ข่าว เหตุการณ์ ประเดน็ ทอี่ ยใู่ นความสนใจของสังคม และสือ่ สารอยา่ งตอ่ เน่อื งและเหมาะสม พดู และเขียนแสดงความต้องการ เสนอและให้ความชว่ ยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือ ในสถานการณจ์ �ำลองหรอื สถานการณจ์ รงิ อยา่ งเหมาะสม พูดและเขียนเพ่ือขอและใหข้ อ้ มูล บรรยาย อธบิ าย เปรียบเทยี บ และแสดงความคดิ เห็นเกย่ี วกบั เรอ่ื ง/ประเดน็ ตา่ งๆ ขา่ ว เหตุการณ์ทฟ่ี งั และอ่าน พูดและเขยี นบรรยายความร้สู ึกและแสดงความคดิ เหน็ ของตนเองเก่ยี วกบั เรอ่ื งต่างๆ กิจกรรม ประสบการณ์ ขา่ ว เหตุการณอ์ ย่างมเี หตผุ ล * พูดและเขยี นน�ำเสนอข้อมลู เก่ียวกับตนเอง ประสบการณ์ ข่าว เหตุการณ์ เรื่องและ ประเด็นตา่ งๆ ตามความสนใจ พดู และเขยี นสรุปใจความส�ำคัญ แก่นสาระท่ไี ด้จากการวเิ คราะหเ์ ร่ือง กิจกรรม ขา่ ว เหตุการณ์ และสถานการณต์ ามความสนใจ พดู และเขียนแสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกับกิจกรรม ประสบการณ์ และเหตกุ ารณท์ ั้งในทอ้ งถิน่ สังคม และโลก พรอ้ มทง้ั ให้เหตผุ ลและ ยกตัวอยา่ งประกอบ * เลอื กใช้ภาษา น้�ำเสยี ง และกิรยิ าทา่ ทางเหมาะกับระดบั ของบุคคล เวลา โอกาสและ สถานท่ีตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของจีน อธิบายหรืออภิปรายเกี่ยวกับวิถีชีวิต ความคิด ความเชือ่ และขนบธรรมเนยี มและประเพณีของจนี เข้ารว่ ม แนะน�ำ และจัดกิจกรรมทางภาษาและ วัฒนธรรมอย่างเหมาะสม * อธิบาย/เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างโครงสร้างประโยค ข้อความ ส�ำนวน สุภาษิต และบทกลอนของภาษาจนี และภาษาไทย วเิ คราะห์/อภิปรายความเหมอื นและความแตกต่าง ระหวา่ งวถิ ชี ีวติ ความเช่ือ และวัฒนธรรมของจนี กบั ของไทย และน�ำไปใช้อย่างมีเหตผุ ล * ค้นคว้า/สืบค้น บันทึก สรุป และแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับข้อมูลที่เก่ียวข้องกับ กลมุ่ สาระการเรยี นรอู้ ่นื จากแหล่งเรยี นรตู้ ่างๆ และน�ำเสนอดว้ ยการพูดและการเขยี น * ใช้ภาษาจีนส่ือสารในสถานการณ์จริงหรือสถานการณ์จ�ำลองท่ีเกิดข้ึนในห้องเรียน สถานศึกษาชมุ ชน และสังคม ตวั ชี้วัดและสาระการเรยี นรู้ภาษาจนี 8 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ

* ใชภ้ าษาจีนสบื คน้ ค้นควา้ รวบรวม วิเคราะห์และสรุปความรหู้ รือขอ้ มลู ตา่ งๆ จากส่ือ และแหลง่ การเรยี นรตู้ ่างๆ ในการศกึ ษาต่อและประกอบอาชีพ เผยแพร่/ ประชาสัมพนั ธข์ ้อมูล ข่าวสาร ของโรงเรยี น ชมุ ชน ทอ้ งถิน่ และประเทศชาติเป็นภาษาจนี * มีทกั ษะการใชภ้ าษาจีน (เนน้ การฟงั -พดู -อา่ น-เขยี น) สือ่ สารตามหัวเรือ่ งเก่ียวกบั ตนเอง ครอบครัว โรงเรยี น สงิ่ แวดลอ้ ม อาหาร เคร่ืองดื่ม ความสัมพันธ์ระหว่างบคุ คล เวลาวา่ งและ นนั ทนาการ สุขภาพและสวสั ดกิ าร การซื้อ-ขาย ลมฟา้ อากาศ การศกึ ษาและอาชีพ การเดินทาง ท่องเทีย่ ว การบรกิ าร สถานท่ี ภาษา วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี และอ่นื ๆ ที่จ�ำเปน็ ตามสถานการณ์ * ใชป้ ระโยคผสมและประโยคซับซอ้ นสอื่ ความหมายตามบริบทต่างๆ ในการสนทนา ทั้งทเี่ ป็นทางการและไมเ่ ปน็ ทางการ รปู แบบการเรยี นการสอน * การเรียนรู้ภาษาจีนให้ได้ผลดี ครูต้องจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้นักเรียนได้ ฝึกฝนทกั ษะอยา่ งตอ่ เนอื่ ง จงึ จะเกิดการพฒั นาความรู้ความสามารถและทกั ษะในการใช้ภาษา รูปแบบ การเรียนการสอนควรหลากหลายและดึงดูดความสนใจของผู้เรียน การก�ำหนดหัวข้อเป็นเร่ืองๆ และ การก�ำหนดสถานการณ์ แลว้ สอนภาษาให้สอดคล้องกบั เรื่องหรอื สถานการณน์ น้ั จะสง่ ผลให้เรียนรู้ ภาษาแบบสื่อสารได้เร็วข้ึน เพราะสถานการณ์จะชว่ ยใหเ้ ข้าใจและจดจ�ำ ในแตล่ ะสถานการณ์ครสู ามารถ ผสมผสานการสอนทง้ั ค�ำศพั ท์ (เสยี งและความหมาย) โครงสรา้ งหรอื ไวยากรณท์ เ่ี กย่ี วขอ้ ง และวฒั นธรรม ตามบรบิ ทของสถานการณไ์ ด้ พร้อมฝกึ ทักษะการฟัง-พูด-อ่าน-หรอื เขียน ให้เหมาะสมกบั บทเรียน ส่วนวิธีสอนข้ึนอยู่กับบริบทของเน้ือหาและจุดประสงค์ท่ีต้องการให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ในลักษณะ ใดบา้ ง ดังนัน้ ครคู วรเลือกหรือก�ำหนดวิธสี อนใหเ้ หมาะสม เช่น s อธบิ าย s ใหฟ้ งั เสียงทค่ี ลา้ ย/ต่าง s แสดง/ สาธิตใหด้ ู s ให้ท่องจ�ำค�ำศัพท์ s จ�ำลองสถานการณ์ s ให้ฝึกซ�้ำ/ ท�ำแบบฝึกหัดลกั ษณะต่างๆ s ยกตัวอยา่ ง s ให้จดจ�ำลกั ษณะเฉพาะหรือข้อยกเวน้ ต่างๆ s เชือ่ มโยงและเปรียบเทียบ s ใหอ้ ่านออกเสยี ง s ถาม-ตอบ s ให้พดู +เขยี นตามโครงสรา้ งที่ก�ำหนด และ s น�ำขอ้ ผิดพลาดมาอธิบายซำ้� เปลีย่ นค�ำศัพท์โดยใช้โครงสรา้ งเดมิ s ให้สืบคน้ ค�ำศัพท์หรือเร่ือง s ให้โต้ตอบบทสนทนาเปน็ คหู่ รอื กลุ่ม จากสง่ิ พมิ พ์หรือเว็บไซต์ภาษาจีน s ใชเ้ กม/ เพลง s ใหอ้ ธิบาย/ อภิปรายภาพนง่ิ หรือภาพเคล่อื นไหว ตวั ช้ีวดั และสาระการเรยี นรูภ้ าษาจนี 9 กลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาต่างประเทศ

* การเตรยี มบทอา่ นหรือเรอ่ื งให้นักเรยี นฟังและอ่าน ครูควรเตรียมค�ำถามและค�ำตอบ ตามเนือ้ หาด้วย และอธบิ ายค�ำศัพท์ยากๆ เพือ่ ขยายความรคู้ วามเขา้ ใจ และใหผ้ เู้ รยี นได้แสดงความ คิดเหน็ * การสร้างสิ่งแวดล้อมการเรียนภาษาให้เร้าใจ มีกิจกรรมเคล่ือนไหว รวมถึงการใช้สื่อ ประกอบท่ีเป็นภาพและของจริง ตลอดจนจัดการเรียนรู้นอกช้ันเรียน จะเพิ่มบรรยากาศการเรียนรู้ สู่ผลลัพธ์ที่ดี * การใช้ส่ือ ICT จะชว่ ยอ�ำนวยความสะดวกในการสอน และเพิ่มประสทิ ธิภาพการเรยี นรู้ สามารถน�ำสถานการณเ์ สมอื นจรงิ เขา้ มาประกอบในบทเรยี นได้ และออกแบบกจิ กรรมการเรยี นการสอน ไดอ้ ย่างหลากหลาย * การจดั เวทใี หน้ กั เรยี นแสดงออกทางความรแู้ ละทกั ษะภาษาจนี รวมทัง้ การส่งเสรมิ กจิ กรรม นอกสถานศกึ ษา จะชว่ ยเพมิ่ โอกาสใหเ้ ดก็ ไดพ้ ฒั นาสมรรถนะและเหน็ ศกั ยภาพของตนเองไดช้ ดั ขนึ้ เช่น การประกวด-แข่งขน้ พดู -อ่าน-เขียน-กลา่ วสุนทรพจน์ขบั ร้องเพลงจนี ตดั กระดาษ เขียนพกู่ นั จนี และการแสดงทางวัฒนธรรม เชน่ นาฏศิลป์ * หัวข้อท่วั ไปทน่ี ิยมก�ำหนดในการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ s ตนเอง 己 s การศึกษา 教育 s บ้าน - ครอบครัว 家-家庭 s อาชีพ 工作 s โรงเรยี น 学校 s การทอ่ งเทยี่ ว 旅游 s ธรรมชาติ - สง่ิ แวดล้อม 周围自然 s อาหาร - เครื่องด่มื 食物 - 饮料 s สถานท่ี 地方 s ลมฟา้ อากาศ 气候 s สขุ ภาพ - สวัสดกิ าร 健康 - 福利 s เวลาวา่ ง - นันทนาการ 业余时间 - 娱乐 s การซ้ือขาย 买卖 s การบริการ 服务 s อารมณ์ - ความรู้สกึ 感情- 感觉 s ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งบุคคล 人与人关系 s ภาษา 语言 s วทิ ยาศาสตร์ 科学 s เทคโนโลยี 科技 ตัวชว้ี ัดและสาระการเรยี นรภู้ าษาจีน 10 กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ

แหล่งการเรียนรู้ สอ่ื การเรยี นการสอนภาษาจนี หลกั ทก่ี ระทรวงศกึ ษาธกิ ารไทยจดั ท�ำขนึ้ โดยการสนบั สนนุ ของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารจนี เพอื่ ใชใ้ นชน้ั เรยี นตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ึ พน้ื ฐาน พ.ศ. 2551 ไดแ้ ก่ หนงั สอื เรยี นชดุ “สมั ผสั ภาษาจนี ” พรอ้ มสอ่ื ประกอบทงั้ ในรปู สงิ่ พมิ พแ์ ละดจิ ติ อลทใ่ี ชค้ วบคู่ กบั หนงั สอื เรยี นชดุ นี้ และหนงั สอื เรยี น ชดุ “ภาษาจนี สรา้ งสรรค”์ นอกจากน้ี ยงั มสี อ่ื การเรยี นรทู้ ี่ ผู้เรียนสามารถใช้ประโยชน์เพื่อเพิ่มพูนทักษะทางภาษาได้อีกหลายรายการท้ังในสถานศึกษาและ นอกสถานศึกษา ดังน้ี บุคคล สื่อ หนังสือ เอกสาร สถานที่ l ครผู ู้สอน l หนงั สอื ต�ำรา (Textbooks) l หอ้ งสมดุ โรงเรยี น l ครูชาวจนี l หนงั สืออา้ งองิ (Dictionaries) l ห้อง Lap ทางภาษา l เพอ่ื นรว่ มชั้นเรยี น l หนังสือสารคดี นิยาย บทละคร l ห้องสมดุ หมวดวิชา l พอ่ แม่ ผปู้ กครอง l สอ่ื จรงิ (Authentic materials) l มมุ ภาษาจีน และสมาชิกใน ได้แก่ l หอ้ งศูนยก์ ารเรยี น (Self access) ครอบครัว - แผ่นพบั l สถานทที่ �ำการตา่ งๆ ทั้งภาครัฐ l วิทยากรทอ้ งถนิ่ / - ใบปลิว ภาคเอกชน และรฐั วสิ าหกจิ เชน่ ภูมิปญั ญาไทย - โฆษณา การท่องเทย่ี วแห่งประเทศไทย l ชาวจนี ท่ีอาศยั อยู่ - โปสเตอร์ ท่าอากาศยาน โรงแรมตา่ งๆ ในทอ้ งถน่ิ - แผนที่ แผนภมู ิ กรมประชาสมั พันธ์ ธนาคาร l เพือ่ นชาว - สัญลักษณ์ เคร่อื งหมาย ห้างรา้ น ร้านคา้ บรษิ ัท ตา่ งประเทศ - รายการวิทยุ ทีวี ภาคภาษาจีน ร้านหนงั สอื ศนู ยห์ นังสอื ฯลฯ Pen-pal / e- pal - ภาพยนตร/์ เพลงจีน l สถานทท่ี อ่ งเทยี่ วตา่ งๆ ทช่ี าวจนี l สื่อเทคโนโลยี ได้แก่ สนใจเขา้ ไปเยีย่ มชมเปน็ ประจ�ำ - Computer เช่น วดั พิพิธภณั ฑ์ เยาวราช - DVD/ VDO/ VCD โบราณสถาน วนอุทยาน ฯลฯ - Software l สถานทตู ประเทศต่างๆ - Interactive media l องค์กรระหวา่ งประเทศ - Online resources เช่น l สถาบนั ขงจ่ือ http://www.chinesexp.com http://www.hanban.com ตวั ช้วี ดั และสาระการเรียนรูภ้ าษาจนี 11 กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศ

การประเมนิ ผลการเรยี น 1. การประเมินผลการเรียนของผู้เรียนต้องประเมินตามมาตรฐานการวัดระดับความรู้ และสาระการเรียนร้ภู าษาจนี เพอ่ื บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ กลุม่ สาระการเรยี นรู้เพ่มิ เตมิ (ภาษาจนี ) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 2. ใช้รูปแบบวิธีการประเมนิ ทห่ี ลากหลาย เหมาะสมกบั เน้ือหา วิธีการสอน และสอดคล้อง กับตวั ชวี้ ัด ตามลกั ษณะการประเมินผลทางภาษา ดังแผนภมู กิ ารประเมนิ ผล 1 3. การประเมินผลการเรียนของผู้เรียนต้องเป็นประโยชน์ต่อการส่งเสริมและให้ก�ำลังใจ ผ้เู รยี น พัฒนาการเรียนภาษาจนี โดยพจิ ารณาจากความรู้ ความสามารถ ความคดิ ของผูเ้ รียน รวมทัง้ มกี ารวิเคราะหผ์ ลการประเมนิ เพอ่ื พฒั นาและปรับปรงุ การเรียนการสอน แผนภมู กิ ารประเมินผล 1 (Assessment Profile) โครงงาน (Projects) ข้อทดสอบมาตรฐาน การสนทนา (Conversation) Standardized Tests การวาดภาพ (Drawing) การสาธติ (Demonstration) ข้อทดสอบทา้ ยหน่วยการเรียนรู้ End-Of-Unit Tests การเขียนเรยี งความ (Essay) วดี ที ัศน์ / แถบบันทกึ เสียง Pกeารrfปoฏrmบิ ตัanิจcรeิง Pขap้อeทrดT-aสenอsdบts-ทPว่ัeไnปcil ขอ้ ทดสอบที่ครทู �ำ ขึน้ (Video/Audio/Tapes) Teacher Made Tests สนุ ทรพจน์ (Speeches) การทดลอง (Experiments) การเขยี นรายงาน กาOรbสPsงั eเeกrrcvตeaแptลitoiะonกnาasรnรdับรู้ การCสo่อื mสPาmeรruรsะnoหincวaaา่ ltงioบnคุ คล การอภปิ รายกลุม่ ย่อย (Written Reports) (Small-Group Discussions) การโตว้ าที (Debates) บนั ทกึ การเรยี นรู้ ปฏสิ ัมพันธใ์ นช้ันเรยี น (Journal / Learning Log) (Classroom Interaction) บนั ทกึ พฤตกิ รรม การสมั ภาษณ์ (Interviews) (Behavior Observation) แฟ้มผลงาน (Portfolios) การมสี ว่ นร่วมของผู้เรยี น (Student Participation / Involvement) ปรับจากแผนภูมิของ Heartland AEA (อ้างถึงใน Helena Curtain 2000) ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรยี นร้ภู าษาจนี 12 กลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาตา่ งประเทศ

หลักสูตรภาษาจีน 12 ปี (ป. 1- ม. 6) ตวั ช้วี ดั และสาระการเรียนรูภ้ าษาจีน 13 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ

สาระที่ 1 ภาษาเพอ่ื การส่ือสาร มาตรฐาน ต 1.1 เขา้ ใจและตีความเร่อื งท่ฟี ังและอ่านจากสอ่ื ประเภทต่างๆ และแสดง ความคดิ เห็นอยา่ งมเี หตุผล ชัน้ ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรูภ้ าษาจีน ป. 1 1. ปฏบิ ัติตามคำ�สั่งงา่ ยๆ ท่ฟี งั u คำ�ส่ังที่ใชใ้ นหอ้ งเรียน ตัวอยา่ ง qǐng tuō xi é qǐng jìn qǐlì qǐng zuòzuò xià ānjìng tīng lǎoshīd ǎkāi shū qǐng kànkàn hēibǎn bi shuōhuà 2. ระบุสัทอักษรตามระบบพินอิน u พยญั ชนะ สระเดีย่ ว และวรรณยกุ ต์ อา่ นออกเสยี ง และ u หลกั การออกเสียง ประสมเสยี งคำ�ง่ายๆ ตาม u การประสมเสยี ง หลักการออกเสียง 3. ระบุภาพหรอื สญั ลกั ษณ์ u คำ� กลุม่ คำ� และประโยคท่มี คี วามหมายเก่ยี วกับ ตรงตามความหมายของคำ� ตนเอง ครอบครวั โรงเรียน สงิ่ แวดล้อมใกลต้ ัว กลุ่มค�ำ และประโยค อาหาร และเครอ่ื งดมื่ จากการฟงั หรอื อา่ น ค�ำ ศพั ท์ 50-100 ค�ำ 4. ตอบคำ�ถามจากการฟงั หรือ u ประโยค บทสนทนา หรอื นทิ านทมี่ ภี าพประกอบ อา่ นประโยค บทสนทนา หรอื u ประโยคค�ำ ถามและคำ�ตอบ นิทานงา่ ยๆ ท่ีมภี าพประกอบ ตวั อย่าง zhè/nà shì gǒujīdàxiàng xióngmāo shénme? A : ? Zhè /nà shì shénme? B : Zhè/nà shì māo. A : Nǐ hǎo ma? B :Wǒ hěn hǎo. ตัวชี้วดั และสาระการเรียนร้ภู าษาจีน 14 กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ

ชั้น ตัวช้วี ดั สาระการเรียนรภู้ าษาจนี ป. 2 1. ปฏิบตั ิตามคำ�สั่ง และ u ค�ำ สั่ง และค�ำ ขอร้องทใี่ ชใ้ นหอ้ งเรยี น คำ�ขอร้องงา่ ยๆ ทฟี่ งั ตวั อยา่ ง qǐng jìn qǐlì qǐng zuò zuò xiàānjìng tīng lǎoshī dǎ kāi shū …… qǐng kàn...... qǐng wènqǐng huídá zuò xià lái yìqǐ dúgēn lǎoshī dú qǐng zhǔnbèi 2. ระบสุ ัทอักษรตามระบบพนิ อิน u พยัญชนะ สระเดยี่ ว สระประสม และวรรณยกุ ต์ ( ) อา่ นออกเสียง และ u หลักการออกเสียง การประสมเสยี ง ประสมเสยี ง อ่านอักษรจีน u ตัวอักษรจีน คำ�ศพั ท์ และประโยคง่ายๆ ค�ำ ศัพท์ และประโยคง่ายๆ ตามหลกั การออกเสยี ง 3. ระบภุ าพหรอื สัญลักษณ์ u ค�ำ กลุ่มคำ� ประโยคความเดยี วที่มีความหมาย ตรงตามความหมายของค�ำ เกยี่ วกบั ตนเอง ครอบครัว โรงเรียน ส่ิงแวดลอ้ ม กลุ่มคำ� และประโยคจาก ใกล้ตัว อาหารและเคร่ืองดืม่ การฟงั หรอื อ่าน ค�ำ ศพั ท์สะสม 150-200 ค�ำ 4. ตอบคำ�ถามจากการฟงั หรือ u ประโยค บทสนทนาหรอื นทิ านที่มภี าพประกอบ อ่านประโยค บทสนทนา หรือ u ประโยคคำ�ถามและค�ำ ตอบ นทิ านง่ายๆ ท่ีมีภาพประกอบ ตัวอยา่ ง ? Shì……ma ? A :Nǐ shì xuéshēng ma? B : Shì/búshì. …… shìbushì? A :zhèshìbúshìbǐ? B : shì/búshì. ป. 3 1. ปฏบิ ตั ิตามค�ำ สงั่ และ u ค�ำ ส่งั คำ�ขอร้องที่ใชใ้ นห้องเรียน คำ�ขอร้องทฟ่ี งั หรืออ่าน ตัวอยา่ ง qǐng jì n qǐlì qǐng zuò ตัวชว้ี ดั และสาระการเรยี นร้ภู าษาจนี 15 กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ

ชนั้ ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรภู้ าษาจนี zuò xiàānjìng tīng lǎoshī……dǎ kāi shū qǐng kànqǐng wènqǐng huídá zuò xià láiqǐng jǔ shǒu qǐng zhǔnbèiyìqǐ dú gēn lǎoshī dúyígè yígè dú qǐngnǐdúyíbiàn qǐngnǐzàidúyíbiàn 2. ประสมเสยี ง อ่านออกเสียงค�ำ u หลักการออกเสียงพยญั ชนะ สระ วรรณยกุ ต์ กล่มุ ค�ำ ประโยค และบทฝกึ และพยางค์ เสียงเนน้ หนัก-เบาในค�ำ กลุ่มค�ำตาม ออกเสยี งง่ายๆ ตามหลกั ระดบั เสยี งสงู -ต�่ำ เชน่ ประโยคค�ำถาม และ การออกเสียง เสียงสัมผัสในประโยค u การประสมเสยี ง u ค�ำศัพท์ กลมุ่ ค�ำ ประโยคเดย่ี ว และบทฝกึ ออกเสยี ง เชน่ ràokǒulìng u การหาค�ำศัพท์จากพจนานกุ รมภาพ 3. ระบุภาพหรือสญั ลักษณ์ u ค�ำ กลมุ่ ค�ำ ประโยคความเดียว สัญลักษณ์ทีม่ ี ตรงตามความหมายของค�ำ ความหมายเกี่ยวกบั ตนเอง ครอบครวั โรงเรียน กลุ่มค�ำ และประโยคจาก สิง่ แวดลอ้ มใกลต้ วั อาหาร เครอื่ งดืม่ เสื้อผา้ และ การฟงั หรอื อ่าน นนั ทนาการ ค�ำศพั ทส์ ะสม 250-300 ค�ำ 4. ตอบค�ำถามจากการฟังหรอื u ประโยค บทสนทนาหรอื นทิ านที่มภี าพประกอบ อา่ นประโยค บทสนทนาหรอื u ประโยคค�ำถามและค�ำตอบ นิทานงา่ ยๆ ทีม่ ภี าพประกอบ ตัวอย่าง shì……ma A : Tā shì tàiguórén ma B : Shì. Tā shì tàiguórén Zài……nǎr A : Xiǎochīdiàn zàinǎr B : Zàinǎr. shìbúshì ตวั ชวี้ ดั และสาระการเรียนรภู้ าษาจนี 16 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ

ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นร้ภู าษาจีน A : Zhè shìbúshì nǐdebǐ B : shì /búshì. A : Tā shìbushì lǎoshī B : Búshì (shéi) A : Tāshìshuí (shéi) B : Tāshìlǎoshī. ป. 4 1. ปฏิบตั ติ ามค�ำสง่ั ค�ำขอร้อง u ค�ำสงั่ ค�ำขอร้อง และค�ำแนะน�ำทใ่ี ช้ในหอ้ งเรยี น และค�ำแนะน�ำงา่ ยๆ ท่ีฟงั เชน่ การเล่นเกม การวาดภาพ กฎระเบยี บของ หรืออ่าน ห้องเรียน ตัวอยา่ ง kànhēibǎn kàndìtú zàishuōyībiàn dúhòuqǐnghuàhuàr fàngzàilǐmiànbúyàoqù qǐngpáiduì nǐyīnggāitiāntiānliànxí nǐyàoyòngxīntīng shàngkèbúkěyǐchīdōngxi 2. ประสมเสยี ง อ่านออกเสียงค�ำ u หลกั การออกเสียง กลมุ่ ค�ำ ประโยค ข้อความ u การประสมเสยี ง และบทฝกึ ออกเสียง u ค�ำ กลมุ่ ค�ำ ประโยค ข้อความ และ ตามหลักการออกเสยี ง บทฝึกออกเสียง u การใชพ้ จนานุกรม ตัวอย่าง วรรณยกุ ต์เสียง 3 ตามดว้ ยเสียง 3 ต้องออกเสยี ง ตัวแรกเป็นเสียง 2 เช่น Nǐhǎohěnměi hǎojiǔ 3. ระบุภาพ สญั ลกั ษณ์ เคร่ืองหมาย u กลุม่ ค�ำ ประโยคความเดยี ว สัญลักษณ์ ตรงตามความหมายของค�ำ เครื่องหมายท่ีมคี วามหมายเกย่ี วกับตนเอง ตวั ชี้วัดและสาระการเรียนรูภ้ าษาจีน 17 กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาต่างประเทศ

ช้นั ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรูภ้ าษาจีน กลุ่มค�ำ ประโยค และขอ้ ความ ครอบครัว โรงเรยี น อาหาร สง่ิ แวดลอ้ มใกล้ตวั สนั้ ๆ ที่ฟงั หรอื อา่ น เครอื่ งดืม่ งานอดเิ รก นนั ทนาการ ค�ำศัพท์สะสม 300-400 ค�ำ 4. ตอบค�ำถามจากการฟัง และ u ประโยค บทสนทนา นทิ านทีม่ ภี าพประกอบ อา่ นประโยค บทสนทนาหรอื u ค�ำถามเก่ียวกบั ใจความส�ำคญั ของเรื่อง เช่น นทิ านง่ายๆ ท่ีมภี าพประกอบ ใคร ท�ำอะไร ที่ไหน ตัวอย่าง ?shuí (shéi) ?shénme ?nǎli ?zàizuòshénme ป. 5 1. ปฏิบัตติ ามค�ำส่งั ค�ำขอรอ้ ง u ค�ำส่งั ค�ำขอรอ้ ง และค�ำแนะน�ำท่ใี ช้ในหอ้ งเรียน และค�ำแนะน�ำงา่ ยๆ ทฟ่ี ัง เชน่ การเลน่ เกม การวาดภาพ และอา่ น ตัวอยา่ ง qǐngfàngxiàqùqǐnghuídá zhùyìtīng qǐngpáiduì qǐngbāngwǒ qǐngděngyíxià mànmànshuōbúyàochǎonào nǐyīnggāiduōkànduōxiě xiānjǔshǒu, zàishuōhuà 2. อ่านออกเสยี งประโยค ขอ้ ความ u หลักการออกเสียง และบทกลอนสั้นๆ ตาม u ประโยค ข้อความ และบทกลอนสน้ั ๆ หลกั การออกเสยี ง u การใช้พจนานกุ รม ตวั อย่าง การเปลี่ยนเสยี งของ yībú 3. ระบุภาพ สญั ลักษณ์ u กล่มุ ค�ำ ประโยค ขอ้ ความ สัญลกั ษณ์ เครือ่ งหมาย ตรงตาม เคร่ืองหมายท่มี คี วามหมายเก่ยี วกบั ตนเอง ความหมายของกลุม่ ค�ำ ครอบครัว โรงเรยี น สิง่ แวดลอ้ ม อาหาร เครอ่ื งดื่ม ประโยค และขอ้ ความส้นั ๆ งานอดเิ รก สุขภาพ นันทนาการ การซื้อ-ขาย ทีฟ่ งั หรืออ่าน ค�ำศพั ท์สะสม 400-500 ค�ำ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ภาษาจีน 18 กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ

ชนั้ ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรู้ภาษาจีน 4. บอกใจความส�ำคัญ และตอบ u ประโยค บทสนทนา นทิ านง่ายๆ หรือเร่ืองส้นั ๆ ค�ำถามจากการฟังและอา่ น u ค�ำถามเก่ียวกับใจความส�ำคญั ของเร่ือง เช่น บทสนทนา นิทานงา่ ยๆ หรือ ใคร ท�ำอะไร ท่ไี หน เม่ือไร เรอ่ื งส้ันๆ ตัวอยา่ ง shuí shénme nǎli zàizuòshénme shénmeshíhòu ป. 6 1. ปฏบิ ตั ิตามค�ำสัง่ ค�ำขอร้อง u ค�ำส่ัง ค�ำขอร้อง และค�ำแนะน�ำ เชน่ และค�ำแนะน�ำทฟ่ี ังและอา่ น การเล่นเกม การวาดภาพ ตวั อยา่ ง qǐngpáiduì zhǔnbèi qǐngzhànqǐlái zàizuòyícì qǐngbāngzhùtā qǐngzàihuà zhùyìtīng yàohuídáxiānjǔshǒu xiāntīnghòushuō 2. อา่ นออกเสยี งขอ้ ความ นิทาน u หลักการออกเสียง และบทกลอน ตามหลกั การ u ข้อความ นิทาน และบทกลอน ออกเสยี ง u การใชพ้ จนานุกรม ตวั อยา่ ง การออกเสียงเบา qīngshēng การออกเสียงม้วนลน้ิ érhuàyīn 3. ระบุประโยค ข้อความส้นั ๆ u ประโยค ขอ้ ความ สัญลกั ษณ์ เครอ่ื งหมายทมี่ ี ตรงตามภาพ สญั ลกั ษณห์ รือ ความหมายเก่ยี วกบั ตนเอง ครอบครวั โรงเรยี น ตัวชี้วดั และสาระการเรยี นรู้ภาษาจีน 19 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ

ช้ัน ตวั ชีว้ ัด สาระการเรยี นรภู้ าษาจีน เครื่องหมายทีฟ่ ังหรืออา่ น สิ่งแวดล้อม อาหาร เคร่อื งด่มื งานอดเิ รก นันทนาการ สขุ ภาพ สวสั ดิการ การซอื้ -ขาย และลมฟ้าอากาศ ค�ำศพั ทส์ ะสม 500-600 ค�ำ 4. บอกใจความส�ำคัญ และ u ประโยค บทสนทนา นิทานหรือเร่ืองเล่า ตอบค�ำถามจากการฟงั และ u ค�ำถามเกีย่ วกบั ใจความส�ำคญั ของเรื่อง เชน่ อ่านบทสนทนา นิทานหรือ ใคร ท�ำอะไร ที่ไหน เมือ่ ไร อย่างไร ท�ำไม เรื่องเล่างา่ ยๆ ตัวอย่าง shuí (shéi) shénme nǎli zàizuòshénme shénmeshíhòu zěnmeyàng wèishénme ม. 1 1. ปฏบิ ตั ิตามค�ำสง่ั ค�ำขอรอ้ ง u ค�ำสง่ั ค�ำขอรอ้ ง ค�ำแนะน�ำ และค�ำชี้แจง ค�ำแนะน�ำ และค�ำช้แี จงง่ายๆ เช่น การเลน่ เกม การบอกทศิ ทาง ปา้ ย และ ท่ฟี งั และอ่าน สญั ลักษณต์ า่ งๆ ตวั อย่าง A : B : 2. อ่านออกเสียงขอ้ ความ นิทาน u หลักการออกเสยี ง และบทร้อยกรองส้นั ๆ u ขอ้ ความ นิทาน และบทร้อยกรองสั้นๆ ตามหลักการออกเสยี ง u การใช้พจนานกุ รม 3. ระบุประโยคและขอ้ ความ หรอื u ประโยคและข้อความทม่ี คี วามหมายเก่ียวกับ ตอบค�ำถามใหส้ ัมพันธก์ บั ส่ือ ตนเอง ครอบครัว โรงเรยี น อาหาร ส่ิงแวดล้อม ที่ไมใ่ ช่ความเรยี งทอี่ ่าน เครือ่ งด่ืม เวลาวา่ งและนันทนาการ สขุ ภาพ สวัสดิการ การซ้ือ-ขาย ลมฟา้ อากาศ การศึกษา อาชีพ การเดินทาง ค�ำศพั ทส์ ะสม 600-750 ค�ำ ตัวช้วี ดั และสาระการเรียนรภู้ าษาจนี 20 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ

ชั้น ตัวช้ีวดั สาระการเรยี นรู้ภาษาจีน 4. ระบุหัวขอ้ เรือ่ ง ใจความส�ำคญั u บทอ่าน บทสนทนา นิทาน เร่ืองส้นั เรือ่ งเล่า และตอบค�ำถาม จากการฟงั u การจับใจความส�ำคญั เชน่ หวั ข้อเรอ่ื ง และอา่ น ใจความส�ำคัญ u ค�ำถามเก่ียวกับใจความส�ำคญั ของเร่ือง เช่น ใคร ท�ำอะไร ทไ่ี หน เมื่อไร อย่างไร ท�ำไม ใช่หรอื ไม่ ตวั อยา่ ง A : B A : B A : B A : B ม. 2 1. ปฏบิ ตั ติ ามค�ำขอรอ้ ง u ค�ำขอรอ้ ง ค�ำแนะน�ำ ค�ำช้ีแจง และค�ำอธิบาย ค�ำแนะน�ำ ค�ำชีแ้ จง และ เช่น การเลน่ เกม การท�ำอาหารและเคร่ืองดื่ม ค�ำอธิบายงา่ ยๆ ทีฟ่ งั และอา่ น การประดิษฐ์ การบอกทิศทาง ปา้ ย และ สัญลกั ษณ์ตา่ งๆ หรอื การใชอ้ ุปกรณ์ ตวั อยา่ ง 2. อ่านออกเสียงขอ้ ความ ข่าว u หลกั การอ่านออกเสียง ประกาศ และบทร้อยกรอง u ข้อความ ขา่ ว ประกาศ และบทรอ้ ยกรองสัน้ ๆ ส้ันๆ ตามหลักการอา่ น u การใชพ้ จนานกุ รม 3. ระบปุ ระโยคและข้อความ หรือ u ประโยคและขอ้ ความทีม่ คี วามหมายเกีย่ วกบั ตอบค�ำถามให้สมั พนั ธก์ ับสื่อ ตนเอง ครอบครวั โรงเรียน ส่งิ แวดล้อม อาหาร ท่ีไมใ่ ช่ความเรยี งรปู แบบต่างๆ เครื่องดืม่ เวลาวา่ งและนนั ทนาการ สุขภาพ ท่อี า่ น สวสั ดิการ การซอ้ื -ขาย ลมฟ้าอากาศ การศึกษา ตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรภู้ าษาจนี 21 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ

ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นร้ภู าษาจีน อาชพี การเดินทาง ท่องเทย่ี ว การบริการ สถานที่ ภาษา วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ค�ำศัพทส์ ะสม 750-900 ค�ำ u ส่อื ที่ไมใ่ ชค่ วามเรียง เช่น สญั ลักษณ์ เคร่อื งหมาย กราฟ แผนภูมิ ตาราง ภาพสัตว์ สิง่ ของ บุคคล และสถานทีต่ า่ งๆ 4. ระบหุ วั ขอ้ เรอื่ ง ใจความส�ำคัญ u บทอ่าน บทสนทนา นิทาน เรอื่ งสัน้ เร่ืองเล่า รายละเอียดสนบั สนุน และ u การจับใจความส�ำคญั เชน่ หัวขอ้ เร่อื ง ตอบค�ำถามเก่ยี วกับเรอื่ งทฟ่ี ัง ใจความส�ำคญั รายละเอียดสนบั สนนุ และอา่ น พร้อมให้เหตุผลและ u ค�ำถามเก่ียวกบั ใจความส�ำคญั ของเรื่อง เช่น ยกตัวอยา่ งง่ายๆ ประกอบ ใคร ท�ำอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร ท�ำไม ใช่หรือไม่ u ประโยคที่ใชใ้ นการแสดงความคดิ เห็น การให้เหตผุ ล และการยกตัวอย่าง ตวั อยา่ ง B B B B B B ม. 3 1. ปฏบิ ตั ติ ามค�ำขอรอ้ ง ค�ำแนะน�ำ u ค�ำขอร้อง ค�ำแนะน�ำ ค�ำช้ีแจง และค�ำอธิบาย ค�ำชแี้ จง และค�ำอธิบายทีฟ่ ัง เชน่ การเล่นเกม การประดิษฐ์ การใช้ยาหรือ และอา่ น ฉลากยา การบอกทิศทาง ปา้ ย สัญลักษณ์ และประกาศตา่ งๆ หรือการใชอ้ ุปกรณ์ ตวั อยา่ ง ตวั ชว้ี ัดและสาระการเรยี นรภู้ าษาจีน 22 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ

ช้ัน ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นร้ภู าษาจนี 2. อา่ นออกเสยี งข้อความ ข่าว u หลักการอา่ นออกเสยี ง โฆษณา และบทรอ้ ยกรองส้นั ๆ u ขอ้ ความ ข่าว โฆษณา และบทรอ้ ยกรองส้ันๆ ตามหลักการอ่าน u การใชพ้ จนานุกรม 3. ระบหุ รือเขยี นสื่อทไี่ มใ่ ช่ u ประโยคและขอ้ ความทม่ี ีความหมายเก่ียวกบั ความเรียงรูปแบบตา่ งๆ ตนเอง ครอบครัว โรงเรยี น อาหาร ส่งิ แวดลอ้ ม ใหส้ ัมพนั ธก์ บั ประโยคและ เครื่องดืม่ เวลาว่างและนนั ทนาการ สุขภาพ ข้อความท่ีฟังหรืออ่าน สวัสดิการ การซ้อื -ขาย ลมฟา้ อากาศ การศกึ ษา อาชีพ การเดินทาง ทอ่ งเที่ยว การบริการ สถานที่ ภาษา วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ค�ำศพั ทส์ ะสม 900-1,050 ค�ำ u สอื่ ท่ีไม่ใชค่ วามเรยี งรูปแบบตา่ งๆ เช่น กราฟ สัญลักษณ์ เคร่ืองหมาย แผนภมู ิ ตาราง ภาพสตั ว์ ส่ิงของ บุคคล และสถานทต่ี า่ งๆ 4. ระบหุ วั ข้อเรอ่ื ง ใจความส�ำคัญ u บทอ่าน บทความ เรื่องส้นั ขา่ ว จากหนังสือ รายละเอียดสนบั สนนุ และ ส่ิงพิมพ์ และสือ่ อ่ืนๆ เช่น วทิ ยุ โทรทศั น์ ซดี ี ตอบค�ำถามเก่ยี วกับเร่ืองทฟ่ี ัง เว็บไซต์ และอา่ นจากสือ่ ประเภทตา่ งๆ u การจบั ใจความส�ำคัญ เช่น หัวข้อเร่ือง ใจความส�ำคญั พรอ้ มทงั้ ให้เหตุผลและ รายละเอียดสนบั สนุน ยกตัวอยา่ งประกอบ u ค�ำถามเกย่ี วกบั ใจความส�ำคญั ของเรื่อง เชน่ ใคร ท�ำอะไร ทไ่ี หน เมือ่ ไร อยา่ งไร ท�ำไม ใช่หรอื ไม่ u ประโยคทีใ่ ชใ้ นการแสดงความคดิ เห็น การใหเ้ หตุผล และการยกตัวอยา่ ง ตัวอยา่ ง ตวั ช้ีวัดและสาระการเรยี นรภู้ าษาจนี 23 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ

ชั้น ตัวช้วี ดั สาระการเรียนรภู้ าษาจนี ม. 4 1. ปฏิบัติตามค�ำสงั่ ค�ำแนะน�ำ u ค�ำสั่ง ค�ำแนะน�ำ ค�ำขอรอ้ ง ค�ำชแ้ี จง ค�ำอธิบาย ค�ำขอร้อง ค�ำชแ้ี จง ค�ำอธิบาย และค�ำบรรยาย เช่น ประกาศเตือนภยั ตา่ งๆ และค�ำบรรยายทฟ่ี ังและอ่าน การใช้ยา การใชอ้ ปุ กรณ์และส่งิ ของ การสืบค้น ข้อมลู ทางอินเทอร์เน็ต ป้ายจราจร และ ป้ายประกาศตา่ งๆ ตวั อย่าง 2. อา่ นออกเสียงขอ้ ความ ขา่ ว u หลักการอา่ นออกเสยี ง โฆษณา และบทรอ้ ยกรอง u ขอ้ ความ ข่าว โฆษณา และบทร้อยกรอง ตามหลกั การอา่ น u การใชพ้ จนานุกรม 3. อธิบายและเขียนประโยคหรือ u ประโยคและขอ้ ความท่ีมีความหมายเก่ยี วกับ ขอ้ ความใหส้ ัมพนั ธ์กบั สอ่ื ท่ไี ม่ใช่ ตนเอง ส่ิงใกล้ตัว ชุมชน สงั คม เศรษฐกจิ การเมือง ความเรยี ง รวมทง้ั ระบแุ ละเขยี นสอื่ ประเพณี และวฒั นธรรม ท่ีไม่ใช่ความเรยี งรปู แบบต่างๆ ค�ำศัพทส์ ะสม 1,050-1,250 ค�ำ ให้สัมพันธ์กบั ประโยคหรอื u สอ่ื ทไี่ ม่ใช่ความเรียง เช่น สัญลักษณ์ เครอ่ื งหมาย ข้อความท่ฟี งั หรอื อ่าน แผนภมู ิ กราฟ ตาราง ภาพ วัตถุจรงิ สิง่ จ�ำลอง 4. ตอบค�ำถาม จับใจความส�ำคญั u บทอ่าน บทความ เรอ่ื งส้นั ขา่ ว จากหนงั สือ วิเคราะห์ และแสดงความคิดเห็น สิ่งพิมพ์ และสอื่ อนื่ ๆ เชน่ วิทยุ โทรทัศน์ ซีดี พรอ้ มให้เหตุผลหรอื ยกตวั อยา่ ง เว็บไซต์ ประกอบ เกี่ยวกบั เรอื่ งทฟ่ี งั u การจบั ใจความส�ำคญั เชน่ หวั ขอ้ เรอ่ื ง ใจความส�ำคญั และอา่ น รายละเอยี ดสนบั สนนุ u ค�ำถามเก่ยี วกับใจความส�ำคญั ของเร่อื ง เชน่ ใคร ท�ำอะไร ท่ไี หน เมอ่ื ไร อยา่ งไร ท�ำไม ใชห่ รือไม่ u ประโยคทใ่ี ช้ในการแสดงความคิดเห็น การให้เหตผุ ล และการยกตัวอยา่ ง ตัวอยา่ ง ตัวชว้ี ดั และสาระการเรยี นรภู้ าษาจีน 24 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ

ชั้น ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนร้ภู าษาจนี AB ม. 5 1. ปฏิบตั ิตามค�ำสั่ง ค�ำแนะน�ำ u ค�ำสัง่ ค�ำแนะน�ำในคู่มอื การใช้งานต่างๆ ค�ำชแี้ จง ค�ำอธิบาย และ ค�ำชแ้ี จง ค�ำอธบิ าย และค�ำบรรยาย เช่น ค�ำบรรยายท่ีฟงั และอา่ น ประกาศเตือนภัยตา่ งๆ การใช้ยา การใชอ้ ปุ กรณ ์ และสิ่งของ การสบื คน้ ขอ้ มลู ทางอินเทอร์เน็ต ป้ายจราจร และปา้ ยประกาศตา่ งๆ ตวั อยา่ ง 2. อ่านออกเสยี งข้อความ ขา่ ว u หลกั การอา่ นออกเสยี ง ประกาศ โฆษณา และ u ขอ้ ความ ขา่ ว ประกาศ โฆษณา และบทรอ้ ยกรอง บทรอ้ ยกรอง ตามหลักการอา่ น u การใช้พจนานกุ รม 3. อธิบายและเขียนประโยคหรอื u ประโยคและขอ้ ความท่มี ีความหมายเกีย่ วกบั ข้อความให้สมั พนั ธ์กบั สอ่ื ท่ไี ม่ใช ่ ตนเอง ส่ิงใกล้ตัว ชมุ ชน สังคม เศรษฐกจิ ความเรียง รวมทงั้ ระบแุ ละ การเมอื ง สิ่งแวดล้อม ประเพณีและวฒั นธรรม เขียนสอื่ ทไี่ มใ่ ช่ความเรยี ง ค�ำศัพท์สะสม 1,250-1,500 ค�ำ รปู แบบตา่ งๆ ให้สัมพนั ธ์กบั u สื่อที่ไม่ใชค่ วามเรียง เชน่ สัญลกั ษณ์ เครือ่ งหมาย ประโยคหรอื ขอ้ ความทฟี่ ัง แผนภมู ิ กราฟ ตาราง ภาพ วตั ถจุ ริง สิง่ จ�ำลอง หรืออ่าน 4. ตอบค�ำถาม จบั ใจความส�ำคญั u บทอ่าน บทความ เรือ่ งส้ัน ขา่ ว จากหนังสอื ส่ิงพมิ พ์ วเิ คราะห์ สรุปความ และแสดง และส่ืออื่นๆ เชน่ วิทยุ โทรทัศน์ ซีดี เวบ็ ไซต์ ความคดิ เห็น พร้อมให้เหตผุ ล u การจับใจความส�ำคัญ เชน่ หัวข้อเรอ่ื ง ใจความส�ำคญั หรอื ยกตัวอย่างประกอบ รายละเอียดสนบั สนุน ตัวชี้วัดและสาระการเรยี นรู้ภาษาจีน 25 กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ

ช้ัน ตวั ชีว้ ดั ส�ระก�รเรียนรภู้ �ษ�จนี เก่ียวกบั เรือ่ งที่ฟังและอ่าน u คาำ ถามเกย่ี วกับใจความสาำ คัญของเร่อื ง เช่น ใคร ทาำ อะไร ท่ีไหน เมือ่ ไร อยา่ งไร ทาำ ไม ใชห่ รือไม่ u ประโยคท่ใี ชใ้ นการแสดงความคิดเหน็ การใหเ้ หตุผล และการยกตัวอย่าง ตัวอยา่ ง A B A B ม. 6 1. ปฏบิ ัติตามคาำ แนะนำา คำาชแี้ จง u คาำ แนะนาำ คาำ ชแ้ี จง คำาอธิบาย และคำาบรรยาย คาำ อธิบาย และคาำ บรรยาย จากขอ้ มลู ทางสอ่ื ตา่ งๆ เชน่ ประกาศตา่ งๆ จากขอ้ มลู ทางสื่อตา่ งๆ คูม่ อื การใชอ้ ุปกรณแ์ ละสิ่งของ ขอ้ มูลทาง อนิ เทอรเ์ น็ต ปา้ ยจราจร และปา้ ยประกาศต่างๆ ตวั อยา่ ง 2. อ่านออกเสยี งข้อความ ขา่ ว u หลกั การอ่านออกเสยี ง โฆษณา และบทรอ้ ยกรอง u ข้อความ ข่าว โฆษณา และบทร้อยกรอง ตามหลกั การอา่ น u การใช้พจนานุกรม 3. อธิบายและเขียนประโยคหรอื u ประโยคและขอ้ ความท่ีมีความหมายเก่ียวกับ ขอ้ ความให้สัมพนั ธ์กบั ส่อื ทไี่ ม่ใช่ ตนเอง สง่ิ ใกลต้ วั ชุมชน สงั คม เศรษฐกจิ ตัวชว้ี ดั และสาระการเรียนรภู้ าษาจีน 26 กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ

ชั้น ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นร้ภู าษาจนี ความเรยี ง รวมทัง้ ระบแุ ละ การเมอื ง ส่ิงแวดล้อม ประเพณีและวฒั นธรรม เขียนสื่อท่ีไมใ่ ชค่ วามเรยี ง ค�ำศพั ทส์ ะสม 1,500 ค�ำ ขึ้นไป รูปแบบต่างๆ ใหส้ มั พันธก์ ับ u สอื่ ทไี่ มใ่ ชค่ วามเรยี ง เชน่ สญั ลกั ษณ์ เครอื่ งหมาย ประโยคหรือขอ้ ความที่ฟงั หรอื อา่ น แผนภูมิ กราฟ ตาราง ภาพ วัตถจุ รงิ สงิ่ จ�ำลอง 4. ตอบค�ำถาม จบั ใจความส�ำคัญ u บทอา่ น บทความ เรือ่ งส้นั ข่าว จากหนงั สือ วิเคราะห์ สรุปความ และแสดง ส่ิงพมิ พ์ และสื่ออืน่ ๆ เช่น วทิ ยุ โทรทัศน์ ซดี ี ความคิดเหน็ พรอ้ มใหเ้ หตุผล เว็บไซต์ หรอื ยกตวั อย่างประกอบ u การจับใจความส�ำคัญ เชน่ หวั ข้อเรือ่ ง ใจความส�ำคัญ เก่ยี วกับเร่ืองท่ีฟงั และอา่ น รายละเอยี ดสนบั สนนุ u ค�ำถามเก่ยี วกบั ใจความส�ำคญั ของเร่ือง เชน่ ใคร ท�ำอะไร ท่ไี หน เมื่อไร อยา่ งไร ท�ำไม ใช่หรือไม่ u ประโยคทใ่ี ช้ในการแสดงความคดิ เหน็ การให้ เหตผุ ล และการยกตวั อยา่ ง ตัวอยา่ ง A B A B ตัวชว้ี ดั และสาระการเรียนรู้ภาษาจีน 27 กล่มุ สาระการเรยี นร้ภู าษาต่างประเทศ

สาระท่ี 1 ภาษาเพอ่ื การสือ่ สาร มาตรฐาน ต 1.2 มที กั ษะการสอ่ื สารทางภาษาในการแลกเปลีย่ นขอ้ มลู ข่าวสาร แสดงความ ร้สู กึ และความคิดเหน็ อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ชน้ั ตวั ช้วี ดั สาระการเรียนร้ภู าษาจีน ป. 1 1. พดู โต้ตอบดว้ ยค�ำส้ันๆ งา่ ยๆ u บทสนทนาทีใ่ ช้ในการทักทาย กล่าวลา ขอบคณุ ในการสื่อสารระหวา่ งบุคคล ขอโทษ ตามแบบท่ฟี งั u ประโยคหรือขอ้ ความที่ใช้แนะน�ำตนเอง ตวั อย่าง nǐhǎo!nǐmenhǎo ! wǒjiàozàijiàn ! A duìbuqǐ.B méiguānxi. A xièxie !B búkèqì. 2. ใช้ค�ำสัง่ ง่ายๆ ตามแบบทฟี่ งั u ค�ำสงั่ ท่ีใชใ้ นห้องเรยี น ตวั อย่าง qǐng jìn qǐ lì qǐng zuò dǎ kāi shū qǐng kàn qǐng tīng qǐng ān jìng 3. บอกความตอ้ งการง่ายๆ u ค�ำศัพท์ กลุม่ ค�ำ และประโยคท่ใี ชบ้ อกความต้องการ ของตนเอง ตามแบบทฟ่ี งั ตัวอยา่ ง …… wǒyào………… wǒbúyào…… wǒkěyǐ……ma? 4. พูดขอและให้ข้อมูลง่ายๆ u ค�ำ กลมุ่ ค�ำ และประโยคทีใ่ ช้ขอและให้ข้อมลู เกยี่ วกบั ตนเอง ตามแบบทีฟ่ งั เก่ยี วกับตนเอง ตัวอย่าง wǒjiàowǒài qǐng wèn Nǐ jiào shénme míng zì ? ? Nǐ jǐ suì le? Wǒ xǐhuan hóngsè. Wǒ ài māma. ตัวชีว้ ดั และสาระการเรียนร้ภู าษาจนี 28 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ

ชั้น ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรภู้ าษาจนี ป. 2 1. พดู โต้ตอบด้วยค�ำสั้นๆ ง่ายๆ u บทสนทนาท่ใี ช้ในการทกั ทาย กลา่ วลา ขอบคณุ ในการสอื่ สารระหวา่ งบคุ คล ขอโทษ ตามแบบท่ีฟัง u ประโยคหรือข้อความท่ใี ชแ้ นะน�ำตนเอง ตวั อย่าง lǎoshīhǎodàjiāhǎo zǎoshanghǎowǎn’ān míng tiān jiànxièxie wǒxìng wǒjiào wǒ s wǒshàngyīniánjí A Nǐhǎoma? B Wǒhěnhǎo. 2. ใชค้ �ำสง่ั และค�ำขอรอ้ งงา่ ยๆ u ค�ำสัง่ และค�ำขอร้องท่ใี ช้ในห้องเรียน ตามแบบท่ีฟงั ตวั อยา่ ง qǐngtīnglǎoshī gēnlǎoshīdú kànhēibǎndǎkāishū héshàngshū 3. บอกความตอ้ งการงา่ ยๆ ของ u ค�ำศัพท์ กลุม่ ค�ำ และประโยคทใ่ี ช้บอกความตอ้ งการ ตนเองตามแบบทฟี่ งั ตัวอยา่ ง wǒyào wǒbúyào ?wǒkěyǐ……ma wǒxiǎng wǒchīpíngguǒwǒhēguǒzhī 4. พูดขอและให้ข้อมูลงา่ ยๆ u ค�ำ กล่มุ ค�ำ และประโยคทใี่ ช้ขอและใหข้ อ้ มูล เกีย่ วกบั ตนเอง ตามแบบท่ีฟงั เกีย่ วกับตนเอง ตัวอยา่ ง wǒjiàowǒài wǒxǐhuan wǒjiāzài Nǐshàngjǐniánjíle? ตวั ช้วี ัดและสาระการเรียนรภู้ าษาจนี 29 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ

ช้ัน ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรู้ภาษาจนี Nǐ xuéxí shénme ? Nǐ shì nǎguórén ? Wǒ shì……rén. Wǒ de yǎnjīng hěndà. Wǒ de tóufà hěncháng. Wǒ xǐhuan dǎqiú. ป. 3 1. พดู โต้ตอบด้วยค�ำส้ันๆ งา่ ยๆ u บทสนทนาทีใ่ ชใ้ นการทกั ทาย กลา่ วลา ขอบคณุ ในการสอ่ื สารระหวา่ งบคุ คล ขอโทษ ตามแบบที่ฟัง u ประโยคหรอื ข้อความทีใ่ ชแ้ นะน�ำตนเอง ตวั อย่าง lǎoshī hǎotóngxuémen hǎo wǒ xìngjiào Jīnnián……suì shàng……niánjí. Wǒ jiā yǒukǒu rén,yǒu Wǒ xǐhuan 2. ใช้ค�ำสงั่ และค�ำขอรอ้ งง่ายๆ u ค�ำสัง่ และค�ำขอรอ้ งท่ีใช้ในหอ้ งเรยี น ตามแบบทีฟ่ งั ตวั อย่าง qǐngtīng lǎoshī gēn lǎoshī dú kànhēibǎn xiāntīng lǎoshī shuō fāndàodìyè qǐnggěiwǒ 3. บอกความตอ้ งการง่ายๆ ของ u ค�ำศพั ท์ กล่มุ ค�ำ และประโยคทใี่ ช้บอกความตอ้ งการ ตนเองตามแบบทฟ่ี งั ตวั อย่าง wǒyào wǒbúyào ตวั ช้วี ัดและสาระการเรยี นรภู้ าษาจนี 30 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ

ชัน้ ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้ภาษาจีน wǒkěyǐ……ma? gěiwǒ wǒxiǎng wǒxiǎngdāng 4. พดู ขอและใหข้ ้อมลู งา่ ยๆ u ค�ำ กลุ่มค�ำ และประโยคที่ใชข้ อและให้ขอ้ มูล เกี่ยวกบั ตนเอง และสิ่งใกลต้ วั เก่ียวกบั ตนเอง และส่ิงใกล้ตัว ตามแบบทฟ่ี งั ตัวอย่าง wǒjiào wǒài nǐ shì nǎguó rén ? wǒshì…….rén. xiànzài jǐdiǎn le ? xiànzài……diǎn. jīntiān xīngqījǐ? wǒ zài xǐyīfú. wǒ zài shàngwǎng. 5. บอกความรู้สึกของตนเอง u ค�ำ กลุ่มค�ำ และประโยคทใี่ ชบ้ อกความรสู้ กึ เกีย่ วกบั สง่ิ ใกลต้ วั หรอื กจิ กรรม เชน่ ดใี จ เสียใจ ดี ไม่ดี ชอบ ไมช่ อบ ตา่ งๆ ตามแบบที่ฟงั ตวั อย่าง zěnmeyàng ? hěnhǎo bùhǎogāoxìng bùgāoxìng wǒ xǐhuan wǒ bù xǐhuan ป. 4 1. พูดหรือเขยี นโต้ตอบในการ u บทสนทนาทใ่ี ช้ในการทกั ทาย กลา่ วลา ขอบคณุ สื่อสารระหวา่ งบคุ คล ขอโทษ u ประโยค ข้อความท่ใี ช้แนะน�ำตนเอง เพือ่ น และบุคคลใกลต้ วั ส�ำนวนการตอบรับ ตัวชวี้ ดั และสาระการเรยี นรู้ภาษาจนี 31 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ

ชั้น ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูภ้ าษาจนี ตัวอยา่ ง wǒshìzhèshìwǒde nàshìwǒde tāshì xi èxièbúyòngxiè búkèqìduìbuqǐ méiguānxi 2. ใช้ค�ำส่ัง ค�ำขอร้อง และ u ค�ำส่งั ค�ำขอร้อง ค�ำขออนุญาตที่ใชใ้ นหอ้ งเรยี น ค�ำขออนญุ าตงา่ ยๆ ตวั อยา่ ง qǐngjìn qǐngzuò zhùyìtīng zhùyìkànwǒkěyǐjìnláima wǒkěyǐqù…ma 3. พดู หรอื เขียนแสดงความต้องการ u ประโยคและส�ำนวนภาษาทีใ่ ชแ้ สดงความตอ้ งการ ของตนเอง และขอความชว่ ยเหลอื และขอความช่วยเหลอื ในสถานการณต์ า่ งๆ ในสถานการณต์ ่างๆ ตวั อยา่ ง …… wǒyào…… …… qǐngbāngwǒ…… 4. พดู หรอื เขียนเพ่ือขอและให ้ u ประโยคและส�ำนวนภาษาท่ใี ช้ขอและให้ขอ้ มลู ขอ้ มูลเกี่ยวกับตนเอง เพอ่ื น เกยี่ วกบั ตนเอง เพ่อื น ครอบครัว และสง่ิ ใกล้ตวั ครอบครวั และสิ่งใกล้ตวั ตวั อย่าง nǐzhùzàinǎr ? wǒzhùzài… nǐjiāyǒujǐkǒurén ? wǒ jiā yǒu……kǒurén. wǒzài……xu éxiào shàngxué. wǒh étóngxuéyìqǐqù…… 5. พดู แสดงความรู้สกึ ของตนเอง u ประโยคและส�ำนวนภาษาทใี่ ช้บอกความรสู้ กึ เกยี่ วกับเรอ่ื งใกล้ตวั และ ของตนเอง เชน่ ดใี จ เสยี ใจ ชอบ ไมช่ อบ รกั ไมร่ กั ตัวชว้ี ัดและสาระการเรยี นรู้ภาษาจีน 32 กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ

ชนั้ ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรู้ภาษาจีน กจิ กรรมตา่ งๆ ตามแบบท่ีฟงั ตัวอย่าง juéde xǐhuan gāoxìng shāngxīnwǒhěngāoxìng. wǒhěnshāngxīn.wǒàichànggē. wǒ juéde zhōngwén bù nán. ป. 5 1. พูดหรอื เขียนโต้ตอบในการ u บทสนทนาที่ใช้ในการทักทาย กลา่ วลา ขอบคุณ สื่อสารระหวา่ งบุคคล ขอโทษ u ประโยค ข้อความหรอื ภาษาท่ีใช้แนะน�ำตนเอง เพื่อน และบคุ คลใกล้ตวั ส�ำนวนการตอบรับ ตวั อยา่ ง lǎoshīhǎo wǒjiào tāshìwǒde nàshìtāde nínguìxìng? zhèshì xièxiebúyòngxiè búkèqìduìbuqǐ méiguānximéishénme 2. ใช้ค�ำสั่ง ค�ำขอรอ้ ง ค�ำขอ u ค�ำส่ัง ค�ำขอร้อง ค�ำขออนุญาต และ ค�ำแนะน�ำ อนญุ าต และค�ำแนะน�ำงา่ ยๆ ตวั อย่าง qǐngdǎkāichuāng qǐngzhànqǐlái (qǐng) gěiwǒkànkan lǎoshī , wǒmenkěyǐqù...ma zhèyàngzuò nǐyīnggāi…… 3. พดู หรอื เขยี นแสดงความตอ้ งการ u ประโยคและส�ำนวนภาษาท่ีใชบ้ อกความตอ้ งการ ขอความชว่ ยเหลอื ตอบรบั และ ขอความชว่ ยเหลอื การตอบรบั และปฏเิ สธใน ปฏิเสธในสถานการณ์ต่างๆ สถานการณต์ า่ งๆ ตวั ชี้วัดและสาระการเรยี นรภู้ าษาจีน 33 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ

ช้ัน ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรภู้ าษาจนี ตัวอยา่ ง A jiè yí xià nǐ de qiān bǐ , kěyǐ ma? B kěyǐ …… duìbuqǐ …… A qǐngwènxǐshǒujiān zàinǎr ? B zàizuǒbian/duìbuqǐbùzhīdào. 4. พดู หรือเขยี นเพือ่ ขอและให้ u ประโยคและส�ำนวนภาษาท่ใี ชข้ อและใหข้ ้อมูล ขอ้ มลู เก่ียวกบั ตนเอง เพือ่ น เกี่ยวกับตนเอง เพอื่ น ครอบครัว และเรอ่ื งใกล้ตัว ครอบครวั และเร่ืองใกล้ตวั ตัวอย่าง nǐcóngnǎlilái? wǒcóng……lái. nǐ de diànhuàhàomǎ shìd uōshǎo? 02 - ……(การอา่ นหมายเลข เลข 1 อ่านว่า yāo) nǐ zài nǎr (chū shēng)? wǒzài……chūshēng. nǐ de shēngrì shì jǐyuè jǐhào? wǒdeshēngrìshì…… 5. พูดหรือเขยี นแสดงความรสู้ กึ u ประโยคและส�ำนวนภาษาท่ใี ช้แสดงความรู้สกึ ของตนเองเกี่ยวกบั เรอื่ งใกล้ตวั และการใหเ้ หตผุ ล เชน่ ชอบ ไมช่ อบ ดใี จ เสยี ใจ และกจิ กรรมตา่ งๆ พร้อมให ้ มคี วามสขุ เศร้า หิว รสชาติ เหตุผลสั้นๆ ประกอบ ตวั อย่าง juéde xǐhuanài gāoxìngshāngxīn kuàilèkāixīn hǎochī hǎohēwǒxǐhuan bùxǐhuanchànggē ตวั ชี้วัดและสาระการเรยี นรภู้ าษาจีน 34 กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ

ชั้น ตวั ชีว้ ัด สาระการเรยี นรภู้ าษาจนี Bàbahuíláile , wǒhěngāoxìng. , wǒkǎobùhǎo , hěnshāngxīn. jīntiānshìwǒdeshēngrì, wǒ juédehěnkuàilèkāixīn. Wǒ’èle , yàoqùchīfàn. zhègepíngguǒhěnhǎochī. ป. 6 1. พดู หรอื เขยี นโต้ตอบในการ u บทสนทนาที่ใชใ้ นการทักทาย กล่าวลา สื่อสารระหวา่ งบคุ คล ขอบคณุ ขอโทษ u ประโยค ขอ้ ความท่ีใชแ้ นะน�ำตนเอง เพ่อื น และบุคคลใกลต้ วั และส�ำนวนการตอบรบั ตวั อย่าง dàjiāhǎo! míngtiānjiàn wǒshì nàshìwǒ rènshinǐ wǒhěngāoxìng. wǒyěshì.hǎode wǒyěqù. 2. ใชค้ �ำสัง่ ค�ำขอร้อง ค�ำขอ u ค�ำส่งั ค�ำขอร้อง ค�ำขออนุญาต และค�ำแนะน�ำ อนญุ าต และค�ำแนะน�ำ ตัวอย่าง búyàoqǐngzuòhǎo lǎoshīwǒmenkěyǐqù ma nǐyàorènzhēn…… nǐyīnggāi…… 3. พดู หรือเขียนแสดงความ u ประโยคและส�ำนวนภาษาทีใ่ ช้บอกความตอ้ งการ ตอ้ งการ ขอความชว่ ยเหลอื การขอความชว่ ยเหลอื การตอบรบั และปฏเิ สธ ตอบรบั และปฏเิ สธใน ในสถานการณ์ต่างๆ สถานการณต์ า่ งๆ ตัวอยา่ ง ตัวชวี้ ดั และสาระการเรยี นรูภ้ าษาจีน 35 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ

ชนั้ ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรู้ภาษาจีน úméi wǒyàoyìzhāngzhǐ A qǐngbāngwǒmen……sǎodì…… B kěyǐbùkěyǐwǒméikòng. 4. พดู หรอื เขยี นเพอ่ื ขอและให ้ u ประโยคและส�ำนวนภาษาท่ีใชข้ อและใหข้ อ้ มลู ข้อมลู เกีย่ วกบั ตนเอง เพื่อน เกี่ยวกบั ตนเอง เพ่อื น ครอบครวั และเรือ่ งใกลต้ ัว ครอบครวั และเรือ่ งใกล้ตวั ตวั อย่าง tóngxuémenhǎo wǒshì……rén. wǒzhùzài…… wǒzài…xuéxiàodúshū / xuéxí / shàngxué. zhèshìwǒde…… wǒdeàihàoshì…… Wǒdú / shàng…… niánjí. wǒzàixuéxí…(zhōngwén / yīngwén). wǒxiǎngdāng…… (yīshēng) (lǎoshī) (jūnrén). 5. พูดหรือเขียนแสดงความรสู้ ึก u ประโยคและส�ำนวนภาษาท่ใี ชแ้ สดงความรสู้ ึกและ ของตนเองเกยี่ วกับเรื่องใกล้ตวั การใหเ้ หตผุ ลประกอบ เชน่ ชอบ ไมช่ อบ ดใี จ เสยี ใจ กจิ กรรมต่างๆ พร้อมให้ มคี วามสขุ เศรา้ หวิ รสชาติ สวย นา่ เกลยี ด ดี ไมด่ ี เหตุผลสั้นๆ ประกอบ ตวั อย่าง juéde xǐhuanài gāoxìngshāngxīn nánguòkuàilè kāixīn tiánsuānxiánlà ตวั ชว้ี ัดและสาระการเรียนรภู้ าษาจีน 36 กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ

ช้ัน ตวั ชวี้ ดั สาระการเรียนรู้ภาษาจีน dànkǔxiānghǎokàn bùhǎokànkě’ ài bùkě’àiměilì měilìpiàoliang búpiàoliang wǒkǎoledìyīmíng, wǒfēichánggāoxìng. māmādàiwǒqùwán, wǒhěnkuàilè. wǒ’èlewǒmenqùchīfànba. mòlìhuāhěnxiāng. ม. 1 1. สนทนาแลกเปล่ยี นข้อมูล u ประโยคและส�ำนวนภาษาทใ่ี ชใ้ นการสอ่ื สารระหวา่ ง เกยี่ วกับตนเอง กิจกรรม และ บุคคล เช่น การทกั ทาย กล่าวลา ขอบคุณ ขอโทษ สถานการณต์ า่ งๆ ในชวี ิต ชมเชย การพดู แทรกอย่างสภุ าพ การเชญิ ชวน ประจ�ำวนั u ประโยคหรือข้อความท่ใี ชแ้ นะน�ำตนเอง เพื่อน และบคุ คลใกลต้ วั การตอบรับ การแลกเปลย่ี น ข้อมลู เกีย่ วกบั ตนเอง กิจกรรม และสถานการณ์ ต่างๆ ในชวี ติ ประจ�ำวนั ตวั อย่าง 2. ใชค้ �ำขอรอ้ ง ค�ำแนะน�ำ และ u ค�ำขอรอ้ ง ค�ำแนะน�ำ และค�ำชี้แจง ค�ำชแี้ จง ในสถานการณต์ า่ งๆ ตวั อย่าง 3. พดู และเขยี นแสดงความตอ้ งการ u ประโยคและส�ำนวนภาษาทใี่ ช้แสดงความต้องการ ขอความช่วยเหลือ ตอบรับและ การขอความช่วยเหลอื การตอบรับและปฏเิ สธ ปฏเิ สธ ในสถานการณต์ ่างๆ ในสถานการณ์ตา่ งๆ ตัวชวี้ ัดและสาระการเรยี นรู้ภาษาจีน 37 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ

ช้นั ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรู้ภาษาจนี ตวั อยา่ ง A: B: A: B: 4. พูดและเขียนเพอ่ื ขอและให ้ u ประโยคและส�ำนวนภาษาที่ใช้ในการขอและให้ ข้อมลู แสดงความคิดเหน็ ข้อมูล และแสดงความคิดเหน็ เก่ยี วกบั เร่ืองท่ฟี งั เก่ยี วกบั เรอ่ื งที่ฟังหรอื อ่าน หรอื อา่ น ตัวอย่าง 5. พูดและเขียนแสดงความรู้สึก u ประโยคและส�ำนวนภาษาทีใ่ ชแ้ สดงความรู้สกึ ความคดิ เหน็ ของตนเองเกย่ี วกบั ความคิดเหน็ และให้เหตผุ ลเกยี่ วกบั เร่อื งใกลต้ ัว เรอ่ื งใกลต้ วั กจิ กรรมตา่ งๆ พรอ้ ม และกจิ กรรมตา่ งๆ ในชีวติ ประจ�ำวัน เช่น ชอบ ใหเ้ หตุผลส้ันๆ ประกอบ ไม่ชอบ ดีใจ เสียใจ มคี วามสขุ เศรา้ หวิ เกยี่ วกบั รสชาติ ความสวย นา่ เกลียด ความดี ไม่ดี ตวั อย่าง ม. 2 1. สนทนาแลกเปลยี่ นข้อมูล u ประโยคและส�ำนวนภาษาท่ีใช้ในการสื่อสาร เกยี่ วกับตนเอง เรอื่ งใกล้ตัว ระหวา่ งบุคคล เช่น การทกั ทาย กลา่ วลา ขอบคุณ และสถานการณ์ต่างๆ ขอโทษ ชมเชย การพูดแทรกอยา่ งสุภาพ ในชีวติ ประจ�ำวัน การเชิญชวน ตัวชี้วัดและสาระการเรยี นรภู้ าษาจนี 38 กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศ

ชัน้ ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรูภ้ าษาจนี u ประโยคหรอื ข้อความท่ีใชแ้ นะน�ำตนเอง เพือ่ น และบคุ คลใกลต้ วั การตอบรบั การแลกเปล่ียน ขอ้ มลู เก่ยี วกับตนเอง เร่ืองใกล้ตัว และ สถานการณต์ า่ งๆ ในชีวติ ประจ�ำวนั ตวั อย่าง 2. ใชค้ �ำขอรอ้ ง ค�ำแนะน�ำ ค�ำชแ้ี จง u ค�ำขอรอ้ ง ค�ำแนะน�ำ ค�ำชี้แจง และค�ำอธิบาย และค�ำอธิบายตามสถานการณ ์ ตัวอย่าง 3. พดู และเขยี นแสดงความ u ประโยคและส�ำนวนภาษาทใี่ ช้ในการแสดง ต้องการ ขอและให้ความ ความตอ้ งการ การขอและให้ความชว่ ยเหลอื ชว่ ยเหลอื ตอบรับและปฏิเสธ การตอบรับและปฏิเสธในสถานการณต์ า่ งๆ ในสถานการณ์ต่างๆ ตัวอยา่ ง A : B: 4. พดู และเขียนเพื่อขอและให้ u ประโยคและส�ำนวนภาษาที่ใช้ในการขอและให้ ขอ้ มลู บรรยาย แสดงความคดิ เหน็ ขอ้ มูล บรรยาย และแสดงความคดิ เหน็ เกีย่ วกับ เก่ยี วกบั เรื่องทีฟ่ งั หรืออ่าน เรื่องทฟ่ี ังหรอื อา่ น ตัวอยา่ ง 5. พดู และเขยี นแสดงความรู้สกึ u ประโยคและส�ำนวนภาษาทใี่ ชแ้ สดงความรสู้ กึ ความคดิ เหน็ ของตนเองเกย่ี วกบั ความคิดเห็น และใหเ้ หตผุ ลเกี่ยวกับเร่ืองตา่ งๆ เร่อื งต่างๆ กิจกรรม และ กิจกรรม และประสบการณ์ในชวี ิตประจ�ำวนั ประสบการณ์ พรอ้ มให ้ เช่น ชอบ ไม่ชอบ ดีใจ เสยี ใจ มคี วามสขุ เศรา้ หวิ เหตุผลประกอบ เกย่ี วกบั รสชาติ ความสวย นา่ เกลยี ด ความดี ไม่ดี ตวั อยา่ ง ตวั ช้วี ัดและสาระการเรียนรภู้ าษาจีน 39 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ

ช้นั ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรู้ภาษาจนี ม. 3 1. สนทนาอยา่ งต่อเนอ่ื ง หรอื u ประโยคและส�ำนวนภาษาท่ีใชใ้ นการส่อื สาร เขยี นโตต้ อบขอ้ มลู เกยี่ วกบั ตนเอง ระหว่างบคุ คล เช่น การทกั ทาย กลา่ วลา ขอบคุณ เรื่องใกล้ตวั สถานการณต์ ่างๆ ขอโทษ ชมเชย การพดู แทรกอยา่ งสภุ าพ ขา่ ว เร่อื งท่ีอยู่ในความสนใจ การเชญิ ชวน การแลกเปล่ียนขอ้ มูลเกยี่ วกบั ของสงั คม ตนเอง เรอ่ื งใกลต้ ัว สถานการณ์ตา่ งๆ ในชวี ติ ประจ�ำวนั u บทสนทนา ประโยคหรือข้อความเกี่ยวกับตนเอง และบคุ คลใกล้ตัว สถานการณ์ ข่าว เรื่องทอ่ี ยใู่ น ความสนใจของสังคม ตวั อย่าง 2. ใชค้ �ำขอร้อง ค�ำแนะน�ำ u ค�ำขอรอ้ ง ค�ำแนะน�ำ ค�ำชี้แจง ค�ำอธิบายท่ีมี ค�ำชแ้ี จง และค�ำอธิบาย ความซบั ซอ้ น ตามสถานการณ ์ ตวั อย่าง 3. พดู และเขยี นแสดงความตอ้ งการ u ประโยคและส�ำนวนภาษาทีใ่ ช้แสดงความต้องการ ขอและใหค้ วามชว่ ยเหลอื ตอบรบั การขอและใหค้ วามช่วยเหลอื การตอบรบั และ และปฏเิ สธในสถานการณต์ า่ งๆ ปฏิเสธในสถานการณ์ตา่ งๆ ตัวอย่าง A: B: ตวั ช้ีวดั และสาระการเรียนรู้ภาษาจนี 40 กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ

ช้นั ตวั ช้ีวดั สาระการเรียนร้ภู าษาจีน 4. พูดและเขยี นเพื่อขอขอ้ มลู และ u ประโยคและส�ำนวนภาษาทใี่ ช้ในการขอและให้ ใหข้ อ้ มูล อธบิ าย เปรียบเทียบ ข้อมูล อธบิ าย เปรยี บเทียบ และแสดงความคิดเหน็ แสดงความคิดเห็นเกยี่ วกับ เกี่ยวกับเรอื่ งท่ฟี งั หรืออ่าน เรื่องท่ีฟงั หรืออ่าน ตัวอยา่ ง 5. พูดและเขียนบรรยายความรู้สึก u ประโยคและส�ำนวนภาษาทใี่ ช้แสดงความรูส้ กึ ความคดิ เห็นของตนเองเกีย่ วกับ ความคิดเหน็ และให้เหตุผลเกี่ยวกบั เรื่องต่างๆ เรอ่ื งตา่ งๆ กจิ กรรม ประสบการณ ์ กจิ กรรม ประสบการณ์ ข่าว เหตกุ ารณ์ในชวี ิต ขา่ ว เหตุการณ์ พรอ้ มให้เหตผุ ล ประจ�ำวนั เชน่ ชอบ ไมช่ อบ ดใี จ เสยี ใจ มคี วามสขุ ประกอบ เศรา้ หิว อรอ่ ย หวาน ความสวย น่าเกลยี ด ความดี ไม่ดี ตวั อย่าง ม. 4 1. สนทนาอย่างต่อเนอ่ื ง หรอื u ประโยคหรอื ส�ำนวนภาษาทใี่ ช้ในการส่ือสาร เขียนโตต้ อบข้อมลู ข่าวสาร ระหวา่ งบคุ คลเพอื่ แลกเปลี่ยนข้อมลู ข่าวสาร ประสบการณ์ และเร่อื งทอ่ี ยู่ เชน่ การพดู แสดงความคดิ เหน็ การขอความ ในความสนใจของสังคม คิดเหน็ จากเพือ่ น การยอมรับและเหน็ ตา่ ง u บทสนทนา ประโยคหรอื ข้อความเก่ยี วกบั ขอ้ มลู ข่าวสาร ประสบการณ์ และเรอ่ื งท่อี ยู่ ในความสนใจของสงั คม ตัวอยา่ ง ตวั ช้ีวดั และสาระการเรยี นรู้ภาษาจนี 41 กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศ

ช้นั ตวั ชีว้ ัด สาระการเรยี นรภู้ าษาจีน 2. ใช้ค�ำขอร้อง ค�ำแนะน�ำ u ค�ำขอรอ้ ง ค�ำแนะน�ำ ค�ำช้ีแจง และค�ำอธิบาย ค�ำช้ีแจง และค�ำอธบิ าย ในสถานการณ์ตา่ งๆ เชน่ ค�ำขอร้องใหช้ ว่ ยเหลือ ในสถานการณ์ต่างๆ ค�ำแนะน�ำสถานทที่ อ่ งเที่ยว ค�ำช้แี จงการท�ำ ข้อสอบ ตัวอยา่ ง A : B : A: B: 3. พดู หรอื เขยี นแสดงความตอ้ งการ u ประโยคและส�ำนวนภาษาท่ีใช้แสดงความต้องการ ขอและใหค้ วามชว่ ยเหลอื ตอบรบั การขอและใหค้ วามช่วยเหลอื การตอบรับและ และปฏเิ สธในสถานการณต์ า่ งๆ ปฏเิ สธในสถานการณ์ต่างๆ ตวั อยา่ ง 4. พดู และเขียนเพือ่ ขอและให ้ u ประโยคหรือส�ำนวนภาษาทใ่ี ช้ขอและให้ขอ้ มูล ข้อมูล อธิบาย เปรียบเทยี บ และ อธิบาย เปรยี บเทียบ และแสดงความคดิ เห็น แสดงความคิดเหน็ เกย่ี วกับ เก่ียวกับเร่อื งทฟี่ งั หรืออ่าน เรื่องท่ฟี งั หรอื อา่ น ตัวอย่าง 5. พดู และเขียนแสดงความรูส้ ึก u ประโยคหรอื ส�ำนวนภาษาที่ใชแ้ สดงความรู้สกึ ความคิดเหน็ ของตนเองเก่ยี วกับ ความคิดเหน็ และใหเ้ หตผุ ลเกยี่ วกับเรื่องตา่ งๆ เรอื่ งต่างๆ กจิ กรรม กจิ กรรม ประสบการณ์ ขา่ ว เหตกุ ารณ์ เชน่ ตวั ช้วี ัดและสาระการเรยี นรภู้ าษาจีน 42 กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ

ชนั้ ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนรภู้ าษาจีน ประสบการณ์ ข่าว เหตุการณ์ ชอบ ไมช่ อบ ดีใจ เสยี ใจ สขุ เศรา้ หิว เกีย่ วกับ พรอ้ มใหเ้ หตผุ ลประกอบ รสชาติ ความสวย น่าเกลียด ดี ไม่ดี ตัวอยา่ ง ม. 5 1. สนทนาอย่างตอ่ เนอื่ ง และ u ประโยคหรือส�ำนวนภาษาที่ใชใ้ นการสอ่ื สาร เขียนโตต้ อบข้อมลู ข่าวสาร ระหว่างบุคคลเพ่อื แลกเปลย่ี นขอ้ มูล ขา่ วสาร ประสบการณ์ และเรือ่ งท่อี ย่ ู เช่น การพูดแสดงความคิดเห็น การขอความคดิ เห็น ในความสนใจของสงั คม จากเพอื่ น การยอมรับและเห็นต่าง u บทสนทนา ประโยคหรอื ข้อความเก่ยี วกับข้อมลู ข่าวสาร ประสบการณ์ และเรื่องทอ่ี ยู่ในความสนใจ ของสังคม ตวั อย่าง 2. ใชค้ �ำขอร้อง ค�ำแนะน�ำ u ค�ำขอรอ้ ง ค�ำแนะน�ำ ค�ำชแี้ จง และค�ำอธบิ าย ค�ำชี้แจง และค�ำอธบิ าย ในสถานการณต์ ่างๆ เชน่ การบอกทิศทาง ในสถานการณ์ต่างๆ ค�ำอธบิ ายการใชย้ า ตัวอยา่ ง 3. พดู และเขยี นแสดงความตอ้ งการ u ประโยคและส�ำนวนภาษาทีใ่ ชแ้ สดงความตอ้ งการ ขอและใหค้ วามชว่ ยเหลอื ตอบรบั การขอและให้ความชว่ ยเหลือ การตอบรับ และปฏเิ สธในสถานการณ์ต่างๆ และปฏเิ สธในสถานการณต์ า่ งๆ ตัวชี้วดั และสาระการเรยี นร้ภู าษาจีน 43 กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศ

ชนั้ ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรภู้ าษาจีน ตัวอย่าง 4. พดู และเขียนเพอื่ ขอและให ้ u ประโยคหรอื ส�ำนวนภาษาที่ใช้ในการขอและให้ ขอ้ มลู อธิบาย เปรียบเทยี บ ข้อมลู อธิบาย เปรยี บเทยี บ และแสดงความคิดเห็น และแสดงความคดิ เห็น เกยี่ วกบั เรือ่ งทฟ่ี ังหรืออ่าน เกยี่ วกับเร่อื งท่ฟี งั หรืออ่าน ตัวอยา่ ง 5. พดู และเขยี นบรรยายความรสู้ กึ u ประโยคหรือส�ำนวนภาษาที่ใชแ้ สดงความร้สู กึ แสดงความคดิ เห็นของตนเอง ความคดิ เหน็ และให้เหตผุ ล เก่ยี วกบั เรื่องตา่ งๆ เกย่ี วกับเรอื่ งตา่ งๆ กิจกรรม กิจกรรม ประสบการณ์ ขา่ ว เหตกุ ารณ์ เชน่ ชอบ ประสบการณ์ ข่าว เหตุการณ์ ไม่ชอบ ดีใจ เสยี ใจ สุข เศร้า หิว เกยี่ วกับ รสชาติ พรอ้ มให้เหตผุ ลประกอบ ความสวย นา่ เกลยี ด ดี ไมด่ ี ตวั อยา่ ง ม. 6 1. สนทนาอย่างต่อเนื่อง และ u ประโยคหรือส�ำนวนภาษาทีใ่ ชใ้ นการส่ือสาร เขียนโต้ตอบขอ้ มูล ขา่ วสาร ระหว่างบคุ คลเพ่อื แลกเปล่ียนขอ้ มูล ข่าวสาร ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรยี นรู้ภาษาจีน 44 กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook