Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การกรอก IDP

การกรอก IDP

Published by rutaino001, 2020-05-05 00:17:45

Description: การกรอก IDP

Search

Read the Text Version

แผนพฒั นารายบุคคล (IDP) สมรรถนะ (Competencies) ความรู้ความสามารถ (Knowledge) ทกั ษะ (Skills)

ค้นุ ๆมย้ั ?

รมู้ ยั้ วา่ ต้องกรอกยงั ไง? ลองกรอกดูม้ยั ร้มู ย้ั วา่ กรอกแลว้ ยงั ไงต่อ?

อนั นี้ละ่ ค้นุ ๆมย้ั

อนั นี้ละ่ ค้นุ ๆมย้ั

มาตรฐานกาหนดตาแหน่ง ส่วนลักษณะงานของตาแหน่ง ส่วนคุณสมบัตขิ องผู้ดารงตาแหน่ง (รหสั มาตรฐานกาหนดตาแหน่ง) 1. ประเภทตาแหน่ง ............. 6. คณุ สมบตั เิ ฉพาะสาหรบั ตาแหน่ง 2. ชอ่ื สายงาน .............................. 1) คุณวฒุ กิ ารศกึ ษา 3. ชอ่ื ตาแหน่งในสายงาน ............... 2) ระยะเวลาการดารงตาแหน่ง 4. ระดบั ตาแหน่ง ....................... 3) ประสบการณ์ปฏบิ ตั ริ าชการหรอื 5. หน้าทค่ี วามรบั ผดิ ชอบหลกั งานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง 1) ดา้ น......................... 4) คณุ สมบตั พิ เิ ศษ (ถา้ ม)ี 1.1 หน้าทร่ี บั ผดิ ชอบหลกั ก. 1.2 หน้าทร่ี บั ผดิ ชอบหลกั ข. 7. ความรคู้ วามสามารถ ทกั ษะ และสมรรถนะ ทจ่ี าเป็นสาหรบั ตาแหน่ง 2) ดา้ น......................... 2.1 หน้าทร่ี บั ผดิ ชอบหลกั ก. (1) มีความรู้ความสามารถท่ีจาเป็นสาหรับการปฏิบตั งิ านในตาแหน่ง 2.2 หน้าทร่ี บั ผดิ ชอบหลกั ข. (2) มีทกั ษะท่ีจาเป็นสาหรับการปฏิบตั งิ านในตาแหน่ง (3) มีสมรรถนะที่จาเป็นสาหรับการปฏิบตั ิงานในตาแหน่ง 3) ดา้ น ........................ 3.1 หน้าทร่ี บั ผดิ ชอบหลกั ก. 3.2 หน้าทร่ี บั ผดิ ชอบหลกั ข. สงวนลขิ สทิ ธ์ สานกั งาน ก.พ.

รู้ม้ัย วา่ ตอ้ งกรอกยังไง? 7. ความรคู้ วามสามารถ ทกั ษะ และสมรรถนะ ทจ่ี าเป็นสาหรบั ตาแหน่ง (1) มีความรู้ความสามารถที่จาเป็นสาหรับการปฏิบตั งิ านในตาแหน่ง (2) มีทกั ษะท่ีจาเป็นสาหรับการปฏิบตั งิ านในตาแหน่ง (3) มีสมรรถนะท่ีจาเป็นสาหรับการปฏบิ ตั ิงานในตาแหนง่ มาตรฐานกาหนดตาแหน่ง ร้มู ั้ย วา่ กรอกแล้วยงั ไงตอ่ ?

การแบง่ ประเภทความรู้ความสามารถ ความร้ ูความสามารถที่จาเป็ น ความรู้ความสามารถที่ใช้ในการปฏิบตั ิงาน สาหรับการปฏิบตั งิ านในตาแหน่ง สาหรับตาแหน่งประเภททว่ั ไป มี 4 ระดบั สาหรับตาแหน่งประเภทวิชาการ มี 5 ระดบั สาหรับตาแหนง่ ประเภทอานวยการ และบริหารมี 2 ระดบั ความรู้เร่ืองกฎหมายและกฎระเบียบราชการ สงวนลขิ สทิ ธ์ สานกั งาน ก.พ. โครงสร้ างตาแหน่ ง

ความรู้ความสามารถในงาน

ความรู้ความสามารถในงาน

ความรู้ความสามารถ กฎหมาย

การแบง่ ประเภททกั ษะ ทกั ษะที่จาเป็นสาหรับการ การใช้คอมพิวเตอร์ มี 5 ระดบั ปฏิบตั งิ านในตาแหน่ง การใช้ภาษาองั กฤษ มี 5 ระดบั การคานวณ มี 5 ระดบั การจดั การข้อมลู มี 5 ระดบั สงวนลขิ สทิ ธ์ สานกั งาน ก.พ. โครงสร้ างตาแหน่ ง

ทกั ษะ

ทกั ษะ

มาตรฐานกาหนดตาแหน่ง ส่วนลักษณะงานของตาแหน่ง ส่วนคุณสมบัตขิ องผู้ดารงตาแหน่ง (รหสั มาตรฐานกาหนดตาแหน่ง) 1. ประเภทตาแหน่ง ............. 6. คณุ สมบตั เิ ฉพาะสาหรบั ตาแหน่ง 2. ชอ่ื สายงาน .............................. 1) คุณวฒุ กิ ารศกึ ษา 3. ชอ่ื ตาแหน่งในสายงาน ............... 2) ระยะเวลาการดารงตาแหน่ง 4. ระดบั ตาแหน่ง ....................... 3) ประสบการณ์ปฏบิ ตั ริ าชการหรอื 5. หน้าทค่ี วามรบั ผดิ ชอบหลกั งานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง 1) ดา้ น......................... 4) คณุ สมบตั พิ เิ ศษ (ถา้ ม)ี 1.1 หน้าทร่ี บั ผดิ ชอบหลกั ก. 1.2 หน้าทร่ี บั ผดิ ชอบหลกั ข. 7. ความรคู้ วามสามารถ ทกั ษะ และสมรรถนะ ทจ่ี าเป็นสาหรบั ตาแหน่ง 2) ดา้ น......................... 2.1 หน้าทร่ี บั ผดิ ชอบหลกั ก. (1) มีความรู้ความสามารถท่ีจาเป็นสาหรับการปฏิบตั งิ านในตาแหน่ง 2.2 หน้าทร่ี บั ผดิ ชอบหลกั ข. (2) มีทกั ษะท่ีจาเป็นสาหรับการปฏิบตั งิ านในตาแหน่ง (3) มีสมรรถนะที่จาเป็นสาหรับการปฏิบตั ิงานในตาแหน่ง 3) ดา้ น ........................ 3.1 หน้าทร่ี บั ผดิ ชอบหลกั ก. 3.2 หน้าทร่ี บั ผดิ ชอบหลกั ข. สงวนลขิ สทิ ธ์ สานกั งาน ก.พ.

แนวคดิ เก่ียวกบั สมรรถนะ โมเดลภเู ขานา้ แขง็ กับคุณสมบัตขิ อง ผู้ดารงตาแหน่ง ขอ้ มูลความรูท้ ่ีบุคคลมี องค์ความรู้ ส่วนเหนือนา้ ในสาขาต่างๆ และ เหน็ ได้ง่าย วัดและประเมนิ ได้ง่าย ทกั ษะต่างๆ ความเช่ียวชาญ ชานาญ ไม่ได้ทาให้ผลงานของบุคคลต่างกัน พิเศษในดา้ นตา่ งๆ (Threshold Competencies) บทบาทท่ีบคุ คล บทบาทท่ีแสดงออกต่อสังคม (Social Role) ส่วนใต้นา้ แสดงออกตอ่ ผูอ้ ื่น เหน็ ได้ยาก ความรูส้ ึกนึกคิดเกยี่ วกบั วัดและประเมินได้ยาก ภาพลักษณ์ภายใน (Self-Image) เอกลกั ษณแ์ ละคณุ ค่าของตน ความเคยชิน อุปนิสัย (Traits) ทาให้ผลงานของบุคคลต่างกัน พฤติกรรมซ้าๆ ใน แรงผลักดนั เบอื้ งลกึ (Motives) รูปแบบใดรูปแบบ จนิ ตนาการ แนวโนม้ หนึ่ง วิธีคิด วิธีปฏิบตั ติ น (Differentiating Competencies) อนั เป็ นไปโดยธรรมชาติ ของบุคคล สงวนลขิ สทิ ธ์ สานกั งาน ก.พ.

David C.McClelland ศ.ด้านจติ วทิ ยา มหาวิทยาลยั Harvard ผู้ปฏบิ ตั งิ านทกุ คนต้องเป็ นคนฉลาด ทกุ คน แต่คนท่ฉี ลาดทุกคนอาจไม่ได้มี ผลการปฏบิ ตั งิ านดเี ด่นทุกคน ส่งิ ท่ี แยกระหว่างผู้ท่ฉี ลาดและมีผลการ ปฏบิ ัตงิ านดี กบั ผู้ท่ฉี ลาดและมีผลการ ปฏบิ ตั งิ านในระดบั ปานกลางคอื สมรรถนะ

ความหมายของสมรรถนะในระบบราชการพลเรือนไทย ก.พ. ให้ความหมายว่า คอื คณุ ลกั ษณะเชิงพฤติกรรมที่ คาจากดั ความของ Competencies เป็นผลมาจากความรู้ ความสามารถ ทกั ษะและ คุณลกั ษณะเชิงพฤติกรรมที่ทำใหบ้ ุคลำกร บำงกลุ่ม/บางคนในองค์กรปฏิบตั งิ านได้ผล คณุ ลกั ษณะอ่ืนๆ ที่ทาให้บคุ คลสร้างผลงานได้โดดเดน่ งานโดดเด่นกว่าคนอื่นๆ โดยบคุ ลากร ในองค์การ เหลา่ นีแ้ สดงคณุ ลกั ษณะเชงิ พฤตกิ รรม ดงั กลา่ ว • มำกกวำ่ เพอ่ื นร่วมงำนอ่ืนๆ • ในสถำนกำรณ์หลำกหลำยกวำ่ และ • ไดผ้ ลงำนดีกวำ่ ผอู้ ื่น หมายเหตุ: อา้ งอิงจากแนวคิดเรื่องสมรรถนะ (Competencies) อา้ งอิงจาก Dr. McClelland ซ่ึงตีพิมพบ์ ทความสาคญั ชอ่ื “Testing for Competence rather than Intelligence” (American Psychologist 28. 1-14) อนั ถือเป็ นจุดกาเนิดของแนวคิด Competency สงวนลขิ สทิ ธ์ สานกั งาน ก.พ.

การแบง่ ประเภทสมรรถนะ สมรรถนะท่ีจาเป็ นสาหรับการ สมรรถนะหลกั มี 5 สมรรถนะ ปฏิบตั ิงานในตาแหน่ง (การม่งุ ผลสมั ฤทธ์ิ, บริการที่ดี, การสงั่ สมความเช่ียวชาญใน งานอาชีพ, การยดึ มนั่ ในความถกู ต้องชอบธรรมและจริยธรรม, การทางานเป็ นทีม) สมรรถนะทางการบริหาร มี 6 สมรรถนะ (สภาวะผ้นู า, วิสยั ทศั น์, การวางกลยทุ ธ์ภาครัฐ, ศกั ยภาพเพ่ือ นาการปรับเปล่ียน, การควบคมุ ตนเอง, การสอนงานและมอบหมายงาน) สมรรถนะเฉพาะตามลกั ษณะงานท่ีปฏิบตั ิ ให้สว่ นราชการกาหนดอยา่ งน้อย 3 สมรรถนะ สงวนลขิ สทิ ธ์ สานกั งาน ก.พ. โครงสร้ างตาแหน่ ง

สมรรถนะหลกั คุณลักษณะเชงิ พฤตกิ รรม ท่กี าหนดเป็ นคุณลักษณะร่วมของ ข้าราชการพลเรือนสามัญทงั้ ระบบ เพ่อื เป็ นการหล่อหลอมค่านิยม และพฤตกิ รรมท่พี งึ ประสงค์ร่วมกัน สงวนลขิ สทิ ธ์ สานกั งาน ก.พ.

สมรรถนะหลัก 1.การมงุ่ ผลสมั ฤทธิ์ 2.การบริการที่ดี 3.การสงั่ สมความเชี่ยวชาญในอาชีพ 4.การพฒั นาตนเอง 5.การทางานเป็ นทีม

สมรรถนะหลัก ตวั ละ 5 ระดบั ตัวอย่าง

สมรรถนะทางการบรหิ าร ผอ. สนอ. / ผอ. กอง 1.สภาวะผ้นู า 2.วสิ ยั ทศั น์ 3.การวางกลยทุ ธ์ภาครัฐ 4.ศกั ยภาพเพอื่ นาการปรับเปลยี่ น 5.การควบคมุ ตนเอง 6. การสอนงานและการมอบหมายงาน

สมรรถนะทางการบรหิ าร ตัวอย่าง

สมรรถนะเฉพาะตามลกั ษณะงาน วิชาชีพเฉพาะ / เช่ียวชาญเฉพาะ / ทว่ั ไป 1. การคิดวิเคราะห์ 2. การมองภาพองค์รวม 3. การใสใ่ จและพฒั นาผ้อู นื่ 4. การสงั่ การตามอานาจหน้าท่ี 5. การสบื เสาะหาข้อมลู 6. ความเข้าใจข้อแตกตา่ งทางวฒั นธรรม 7. ความเข้าใจผ้อู ่ืน 8. ความเข้าใจองค์กรและระบบราชการ

สมรรถนะเฉพาะตามลกั ษณะงาน วิชาชีพเฉพาะ / เชี่ยวชาญเฉพาะ / ทวั่ ไป 9. ความคิดสร้างสรรค์ (การดาเนินการเชิงรุก) 10.การตรวจสอบความถกู ต้องตามกระบวนงาน 11.ความมน่ั ใจในตนเอง 12.ความยืดหยนุ่ ผอ่ นปรน 13.ศิลปะการสอ่ื สารจงู ใจ 14.สนุ ทรียภาพทางศิลปะ 15.ความผกู พนั ท่มี ีตอ่ สถาบนั อดุ มศกึ ษา 16.การสร้างสมั พนั ธภาพ

สมรรถนะเฉพาะตามลกั ษณะงาน ตวั อย่าง

รู้ม้ัย วา่ ตอ้ งกรอกยังไง? 7. ความรคู้ วามสามารถ ทกั ษะ และสมรรถนะ ทจ่ี าเป็นสาหรบั ตาแหน่ง (1) มีความรู้ความสามารถที่จาเป็นสาหรับการปฏิบตั งิ านในตาแหน่ง (2) มีทกั ษะท่ีจาเป็นสาหรับการปฏิบตั งิ านในตาแหน่ง (3) มีสมรรถนะท่ีจาเป็นสาหรับการปฏบิ ตั ิงานในตาแหนง่ มาตรฐานกาหนดตาแหน่ง ร้มู ั้ย วา่ กรอกแล้วยงั ไงตอ่ ?

ทำไมตอ้ งกำรพฒั นำเป็ น “รำยบคุ คล” 29

เคยคดิ หรอื ไมว่ ำ่ ....... 1. เราตอ้ งการอะไรจากการทางานในหน่วยงานนี้ 2. เราจะทางานในหน่วยงานนจี้ นถงึ เมอ่ื ไหร่ 3. ตาแหน่งสงู สดุ ทเี่ ราคาดวา่ น่าจะไดจ้ ากการ ทางานทนี่ ้ี 30

องคก์ ร ให้ 3311 ทาใหอ้ งคก์ รบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์

แลว้ ... จะทำใหส้ ง่ิ ทเี่ รำคำดหวงั ประสบผลสำเร็จไดอ้ ยำ่ งไร? PM บริหารผลการปฎิบตั งิ าน 32

แผนพฒั นำรำยบคุ คล (Individual Development Plan) ใชเ้ ป็ นกรอบหรอื แนวทางทจ่ี ะชว่ ยใหผ้ ปู ้ ฏบิ ตั งิ านบรรลุ ถงึ เป้าหมายของตนทเี่ ชอ่ื มโยงหรอื ตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการ หรอื เป้าหมายในระดบั หน่วยงานและองคก์ าร การวางแผนพัฒนารายบคุ คลจะชว่ ยใหเ้ กดิ การพฒั นาทงั้ ในปัจจบุ นั และอนาคต สามารถบรรลเุ ป้าหมายงา่ ยขน้ึ และ สนับสนุนการพัฒนาบคุ ลากรอยา่ งเหมาะสมและตรงตาม ความตอ้ งการอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพสงู สดุ 33

วตั ถปุ ระสงคข์ องกำรจดั ทำ IDP • เพอ่ื ปรับปรงุ ผลงานทไ่ี ดร้ ับมอบหมายใน ปัจจบุ ัน • เพอ่ื เตรยี มความพรอ้ มในงานอน่ื ๆ ทแ่ี ตกตา่ งไป จากเดมิ • เพอื่ พฒั นาศกั ยภาพของตนในการทางานท่ี สงู ขนึ้ 34

ผมู้ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งในกำรจดั ทำ IDP ฝ่ ายทรัพยากร บคุ คล ผบู ้ ังคบั บญั ชา ผปู ้ ฏบิ ัตงิ าน 35

ประโยชนข์ อง IDP ระยะสัน้ การปรับปรุงการปฏบิ ัตงิ าน PM: - ผลงาน - พฤตกิ รรมการทางาน Performance Management ระยะยาว การเตรียมการเพ่อื อนาคต - ผลงานท่ีจะต้องทาในอนาคต CDP: - วธิ ีการทางานท่คี วรปรับ Career เพ่ืออนาคต Development - ความรู้ ทกั ษะ สมรรถนะ Plan ท่ีควรปรับเพ่มิ 36

รปู แบบและวธิ กี ำรในกำรทำ แผนพฒั นำรำยบคุ คล 37

หลกั กำร 2. ACQUIRE เดนิ เข้าหา 1. ASSESS 3. APPLY ประเมนิ นามาประยุกต์ใช้ 38

ASSESS • คานงึ ถงึ การนาไปใช ้ (พจิ ารณางานทที่ า) • ระบทุ ัง้ จดุ แข็ง และสง่ิ ทตี่ อ้ งพัฒนา • ประเมนิ โดยใชข้ อ้ มลู จากหลายแหลง่ • เนน้ ทจ่ี ดุ แข็ง 1 อยา่ งและสง่ิ ทต่ี อ้ งพัฒนา 1 อยา่ ง 39

แนวทางการรวบรวมขอ้ มูลเพ่อื ประเมินผลจดุ แข็ง และสง่ิ ที่ตอ้ งพฒั นา  รายงานดว้ ยตนเอง (Self-Report)  สงั เกตโดยตรง (Direct Report)  เอกสาร (Documents)  ความเห็นจากบุคคลท่ี 3 (Third-party Comments) 40

ACQUIRE • ใชว้ ธิ กี ารเรยี นรทู ้ ห่ี ลากหลาย • กจิ กรรม 1 อยา่ ง ตอบโจทยก์ ารพัฒนามากกวา่ 1 • ระบอุ ปุ สรรคและการสนับสนุนทต่ี อ้ งการเพอ่ื ให ้ การเรยี นรไู ้ มต่ ดิ ขดั • กาหนดวธิ กี ารวัดความสาเร็จ 41

การพฒั นาท่ีแตกต่างกนั ตามระดบั และประเภทของขา้ ราชการ ** มิติประเภท และระดบั ** ** มิติประสบการณ์ ** เช่ียวชาญ ประเภท ประเภท อานวย บริหาร มีประสบการณ์ การ ประเภท ประเภท ใหมใ่ นงาน ทวั่ ไป วิชาการ ลกั ษณะงานท่ีแตกต่างกนั และระดบั งานทแ่ี ตกตา่ ง  ปฐมนเิ ทศ และ  พฒั นาตอ่ ยอด  แลกเปลี่ยน กนั ทาใหต้ อ้ งไดร้ บั การพฒั นาทแ่ี ตกตา่ งกนั เริ่มสรา้ งความรใู้ หม่ ทกั ษะ และความรู้ ความรซู้ ึ่งกนั และกนั 42

ทำงเลอื กตำ่ งๆ ในกำรพฒั นำบคุ ลำกร  On-the-job training  การดงู าน o การมอบหมายงาน o การหมนุ เวยี นงาน o โครงการเฉพาะกจิ  การศกึ ษาดว้ ยตนเองเชน่ อา่ นหนังสอื หรอื ดสู ารคดี หรอื e-Learning • Workshop หรอื การฝึกอบรมตา่ งๆ  การ Coaching • Social Network 43

แนวทำงกำรพฒั นำ พฒั นาความรู้ พฒั นาทกั ษะ พฒั นาทศั นคติ o อ่านบทความ o กรณีตวั อยา่ ง o การโตค้ ารม o ฟังบรรยาย o การสาธิต o การเล่นเกมสท์ ี่ถูก o ดแู ผนผงั o การเล่นตามบทบาท o ฟังจากส่ือ o วดี ีโอ และการฝึกฝน ออกแบบไวด้ า้ นน้ ี o จดั กลุ่มเรยี นรู้ o การทดลองทา o การทดลองทา o การเรยี นรทู้ ฤษฎี o การวเิ คราะหต์ นเอง 44

ความสาเร็จของการพัฒนาขนึ้ อยกู่ บั ....... ตวั เอง ผบู ้ งั คบั บญั ชา กลมุ่ บรหิ าร ผบู ้ รหิ ารระดบั สงู >50 20-30 ทรัพยากรบคุ คล 10-15 10-15

APPLY • ใชท้ กั ษะทเี่ รยี นรใู ้ หไ้ ดเ้ ร็วทส่ี ดุ • กาหนดผลลพั ธแ์ ละการวัดความกา้ วหนา้ ที่ สอดคลอ้ งกนั • คาดเดาอปุ สรรคและหาทางป้องกนั • เรมิ่ ประยกุ ตจ์ ากสงิ่ ทง่ี า่ ยไปยาก 46

เป้ าหมายในการพฒั นาบคุ ลากร เลื่อนตาแหน่ง (คนเกง่ คนดี) ทางาน แทน ผบ.ได้ สอนลกู นอ้ งได้ ทางานเกง่ ทางานดี ทางานได้ 47

สรปุ ขน้ั ตอนในกระบวนกำรพฒั นำรำยบคุ คล Assess • ทบทวนเป้าหมาย บทบาท ภารกจิ ขององคก์ ร และ ระบบุ ทบาทหนา้ ที่ ความรับผดิ ชอบของขา้ ราชการนัน้ ๆ การประเมนิ หา ชอ่ งวา่ งในการ • ประเมนิ ความรู ้ ทกั ษะ สมรรถนะทผ่ี ปู ้ ฏบิ ัตงิ าน • กาหนดเป้าหมายรว่ มกนั พัฒนา • จัดทารายละเอยี ดของแผนพัฒนารายบคุ คล Acquire • เลอื กวธิ กี ารในการพัฒนาทเี่ หมาะสม • ดาเนนิ การพัฒนาตนเองตามแผนทจ่ี ัดทาไว ้ การกาหนด วธิ กี ารเรยี นรู ้ / พัฒนา Apply • ตดิ ตามประเมนิ ผลการพัฒนา ตามระยะเวลาทกี่ าหนด • วดั ผลพัฒนาการตามวธิ กี ารทกี่ าหนด การปรับใช ้ ในการปฏบิ ตั ิ งานจรงิ 48

รปู แบบของแผนพฒั นำรำยบคุ คล 49

คำอธบิ ำยกำรกรอกแผนพฒั นำรำยบคุ คล ความรู้/ทกั ษะ/ เป้ าหมายการ วธิ ีการพฒั นา ชว่ งเวลาท่ีต้องการการพฒั นา เหตผุ ลหรือ สมรรถนะ ท่ีต้อง พฒั นา Q1 Q2 Q3 Q4 ความสาคญั ได้รับการพฒั นา 12 3 45 1 ระบุความรู้ ทกั ษะ หรอื สมรรถนะที่ตอ้ งการพฒั นา (ควรใส่ประมาณ 3-4 ตวั เพอื่ ใหส้ ามารถรวมไปกบั ขา้ ราชการอน่ื ๆ ได)้ 2 ระบุระดบั เป้ าหมายท่ีตอ้ งการไปสูห่ ลงั การพฒั นา หรือระบุตวั ช้ ีวดั ความสาเร็จของการพฒั นา ระบุวิธีการพฒั นา เช่น 1) การสง่ ไปฝึ กอบรม (Training and Workshops) 2) การใหไ้ ปศึกษาดว้ ยตนเอง เช่น อ่านหนงั สือ 3 3) การมอบหมายงานใหม่หรือมอบหมายงานในโครงการ (Project Assignment) 4) การโอนยา้ ยงานชวั ่ คราว (Rotation/ Job Swap) 5) การใหไ้ ปดูงาน 6) การใหไ้ ปทางานร่วมกบั ผเู้ ชี่ยวชาญ และ 7) การสอนงาน (Coaching) เป็ นตน้ 4 ระบายสีหรือวาดลกู ศรช่วงเวลาท่ตี อ้ งการพฒั นา 5 ระบุเหตผุ ลประกอบการพิจารณาว่าทาไมท่านจงึ คิดว่าควรพฒั นาความรู้ ทกั ษะ หรอื สมรรถนะน้ ีก่อน เชน่ เพราะเป็ น GAP หรอื เพราะตรงกบั ความตอ้ งการของหน่วยงาน เป็ นตน้ หมายเหตุ: ในกรณีท่ีเกิดชอ่ งวา่ ง (Gap) ระหวา่ งคุณสมบตั ิท่ีผูด้ ารงมีกบั สมรรถนะท่ีตาแหน่งตอ้ งการใหน้ าสมรรถนะเหล่าน้ันมาเตรียม พฒั นาหรือในกรณีท่ีมีครบทุกตวั ใหเ้ ลือกสมรรถนะบางตวั มาพฒั นาเพ่ือเตรียมความพรอ้ มส่ตู าแหน่งในระดบั ถดั ไป 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook