Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการเรียน เรื่องอาณาจักร

เอกสารประกอบการเรียน เรื่องอาณาจักร

Published by noomai935, 2017-12-21 23:51:01

Description: ใช้ประกอบในการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์
โดย นางสาวพัชราพร จุลมณี

Keywords: อาณาจักร,วิทยาศาสตร์

Search

Read the Text Version

คณะผู้จดั ทำนำงสำวพชั รำพร จุลมณี

ลกั ษณะสำคญั ของส่ิงมชี ีวติ ในอำณำจกั รมอเนอรำ - เป็ นส่ิงมชี ีวติ เซลล์เดยี วทม่ี โี ครงสร้ำงเซลล์แบบโพรคำริโอต (prokaryotic cell) ในขณะทสี่ ิ่งมชี ีวติอ่ืนๆทุกอำณำจักรมโี ครงสร้ำงเซลล์แบบยูคำรีโอต (eukaryotic cell) - ไม่มอี อร์แกเนลล์ชนิดมเี ยื่อหุ้มเช่น ร่ำงแหเอนโดพลำสซึม กอลจคิ อมเพลกซ์ ไลโซโซม คลอโรพลำสต์ มีเฉพำะออร์แกเนลล์ทไี่ ม่มเี ย่ือหุ้มคือไรโบโซม ส่ิงมชี ีวติ ในรอำณำจกั รนีม้ คี วำมสำคญั อย่ำงมำกต่อระบบนิเวศ กล่ำวคือ กลุ่มแบคทเี รียทำหน้ำทเ่ี ป็ นผู้ย่อยอนิ ทรีย์สำรก่อให้เกดิ กำรหมุนเวยี นสำรอนินทรีย์และอนิ ทรีย์สำรต่ำงๆ สำหร่ำยสีเขยี วแกมนำ้ เงนิ ทำหน้ำที่เป็ นผู้ผลติ ในระบบนิเวศและสิ่งมชี ีวติ 2 กลุ่มนีย้ งั มคี วำมสำคญั ในแง่เทคโนโลยชี ีวภำพซึ่งได้มกี ำรศึกษำวจิ ยัเพม่ิ มำกขนึ้ เพ่ือนำไปใช้ประโยชน์ในด้ำนกำรเพมิ่ ผลผลติ ทำงกำรเกษตร อุตสำหกรรม กำรแพทย์ และกำรศึกษำพนั ธุศำสตร์ซ่ึงช่วยพฒั นำคุณภำพชีวติ ของประชำกรให้ดยี งิ่ ขนึ้ สิ่งมชี ีวติ ในอำณำจักรนีแ้ บ่งเป็ น 2 ดวิ ชิ ัน คือ 1. ดวิ ชิ ันชิโซไฟตำ (Division Schizophyta) ได้แก่ แบคทเี รีย 2.ดวิ ชิ ันไซยำโนไฟตำ (Division Cyanophyta) ได้แก่ สำหร่ำยสีเขยี วแกมนำ้ เงนิ

1. ดวิ ชิ ันชิโซไฟตำ (Division Schizophyta) มีลกั ษณะสำคญั ดงั นี้ ที่มา http://www.ucmp.berkeley.edu/bacteria/bacteriamm.html

ผนงั เซลลค์ ลา้ ยร่างแห เรียกวา่ mucopeptide(มิวโคเปปไทด)์ หรือ glucosaminopeptide(กลูโคซามิโนเปปไทด)์ เพราะประกอบดว้ ยคาร์โบไฮเดรตและกรดอะมิโนรูปร่างของแบคทีเรีย มี 3 แบบ คือ-แบบแท่งหรือท่อนทรงประบอก ไดแ้ ก่ พวกบาซิลลสั (Bacillus)-แบบโคง้ งอ ไดแ้ ก่ พวกสไปริสลมั (Spirillum) เซลลค์ งรูปไม่เปลี่ยนแปลง พวกสไปโรขีต(Spirochete)เซลลย์ ดื หยนุ่ ไม่คงรูป-แบบกลม (coccus)บำซิลลสั บาซลิ ลัส คอกคสั คอกคสั สไปริลลมั

กำรสืบพนั ธ์ุของแบคทเี รีย ส่วนใหญ่แบคทีเรียสืบพนั ธุ์แบบไม่อาศยั เพศที่เรียกวา่ Transverse BinaryFission บางชนิดมีการแลกเปลี่ยนสารพนั ธุกรรมได้ 3 รูปแบบคือ 1. Conjugation คือ การถา่ ยทอดยนี จากแบคทีเรียเซลลห์ น่ึงไปยงั อีกเซลลห์ น่ึงดว้ ยการจบั คู่สมั ผสั กนั โดยตรง 2. Transformation คือ การถา่ ยทอด DNA ตวั เปลา่ (naked DNA) หรือDNA อิสระจากแบคทีเรียเซลลห์ น่ึงไปยงั อีกเซลลห์ น่ึง 3. Transduction คือ การถา่ ยทอดยนี จากแบคทีเรียเซลลห์ น่ึงไปยงั อีกเซลลห์ น่ึงโดยอาศยั ไวรัสหรือ Bacteriophage

2.ดวิ ชิ ันไซยาโนไฟตา (Division Cyanophyta) มีลักษณะสาคัญดงั นี้1. ไม่มเี ยื่อหุ้มนิวเคลยี ส เป็ นเซลล์พวกโปรคำรีโอต ไม่มี flagella2. มี chlorophyll phycocyanin phycorythin กระจำยในเซลล์ แต่ไม่ได้รวมเป็ นchloroplast3. ผนังเซลล์เป็ น cellulose และ pectin4. มขี นำดเลก็ อำจอยู่ในลกั ษณะ4.1 เซลล์เดยี่ ว หรือเซลล์กลุ่ม เช่น4.2 เซลล์ทจ่ี ัดเรียงเป็ นสำย

กำรสืบพนั ธ์ุของ Cyanocacteria 1. การแบ่งตวั Binary fission. 2. การหกั เป็นท่อน (fragmentation) พบในพวกที่เป็นสาย 3. สร้างสปอร์หรือสร้างเซลลพ์ ิเศษ เช่น akinete

ลกั ษณะสำคญั ของสิ่งมีชีวติ ในอำณำจักรโปรตสิ ตำ1. ร่างกายประกอบดว้ ยโครงสร้างง่าย ๆ ไม่ซบั ซอ้ น ส่วนมากประกอบดว้ ยเซลลเ์ ดียว (unicellular) บางชนิดมีหลายเซลลร์ วมกนั เป็นกลุ่มเรียกวา่ โคโลนี (colony) หรือเป็นสายยาว (filament) แต่ยงั ไม่ทาหนา้ ท่ี ร่วมกนั เป็นเน้ือเยอ่ื(tissue)หรืออวยั วะ (organ) แต่ละเซลลส์ ามารถทาหนา้ ที่ของความเป็นสิ่งมีชีวติ ไดค้ รบถว้ นอยา่ ง อิสระ2. ไม่มีระยะตวั อ่อน (Embryo) ซ่ึงต่างจากพชื และสตั วท์ ่ีมีระยะตวั อ่อนก่อนท่ีจะเจริญเติบโตเป็นตวั เตม็ วยั3. การดารงชีพ มีท้งั ชนิดที่เป็นผผู้ ลิต (Autotroph) เพราะมีคลอโรฟิ ลล์ เป็นผบู้ ริโภค (Consumer)และเป็นผยู้ อ่ ยสลายอินทรียสาร (Decomposer)4. โครงสร้างของเซลลเ์ ป็นแบบยคู าริโอติก (Eucaryotic) ซ่ึงมีเยอื่ หุม้ นิวเคลียส ไดแ้ ก่ โพรโทซวั เห็ด รายสี ต์ ราเมือก สาหร่ายต่าง ๆ5. การเคลื่อนท่ี บางชนิดเคล่ือนท่ีไดโ้ ดยใช้ ซีเลีย (cilia) แฟลกเจลลมั (flagellum) หรือซูโดโปเดียม(Pseudopodium) บางชนิดเคล่ือนที่ไม่ได้

6. การสืบพนั ธุ์ ท้งั แบบไม่อาศยั เพศ (Asexual reproduction) และแบบอาศยั เพศ (Sexualreproduction) แบบอาศยั เพศมีท้งั ชนิดคอนจูเกชนั (Conjugation) ซ่ึงเกิดจากเซลลส์ ืบพนั ธุ์ท่ีมีรูปร่างและขนาดเหมือนกนั มารวมกนั ดงั เช่นท่ีพบในพารามีเซียม ราดา เป็นตน้ และชนิดปฏิสนธิ(fertilization) ซ่ึงเกิดจากเซลลส์ ืบพนั ธุ์ ท่ีมีรูปร่างและขนาดต่างกนั มารวมกนั ดงั เช่นท่ีพบในสาหร่ายเป็นส่วนใหญ่ เป็นตน้ อำณำจักรโปรตสิ ตำ แบ่งได้เป็ น 9 ดวิ ชิ ัน คือ1. ดวิ ชิ นั โพรโทซวั (Division Protozoa)2. ดวิ ชิ นั ยกู ลีโนไฟตา (Division Euglenophyta)3. ดวิ ชิ นั คริสโซไฟตา (Division Chrysophyta)4. ดวิ ิชนั แซนโธไฟตา (Division Xanthophyta)5. ดิวชิ นั ไพรโรไฟตา (Division Pyrrophyta)6. ดิวชิ นั บาซลิ ลาริโอไฟตา (Division Bacillariophyta)7. ดวิ ชิ นั โรโดไฟตา (Division Rhodophyta)8. ดิวิชนั คลอโรไฟตา (Division Chlorophyta)9. ดวิ ิชนั เฟโอไฟตา (Division Phaeophyta)(ในหนงั สอื สอวน. จะจดั Division Myxomycotina หรือราเมือก เอาไว้ในกลมุ่ ของโปรติสตาด้วย)

1. ดวิ ชันโปรโตซัว (Phylum Protozoa) โปรโตซัวเป็ นโปรติสต์เซลล์เดยี วทม่ี ลี กั ษณะคล้ำยสัตว์ในตอนแรกจงึ ถูกจดั อยู่ในอำณำจักรสัตว์มีลกั ษณะสำคญั ดงั นี้1.เป็ นเซลล์เดยี วบำงชนิดเป็ นเซลล์อยู่เดยี่ ว ๆ บำงชนิดรวมกนั เป็ นกลุ่ม(colony) มขี นำดเลก็ ต้องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์2. ไม่มอี วยั วะหรือเนื้อเย่ือใด ๆ มีออร์กำแนลทำหน้ำทต่ี ่ำง ๆ ในเซลล์3. มเี ซลล์เมมเบรนเป็ นกรอบของเซลล์บำงชนิดมโี ครงแขง็ หุ้มเป็ นสำรพวกเซลลูโลส หรือเจลำติน4. ขบั ถ่ำยของเสียทเ่ี ป็ นของเหลว โดยคอนแทรกไทล์ แวควิ โอล นอกจำกนีย้ งั ทำหน้ำท่ี ควบคุมสมดุลนำ้ ภำยในเซลล์ด้วยจงึ เรียกคอนแทรไทล์ของโปรโตซัวว่ำเป็ น ออสโมเรกูเลเดอร์ (osmoregulator)5. กำรดำรงชีวติ มที ้งั ทห่ี ำกนิ เป็ นอสิ ระในนำ้ เน่ำ เช่น อะมบี ำ สังเครำะห์ด้วยแสง สร้ำง อำหำรได้เอง เช่นยูกลนี ำ เป็ นปรสิต เช่น เชื้อไข้จบั สั่น6. กำรสืบพนั ธ์ุ ตำมปกติจะสืบพนั ธ์ุแบบไม่ใช้เพศ คือกำรแบ่งตัวจำก 1 เป็ น2 นอกจำกนีย้ งั มกี ำรสืบพนั ธ์ุแบบมเี พศ คือกำรเข้ำจับคู่กนั หรือกำรคอนจูเกชัน (conjugation)7. กำรเข้ำเกรำะ (encystment) พบในโปรโตซัวหลำยชนิด เช่นยูกลนี ำ จะเข้ำเกรำะเมื่อ สิ่งแวดล้อมไม่เหมำะสม8. รูปร่ำงมหี ลำยแบบ ส่วนใหญ่เป็ นรูปไข่ ยำวรี หรือมรี ูปร่ำงไม่แน่นอน9. อวยั วะเคล่ือนทขี่ องโปรโตซัวในแต่ละกลุ่มจะแตกต่ำงกนั ซ่ึงจะนำมำใช้ในกำรแบ่ง หมวดหมู่ระดบั คลำสเช่น มแี ฟลกเจลลำ ซีเลยี เป็ นต้น

ไฟลมั โปรโตซัว แบ่งออกเป็ น 4 คลำส คือ1.1 คลาสแฟลกเจลลาตา (Class Flagellata) เคล่ือนท่ีโดยใชแ้ ฟลกเจลลมั ซ่ึงอาจมีมากกวา่ 1เส้น มีท้งัพวกท่ีดารงชีวติ เป็นอิสระและเป็นปรสิต อาศยั อยทู่ ้งั ในน้าจืดและน้าเคม็ พวกท่ีเป็นปรสิต ไดแ้ ก่ พวกที่ทาใหเ้ กิดเป็นโรคเหงาหลบั คือ ทริปาโนโซมา(Trypanosoma)1.2 คลาสซาโคดินา (Class Sarcodina)เคลื่อนท่ีโดยใชเ้ ทา้ เทียมหรือซูโดโปเดียม(Pseudopodium)ซ่ึงเกิดจากการไหลของไซโตพลาสซึมมีท้งั ในน้าจืดและน้าเคม็ เช่น อะมีบา (ameba) ซ่ึงเป็นปรสิตทาใหเ้ กิดโรคบิดหรือทาใหท้ อ้ งร่วงทริปำโนโซมำ ทริปำโนโซมำ อะมีบำ

1.3 คลาสซีเลียตา (Class Ciliata) เคลื่อนท่ีโดยใชซ้ ิเลีย (cilia)มีท้งั ที่ดารงชีพอยา่ งอิสระและเป็นปรสิตโดยทวั่ ไปมีนิวเคลียส 2 ขนาด คือนิวเคลียสขนาดใหญ่ เรียกวา่ มาโครนิวเคลียส (Macronucleus)นิวเคลียสขนาดเลก็ เรียกวา่ ไมโครนิวเคลียส( Micronucleus) เช่น พารามีเซียม ( Paramicium )1.4 คลาสสปอโรซวั (Class Sporozoa) พวกน้ีไม่มีอวยั วะที่ใชใ้ นการเคลื่อนท่ี ดารงชีวติ เป็นปรสิตสืบพนั ธุ์โดยการสร้างสปอร์ และรวมตวั กนั คลา้ ยการสืบพนั ธุแ์ บบอาศยั เพศ เช่น พลาสโมเดียม(Plasmodium) ซ่ึงเป็นเช้ือมาเลเรียพำรำมีเซียม พลำสโมเดียม

2.ดวิ ชิ ัน ยูกลโี นไฟตำ (Division Euglenophyta) ส่งิ มชี วี ติ ในดวิ ชิ ันนีเ้ รียกว่า ยกู ลีนอยด์ (euglenoid) อาจถกู จดั ให้เป็ นโปรโตซัวในคลาสแฟลกเจลลา ตา หรือ คลาสไฟโทแมสตโิ กฟอเรีย หรืออาจถกู จดั ไว้ในกลุ่มของสาหร่ายกไ็ ด้ เน่ืองจากสามารถสังเคราะห์อาหารด้วยแสงได้เหมือนพชื คลอโรพลาสต์มีหลายรูปแบบทงั้ แบบแฉก มีคลอโรฟิ ลล์เป็ นชนิด เอ และ บี คาโรทนี แซนโทฟิ ลล์ สะสมอาหารเป็ นแป้ง เรียกว่า พาราไมลัม (Paramylum) แต่ไม่มีผนังเซลล์ (มเี ย่อื หุ้มเซลล์อย่นู อกสุดถดั เข้าไปเป็ น Pellicle) และมีโครงสร้างท่ใี ช้ในการเคล่อื นท่เี ป็ น flagellum 1-3 เส้น(หรือมากกว่า) ทางด้านหน้า ทางด้านหน้ามชี ่องเปิ ดต่อเข้าไปในเซลล์ มีส่วนของreservoir ซ่งึ ใกล้ ๆ นีจ้ ะมีContractile vacuole มีออร์กาเนลแบบยคู าริโอตท่วั ไปอาจพบ granule ท่มี สี ีแดง นิวเคลียสมีขนาดใหญ่และค่อนมาทางด้านท้าย มี Eye spotหรือ Stigma เป็ นอวยั วะรับแสงตดิ กับ reservoir ภายในมีสีแดงส้มของAstraxanthin และ Echinemone รวมกบั แคโรทนี อยด์อ่นื ๆ ในไซโทพลาซมึ (จงึ ทาหน้าท่ที งั้ ช่วยรับแสง และควบคุมการเคล่อื นท่ี) สามารถพบได้ทงั้ ในนา้ จดื นา้ กร่อย นา้ เคม็ในดนิ ชนื้ แฉะ ตวั อย่างของสาหร่ายดวิ ชิ ันนีไ้ ด้แก่ ยกู ลีนา (Euglena) และฟาคสั(Phacus)

โครงสร้ างของ EuglenoidEuglenoid

3.ดวิ ชิ นั คริสโซไฟตา (Division Chrysophyta) ดวิ ชิ ัน คริสโซไฟตำ (Division Chrysophyta) ได้แก่พวกสำหร่ำยสีนำ้ ตำลแกมเหลือง หรือสำหร่ำยสีทอง แหล่งท่พี บ พบได้ทว่ั ไปท้ังในนำ้ จืด นำ้ เคม็ มีลกั ษณะดงั นี้1.สำหร่ำยสีนำ้ ตำลแกมทอง ( goldenbrown algae ) มีประมำณ 16,600 สปี ชีส เป็ นผู้ผลติ ทมี่ มี ำกท่ีสุดในทะเล2.รงควตั ถุทพ่ี บในเซลล์มีรงควตั ถุสีเขยี ว คือ คลอโรฟิ ลล์ เอ และคลอโรฟิ ลล์ ซี และมีรงควตั ถุสีนำ้ ตำล คือ ฟิ วโคแซนทิน(Fucoxanthin) ซึ่งมีมำกท่สี ุดถงึ 75 % ของรงควตั ถุท้งั หมด และลูเทอริน (Luthein) ปริมำณมำกกว่ำคลอโรฟิ ลล์จงึ ทำให้มีสีนำ้ ตำลแกมทอง3. มีท้ังพวกเซลล์เดยี วและหลำยเซลล์อยู่กนั เป็ นสำยหรือรวมเป็ นกลุ่ม4. ผนังเซลล์มสี ำรพวกซิลกิ ำ (Sillica) สะสมอยู่ประมำณ 95% ทำให้มลี วดลำยสวยงำมมำก ผนังเซลล์ท่มี ี ซิลกิ ำเรียก ฟรุสตุล(Frustule) ฟรุสตุลประกอบด้วย ฝำ 2 ฝำ ครอบกนั อยู่สนิทแน่น แต่ละฝำเรียกทีกำ(Theca)ฝำบนเรียก อพี ทิ ีกำ (Epitheca)มีขนำดใหญ่กว่ำครอบอยู่บนฝำล่ำงซ่ึงมขี นำดเลก็ กว่ำเลก็ น้อย เรียก โฮโปทีกำ (Hypotheca)5. อำหำรสำรองภำยในเซลล์คือ หยดนำ้ มัน (Oil droplet) และเม็ดเลก็ ๆ ของสำรประกอบคำร์โบโฮเดรตชนิดพเิ ศษ เรียกว่ำลวิ โคซิน (Leucosin) หรือ คริโซลำมินำรีน (Chrysolaminarin)6. กำรสืบพนั ธ์ุมีท้ังแบบไม่อำศัยเพศโดยกำรแบ่งเซลล์ออกเป็ น 2 ส่วน ซ่ึงเป็ นกำรเพม่ิ จำนวนทพ่ี บเสมอ ๆส่วนอกี แบบหนึ่งเป็ นแบบอำศัยเพศ ควำมสำคญั มคี วำมสำคญั ทำงเศรษฐกจิ เช่น ไดอะตอมมสี ำรพวกซิลกิ ำ

สำหร่ำยสีนำ้ ตำลแกมทองชนิด Synura

4.ดวิ ชิ ันแซนโธไฟตำ (Division Xanthophyta) สาหร่ายสีเขียวแกมเหลือง มีรงควตั ถพุ วกแคโรทีนอยด์ แซนโทฟิลด์มาก ไมม่ ีฟิวโคแซนทิน ผนงั เซลล์เป็นสารพวกเซลโู ลส บางชนิดมซี ลิ กิ าสะสม ตวั อยา่ งสงิ่ มชี ีวติ เช่น Tribonema Tribonema

5. ดวิ ชิ ันไพรโรไฟตำ (Division Pyrrophyta) สมาชิกในดิวชิ นั น้ีนิยมเรียกวา่ ไดโนแพลเจลเลต (Dinoflagellates) เพราะมีแฟลกเจลลา 2 เสน้ยาวไม่เท่ากนั เส้นหน่ึงอยใู่ นร่องตามขวางของเซลล์ อีกเสน้ หน่ึงอยใู่ นร่องตามยาวของเซลล์ บางชนิด แฟลกเจลลมั อยดู่ า้ นหนา้ ท้งั 2 เสน้ แต่อยา่ งไรกต็ ามสมาชิกที่มีหลายเซลลอ์ ยเู่ ป็นกลุ่มและเป็นสายไม่เคลื่อนที่กม็ ีเหมือนกนั และมีมากกวา่ 1,000 ชนิด ที่สีปรากฏค่อนไปทางสีแดงเปลวไฟ ดงั น้นั บางท่านจึงเรียกวา่สาหร่ายสีเปลวไฟ (Fire algae) พบไดต้ ามในทะเล บางพวกเรืองแสงไดใ้ นท่ีมืด(Bioluminescence) ที่เราเรียกวา่ พรายน้า เช่น Noctiluca บางชนิดพบในน้าจืดและน้ากร่อย บางชนิดมีแผน่ เซลลูโลสหลาย ๆแผน่ ประกอบกนั คลา้ ยเกราะ มีลวดลายสวยงาม บางชนิดมีการสะสมสารพิษในตวั ไดโนแฟลกเจลเลตบางตวั ไม่มีผนงั เซลลเ์ ช่น ยมิ โนดิเนียม (Gymnodinium) หากในน้าทะเลมีสารอินทรียม์ ากข้ึนจากมลภาวะต่าง ๆจะทาใหไ้ ดโนแฟลเจลเลตเพิ่มจานวนมากอยา่ งรวดเร็ว จนเกิดปรากฏการณ์ท่ีเรียกวา่ น้าพษิ สีแดง หรือกระแสน้าแดง หรือข้ีปลาวาฬ (Red tide) ซ่ึงเป็นอนั ตรายกบั สิ่งมีชีวติ ไดโนแฟลเจลเลตน้ีมีสารสีแคโรทีนและคลอโรฟิ ลลใ์ นพลาสติกมีบทบาทเป็นผู้ ผลิตที่สาคญั ในระบบนิเวศ รงควตั ถุภายในเซลลม์ ีคลอโรฟิ ลล์ เอและคลอโรฟิ ลล์ ซี แคโรทีน แซนโธฟิ ลล์ หลายชนิด ท่ีสาคญั คือ เพอริดินมั (Peridinum) และไดโนแซนธิน(Dinoxanthin) อาหารสะสม คือ แป้ง (Starch) ซ่ึงสะสมไวใ้ นหรือนอกคลอโรพลาสต์นอกจากน้นั อาจมีหยดน้ามนั

DinoflagellateNoctiluca

6. ดวิ ชิ ันบำซิลลำริโอไฟตำ (Division Bacillariophyta) มีช่ือเรียกทว่ั ไปวา่ ไดอะตอม (Diatom) ผนงั เซลล์มีสารพวกเพคทิน และซิลิกา(Sillica) สะสมอยปู่ ระมาณ 95% ทาให้มีลวดลายสวยงามมาก ผนงั เซลล ท่ีมีซิลิกาเรียก ฟรุสตลุ (Frustule) ฟรุสตลุ ประกอบด้วย ฝา 2 ฝา ครอบกนั อยสู่ นิทแน่น แตล่ ะฝาเรียกทีกา (Theca) ฝาบนเรียก อีพิทีกา (Epitheca)มีขนาดใหญ่กวา่ ครอบอยู่บนฝาลา่ งซงึ่ มีขนาดเลก็ กวา่ เลก็ น้อย เรียก โฮโปทีกา (Hypotheca) บนผิวของเปลือกจะมีลวดลายตา่ ง ๆ กนั รงควตั ถทุ ี่พบมีทงั้ คลอโรฟิลล์เอ ซี แซนโธฟิ ลล์ฟิวโคแซนทิน และเบตาแคโรทีน ซากไดอะตอมที่ตายแล้วเรียกวา่ Ditomaceousearth หรือ Diatomite นามาใช้ประโยชน์ได้หลายอยา่ งเช่น การทาไส้กรองและยาขดั ตา่ ง ๆ เน่ืองจากมีแร่ธาตแุ ละนา้ มนั มาก

Diatom

7. ดวิ ชิ ันโรโดไฟตำ (Division Rhodophyta) สว่ นใหญ่อย่ใู นทะเลมบี างชนิดเท่านนั้ ทอ่ี ยใู่ นนา้ จืด สาหร่ายในดิวิชน่ั นีเ้รียกวา่ สาหร่ายสีแดง(Redalgae หรือ Sea moss) มีอย่ปู ระมาณ 3,900 สปีซีส์ รงควตั ถภุ ายในพลาสติดท่มี ปี ริมาณมากนนั้ มีสแี ดง คือคลอโรฟิลล์ ดี และไฟโคอิริทริท (Phycoerythrin) บางครัง้ สาหร่ายสีแดงอาจปรากฏเป็นสีนา้ เงินเพราะมีรงควตั ถพุ วกไฟโคไซยานิน (Phycocyanin) รวมอย่ใู นพลาสตดิ ด้วยอย่างไรก็ตามสาหร่ายสแี ดงก็มี คลอโรฟิลด์ เอ ซงึ่ เป็นรงควตั ถหุ ลกั ในการสงั เคราะห์แสง และที่น่าสนใจอีกอยา่ งก็คอื สาหร่ายแดงมีรงควตั ถแุ บคทริ ิโอคลอโรฟิลล์ เอ เหมอื นดงั ทพี่ บในแบคทเี รียท่ีสงั เคราะห์แสงด้วยคลอโรพลาสต์มี 2 แบบ คือบางพวกมลี กั ษณะเป็นแฉกรูปดาว และมไี พรีนอยด์ตรงกลาง บางพวกมีลกั ษณะกลมแบน อาหารสะสมเป็นแปง้ มีช่อื เฉพาะวา่ ฟลอริเดยี นสตาซ(Floridean starch) อย่ใู นไซโทพลาสซมึ นอกจากแปง้ แล้วยงั สะสมไว้ในรูปของนา้ ตาลฟลอริโดไซด์ (Floridoside) ซง่ึ ทาหน้าท่ีเหมือนนา้ ตาลซโู ครสในสาหร่ายสีเขยี วและพืชชนั้ สงู และสามารถผลิตเกลือแคลเซยี มได้จานวนมาก

ผนงั เซลล์ ประกอบด้วยผนงั เซลล์ชนั้ ใน เป็นพวกสารเซลลโู ลส และผนงั เซลล์ชนั้ นอกเป็นสารเมือกพวกซลั เฟตเตต แกแลกแตน (Sulfated galactan) ได้แก่ ว้นุ (Agar) พอร์ไฟแรน(Porphyran) เฟอร์เซลเลอแรน (Furcelleran) และคาร์ราจีแนน (Carrageenan) ภายในเซลล์มที งั้ ชนิดท่ีมีนวิ เคลียสเดียว และหลายนิวเคลยี ส สาหร่ายสแี ดงเป็นสาหร่ายพวกเดียวที่ทกุ ระยะไมม่ ีแฟลกเจลลมั ในการเคลอ่ื นที่ตัวอย่างของสาหร่ายในดวิ ชิ ันนี้ ได้แก่- พอร์ไฟรา (Porphyra) เมื่อตากแห้งแล้วใช้ใสแ่ กงจืดทีเ่ รียกกนั วา่ จีฉ่าย หรือสายใบ- กราซลิ าเรีย (Gracilaria) หรือสาหร่ายผมนาง นามาสกดั สารคาร์แรกจิแนน(carrageenan)ใช้ในการทาว้นุ (agar) ซง่ึ มีความสาคญั ในการทาอาหารเลยี ้ งจลุ ินทรีย์ ทาเคร่ืองสาอาง ทายาขดั รองเท้า ครีมโกนหนวด เคลอื บเส้นใย ใช้ทาแคปซลู ยา ทายา และใช้เพาะเลยี ้ งเนือ้ เย่ือ- คอนดรัส (Chondrus หรือ Irish moss) ใช้ทาขนมหวาน รักษาโรคทอ่ งร่วง

Porphyra หรือจีฉ่ายGracilaria

8. ดวิ ิชนั คลอโรไฟตา (Division Chlorophyta) เป็ นกลุ่มของสำหร่ำยสีเขียว (Green algae) เป็ นดวิ ชิ ันท่ใี หญ่ทีส่ ุดในบรรดำสำหร่ำยด้วยกนั มีท้งั หมดประมำณ17,500 สปี ชีส์พบอยู่ในนำ้ จืดมำกกว่ำในนำ้ เคม็ พบในดนิ ที่เปี ยกชื้น แม่นำ้ ลำคลองทะเลสำบ และในทะเล เช่นอะเซตำบูลำเรีย ซ่ึงหำกมมี ำกเกดิ ปรำกฎกำรณ์ เรียกว่ำ วอเตอรบลูม (waterbloom) สำหร่ำยสีเขยี วบำงชนิดเป็ นพวกเซลล์เดย่ี ว บำงชนิดเป็ นหลำยเซลล์ต่อกนั เป็ นสำยยำว หรือรวมกนั เป็ นกลุ่ม มที ้งั เคลื่อนทไ่ี ด้ และเคล่ือนทไ่ี ม่ได้- พวกเซลล์เดยี วทเี่ คลื่อนทไ่ี ด้ โดยมีแฟลกเจลลมั ใช้โบกพดั จำนวน 2-4 เส้น เช่น คลำมโิ ดโมแนส(Chlamydomonas )- พวกเซลล์เดยี วทเ่ี คลื่อนทไ่ี ม่ได้ เช่น คลอเรลลำ (Chlorella) คลอโรคอคคมั (Chlorococcum)- พวกหลำยเซลล์ต่อกนั เป็ นสำยยำว เช่น ยูโลทริกซ์ (Ulothrix) อโี ดโกเนียม (Oedogonium) สไปโรไจรำ(Spirogyra) หรือเทำนำ้-พวกหลำยเซลล์เป็ นกลุ่ม (Colonial forms) เช่น วอลวอกซ์ (Volvox) เพดแิ อสทรัม (Pediastrum)ซีนีเดสมัน (Scenedesmus)- บำงชนิดอยู่รวมกนั และมีรูปร่ำงคล้ำยพืชช้ันสูง เช่น สำหร่ำยไฟ (Stone wort หรือ Chara) สำหร่ำยสีเขียวเป็ นส่ิงมชี ีวติ ทสี่ ำมำรถสังเครำะห์อำหำรด้วยแสงได้ มีรงควตั ถุแบบเดยี วกบั ท่ีพบในพืชช้ันสูงคือ มีคลอโรฟิ ลล์เอ คลอโรฟิ ลล์บี แคโรทนี และแซนโทฟิ ลล์ รงควตั ถุท้ังหมดนีจ้ ะประกอบกนั ด้วยอตั รำส่วนท่ีเหมือนกบั พวกพืชช้ันสูงจึงทำให้มีสีเขียวสด รงควตั ถุท้งั หมดนีจ้ ะรวมกนั อยู่ในเม็ดสี หรือพลำสตดิ (Plastid) ทเ่ี รียกว่ำ คลอโรพลำสต์โดยอำจจะมี 1 อนั หรือมำกกว่ำ 1 อนั คลอโรพลำสต์ของสำหร่ำยสีเขียวมีรูปร่ำงหลำยแบบ เช่น

- รูปร่ำงเป็ นเมด็ ๆ พบใน ไบรออปซิส (Bryopsis)- รูปร่ำงเป็ นเกลยี ว พบใน สไปโรไจรำ (Spirogyra)- รูปร่ำงเป็ นคล้ำยร่ำงแห พบใน อโี ดโกเนียม (Oedogonium)- รูปร่ำงเป็ นแผน พบใน ยูโลทริกซ์ (Ulothrix)- รูปร่ำงเป็ นรูปดำว พบใน ซิกนีมำ (Zygnema)- รูปร่ำงเป็ นเกือกม้ำหรือรูปตวั U พบใน คลอเรลลำ (Chlorella) ในคลอโรพลำสมอี ำหำรทีเ่ กบ็ สะสมไวนอกจำกแป้งคือ ไพรีนอยด์ (Pyrenoids) ซึ่งเป็ นโครงสร้ำงทีม่ ีโปรตีนเป็ นแกนกลำง และมแี ผ่นแป้งหุ้มล้อมรอบอยู่ นอกจำกคลอโรพลำสในไซโทพลำซึมยงั มีออร์กำเนลต่ำงๆ มำกมำย ผนังเซลล์มี 2 ช้ัน ช้ันนอกบำงชนิดมีเพกตนิ (Pectin) เคลือบอยู่ภำยนอกบำง ๆ บำงชนิดจะสร้ำงสำรเมือกห่อหุ้มผนังเซลล์ ช้ันในประกอบด้วย เซลลูโลส (Cellulose) บำงชนิดมแี คลเซียมคำร์บอเนต(Calcium Carbonate)หรือ ซิลกิ ำ (Silica) หรือไคตนิ (Chitin) แทรกอยู่ แต่บำงชนิดกอ็ ำจจะไม่มีผนังเซลล์เลยกไ็ ด้ กำรสืบพนั ธ์ุพบได้ท้ังแบบแบบไม่อำศัยเพศและแบบอำศัยเพศ แบบไม่อำศัยเพศจะใช้วธิ ีแบ่งเป็ น 2ส่วนเท่ำ ๆ กนั(binary fission) ในพวกเซลล์เดยี ว หรือหักสำย (Fragmentation) หรือสร้ำงสปอร์ ส่วนแบบอำศัยเพศ โดยคอนจูเกชัน (Conjugation) หรือกำรปฏิสนธิ (Fertilization) สิ่งมีชีวติ เหล่ำนีม้ ีบทบำทสำคญั ในกำรเพมิ่ ออกซิเจนให้กบั แหล่งนำ้ บำงชนิดอยู่รวมกบั สำหร่ำยสีแดงสำมำรถผลติ เกลือแคลเซียมก่อให้เกดิ หินโสโครกในทะเล บำงชนิดเป็ นอำหำร เช่น เทำนำ้ (Spirogyra) Ulva(Sea lettuce) Chlorella และ Scenedesmus

สาหร่ ายไฟChlamydomonas

Chlorella (ซ้าย) Spirogyra (ขวา) Volvox

Scenedesmus Ulva

9.ดวิ ชิ ัน เฟโอไฟตำ (Division Phaeophyta) สาหร่ายในดิวชิ น่ั พีโอไฟตา เรียกโดยทว่ั ไปวา่ สาหร่ายสีน้าตาล (Brown algae) ท้งั น้ีเพราะมีรงควตั ถุที่ทาใหเ้ กิดสีน้าตาล คือ ฟิ วโคแซนทีน (Fucoxanthin) อยมู่ ากกวา่ คลอโรฟิ ลล์ เอ และคลอโรฟิ ลล์ ซีสาหร่ายสีน้าตาลมีมากในทะเลตามแถบชายฝั่งท่ีมีอากาศเยน็ มีเพยี ง 35 จีนสั ที่พบในน้าจืด สาหร่ายสีน้าตาลมกัเรียกชื่อทว่ั ไปวา่ sea weed เพราะเป็นวชั พืชทะเล รูปร่างและขนาดแตกต่างกนั ไป มีต้งั แต่ขนาดเลก็ ตอ้ งดูดว้ ยกลอ้ งจุลทรรศน์ จนถึงขนาดใหญม่ องเห็นดว้ ยตาเปล่า บางชนิดมีรูปร่างเป็นสายยาวแตกกิ่งกา้ น เช่นEctocarpus บางชนิดมีรูปร่างเป็นแผน่ แผแ่ บนหรือคลา้ ยใบไมโ้ บกไหวอยใู่ นน้า เช่น Laminaria บางชนิดคลา้ ยตน้ ปาลม์ ขนาดเลก็ เรียกวา่ Sea palm บางชนิดคลา้ ยตน้ ไมเ้ ลก็ ๆ เช่น Sargassum หรือสาหร่ายนุ่นหรือรูปร่างคลา้ ยพดั เช่น Padina สาหร่ายสีน้าตาลมีหลายเซลล์ พวกที่มีขนาดใหญ่มากเรียกวา่เคลป์ (Kelp)ซ่ึงอาจมีความยาว 60-70 เมตร เช่น Macrocystis , Nereocystis พวกที่มีขนาดใหญม่ กัมีลกั ษณะเหมือนพชื ช้นั สูงประกอบดว้ ยส่วนต่าง ๆ ดงั น้ี1.โฮลดฟ์ าสต์ (Haldfast) คือส่วนที่ทาหนา้ ที่เป็นราก สาหรับยดึ เกาะแต่ไม่ไดด้ ูดแร่ธาตุเหมือนพืชช้นั สูงโฮลดฟ์ าสตข์ องพวกน้ีสามารถแตกแขนงไดม้ าก และยดึ เกาะไดแ้ ขง็ แรง2. สไตป์ (Stipe) หรือคอลลอยด์ (Colloid) คือส่วนที่อยถู่ ดั จากรากข้ึนมาทาหนา้ ที่คลา้ ยลาตน้3. เบลด (Blade)หรือลามินา(Lamina)หรือฟิ ลลอยด(์ Phylloid)คือส่วนที่ทาหนา้ ที่เป็นใบ บางชนิดมีถุง

ลม (air bladder หรือ Pneumatocyst) อย่ทู ่ีโคนใบเพ่ือชว่ ยพยงุ ให้ลอยตวั อยไู่ ด้ในนา้ จากลกั ษณะดงั กลา่ วจงึ ถือกนั วา่ สาหร่ายสีนา้ ตาลมีวิวฒั นาการสงู สดุ ในบรรดาสาหร่ายด้วยกนั (ยกเว้นสาหร่ายไฟ)เซลล์ของสาหร่ายสีนา้ ตาลประกอบด้วยในแตล่ ะเซลล์มีนิวเคลยี สเพียง 1 อนั ผนงั เซลล์ มี 2 ชนั้ ชนั้ ในเป็นพวกเซลลโู ลส ชนั้ นอกเป็นสารเมือก กรดอลั จินิกซงึ่ จะอยทู่ ี่ผนงั เซลล์และช่องวา่ งระหวา่ งเซลล์ โดยมีประมาณถึง24%ของนา้ หนกั แห้งกรดอลั จินิกนีเ้ม่ือสกดั ออกมาจะอย่ใู นรูปของเกลืออลั จิเนตสาหรับใช้ในอตุ สาหกรรมตา่ ง ๆโดยมีคณุ สมบตั ิเป็นตวั ทาให้เกิดอิมลั ชนั ( Emulsifying agent) และเป็นตวั คงรูป (Stabillzingagent)(ผนงั เซลล์เป็นสารพวกเซลลโู ลสและกรดอลั จินิก (alginic acid) ซง่ึ สามารถสกดั สารอลั จิน (algin) มาใช้ประโยชน์ได้)คลอโรพลาสต์ มีเพียง 1 อนั หรือมีจานวนมากในแตล่ ะเซลล์ขนึ ้ อย่กู บั ชนิด คลอโรพลาสต์ จะมีลกั ษณะกลมแบน (Platelike) หรือเป็นแฉกรูปดาว ไพรีนอยด์เกิดเด่ียว ๆ เป็นแบบมีกาน้ติดอย่ขู ้าง ๆ คลอโรพลาสต์ โดยมีผนงั คลอโรพลาสต์ห้มุ รวมไว้ อาหารสะสมมี 3 ชนิด ได้แก่1. โพลีแซกคาไรด์ท่ีละลายนา้ ได้แก่ ลามินาริน (Laminarin) หรือลามินาแรน (Laminaran) มีปริมาณตงั้ แต่ 2-34 % ของนา้ หนกั แห้ง2. แมนนิทอล (Mannitol) พบเฉพาะในสาหร่ายสนี า้ ตาลเทา่ นนั้3. นา้ ตาลจาพวกซโู ครส (Sucrose) และกลีเซอรอล (Glycerol) การสบื พนั ธ์ุ สาหร่ายสนี า้ ตาลมีการสบื พนั ธ์ทุ งั้ แบบอาศยั เพศและไม่อาศยั เพศ โดยมีวงชีวิตแบบสลบั

Kelp Laminaria สาหร่ ายท่ นุ Sargassum

ดวิ ชิ ันมกิ โซไมโคไฟตำ ( Division Myxomycophyta) เป็นสง่ิ มีชีวติ ที่มีลกั ษณะ เป็นเมือก ข้นสีขาว สเี หลอื งหรือสีส้ม อาศยั อยใู่ นบริเวณชืน้ เเฉะ เชน่ กองไม้ผุ ตามพืน้ ดนิ ร่มชืน้ เชน่ เดียวกบั เหด็ รา สว่ นใหญ่ดารงชีพเเบบภาวะมกี ารยอ่ ยสลาย เเตก่ ็มีบางชนิดเป็นปรสติ ตวั อยา่ งส่ิงมีชีวติได้เเก่ พวกราเมือก ( Slime mold ) ราเมือก

ลกั ษณะของสิ่งมชี ีวติ ในอำณำจกั รฟังไจ1. เซลลเ์ ป็นแบบ Eucaryotic cell มีเยอื่ หุม้ นิวเคลียส2. ไม่มีคลอโรฟิ ลล์ ดารงชีวติ เป็นผยู้ อ่ ยสลายสารอินทรียท์ ่ีเน่าเปื่ อย3. ผนงั เซลลเ์ ป็นสารไคตินกบั เซลลูโลส4. มีท้งั เซลลเ์ ดียวและเป็นเสน้ ใยเลก็ เรียกวา่ ไฮฟา (Hypha) รวมกลุ่ม เรียกวา่ ขยมุ้ รา (mycelium)ลกั ษณะของเสน้ ใยแบ่งออกเป็น 2 ชนิด 4.1 เสน้ ใยมีผนงั ก้นั (Septate hypha) 4.2 เสน้ ใยที่ไม่มีผนงั ก้นั (Nonseptate hypha or coencytic hypha)

ส่วนยสี ต์ เป็นสิ่งมีชีวติ เซลลเ์ ดียว แต่อาจมีการต่อกนั เป็นสาย เรียกวา่ Pseudomycelium เส้นใยของฟังไจอาจเปลี่ยนแปลงแปลงรูปร่างเพอื่ ทาหนา้ ที่พิเศษ ไดแ้ ก่ Haustorium เป็นเส้นใยท่ียน่ื เขา้ เซลลโ์ ฮสต์ เพ่ือดูดอาหารจากโฮสต์ พบในราที่เป็นปรสิต Rhizoid มีลกั ษณะคลา้ ยรากพชื ยน่ื ออกจากไมซีเลียม เพ่อื ยดึ ใหต้ ิดกบั ผวิ อาหารและช่วยดูดซึมอาหารดว้ ย เช่นราขนมปังการสืบพนั ธุ์ของส่ิงมีชีวิตในอาณาจกั รฟังไจ1. Fragmentation เกิดจากเสน้ ใยหกั เป็นส่วน ๆแต่ละส่วนเรียก oidia สามารถเจริญเป็นเสน้ ใยใหม่ได้2. Budding การแตกหน่อ เป็นการท่ีเซลลแ์ บ่งออกเป็นหน่อขนาดเลก็ และนิวเคลียสของเซลลแ์ ม่แบ่งออกเป็นสองนิวเคลียส นิวเคลียสอนั หน่ึงจะเคลื่อนยา้ ยไปเป็นนิวเคลียสของหน่อ เมื่อหน่อเจริญเตม็ ที่จะคอดเวา้ ขาดจากกนั หน่อท่ีหลุดออกมาจะเจริญต่อไปได้ เรียกหน่อท่ีไดน้ ้ีวา่ Blastosporeพบการสืบพนั ธุ์แบบน้ีในยสี ตท์ วั่ ไป3. Fission การแบ่งตวั ออกเป็น 2 ส่วน แต่ละเซลลจ์ ะคอดเวา้ ตรงกลางและหลดุ ออกจากกนั เป็น 2 เซลลพ์ บในยสี ต์บางชนิดเท่าน้นั4. การสร้างสปอร์แบบไม่อาศยั เพศ เป็นการสืบพนั ธุ์แบบไม่มีเพศท่ีพบมากที่สุด สปอร์แต่ละชนิดจะมีชื่อและวธิ ีสร้างที่แตกต่างกนั ไป เช่น- condiospore หรือ conidia เป็นสปอร์ที่ไม่มีสิ่งหุม้ เกิดท่ีปลายเส้นใยท่ีทาหนา้ ท่ีชู่สปอร์(conidiophore)ที่ปลายของเสน้ ใยจะมีเซลลท์ ่ีเรียกวา่ sterigmaทาหนา้ ที่สร้างconidiaเช่นAspergillus sp.และPenicilliumsp.- sporangiospore เป็นสปอร์ที่เกิดจากปลายเสน้ ใยพองออกเป็นกระเปาะ แลว้ ต่อมามีผนงั ก้นั เกิดข้ึนภายในกระเปาะจะมีผนงั หนาและเจริญเป็นอบั สปอร์ (sporangium) นิวเคลียสภายในอบั สปอร์จะมีการแบ่งตวั หลาย ๆ คร้ังโดยมีส่วนของโปรโตพลาสซึมและผนงั หนามาหุม้ กลายเป็นสปอร์ท่ีเรียกวา่ sporangiospore จานวนมากมาย

5. การสืบพนั ธุ์แบบอาศยั เพศ มีการผสมกนั ระหวา่ งเซลลส์ ืบพนั ธุแ์ ละมีการรวมตวั ของนิวเคลียส ซ่ึงรวมแลว้เป็น diploid (2n) และมีการแบ่งตวั ในข้นั ตอนสุดทา้ ยแบบ meiosis เพ่อื ลดจานวนโครโมโซมลงเป็นhaploid (n) ตามเดิมส่ิงมีชีวติ ในอำณำจกั รนีแ้ บ่งเป็ น 4 ไฟลมั คือ1. ไฟลัมไซโกไมโคตา ( Phylum Zygomycota)2. ไฟลัมแอสโคไมโคตา ( Phylum Ascomycota)3. ไฟลัมเบสิดโิ อไมโคตา ( Phylum Basidiomycota)4. ไฟลัมดวิ เทดโรไมโคตา ( Phylum Deuteromycota)

1. ไฟลัมไซโกไมโคตา ( Phylum Zygomycota)ราที่มีวิวฒั นาการต่าสดุ ลกั ษณะ 1. เซลล์เด่ยี วเจริญอยใู่ นนา้ บนบก และซากพืชซากสตั ว์ 2. เส้นใยชนิดไมม่ ีผนงั กนั้ 3. ต้องการความชืน้ 4. ดารงชีวติ แบบปรสติ (Parasite) และผ้ยู อ่ ยสลาย (saprophyte) 5. การสืบพนั ธ์ุ - แบบไม่อาศยั เพศ สร้างสปอร์ เรียกวา่ sporangiospore - แบบอาศยั เพศ สร้างสปอร์ เรียกวา่ zygospore ประโยชน์ 1. Rhizopus oryzae ผลิตแอลกอฮอล์ 2. R. nigricans ผลติ กรดฟตู ริก โทษ ทาให้เกิดโรคในพืชและสตั ว์

วงชีวติ ของ Zygomycetes , Rhizopus

2. ไฟลัมแอสโคไมโคตา ( Phylum Ascomycota)ลกั ษณะ 1. เซลล์เดยี ว ได้แก่ ยีสต์ นอกนนั้ เป็นพวกมีเส้นใยมีผนงั กนั้ และเป็นราคล้ายถ้วย (cup fungi) 2. ดารงชีวิตบนบก 3. การสบื พนั ธ์ุ - แบบไม่อาศยั เพศ สร้างสปอร์เรียกวา่ conidia ที่ปลายไฮฟา สว่ นยีสต์จะแตก หนอ่ - แบบอาศยั เพศ สร้างสปอร์ ท่ีมีช่ือวา่ ascospore อยใู่ นถงุ เรียกวา่ ascus ประโยชน์ 1. Saccharomyces cerevisiae ใช้ผลติ แอลกอฮอล์ และมีโปรตีนสงู 2. Monascus sp. ใช้ผลติ ข้าวแดงและเต้าห้ยู ี ้ โทษ เกิดโรคกบั คนและสตั ว์

วงชีวติ ของ Ascomycetes

3.ไฟลัมเบสิดโิ อไมโคตา ( Phylum Basidiomycota)ลกั ษณะ 1. เส้นใยมีผนงั กนั้ และรวมตวั อดั แน่นเป็นแทง่ คล้ายลาต้น เชน่ ดอกเห็ด 2. การสืบพนั ธ์ุ - แบบไมอ่ าศยั เพศ สร้างสปอร์เรียกวา่ codiospore ใน conidia - แบบอาศยั เพศ สร้างสปอร์ท่ีสร้างโดยอาศยั เพศสร้างบนอวยั วะคล้ายกระบอง หรือเบสเิ ดยี ม (basidium) เรียกวา่ แบสดิ ิโอสปอร์ (basidiospore) ประโยชน์ ใช้เป็นแหลง่ อาหาร โทษ 1. ทาให้เกิดโรคในพืช เชน่ ราสนิม ราเขมา่ 2. เห็ดรา มสี ารพิษเข้าทาลายระบบประสาท ทางเดนิ อาหาร ตบั หวั ใจ

วงชวี ิตของ Basidiomycetes

4.ไฟลัมดวิ เทดโรไมโคตา ( Phylum Deuteromycota)ลกั ษณะ 1. เส้นใยมีผนงั กนั้ 2. สืบพนั ธ์ไุ ม่แบบอาศยั เพศเทา่ นนั้ โดยสร้างสปอร์ท่ีเรียกวา่ โคนิเดีย (conidia) จงึ เรียกราในกลมุ่ นีว้ า่ Fungi Imperfecti 3. แตห่ ากเม่ือใดมีการสืบพนั ธ์แุ บบอาศยั เพศจะไปอยใู่ น Ascomycetes และ Basidiomycetes ประโยชน์ 1. Penicillium chrysogernum ใช้ผลิตยาปฏิชีวนะเพนิซลิ ลนิ 2. Aspergillus wendtii ใช้ผลติ เต้าเจีย้ ว 3. A. oryzae ใช้ผลติ เหล้าสาเก โทษ 1. ทาให้เกิดโรคในพืช 2. สร้างสารพิษ ทาให้เกิดโรค 3. ทาให้เกิดโรคในคน เชน่ กลาก เกลอื ้ น โรคเท้าเปื่อยหรือฮอ่ งกงฟตุ

อำณำจกั รพืช (Kingdom Plantae)ลกั ษณะสำคญั ของส่ิงมีชีวติ ในอำณำจกั รพืช พืชมีโครงสร้างที่ประกอบขนึ ้ ด้วยหลายเซลล์ที่มารวมกลมุ่ กนั เป็นเนือ้ เยื่อท่ีทาหน้าที่เฉพาะอยา่ งเซลล์ของพชื มผี นงั เซลล์ท่ีมีสารประกอบ เซลลโู ลส(cellulose) เป็นองค์ประกอบที่พบเป็นสว่ นใหญ่ พชื ทกุ ชนดิ ท่ีคณุ สมบตั ิท่ีสามารถสร้างอาหารได้เองจากระบวนการสงั เคราะห์ด้วยเสง โดยบทบาทของรงควตั ถคุ ลอโรฟิลล์ (chlorophyll a & b) ที่อยใู่ นคลอโรพลาสต์เป็นสาคญั รงควตั ถหุ ลกั ท่ีพบได้ในเซลล์พชื จะเหมือนกบั พบในเซลล์ของสาหร่ายสเี ขียว ได้แก่คลอโรฟิลล์ เอ คลอโรฟิลล์ บี และแคโรทีนอยด์ นอกจากนีพ้ ชื ยงั สะสมอาหารในรูปของแปง้ (starch)

โดยแบง่ อาณาจกั รพืชออกเป็น 2 Sub-kingdomดงั นี ้1. Subkingdom Thallobionta ไดแ่ ก่ แบคทีเรีย สาหร่ายสีเขียวแกมนา้ เงนิ สาหร่ายและเห็ด รา2. Subkingdom Embryobionta ได้แก่ อาณาจกั รพืช (Plantae) ซง่ึ แบง่ เป็น Division ดงั นี ้2.1 Division ของพืชที่ไม่มีเนือ้ เยื่อลาเลียง (Nonvascular plants)ได้แก่ Division Bryophyta(มอส) Hepatophyta (ลเิ วอร์เวอร์ท) Anthocerotophyta (ฮอร์นเวอร์ท)2.2 Division ของพืชท่ีมีเนือ้ เย่ือลาเลียงแตไ่ ม่มีเมลด็ (Vascular plants without seeds)ได้แก่Division Psilotophyta Lycophyta Equisetophyta Pteridophyta2.3 Division ของพืชที่มีเนือ้ เย่ือลาเลียง มีเมลด็ แตไ่ ม่มีดอก (Gymnosperms) ได้แก่ DivisionConiferophyta Cycadophyta Ginkgophyta Gnetophyta2.4 Division ของพืชท่ีมีเนือ้ เย่ือลาเลียง มีเมลด็ และมีดอก (Angiosprems) ได้แก่ DivisionMagnoliophyta (=Angiospermae) นี ้แบง่ ออกเป็น 2 Class คอื Class Magnoliopsida (พืชใบเลยี ้ งค)ู่ แยกเป็น 6 Sub-class 64 อนั ดบั 318 วงศ์ รวมมีพืชประมาณ 165,000 ชนิด Class Liliopsida (พชื ใบเลยี ้ งเด่ียว) แยกเป็น 5 Sub-class 19 อนั ดบั 65 วงศ์ รวมมีพชื ทงั้ หมด50,000 ชนิด

การจดั จาแนกพืชเป็ นพชื มที ่อลาเลียงและไม่มที ่อลาเลียง

พืชไม่มีท่อลำเลยี ง (Non vascular plants) เชื่อวา่ พชื กลมุ่ นีเ้ป็นกลมุ่ แรก ๆ ที่วิวฒั นาการขนึ ้ สบู่ นบก จงึ ยงั คงมีลกั ษณะที่ต้องการความชมุ่ ชืน้ หรือนา้ เพอ่ื การอยรู่ อด และอาศยั นา้ ในการสืบพนั ธ์ุ ดงั นนั้ จงึมกั พบเจริญตามพืน้ ดนิ ท่ีมีความชืน้ มาก อยา่ งไรก็ตามพืชกลมุ่ นีค้ อ่ นข้างsensitive ตอ่ ซลั เฟอร์ไดออกไซด์ จงึ สามารถใช้เป็นตวั บอกสภาวะมลภาวะในอากาศได้เช่นเดียวกบั Lichen พชื ในกลมุ่ นีม้ ีขนาดเลก็ ไมม่ ีระบบท่อลาเลยี งและไม่มีเนือ้ เย่ือท่ีเป็นสารลกิ นิน(Lignified tissues) เซลล์มีสดั สว่ นของคลอโรฟิ ลล์เอ และบี ใกล้เคยี งกบั สาหร่ายสเี ขียว รวมถงึ มีต้นออ่ น(Protonema)ในระยะแกมโี ตไฟท์ที่คล้ายคลงึ กบั สาหร่ายสเี ขียว พชื กลมุ่ นีไ้ มม่ ี ราก ใบ ที่แท้จริงแตม่ ีRhizoid ช่วยในการยดึ เกาะกบั วสั ดทุ ี่เจริญอยู่ มีสว่ นของ Phylloid ท่ีดูคล้ายใบ และสว่ น Cauloid ที่ดคู ล้ายต้น ดงั ท่ีกลา่ วไว้เบอื ้ งต้นพืชมีวงชีวติ แบบสลบั พชื ในกลมุ่ นีจ้ ะมรี ะยะ Gametophyte เดน่ กวา่ Sporophyte โดยSporophyte ท่ีมีขนาดเล็กมากนนั้ จะเจริญพฒั นาอยบู่ น Gametophyteตลอดชีวติ

วงชวี ิตระยะ Sporophyte และ Gametophyte ของไบรโอไฟต์

พืชในกลมุ่ นีส้ ามารถสืบพนั ธ์แุ บบอาศยั เพศได้เนื่องจากมีอวยั วะสร้ างเซลล์สืบพนั ธ์ุโดยอวยั วะสร้างเซลล์สืบพนั ธ์เุ พศเมียเรียกวา่ Archaegonium และอวยั วะสร้างเซลล์สบื พนั ธ์เุ พศผ้เู รียก Antheridiumไบรโอไฟท์เป็นพืชท่ีมีประโยชน์มากมาย ทงั้ในการช่วยคลมุ ดนิ ปอ้ งกนั การพงั ทลายของหน้าดนิ นอกจากนนั้ Sphagnum moss ยงั ถกู ใช้ในทางเกษตร และเชื่อวา่ การเติบโตล้มตายทบั ถมกนั ของมนั ทาให้ดเิ ป็นกรด การสลายตวั คอ่ นข้างยากทาให้เกิด พีท(Peat) ที่ใช้เป็นเชือ้ เพลงิ พืชไม่มีทอ่ ลาเลียงมีประมาณ 23,000 ชนิด แบง่ ออกเป็น 3Divisions ดงั นี ้(ชื่อ division ทงั้ 3 นีบ้ างตาราที่จดั Bryophyta เป็นdivision จะใช้เป็นช่ือ class)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook