Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนบ้านซับจำปา

หลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนบ้านซับจำปา

Published by Sapchampa School, 2021-06-27 02:33:02

Description: 01หลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนบ้านซับจำปา

Search

Read the Text Version

98 อ๑๕๑๐๑ ภำษำองั กัษ ๕ กลุม่ สำระกำรเรียนรู้ภำษำต่ำงประเทศ ชั้นประถมศกึ ษำปที ่ี ๕ เวลำ ๑๒๐ ชั่วโมง คำอธบิ ำยรำยวิชำ ปฏิฉัติตามคาสั่ง คาขอร้อง และคาแนะนาง่าย ๆ ที่ฟังหรืออ่าน อ่านออกเสียงประโยค ข้อความ และฉท กลอนสั้น ๆ ถูกตอ้ งตามหลักการอ่าน ระฉุ/วาดภาพ สัญลักษณ์ หรือเครื่องหมายตรงตามความหมายของประโยคและ ขอ้ ความสั้น ๆ ทฟ่ี ังหรืออ่าน ฉอกใจความสาคัญและตอฉคาถามจากการฟังหรืออ่านฉทสนทนา และนิทานง่าย ๆ หรือ เรื่องสั้น ๆ พูด/เขียนโต้ตอฉในการสือ่ สารระหว่างฉุคคล ใช้คาส่ัง คาขอร้อง คาขออนุญาตและให้คาแนะนาง่าย ๆ พูด/ เขียนแสดงความต้องการ ขอความช่วยเหลือ ตอฉรัฉและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือในสถานการณ์ง่าย ๆ พูด/ เขียนเพื่อขอและให้ข้อมูลเกี่ยวกัฉตนเอง เพื่อน ครอฉครัว และเร่ืองใกล้ตัว พูด/เขียนแสดงความรู้สึกของตนเอง เกี่ยวกัฉเร่ืองต่าง ๆ ใกล้ตัว และกิจกรรมต่าง ๆ พร้อมทั้งให้เหตุผลสั้น ๆ ประกอฉ พูด/เขียนให้ข้อมูลเก่ียวกัฉตนเอง และเรื่องใกลต้ ัว เขียนภาพ แผนผัง และแผนภมู ิแสดงข้อมูลต่าง ๆ ตามท่ฟี ังหรืออ่าน พูดแสดงความคดิ เห็นเก่ยี วกัฉ เรอ่ื งต่าง ๆ ใกลต้ ัว ใช้ถ้อยคา น้าเสียง และกิริยาท่าทางอย่างสุภาพตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ตอฉคาถาม/ฉอกความสาคัญของเทศกาล/วันสาคัญ/งานบลอง และชีวิตความเป็นอยู่ง่าย ๆ ของเจ้าของภาษา การเข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ ฉอกความเหมือน/ความแตกต่างระหว่างการออกเสียง ประโยคชนิดต่าง ๆ การใช้เครือ่ งหมายวรรคตอน และการลาดฉั คา (order) ตามโครงสร้างประโยคของภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาอังกฤษ( และภาษาไทย ฉอกความเหมือน/ความแตกต่างระหว่างเทศกาลและงานบลอง ของเจ้าของภาษา กฉั ของไทย ค้นควา้ รวฉรวมคาศพั ทท์ ่เี กีย่ วขอ้ งกฉั กล่มุ สาระการเรยี นรอู้ ื่น และนาเสนอด้วยการพดู /การเขียน ฟัง พูด และอ่าน/เขียนในสถานการณ์ต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้นในห้องเรียนและสถานศึกษา ใช้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาองั กฤษ( ในการสืฉค้นและรวฉรวมขอ้ มูลตา่ ง ๆ มาตรฐาน/ตัวช้วี ัด ต 1.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4 ต 1.2 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5 ต 1.3 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3 ต 2.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3 ต 2.2 ป.5/1, ป.5/2 ต 3.1 ป.5/1 ต 4.1 ป.5/1 ต 4.2 ป.5/1 รวม ๘ มำตรฐำน ๒๐ ตวั ช้วี ดั คำอธิบำยรำยวชิ ำพน้ื ฐำน

99 อ๑๖๑๐๑ ภำษำองั กัษ ๖ กล่มุ สำระกำรเรียนรู้ภำษำต่ำงประเทศ ช้ันประถมศึกษำปที ี่ ๖ เวลำ ๑๒๐ ชัว่ โมง คำอธบิ ำยรำยวิชำ ปฏิฉัติตามคาส่ัง คาขอร้อง และคาแนะนาที่ฟังและอ่าน อ่านออกเสียงข้อความ นิทาน และฉทกลอนส้ัน ๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน เลือก/ระฉุประโยค หรือข้อความส้ัน ๆ ตรงตามภาพ สัญลักษณ์ หรือเคร่ืองหมายท่ีอ่าน ฉอกใจความสาคัญ และตอฉคาถามจากการฟังและอ่านฉทสนทนา นิทานง่าย ๆ และเรื่องเล่า พูด/เขียนโต้ตอฉ ในการสื่อสารระหว่างฉุคคล ใช้คาสั่ง คาขอร้อง คาขออนุญาต และให้คาแนะนา พูด/เขียนแสดงความต้องการ ขอความชว่ ยเหลือ ตอฉรัฉและปฏิเสธการใหค้ วามช่วยเหลือในสถานการณ์ง่าย ๆ พดู และเขียนเพ่ือขอและใหข้ ้อมูล เกี่ยวกัฉตนเอง เพ่ือน ครอฉครัว และเรื่องใกล้ตัว พูด/เขียนแสดงความรู้สึกของตนเองเก่ียวกัฉเร่ืองต่าง ๆ ใกล้ตัว กจิ กรรมต่าง ๆ พร้อมทงั้ ให้เหตุผลส้ัน ๆ ประกอฉ พูด/เขยี นใหข้ ้อมูลเก่ียวกัฉตนเอง เพ่ือน และส่ิงแวดล้อมใกล้ตัว เขียนภาพ แผนผัง แผนภูมิ และตารางแสดงข้อมูลต่าง ๆ ตามที่ฟังหรืออ่าน พูด/เขียนแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกัฉ เรอื่ งตา่ ง ๆ ใกลต้ ัว ใช้ถ้อยคา น้าเสียง และกิริยาท่าทางอย่างสุภาพ เหมาะสม ตามมารยาท สังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของ ภาษา ให้ข้อมูลเกี่ยวกัฉเทศกาล/วันสาคัญ/งานบลอง/ชีวิตความเป็นอยู่ของเจ้าของภาษา การเข้าร่วมกิจกรรม ทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ ฉอกความเหมอื น/ความแตกตา่ งระหว่างการออกเสยี งประโยคชนดิ ต่าง ๆ การใช้เคร่ืองหมายวรรคตอน และการลาดัฉคาตามโครงสร้างประโยคของภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ( และภาษาไทย เปรียฉเทียฉความเหมือน/ความแตกต่างระหว่างเทศกาล งานบลองและประเพณีของเจ้าของภาษา กัฉของไทย ค้นคว้า รวฉรวมคาศัพท์ท่ีเกี่ยวข้องกัฉกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืนจากแหล่งการเรียนรู้ และนาเสนอด้วย การพดู /การเขียน ใช้ภาษาส่ือสารในสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนในห้องเรียนและสถานศึกษา ใช้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ( ในการสืฉค้นและรวฉรวมขอ้ มูลตา่ ง ๆ มาตรฐาน/ตัวชี้วดั ต 1.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4 ต 1.2 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5 ต 1.3 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3 ต 2.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3 ต 2.2 ป.6/1, ป.6/2 ต 3.1 ป.6/1 ต 4.1 ป.6/1 ต 4.2 ป.6/1 รวม ๘ มำตรฐำน ๒๐ ตวั ชว้ี ัด

100 คำอธบิ ำยรำยวิชำเพิม่ เตมิ วชิ ำทักษะกำรอ่ำนและกำรเขยี น

101 คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ กลมุ่ สำระกำรเรียนรภู้ ำษำไทย ท๑๑๒๐๑ ทกั ษะกำรอำ่ นและกำรเขียน ๑ จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง ชน้ั ประถมศึกษำปที ี่ ๑ คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ อ่านและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย การอ่านและเขียนสะกดคาท่ีไม่มีตัวสะกด มี ตัวสะกด คาพ้ืนฐาน ๗๐๘ คา การผันวรรณยุกต์ เรียฉเรียงคาเป็นประโยคง่าย ๆ มีความรู้ในเรื่องคา ฉอก ความหมายของคา โดยการเขียนและฝึกทักษะจากการฟัง การพูด การพัฒนาการอ่านและเขียนให้สามารถใช้ ภาษาได้ถูกตอ้ ง การนาความรไู้ ปเป็นพื้นฐานในการเรยี นวิชาอ่นื ๆ และการนาไปใช้ในชีวติ ประจาวัน ผลกำรเรียนรู้ ๑. อ่านและเขียนพยัญชนะ สระและผนั วรรณยุกต์ได้ถูกต้อง ๒. อ่านและเขียนสะกดคาท่ีไมม่ ีตัวสะกดและมีตัวสะกดได้ ๓. อา่ นและเขยี นคาพืน้ ฐานได้ถกู ตอ้ ง ๔. เขียนประโยคเรียฉเรียงได้ถูกต้อง ๕. มคี วามรเู้ รื่องคาและความหมายของคา นาไปใช้ได้ถูกตอ้ ง ๖. เห็นคุณค่าของการอ่านและเขียนคาในภาษาไทย นาไปเป็นพนื้ ฐานในการเรียนได้ รวมท้ังหมด ๖ ผลกำรเรียนรู้

102 คำอธบิ ำยรำยวิชำ กลมุ่ สำระกำรเรียนร้ภู ำษำไทย ท๑๒๒๐๑ ทักษะกำรอ่ำนและกำรเขยี น ๒ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ชน้ั ประถมศึกษำปีที่ ๒ คำอธบิ ำยรำยวิชำ ใช้ทกั ษะกระฉวนการอา่ นและการเขียน สร้างความรู้ ความคิดเพอ่ื นาไปใช้ในการตัดสินใจ แกป้ ัญหาใน การดาเนินชวี ิต มนี ิสัยรักการอ่าน โดยใช้วิธกี ารอ่านออกเสียง การอา่ นในใจ ฉอกความหมายของคาและเขียน สะกดคาท่ีประกอฉด้วนคาพื้นฐาน 1,908 คา ระฉุคความสาคญั ของคาท่ีอ่าน เขยี นตามคาฉอกจากฉญั ชีคา พ้นื ฐาน อธิฉายความหมายของคา รวมท้ังมีมารยาทในการอ่านและเขียน ผลกำรเรียนรู้ ๑. อา่ นออกเสียงคาพ้ืนฐานได้ถกู ตอ้ ง ๒. อธฉิ ายความหมายของคาพืน้ ฐานไดถ้ ูกตอ้ ง ๓. คดั ลายมอื ตวั ฉรรจงเตม็ ฉรรทัดได้สะอาด ถูกตอ้ งและสวยงาม ๔. เขยี นสะกดคาพน้ื ฐานได้ถูกต้อง ๕. มีมารยาทในการอ่านและการเขยี น ๖. ฉอกความหมายของคา นาไปใช้ไดถ้ ูกต้อง ๗. นาประสฉการณ์การอ่านและการเขยี นไปใช้ในการดาเนินชวี ติ รวมทั้งหมด ๗ ผลกำรเรียนรู้

103 คำอธิบำยรำยวิชำ กลุ่มสำระกำรเรยี นรูภ้ ำษำไทย ท๑๓๒๐๑ ทักษะกำรอำ่ นและกำรเขยี น ๓ จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง ชั้นประถมศึกษำปีท่ี ๓ คำอธิบำยรำยวชิ ำ อ่านออกเสียงคาพ้ืนฐานเพ่ิมจาก ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ ไม่น้อยกว่า 1,200 คา การอ่านจับใจความ จากสอื่ ต่าง ๆ อ่านข้อความ เรอ่ื งส้ัน บทร้อยกรองง่าย ๆ ใชก้ ระบวนการอ่านสรา้ งองคค์ วามรู้ ความคิด วเิ คราะห์ วิจารณ์และประเมินคุณค่าการอ่านเพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดาเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน คัด ลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทยที่กาหนด การเขียนสะกดคาและบอกความหมาย ของคา ใช้กระบวนการเขยี นสื่อสาร เขียนเรยี งความ ย่อความ และเขยี นเร่อื งราวในรูปแบบตา่ ง ๆ เขียนรายงาน ข้อมูลสารสนเทศ และรายงานการศึกษาค้นคว้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีมารยาทในการอ่านการเขียนอย่าง สร้างสรรค์ และปลูกฝังนิสัยรักการอ่านการเขียนเพ่ือพัฒนาตนเองอยู่เสมอ มีความเข้าใจธรรมชาติของภาษา การใช้พจนานุกรม เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้เหมาะสมกับกาลเทศะ ระบุข้อคิดและแสดง ความคิดเหน็ ที่ไดจ้ ากการอา่ นวรรณกรรมท่ีมีคุณค่าแล้วนามาประยุกตใ์ ชใ้ น ชีวิตจรงิ ผลกำรเรียนรู้ ๑. อา่ นออกเสยี งคา ข้อความเรื่องสนั้ ฉทร้อยกรอง ง่ายๆ ไดถ้ ูกต้อง คล่องแคลว่ ๒. ใช้กระฉวนการอา่ นสร้างองค์ความรู้ได้ ๓. เขียนสะกดคา อธฉิ ายความหมายของคาและข้อความที่อ่านได้ ๔. ระฉุชนิดและหน้าทีข่ องคาในประโยคได้ ๕. ใช้พจนานกุ รมเพื่อค้นคว้าหาความหมายของคาได้ ๖. ใชก้ ระฉวนการเขียนส่ือสาร ในรปู แฉฉตา่ ง ๆ ได้ ๗. มีมารยาทและนิสยั รกั การอา่ นการเขียน รวมทั้งหมด ๗ ผลกำรเรยี นรู้

104 คำอธิบำยรำยวิชำ กล่มุ สำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ท๑๔๒๐๑ ทกั ษะกำรอ่ำนและกำรเขียน ๔ จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง ช้นั ประถมศกึ ษำปที ่ี ๔ คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ การอ่านออกเสยี งบทบทร้อยกรองได้ถูกต้อง แสดงความคิดเห็นจากบทร้อยกรองท่ีฟงั และอา่ น สรุปใจความ สาคัญ ข้อเท็จจรงิ และแสดงข้อคิดเห็นจากเร่ืองท่ีอ่าน อธิบายความหมายโดยนัยจากเรอ่ื งที่อ่านอย่างหลากหลาย วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องท่ีอ่านเพ่ือนาไปใช้ในการดาเนินชีวิต มีมารยาทในการอ่านได้อย่าง เหมาะสม เขียนสื่อสารโดยใช้คาได้ถูกต้องชัดเจนและหลากหลาย สามารถพูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น และ ความรู้สึกจากเรื่องท่ีฟังและดู มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด สรุปเรื่องจากวรรณคดี วรรณกรรมที่อ่าน ระบุความรู้และข้อคดิ ท่ีไดจ้ ากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมท่สี ามารถนาไปใช้ ในชีวิตจริง ทอ่ งจาบทอาขยาน ตามที่กาหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน การเขียน และพูด วิเคราะห์ สรุป และนาเสนอ เพ่ือให้มีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะทางภาษาในการสื่อสาร มีนิสัยรักการอ่าน เห็นคุณค่า ภาษาไทยในฐานะภาษาประจาชาติ ผลกำรเรยี นรู้ 1. สรุปใจความสาคัญของเรื่องที่อ่านได้อยา่ งถกู ต้อง 2. สรุปข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็นได้ 3. เขียนแสดงความคิดเหน็ จากเรื่องท่ีอ่าน ฟัง ดู ได้ 4. เขียนบทร้อยกรอง และคาขวัญได้ 5. แสดงความคดิ เห็นจากบทร้อยกรองท่ฟี ังและอ่านได้ 6. อา่ นบทร้อยกรองไดถ้ ูกต้องตามอักขรวธิ ี 7. เขา้ ใจในบทร้อยกรองทฟ่ี งั และอา่ น 8. เขยี นคาขวญั สนั้ ๆ เก่ียวกับตนเองและสงิ่ รอฉตัวได้ รวมทั้งหมด ๘ ผลกำรเรยี นรู้

105 คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ กลุม่ สำระกำรเรียนรูภ้ ำษำไทย ท๑๕๒๐๑ ทกั ษะกำรอ่ำนและกำรเขียน ๕ จำนวน ๔๐ ชัว่ โมง ช้ันประถมศกึ ษำปีที่ ๕ คำอธิบำยรำยวิชำ การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง อธิบายความหมายของคาประโยคและ ข้อความท่ีเป็นการบรรยายและพรรณนา อธบิ ายความหมายโดยนัยจากเร่อื งที่อ่านอย่างหลากหลาย วิเคราะห์และ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องท่ีอ่านเพื่อนาไปใช้ในการดาเนินชีวิต มีมารยาทในการอ่านได้อย่างเหมาะสม คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนส่ือสารโดยใช้คาได้ถูกต้องชัดเจนและหลากหลาย สามารถ พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น และความรู้สึกจากเร่ืองที่ฟังและดู มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด สรุปเร่ือง จากวรรณคดี วรรณกรรมท่ีอา่ น ระบุความรูแ้ ละข้อคดิ ท่ไี ดจ้ ากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมทส่ี ามารถนาไปใช้ ในชีวิตจริง ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน การเขียน และพูด วิเคราะห์ สรุป และนาเสนอ เพ่ือให้มีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะทางภาษาในการส่ือสาร มีนิสัยรกั การอ่าน เหน็ คณุ คา่ ภาษาไทยในฐานะภาษาประจาชาติ ผลกำรเรียนรู้ 1. สรุปใจความสาคัญของเร่ืองท่ีอา่ นได้อยา่ งถูกต้อง 2. สรุปข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็นได้ 3. เขยี นแสดงความคิดเห็นจากเรือ่ งท่ีอ่าน ฟงั ดู ได้ 4. อา่ นออกเสยี งบทร้อยแกว้ และรอ้ ยกรองได้ 5. แสดงความคดิ เห็นจากบทร้อยกรองที่ฟังและอ่านได้ 6. มมี ารยาทในการฟงั การดูและการพูด รวมท้ังหมด ๖ ผลกำรเรียนรู้

106 คำอธบิ ำยรำยวิชำ กลมุ่ สำระกำรเรียนรภู้ ำษำไทย ท๑๖๒๐๑ ทักษะกำรอำ่ นและกำรเขยี น ๖ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ชน้ั ประถมศึกษำปีท่ี ๖ คำอธบิ ำยรำยวิชำ การอ่านออกเสียงฉทร้อยแก้วและฉทร้อยกรอง ความหมายของคา ประโยคและข้อความที่เป็น โวหาร อ่านเรื่องส้ัน แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเร่ืองที่อ่าน การอ่านงานเขียนเชิงอธิฉาย คาสั่ง ข้อแนะนาและ ปฏิฉัติตาม ความหมายของข้อมูลจากการอ่านแผนผัง แผนที่ แผนภูมิและกราฟ การเลือก อ่านหนงั สือตามความ สนใจ การคัดลายมือด้วยตัวฉรรจงเต็มฉรรทัดและครึ่งฉรรทัด การเขียนส่ือสารโดย แผนภาพโครงเรื่องและ แผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน การเขียนเรียงความ ย่อความ จดหมาย ส่วนตัว เรื่องตามจินตนาการ และสร้างสรรค์และการกรอกแฉฉรายการตา่ ง ๆ การพูดแสดงความรู้ความ เข้าใจจุดประสงค์ของเร่ืองท่ีฟังและดู ส่ือโฆษณาอย่างมีเหตุผล พูดรายงานเร่ืองหรือประเด็นท่ีศึกษาค้นคว้า จาก การพูดโน้มน้าวอย่างมีเหตุผลและ นา่ เช่ือถือ ชนิดและหน้าทีข่ องคาในประโยค การใช้คาไดเ้ หมาะสม กัฉกาลเทศะและฉคุ คล คาภาษาต่างประเทศท่ี ใช้ในภาษาไทย ลกั ษณะของประโยค ฉทร้อยกรอง สานวนที่ เป็นคาพังเพยและสุภาษติ วรรณคดหี รอื วรรณกรรม เล่านิทานพ้ืนฉ้านท้องถ่ิน และนิทานพ้ืนฉ้านของ ท้องถิ่นอ่ืน ฉทอาขยานตามที่กาหนด โดยใช้กระฉวนการอ่าน กระฉวนการเขียน กระฉวนการแสวงหาความรู้กระฉวนการกลุ่ม กระฉวนการคิดวิเคราะห์และสรุปความ กระฉวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ กระฉวนการส่ือความ กระฉวนการแก้ปัญหา กระฉวนการสังเกต กระฉวน กรแยกข้อเท็จจริง กระฉวนการค้นคว้า กระฉวนการใช้ เทคโนโลยีในการส่ือสาร กระฉวนการใช้ทักษะทางภาษา การฝึกปฏิฉตั อิ ธิฉาย ฉันทึก การตง้ั คาถาม ตอฉ คาถาม ใช้ทักษะการฟัง การดูและการพดู พูดแสดงความคิดเห็น กระฉวนการสร้างความคิดรวฉยอด เพ่ือให้เกิดความรู้ความคิด ความเข้าใจ ส่ือสารได้ถูกต้องรักการเรียน ภาษาไทย เห็นคุณค่าของการอนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย มีวินัย ซ่ือสัตย์สุจริตใฝ่รู้ใฝ่เรียน มุ่งม่ันในการ ทางาน อยู่อย่างพอเพยี ง มคี ณุ ธรรม และมีจิตสาธารณะ สามารถนาความรูไ้ ปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชนใ์ น ชวี ิตประจาวัน ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ผลกำรเรียนรู้ 1. นักเรยี นได้ทราฉความเป็นมาของท้องถิ่นตนได้ 2. นักเรยี นอธิฉายลกั ษณะนิทานพ้นื ฉ้านของไทยได้ 3. นักเรียนฉอกขอ้ คิดจากนิทานพื้นฉา้ นของไทยได้ 4. นกั เรียนอธฉิ ายภาพสะทอ้ นของวถิ ีชวี ิตจากนิทานพน้ื ฉ้านได้ 5. นักเรียนตระหนักถงึ คุณค่าของนิทานพื้นฉ้านได้ รวมทั้งหมด ๕ ผลกำรเรยี นรู้

107 คำอธบิ ำยรำยวิชำเพิ่มเติม วิชำคณติ ศำสตร์เพ่ิมเตมิ

108 คำอธิบำยรำยวิชำ ค๑๔๒๐๑ คณิตศำสตรเ์ พิม่ เติม ๑ กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้คณติ ศำสตร์ ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๔ จำนวน ๔๐ ชวั่ โมง คำอธบิ ำยรำยวิชำ ศึกษาหลักการเรียงลาดัฉจากมากไปน้อยและจากน้อยไปมาก ต้องอาศัยการนัฉเลขที่ชานาญและคล่อง แคล้ว การฝึกทอ่ งอยูเ่ สมอจะทาใหเ้ ราไม่ มขี ้อผิดพลาดดงั นั้นการฝกึ นฉั เลขเพ่ิมทีละเทา่ ๆกัน ช่วยให้เราหาผลลัพธ์ ไดเ้ ร็วข้นึ โดยใชค้ วามรทู้ ักษะและกระฉวนการทางคณิตศาสตร์และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม รู้จักใช้วธิ ีการทห่ี ลากหลายในการแก้ปัญหา ใช้เหตผุ ลประกอฉการตัดสินใจ และสรุปผลไดอ้ ยา่ ง เหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การส่ือความหมาย และการนาเสนอได้อย่าง ถูกต้องและชัดเจน สามารถเชือ่ มโยงความรู้หลักการกระฉวนการทางคณิตศาสตร์ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ และ ใช้ในชีวิตประจาวันอย่างสร้างสรรค์รวมท้ังเห็นคุณค่าและมีเจตนคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ สามารถทางานอย่างเป็นระฉฉระเฉียฉ มีความรอฉคอฉ มีวิจารณญาณ และมีความเชื่อมั่นในตนเอง เพ่ือให้ นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจกระฉวนการแก้ปัญหา การเรียงจานวนจากมากไปน้อยและการเรียงจากน้อยไปมาก ได้มีทักษะการนัฉเลขท่ีดี เพื่อให้เข้าใจฉทฉาทและการแก้ปัญหาที่ถูกต้อง สามารถนามาประยุกต์ใช้กัฉ ชีวิตประจาวนั ได้ ผลการเรยี นรู้ 1. ผเู้ รียนอธบิ ายการเรยี งลาดบั จากมากไปนอ้ ยได้ 2. ผ้เู รียนอธบิ ายการเรยี นลาดับจากน้อยไปมากได้ 3. ผู้เรียนสามารถเรยี งลาดับไดอ้ ยา่ งคลอ่ งแคล่วและถกู ต้อง 4. ผ้เู รยี นสามารถนบั เลขอย่างคล่องแคล่ว 5. ผู้เรียนมีความรับผิดชอบ ใฝ่เรียนรู้มีวินัย มีความมุ่งม่ันในการฝึกซ้อมและเกิดทัศนะคติท่ีดีต่อการ เรยี นคณติ ศาสตร์ รวมทั้งหมด 5 ผลการเรียนรู้

109 คำอธิบำยรำยวิชำ ค๑๕๒๐๑ คณติ ศำสตร์เพม่ิ เติม ๒ กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้คณติ ศำสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษำปที ี่ ๕ จำนวน ๔๐ ชวั่ โมง คำอธิบำยรำยวชิ ำ สถิตแิ ละความน่าจะเป็นเฉ้ืองต้น การอ่าน และการเขียนแผนภมู ิเปรียฉเทยี ฉ การอ่านและการเขียนกราฟ เส้นการอ่านแผนภูมวิ งกลม การเกฉ็ รวฉรวมข้อมลู ความหมาย และการนาไปใช้ในชีวิตประจาวันของเหตุการณ์ท่ี เกิดข้ึนหรือไม่เกิดขึ้น ไม่เกิดข้ึนแน่นอน โดยใช้การศึกษาค้นคว้าการศึกษาเรียนรู้การอ่านและการเขียนแผนภูมิ เปรียฉเทียฉ การอ่านและการเขียนเส้นกราฟ การอ่านแผนภูมิวงกลม การเก็ฉรวฉรวมข้อมูลต้องลงมอื ปฏิฉัตจิ าก สถานการณ์จริง สิ่งท่ียังไม่เกิด และไม่เกิดข้ึนอย่างแน่นอน การเขียนแผนภูมิแท่งเป็นการเขียนที่ให้เห็นความ แตกต่างสามารถเปรียฉเทยี ฉระหวา่ งส่งิ ของสองอย่างและหลายๆ อย่างได้ เพอ่ื ให้มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกัฉการ เก็ฉรวฉรวมข้อมูล การเปรียฉเทียฉแผนภูมิและการอ่านและการเขียนเส้นกราฟ การอ่านแผนภูมิวงกลม เข้าใจ ความหมาย การนาไปใช้ในชีวิตจริงได้ การอ่านแผนภูมิแท่งและแผนภูมิแท่งเปรียฉเทียฉ การเก็ฉรวฉรวมข้อมูลและการเขียนแผนภูมิแท่ง ความหมายและการนาไปใช้ในชีวิตประจาวันของเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนแน่นอน อาจจะเกิดขึ้นหรือไม่เกิด และไม่ เกิดขึ้นอย่างแน่นอน โดยใช้การศึกษาค้นคว้าการศึกษาเรียนรู้การอ่านแผนภูมิแท่งและแผนภูมิเปรียฉเทียฉ การ เก็ฉรวฉรวมข้อมูลต้องลงมือปฏิฉัติจากสถานการณจริง สิ่งที่ยังไม่เกิด และไม่เกิดข้ึนอย่างแน่นอน การเขียน แผนภมู ิแท่งเป็นการเขียนที่ให้เห็นความแตกต่างสามารถเปรียฉเทียฉระหว่างสิ่งของสองอย่างและหลายๆ อย่างได้ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกัฉการเก็ฉรวฉรวมข้อมูล การสร้างแผนภูมิ การเปรียฉเทียฉแผนภูมิและเข้าใจ ความหมาย การนาไปใช้ในชวี ติ จริงได้ ผลการเรียนรู้ 1. ผู้เรยี นอธบิ ายถึงความหมายและการนาไปใช้ได้ 2. ผู้เรียนรู้จักเก็บรวบรวมข้อมูลและการเขียนแผนภูมิเปรียบเทียบ การอ่านและการเขียนเส้นกราฟ การอา่ นแผนภูมิวงกลม 3. ผเู้ รียนสรา้ งแผนภูมใิ นแต่ ละแบบได้ 4. ผู้เรียนเปรยี บเทยี บผลในแผนภูมิแทง่ ได้ รวมท้ังหมด 4 ผลการเรียนรู้

110 คำอธบิ ำยรำยวิชำ ค๑๖๒๐๑ คณติ ศำสตรเ์ พ่ิมเติม ๓ กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้คณติ ศำสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษำปที ี่ ๖ จำนวน ๔๐ ช่ัวโมง คำอธบิ ำยรำยวิชำ ความยาวรอฉรูป คือ ผลฉวกของความยาวด้านทุกด้านของรูปเหล่ียม วิธีหาความยาวรอฉรูป สี่เหลี่ยม รูปส่ีเหล่ียมโดยทั่วไปหาความยาวเส้นรอฉรูปได้โดยวัดความยาวของด้านทุกด้านแล้วนามาฉวกกัน รูปส่ีเหล่ียมฉางชนิดหาความยาวโดยใช้สูตรความยาวรอฉรูปได้โดยวัดความยาวฉางด้านแล้วนามาคานวณโดยใช้ สูตรดังน้ี สีเ่ หลย่ี มผนื ผ้า, ส่ีเหลี่ยมด้านขนาน =2 × ( กว้าง ( ยาว + สี่เหล่ียมจัตุรัส, สเี่ หลี่ยมขนมเปียกปูน =4 × ด้าน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจเก่ียวกัฉการหาความยาวรอฉรูปสี่เหลี่ยมและการหาพื้นท่ีภายใน รูป สีเ่ หล่ียม มีความมงุ่ ม่ัน ใฝ่เรยี นรู้นาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง วงกลม คือ รูประนาฉที่ล้อมรอฉด้วยเส้นรอฉวง และห่างจากจุดจุดหนึ่ง ซ่ึงเป็นจุดคงที่ระยะทางเท่ากัน เสมอ เรียกจุดคงท่ีน้ีว่า ” จุดศูนย์กลางของรูปวงกลม” ส่วนประกอฉของวงกลมความหมายของส่วนต่างๆ ของ วงกลม •จุดศูนย์กลางของวงกลม คือ จุดคงท่ีที่อยู่ตรงกลางวงกลม อยู่ห่างจากเส้นรอฉวงทุกๆ ส่วนเท่ากัน คือ รัศมี และ ส่วนของเส้นตรงที่ลากจากจุดศูนย์กลางไปยังเส้นรอฉวงอีกด้านคือ เส้นผ่านศูนย์กลาง และ ส่วนของ เส้นตรงที่ลากจากจุดหนึ่งฉนเส้นรอฉวงด้านหน่ึงผ่านจุดศูนย์กลางไปยังอีกจุดหนึ่งฉนเส้นรอฉวงอีกด้านหน่ึง คือ คอร์ด และ ส่วนของเส้นตรงที่ลากจากเส้นรอฉวงด้านหนึ่งไปยังเส้นรอฉวงอีกด้านหน่ึง คือ เซกเมนต์ โดยพื้นท่ีที่ อยู่ระหว่างเส้นรอฉรูปกัฉคอร์ด เพ่ือให้นักเรียนเกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกัฉส่วนประกอฉของรูปวงกลมและ ความหมายของสว่ นประกอฉของรูปวงกลม มีความมุ่งม่ัน ใฝ่เรียนรู้นาความรู้ไปใช้ให้เกดิ ประโยชน์ตอ่ ตนเอง ผลกำรเรยี นรู้ 1. ผู้เรียนอธิบายความหมายของความยาวรอบรปู และการหาพ้นื ทไ่ี ด้ 2. ผู้เรียนจาสตู รการหาพืน้ ทต่ี า่ งๆ 3. ผเู้ รียนวเิ คราะหโ์ จทยป์ ญั หา และบอกส่งิ ท่โี จทย์ต้องการได้ 4. ผูเ้ รียนเขา้ ใจวิธกี ารหาผลลพั ธแ์ ละขัน้ ตอนวธิ กี ารทา 5. ผู้เรยี นอธบิ ายความหมายรปู วงกลมได้ 6. ผู้เรียนรจู้ กั ส่วนประกอบของรูปวงกลม 7. ผเู้ รยี นจาสูตรการหาพนื้ ทภ่ี ายในรปู วงกลมได้ 8. ผเู้ รยี นเข้าใจวธิ กี ารทาและขั้นตอนการหาผลลัพธ์ รวมท้งั หมด 8 ผลการเรยี นรู้

111 คำอธิบำยรำยวิชำเพม่ิ เติม วิชำคอมพิวเตอร์

112 ค๑๔๒๐๑ คอมพวิ เตอร์ ๑ คำอธิบำยรำยวิชำ ชน้ั ประถมศกึ ษำปีที่ ๔ กลุ่มสำระกำรเรยี นร้วู ทิ ยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี จำนวน ๔๐ ชวั่ โมง คำอธิบำยรำยวชิ ำ ศึกษา การค้นหาข้อมูลอย่างมีข้ันตอนและนาเสนอข้อมูลในรูปแฉฉต่างๆ ความหมายของเทคโนโลยี สารสนเทศ ขอ้ มูลกฉั เทคโนโลยีสมัยใหม่ องคป์ ระกอฉของคอมพิวเตอร์ การทางานของคอมพวิ เตอร์ อุปกรณร์ ัฉ ขอ้ มูล อุปกรณแ์ สดงผลข้อมลู วิธดี ูแลรักษาอุปกรณ์เทคโนโลยสี ารสนเทศ การฉันทกึ ขอ้ มลู การเปิดแฟ้มข้อมูล การพิมพ์เอกสาร การใช้โปรแกรม Microsoft Word ในการจัดทาเอกสาร สร้างชิ้นงาน และประยุกต์ใช้ โปรแกรมให้สอดคล้องกฉั กลุ่มสาระต่างๆ สืฉค้น รวฉรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ และการอภิปรายเพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ตลอดจน สามารถอธิฉายสิ่งท่ีเรียนรู้ สร้างสรรค์ผลงานจากส่ิงท่ีได้เรียน สามารถนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจาวัน และเหน็ คณุ ค่า ความสาคัญของชน้ิ งานทีส่ ร้างข้ึน ผลกำรเรียนรู้ 1. ค้นหาข้อมูลอยา่ งมขี นั้ ตอนและนาเสนอขอ้ มูลในรูปแบบต่างๆ 2. บอกความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศข้อมูลกับ เทคโนโลยีสมัยใหม่ 3. อธิบายถึงองค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์ได้ 4. อธบิ ายถงึ การทางานของคอมพิวเตอร์ได้ 5. บอกถงึ อปุ กรณร์ บั ขอ้ มลู อุปกรณ์แสดงผลขอ้ มลู 6. บอกวิธีดแู ลรกั ษาอุปกรณเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศ 7. สามารถบนั ทึกข้อมูล เปิดแฟ้มขอ้ มลู และพมิ พ์เอกสารได้ 8. งานโปรแกรม Microsoft Word ในการจดั ทาเอกสาร สร้างชนิ้ งาน และประยุกตใ์ ช้ โปรแกรมใหส้ อดคล้องกับกลุ่มสาระตา่ งๆ 9. เห็นคุณคา่ ความสาคญั ของช้ินงาน รวมทัง้ หมด 9 ผลการเรียนรู้

113 ค๑๕๒๐๑ คอมพิวเตอร์ ๒ คำอธิบำยรำยวชิ ำ ชั้นประถมศกึ ษำปีท่ี ๕ กลมุ่ สำระกำรเรียนรวู้ ิทยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี จำนวน ๔๐ ชั่วโมง คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ ศึกษาความหมายของข้อมลู แหลง่ ข้อมูล ประเภทของขอ้ มูล ประโยชนข์ องข้อมลู รวบรวมข้อมลู ชื่อและ หน้าท่ีของอุปกรณ์ องคป์ ระกอบของคอมพิวเตอร์ การใช้งานคอมพิวเตอร์อยา่ ง ถูกวิธี การใช้อินเทอร์เน็ต การใช้ งานโปรแกรม Ms PowerPoint ในการนาเสนอ จัดรูปแบบ ภาพนิ่ง แทรกตารางและแผนภูมิในงานนาเสนอ นาเสนองานภาพนิ่ง สืบค้น รวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลใกล้ตัว และการอภิปรายเพ่ือให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ตลอดจน สามารถอธบิ ายสงิ่ ที่เรียนรู้ สร้างสรรคผ์ ลงานจากสิ่งทไี่ ดเ้ รียน สามารถนาไปใช้ ใหเ้ กิดประโยชน์ในชีวติ ประจาวัน เห็นคณุ คา่ ความสาคัญของชน้ิ งานทส่ี ร้างข้ึน ผลการเรียนรู้ 1. บอกความหมายของข้อมลู แหล่งข้อมูล ประเภทของขอ้ มลู ประโยชน์ของข้อมูล และรวบรวมขอ้ มูลได้ 2. บอกชอื่ และหนา้ ท่ขี องอปุ กรณ์ องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์และใช้งานคอมพิวเตอร์ได้อย่างถูกวธิ ี 3. สบื ค้นขอ้ มลู โดยใชอ้ ินเทอรเ์ นต็ ได้ 4. ใช้งานโปรแกรม Ms PowerPoint ในการนาเสนอ จดั รปู แบบ ภาพน่ิงได้ 5. แทรกตารางและแผนภมู ิในงานนาเสนอได้ 6. นาเสนองานภาพนง่ิ ได้ 7. ประยุกต์เพื่อใชง้ านได้และเหน็ ความสาคญั ของช้ินงาน รวมท้ังหมด 7 ผลการเรยี นรู้

114 ค๑๖๒๐๑ คอมพิวเตอร์ ๓ คำอธิบำยรำยวชิ ำ ช้ันประถมศึกษำปีท่ี ๖ กลุ่มสำระกำรเรยี นรูว้ ิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี จำนวน ๔๐ ช่ัวโมง คำอธิบำยรำยวิชำ ศึกษาความหมายฉทฉาทและประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ ชื่อและหน้าท่ีของอุปกรณ์และ องค์ประกอฉของคอมพิวเตอร์ ความหมาย ประโยชน์และโทษของอินเทอร์เน็ตและสืฉค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต ใช้งานโปรแกรม Ms Excel เฉอื้ งต้น จัดรปู แฉฉของข้อมูลฉนเวิร์กชีต ใช้สตู รและฟังก์ชั่นในการคานวณ อธฉิ าย การใช้งาน ออกแฉฉและสรา้ ง E-book ดว้ ยโปรแกรม Flip Album สืฉค้น รวฉรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลใกล้ตัว และการอภิปรายเพ่ือให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ตลอดจน สามารถอธิฉายสงิ่ ท่ีเรียนรู้ สรา้ งสรรค์ผลงานจากสิ่งที่ได้เรียน สามารถนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชวี ิตประจาวัน เห็นคณุ คา่ ความสาคัญของชน้ิ งานทส่ี ร้างขน้ึ ผลการเรยี นรู้ 1. บอกความหมาย บทบาทและประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศได้ 2. บอกชอ่ื และหน้าที่ของอปุ กรณแ์ ละองคป์ ระกอบของคอมพิวเตอร์ได้ 3. บอกความหมาย ประโยชนแ์ ละโทษของอินเทอร์เน็ตและสืบค้นข้อมลู จากอินเทอร์เน็ตได้ 4. ใชง้ านโปรแกรม Ms Excel เบ้อื งต้นได้ 5. จดั รูปแบบของข้อมูลบนเวิร์กชีตได้ 6. ใชส้ ตู รและฟงั ก์ชน่ั ในการคานวณได้ 7. อธบิ ายการใชง้ าน ออกแบบและสร้าง E-book ดว้ ยโปรแกรม Flip Albumได้ 8. ประยุกตเ์ พอื่ ใชง้ านไดแ้ ละเหน็ ความสาคัญของชิ้นงาน รวมทง้ั หมด 8 ผลการเรยี นรู้

115 คำอธิบำยรำยวิชำเพมิ่ เติม วชิ ำภำษำองั กัษเพ่ิมเติม

116 ค๑๑๒๐๑ ภำษำองั กัษเพ่ิมเตมิ ๑ คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ ชนั้ ประถมศกึ ษำปีท่ี ๑ กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ภำษำตำ่ งประเทศ จำนวน ๘๐ ชวั่ โมง คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ รายวิชาภาษาอังกฤษเพ่ิมเติม ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 เป็นรายวิชาที่มุ่งให้ผู้เรียนเข้าใจและใช้คาส่ังใน ห้องเรียน คาขอร้อง ตัวอักษร เสียงตัวอักษร สระ การสะกดคา การอ่านออกเสียงคา กลุ่มคา ประโยคท่ีมี ความหมายสมั พันธก์ ับสง่ิ ตา่ งๆ ใกลต้ ัว อาหาร เครื่องดืม่ บทอ่าน บทสนทนาด้วยภาษาง่ายๆ ประโยค นทิ านงา่ ยๆ ที่มีภาพประกอบ การเล่านิทานประกอบท่าทาง ให้ข้อมูลและความต้องการเก่ียวกับตนเองส้ันๆ เช่น การพูด แนะนาตนเอง ขอบคุณ ขอโทษ เรียนรคู้ าศพั ทเ์ กีย่ วกบั เทศกาล ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี เทศกาล งานฉลอง เห็น ประโยชนใ์ นการเรยี นรภู้ าษาอังกฤษ โดยสนใจเขา้ รว่ มกจิ กรรมทางภาษาและวัฒนธรรม และแสวงหาความรู้ ความ เพลิดเพลินจากภาษาอังกฤษ การร้องเพลง เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู้ และนา ความรู้ไปใช้ประโยชน์ ในชีวิตประจาวัน มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์ สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่าง พอเพยี ง มงุ่ ม่นั ในการทางาน รักความเปน็ ไทย และมีจิตสาธารณะ ผลการเรียนรู้ 1. ระบตุ วั อักษรและเสยี ง อ่านออกเสยี งและสะกดคางา่ ยๆ ถูกตอ้ งตามหลักการอ่านได้ 2. พูดโต้ตอบด้วยคาสัน้ ๆ ง่ายๆ ในการสือ่ สารระหวา่ งบุคคลตามแบบทฟี่ ังได้ 3. ปฏบิ ตั ิตามคาส่งั และใช้คาสั่งง่ายๆ ตามแบบทฟ่ี ังได้ 4. พดู ขอและให้ข้อมูลง่ายๆ เก่ยี วกบั ตนเองตามแบบที่ฟังได้ 5. บอกความต้องการงา่ ยๆของตนเองตามแบบท่ีฟงั ได้ 6. ตอบคาถามจากการฟงั เรื่อง ใกลต้ ัวบทอา่ นเกยี่ วกับเรื่องใกล้ตวั หรอื นทิ านท่ีมี ภาพประกอบประโยค คาถามและคาตอบได้ รวมทั้งหมด 6 ผลการเรียนรู้

117 ค๑๒๒๐๑ ภำษำองั กัษเพ่มิ เติม ๒ คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ ช้นั ประถมศึกษำปที ี่ ๒ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำต่ำงประเทศ จำนวน ๘๐ ชวั่ โมง คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ ปฏิฉัติตามคาสั่งง่ายๆ และคาขอร้องง่ายๆ ท่ีฟัง ระฉุตัวอักษรและเสียง อ่านออกเสียงคา สะกดคา และ อา่ นประโยคง่ายๆ ถกู ตอ้ งตามหลักการอ่าน เลอื กภาพตรงตามความหมายของคาและกลุ่มคาที่ฟัง ตอฉคาถามจาก การฟังประโยค ฉทสนทนาหรือนทิ านงา่ ย ๆ ท่ีมภี าพประกอฉ พูดโต้ตอฉด้วยคาส้ันๆ ง่าย ๆในการส่ือสารระหว่าง ฉุคคลตามแฉฉที่ฟัง ใช้คาสั่งและคาขอร้องง่าย ๆ ตามแฉฉท่ีฟัง ฉอกความต้องการง่ายๆของตนเองตามแฉฉท่ี ฟัง พูดขอและให้ข้อมูลง่ายๆ เกี่ยวกัฉตนเองตามแฉฉที่ฟัง พูดให้ข้อมูล เก่ียวกัฉตนเองและเรื่องใกล้ตัว พูดและ ทาท่าทางประกอฉตามวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ฉอกช่ือและคาศัพท์เก่ียวกัฉเทศกาลสาคัญของเจ้าของภาษา การเข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมท่ีเหมาะสมกัฉวัย ระฉุตัวอั กษรและเสียงอักษรของ ภาษาต่างประเทศพูดใน/และภาษาไทย ฉอกคาศัพท์ท่ีเกี่ยวข้องกัฉกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืน ฟัง(ภาษาอังกฤษ( สถานการณง์ า่ ยๆทเ่ี กดิ ขนึ้ ในหอ้ งเรียนใช้ภาษาตา่ งประเทศเพ่ือรวฉรวมคาศัพทท์ ี่เก่ยี วข้องใกลต้ ัว(ภาษาอังกฤษ( โดยการระฉุ อ่านออกเสียง เลือก ตอฉคาถาม พูดโตต้ อฉ ใช้ ฉอก ทาท่าทาง เข้าร่วม ฟัง เพอ่ื ให้ผู้เรียน มีความรู้ความเข้าใจและนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน เกิดสมรรถนะตามความต้องการของหลักสูตร มี คุณลักษณะอันพึงประสงค์ขึ้นในตัวของผู้เรียน และสามารถอยู่ร่วมกัฉผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข สามารถ นาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนาไปประยุกต์ใช้กัฉ ชีวติ ประจาวันได้อยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม มำตรฐำนตัวชวี้ ดั / 1. อา่ นและเขยี นตวั อักษร คาศัพท์และประโยคท่เี กยี่ วข้องใกลต้ วั ได้ 2. ระฉตุ วั อักษรและเสียงตวั อกั ษรของภาษาตา่ งประเทศและภาษาไทย 3. พูดสื่อสารภาษาองั กฤษในการขอและใหข้ ้อมูลเร่ืองใกล้ตัวไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกฉั วัย 4. ฉอกความหมายของคาและกลุ่มคาท่ีฟังตรงตามความหมาย ตอฉคาถามการฟังท่ีมี ภาพประกอฉ หรือ อา่ นประโยคฉทสนทนาหรือนิทานงา่ ยๆ 5. ใชภ้ าษาสื่อสารได้ตามวยั อย่างม่นั ใจ และกล้าแสดงออก 6. ใช้ภาษาได้ตามมารยาททางสงั คมและวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา 7. ฉอกคาศพั ทท์ ีเ่ กี่ยวขอ้ งกฉั กลุ่มสาระการเรยี นรูอ้ ืน่ รวมทัง้ หมด 7 ผลกำรเรียนรู้

118 ค๑๓๒๐๑ ภำษำอังกัษเพม่ิ เตมิ ๓ คำอธิบำยรำยวิชำ ชนั้ ประถมศึกษำปที ่ี ๓ กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ภำษำตำ่ งประเทศ จำนวน ๘๐ ชั่วโมง คำอธิบำยรำยวิชำ รายวิชาภาษาอังกฤษเพ่ิมเติม (13231อ(ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 3 เป็นรายวิชาที่มุ่งให้ผู้เรียนพูดทักทายเป็น ภาษาองั กฤษได้ถูกต้องเหมาะสม อ่านออกเสียงตัวอักษร คาประโยคง่ายๆ ที่เกี่ยวกัฉเรื่องใกล้ตัว ฉอกความหมาย ของคาที่เรียน และที่ฟังได้ตรงตามความหมาย ตอฉคาถามจากการฟังเร่ืองท่ีเรียนได้ พูดขอและให้ข้อมูลง่ายๆ เก่ียวกัฉเรื่องที่เรียนได้เหมาะสมตามวัย สามารถใช้ภาษาอังกฤษในการส่ือสารระหว่างฉุคคลตามแฉฉที่เรียนได้ เหมาะสมตามวัย ใชภ้ าษาในการพดู และทาทา่ ประกอฉตามมารยาทสงั คม วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา รวมทงั้ เข้า ร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมที่เหมาะสมกัฉวัย โดยมีทักษะทางสังคม มีวิถีตามระฉอฉประชาธิปไตย ซ่ือสัตย์ ใฝ่เรียนรู้ แสดงออกถึงความเป็นไทย เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถส่ือสารส่ิงที่เรียนรู้ และนา ความรไู้ ปใช้ประโยชน์ในชวี ิตประจาวัน ผลกำรเรียนรู้ 1. นักเรียนใชค้ าทักทายเปน็ ภาษาอังกฤษไดถ้ ูกต้องเหมาะสม 2. อ่านออกเสยี งตวั อักษร คา ประโยคงา่ ยๆ ทเี่ ก่ียวกบั เร่ืองใกล้ตวั 3. บอกความหมายของคาที่เรียน และทฟ่ี ังไดต้ รงตามความหมาย 4. ตอบคาถามจากการฟังเรื่องทเ่ี รยี นได้ 5. พูดขอและใหข้ ้อมลู งา่ ยๆ เกี่ยวกบั เรื่องทเี่ รยี นไดเ้ หมาะสมตามวัย 6. ใชภ้ าษาองั กฤษในการสอ่ื สารระหว่างบคุ คลตามแบบท่ีเรียนได้เหมาะสมตามวัย 7. ใช้ภาษาในการพดู และทาทา่ ประกอบตามมารยาทสังคม วฒั นธรรมของเจ้าของภาษา รวมทั้งเข้าร่วม กิจกรรมทางภาษา และวฒั นธรรมทเี่ หมาะสมกับวัย รวมทั้งสนิ้ 7 ผลกำรเรยี นรู้

119 คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ กจิ กรรมพฒั นำผ้เู รยี น

120 คำอธิบำยรำยวิชำกจิ กรรมพัฒนำผเู้ รียน กิจกรรมพัฒนำผเู้ รยี น ก๑๑๙๐๑ กจิ กรรมแนะแนว เวลำ ๔๐ ช่วั โมง ชัน้ ประถมศึกษำปีที่ ๑ คำอธิบำยรำยวิชำ บอกชื่อและหน้าท่ีของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายตนเองได้ถูกต้อง ระบุส่วนต่าง ๆ ของร่างกายที่ตนเองพอใจ พร้อมเหตุผล และรับรู้ในส่วนของร่างกายที่เพ่ือนพอใจ ดูแลรักษาส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกายท้ังของตนเองและเพ่ือน ให้ปลอดภัยบอกอารมณ์และความรู้สึกของตนเองได้ รับรู้ความแตกต่างทางด้านร่างกายของตนเองและเพ่ือน ยอมรับ ความแตกต่างทางด้านร่างกายของตนเองและเพ่ือน ระบุงานและกิจกรรมเกี่ยวกับการเรียนท่ีชอบและไม่ชอบ รวมทัง้ การรบั รคู้ วามชอบและไม่ชอบของเพ่อื นในช้ันเรยี น บอกอาชีพของพ่อแม่ บอกความหมายของเครื่องหมาย สัญลักษณ์ท่ีแสดงถึงคุณภาพด้านการเรียนของตน ดูแล ตัวเองในการปฏิบัตกิ ิจวัตรประจาวัน รู้จักสังเกต ตั้งคาถาม และแสวงหาคาตอบ รู้เท่าทันอารมณ์ของตนเอง และ เปน็ ผฟู้ งั ทด่ี ี ผลกำรเรียนรู้ ๑. เรียกช่ือส่วนต่าง ๆ ของร่างกายไดถ้ ูกต้อง ๒. ระบุสว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกายทีต่ นเองพอใจพร้อมเหตผุ ล และรับรู้ในสว่ นของร่างกายท่ีเพื่อนพอใจ ๓. ดูแลส่วนต่าง ๆ ของร่างกายทัง้ ของตนเองและเพ่ือนใหป้ ลอดภยั ๔. บอกอารมณแ์ ละความรสู้ กึ ของตนเองได้ ๕. รับรคู้ วามแตกต่างทางด้านรา่ งกายของตนเองและเพื่อน ๖. ยอมรับความแตกต่างทางด้านร่างกายของตนเองและเพื่อน ๗. ระบุงานและกิจกรรมเกี่ยวกับการเรียนที่ชอบและไม่ชอบ รวมทั้งการรับรู้ความชอบและไม่ชอบ ของเพ่อื นในชัน้ เรยี น ๘. บอกอาชีพของพ่อแม่ ๙. บอกความหมายของเคร่อื งหมาย สญั ลักษณ์ทแ่ี สดงถึงคุณภาพด้านการเรยี นของตน ๑๐. ดแู ลตวั เองในการปฏบิ ัตกิ จิ วัตรประจาวัน ๑๑. รู้จักสงั เกต ตั้งคาถาม และแสวงหาคาตอบ ๑๒. รู้เทา่ ทนั อารมณ์ ๑๓. เปน็ ผ้ฟู ังทด่ี ี รวมท้ังหมด ๑๓ ผลกำรเรียนรู้

121 คำอธิบำยรำยวชิ ำกจิ กรรมพัฒนำผเู้ รียน กิจกรรมพัฒนำผ้เู รยี น ก๑๒๙๐๑ กิจกรรมแนะแนว เวลำ ๔๐ ชั่วโมง ชน้ั ประถมศกึ ษำปีที่ ๒ คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ อธิบายหน้าที่ของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้ถูกต้อง ดูแลรักษาส่วนต่าง ๆ ของร่างกายท้ังของตนเองและ เพ่อื ใหป้ ลอดภัย บอกอารมณ์ ความรู้สึกของตนและรับรู้อารมณ์ความรู้สึกของครู เพื่อนในห้องเรียนและสมาชิกในครอบครัว รับรู้อารมณ์ความร้สู ึกของตนเองและเพอื่ น ยอมรบั ความแตกตา่ งด้านอารมณ์ จิตใจของตนเองและเพอ่ื น บอกอาชีพในชุมชน บอกความหมายผลการเรียนของตน ระบุวิชาที่มีผลการเรียนอยู่ในระดับดีและท่ีต้อง ปรบั ปรงุ แสดงพฤตกิ รรมที่แสดงถึงความมีเมตตา แบ่งปนั ของกินของใช้ วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือของข้อมูลขา่ วสารได้ สมเหตุสมผล ควบคมุ อารมณ์ของตนเองได้ และใช้ภาษาและกริ ยิ าทเ่ี หมาะสมในการส่อื สาร ผลกำรเรยี นรู้ ๑. อธบิ ายหนา้ ทีข่ องสว่ นตา่ ง ๆ ของร่างกายไดถ้ กู ต้อง ๒. ดูแลรกั ษาสว่ นต่าง ๆ ของร่างกายทงั้ ของตนเองและเพ่ือให้ปลอดภยั ๓. บอกอารมณ์ ความรู้สึกของตนและรับรู้อารมณ์ความรู้สึกของครู เพื่อนในห้องเรียนและสมาชิกใน ครอบครัว ๔. รบั รู้อารมณ์ความร้สู กึ ของตนเองและเพอื่ น ๕. ยอมรบั ความแตกต่างด้านอารมณ์ จติ ใจของตนเองและเพอ่ื น ๖. บอกอาชพี ในชมุ ชน ๗. บอกความหมายผลการเรียนของตน ๘. ระบุวิชาท่มี ผี ลการเรยี นอย่ใู นระดบั ดีและทต่ี ้องปรับปรุง ๙. แสดงพฤติกรรมที่แสดงถงึ ความมีเมตตา แบ่งปันของกินของใช้ ๑๐. วิเคราะหค์ วามน่าเชอื่ ถือของข้อมูลขา่ วสารไดส้ มเหตสุ มผล ๑๑. ควบคุมอารมณข์ องตนเองได้ ๑๒. ใชภ้ าษาและกิรยิ าทเ่ี หมาะสมในการส่ือสาร รวมท้ังหมด ๑๒ ผลกำรเรียนรู้

122 คำอธิบำยรำยวชิ ำกิจกรรมพัฒนำผู้เรียน กิจกรรมพัฒนำผู้เรยี น ก๑๓๙๐๑ กจิ กรรมแนะแนว เวลำ ๔๐ ช่วั โมง ชน้ั ประถมศึกษำปีท่ี ๓ คำอธิบำยรำยวชิ ำ บอกประโยชน์ของสว่ นต่าง ๆ ของร่างกายได้ถูกตอ้ ง รับรกู้ ารเปลี่ยนแปลงของรา่ งกายตามวัย ยอมรบั การ เปล่ยี นแปลงของรา่ งกายตามวัย ระบุสาเหตุของการเกิดอารมณ์ความรู้สึกของตนเองและเพื่อน ยอมรับความแตกต่างด้านอารมณ์ จิตใจ ของตนเองและเพื่อน รับรู้อารมณ์ ความรู้สึกของครู เพ่ือนต่างห้องเรียน และสมาชิกในครอบครัว แสดงความคิด และแสดงออกด้านอารมณ์ทีม่ ีต่อสถานการณ์ตา่ ง ๆ ได้อยา่ งเหมาะสม รูจ้ ักเอาใจเขามาใสใ่ จเรา คานงึ ถึงความร้สู ึก ของผู้อื่นในการส่ือสาร ระบุความสนใจ ความถนัด ความสามารถด้านการเรียนของตนเองพร้อมเหตุผล รับรู้ความสนใจ ความถนัด ความสามารถดา้ นการเรียนของเพือ่ นพรอ้ มเหตผุ ล ยอมรบั ความแตกต่างด้านความสนใจ ความถนดั ความสามารถ ทางการเรยี นของตนเองและเพื่อน ยอมรับความแตกตา่ งด้านบุคลกิ ภาพของตนเองและเพอื่ น บอกอาชีพที่หลากหลาย บอกพฤติกรรมของตนเองที่ช่วยให้ผลการเรียนดี ระบุพฤติกรรมที่จะนามาใช้ในการ ปรับตัวด้านการเรียนให้มีผลการเรียนระดับดีขึ้นไป และมีความพร้อมสาหรับการประเมินระดับชาติ รวมทั้ง ประเมนิ สถานการณ์และนาไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจาวัน ผลกำรเรยี นรู้ ๑. บอกประโยชน์ของส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกายไดถ้ ูกตอ้ ง ๒. รับรกู้ ารเปล่ยี นแปลงของรา่ งกายตามวัย ๓. ยอมรับการเปล่ียนแปลงของรา่ งกายตามวัย ๔. ระบุสาเหตุของการเกิดอารมณ์ความร้สู กึ ของตนเองและเพื่อน ๕. ยอมรบั ความแตกต่างด้านอารมณ์ จิตใจของตนเองและเพ่ือน ๖. รบั รู้อารมณ์ ความรู้สกึ ของครู เพือ่ นต่างห้องเรียน และสมาชกิ ในครอบครวั ๗. แสดงความคิดและแสดงออกดา้ นอารมณท์ ่ีมตี ่อสถานการณ์ตา่ ง ๆ ได้อยา่ งเหมาะสม ๘. รจู้ ักเอาใจเขามาใส่ใจเรา ๙. คานึงถงึ ความรู้สกึ ของผอู้ นื่ ในการส่อื สาร ๑๐. ระบุความสนใจ ความถนัด ความสามารถด้านการเรียนของตนเองพร้อมเหตุผล ๑๑. รบั รคู้ วามสนใจ ความถนัด ความสามารถดา้ นการเรยี นของเพอ่ื นพร้อมเหตุผล ๑๒. ยอมรับความแตกตา่ งด้านความสนใจ ความถนัด ความสามารถทางการเรียนของตนเองและเพื่อน ๑๓. ยอมรับความแตกตา่ งดา้ นบคุ ลิกภาพของตนเองและเพ่ือน ๑๔. บอกอาชพี ทีห่ ลากหลาย ๑๕. บอกพฤตกิ รรมของตนเองทชี่ ่วยให้ผลการเรยี นดี ๑๖. ระบุพฤติกรรมท่ีจะนามาใช้ในการปรับตัวด้านการเรียนให้มีผลการเรียนระดับดีข้ึนไป และมีความ พรอ้ มสาหรบั การประเมนิ ระดบั ชาติ ๑๗. ประเมนิ สถานการณแ์ ละนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตประจาวัน รวมทั้งหมด ๑๗ ผลกำรเรยี นรู้

123 คำอธิบำยรำยวชิ ำกจิ กรรมพัฒนำผเู้ รยี น กจิ กรรมพัฒนำผ้เู รยี น ก๑๔๙๐๑ กิจกรรมแนะแนว เวลำ ๔๐ ชว่ั โมง ชั้นประถมศึกษำปที ี่ ๔ คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ รับรู้การเปล่ียนแปลงของร่างกายตามวัย บอกความคิด ความรู้สึก อารมณ์ของตนและรับรู้ความคิด ความรู้สึก อารมณ์ของครู เพ่ือน และสมาชิกในครอบครัว จาแนกความคิด ความรู้สึก อารมณ์ท่ีดีและไม่ดีของ ตนเองและผูอ้ ื่น อธิบายบุคลิกภาพของตนเองและรับรู้บุคลิกภาพของเพ่ือน รับได้กบั บุคลิกภาพของตนเอง ยอมรับในสิ่งท่ี ผูอ้ ่ืนเป็นด้านบุคลิกภาพ พอใจในส่ิงท่ีดีของตนเองด้านร่างกาย ความคิด อารมณ์ และจิตใจ ช่ืนชมสิ่งท่ีดีของผู้อ่ืน ด้านร่างกาย ความคิด อารมณ์ และจิตใจ ยอมรับสง่ิ ท่ีตนเองมีในด้านความสนใจ ความถนัด ความสามารถทางการเรียน เข้าใจผูอ้ ่ืนในดา้ นความสนใจ ความถนัด ความสามารถทางการเรยี น บอกลักษณะของอาชีพที่สนใจ บอกคุณลักษณะของตนเองที่สอดคล้องกับอาชีพท่ีสนใจ วิเคราะห์ผลการเรียน ของตนแตล่ ะรายวชิ า และระบวุ ธิ กี ารพฒั นารายวชิ าท่ผี ลการเรียนยังไม่เป็นที่พอใจ มีจินตนาการและมีความสามารถในการคิดเชื่อมโยง มีวิธีผ่อนคลายอารมณ์และความเครียดให้กับตนเอง รู้จักแสดงความคดิ ความรู้สึกชืน่ ชมการกระทาทดี่ งี ามให้ผู้อื่นรับรู้ มีมารยาทในการสื่อสารกับผู้อื่น ชื่นชมความสาเร็จ ความสามารถและการกระทาที่ดีงามของผู้ อื่น ด้วยคาพูด ภาษากาย และสัญลักษณ์ ควบคุมความคิดและอารมณ์ของตนเองได้ และมีวิธีสร้างความมั่นคงในอารมณ์ ของตนเองได้อย่างเหมาะสม ผลกำรเรยี นรู้ ๑. รบั รูก้ ารเปลย่ี นแปลงของรา่ งกายตามวยั ๒. บอกความคิด ความร้สู ึก อารมณ์ของตนและรับรู้ความคิด ความรสู้ ึก อารมณ์ของครู เพ่ือน และ สมาชิกในครอบครวั ๓. จาแนกความคดิ ความร้สู กึ อารมณ์ทีด่ แี ละไมด่ ขี องตนเองและผอู้ ืน่ ๔. อธบิ ายบุคลกิ ภาพของตนเองและรบั รูบ้ ุคลกิ ภาพของเพื่อน ๕. รบั ได้กบั บคุ ลิกภาพของตนเอง ๖. ยอมรับในสิง่ ทผี่ อู้ ืน่ เป็นด้านบุคลกิ ภาพ ๗. พอใจในสงิ่ ที่ดขี องตนเองด้านร่างกาย ความคิด อารมณ์ และจติ ใจ ๘. ชืน่ ชมส่ิงทีด่ ีของผู้อนื่ ดา้ นรา่ งกาย ความคิด อารมณ์ และจิตใจ ๙. ยอมรับสิง่ ทีต่ นเองมใี นดา้ นความสนใจ ความถนดั ความสามารถทางการเรยี น ๑๐. เขา้ ใจผ้อู ื่นในดา้ นความสนใจ ความถนดั ความสามารถทางการเรยี น ๑๑. บอกลักษณะของอาชีพที่สนใจ ๑๒. บอกคุณลกั ษณะของตนเองทส่ี อดคล้องกบั อาชีพท่สี นใจ ๑๓. วิเคราะห์ผลการเรยี นของตนแต่ละรายวชิ า ๑๔. ระบุวธิ กี ารพฒั นารายวิชาที่ผลการเรียนยงั ไมเ่ ปน็ ทพ่ี อใจ ๑๕. มีจินตนาการและมีความสามารถในการคิดเชอ่ื มโยง ๑๖. มวี ิธผี ่อนคลายอารมณแ์ ละความเครียดใหก้ ับตนเอง ๑๗. รู้จกั แสดงความคดิ ความรสู้ ึกชื่นชมการกระทาท่ีดงี ามให้ผู้อนื่ รบั รู้

124 ๑๘. มีมารยาทในการสือ่ สารกบั ผ้อู ่นื ๑๙. ชืน่ ชมความสาเร็จ ความสามารถและการกระทาทด่ี ีงามของผู้อ่นื ด้วยคาพดู ภาษากาย และ สญั ลักษณ์ ๒๐. ควบคมุ ความคิดและอารมณข์ องตนเองได้ ๒๑. มีวิธสี ร้างความมั่นคงในอารมณ์ของตนเองได้อย่างเหมาะสม รวมท้ังหมด ๒๑ ผลกำรเรยี นรู้

125 คำอธิบำยรำยวชิ ำกิจกรรมพฒั นำผูเ้ รยี น กจิ กรรมพัฒนำผเู้ รียน ก๑๕๙๐๑ กิจกรรมแนะแนว เวลำ ๔๐ ชวั่ โมง ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๕ คำอธิบำยรำยวิชำ รับรู้การเปล่ียนแปลงของร่างกายตามวัย ระบุบุคลิกภาพท่ีดีและไม่ดีของตนเองและรับรู้บุคลิกภาพที่ดี และไม่ดขี องเพ่ือน ภมู ใิ จในบุคลิกภาพด้านดีของตน ชนื่ ชมบุคลิกภาพดา้ นดีของผอู้ นื่ แสดงออกถึงความมั่นใจในส่ิงท่ีดีของตนเอง ด้านร่างกาย ความคิด อารมณ์ และจิตใจ รู้เท่าทันความคิด และอารมณข์ องตนเอง จดั การกับความคดิ และอารมณ์ของตนเองได้อย่างเหมาะสม บอกวิชาทตี่ นเองถนัดอยา่ งมเี หตุผล รับรวู้ ิชาท่ีเพื่อนถนัดพร้อมเหตุผล ภูมิใจในคุณค่าของตนเองในด้านความสนใจ ความถนัด ความสามารถทางการเรียน และอาชีพ ช่ืนชมในคุณค่าของผู้อ่ืนในด้านความสนใจ ความถนัด ความสามารถทางการเรียน และอาชีพ บอกอาชีพท่ีตนสนใจ บอกคุณสมบัติของบุคคลท่ีประกอบอาชีพ ศึกษาข้อมูลด้านอาชีพท่ีกว้างและลึกซ้ึง มากขึ้น รับรู้ความคิด ความรู้สึก อารมณ์ของผู้ที่ตนคบหาสมาคม วิเคราะห์ผลการเรียนของตนแต่ละรายวิชาและ ปรับปรุงพฤตกิ รรมการเรียนในรายวิชาท่ีมผี ลการเรยี นไมเ่ ปน็ ที่พอใจ วิพากษ์ วิจารณ์ บนพ้ืนฐานของข้อมูลสารสนเทศที่ถูกต้อง การยุติข้อขัดแย้งในกลุ่มเพ่ือนด้วยสันติวิธี อาสาทางานเพ่ือสว่ นรวมและสงั คม รู้จักปฏิเสธ ต่อรอง และร้องขอความช่วยเหลือในสถานการณ์เสย่ี ง แสดงออก ถงึ พฤติกรรมทีด่ ใี นการอยรู่ ่วมกับผ้อู ่นื ตลอดจนรับฟังและยอมรบั ความคิดเหน็ ซงึ่ กันและกัน ผลกำรเรยี นรู้ ๑. รบั รูก้ ารเปลยี่ นแปลงของร่างกายตามวยั ๒. ระบบุ คุ ลกิ ภาพทด่ี แี ละไมด่ ีของตนเองและรับรบู้ ุคลิกภาพทีด่ ีและไมด่ ีของเพ่ือน ๓. ภมู ใิ จในบคุ ลกิ ภาพด้านดีของตน ๔. ชืน่ ชมบุคลกิ ภาพด้านดขี องผู้อื่น ๕. แสดงออกถงึ ความมัน่ ใจในสิ่งทีด่ ขี องตนเอง ดา้ นร่างกาย ความคิด อารมณ์ และจติ ใจ ๖. รเู้ ทา่ ทนั ความคดิ และอารมณ์ของตนเอง ๗. จัดการกับความคดิ และอารมณ์ของตนเองได้อย่างเหมาะสม ๘. บอกวิชาทีต่ นเองถนัดอยา่ งมีเหตผุ ล ๙. รบั รู้วชิ าท่ีเพ่ือนถนดั พร้อมเหตุผล ๑๐. ภูมิใจในคณุ คา่ ของตนเองในด้านความสนใจ ความถนัด ความสามารถทางการเรียน และอาชีพ ๑๑. ช่นื ชมในคุณค่าของผอู้ น่ื ในด้านความสนใจ ความถนัด ความสามารถทางการเรียน และอาชพี ๑๒. บอกอาชีพทีต่ นสนใจ ๑๓. บอกคุณสมบตั ิของบคุ คลท่ปี ระกอบอาชีพ ๑๔. ศกึ ษาขอ้ มลู ดา้ นอาชีพท่ีกวา้ งและลกึ ซึง้ มากขึ้น ๑๕. รบั รคู้ วามคดิ ความรู้สึก อารมณ์ของผูท้ ีต่ นคบหาสมาคม ๑๖. วิเคราะห์ผลการเรียนของตนแตล่ ะรายวชิ าและปรับปรุงพฤติกรรมการเรียนในรายวิชาที่มีผลการเรียน ไมเ่ ป็นทพี่ อใจ ๑๗. วิพากษ์ วิจารณ์ บนพน้ื ฐานของขอ้ มลู สารสนเทศท่ถี กู ตอ้ ง ๑๘. ยตุ ขิ อ้ ขัดแย้งในกลมุ่ เพ่อื นดว้ ยสนั ติวิธี

126 ๑๙. อาสาทางานเพอื่ ส่วนรวมและสังคม ๒๐. รจู้ ักปฏิเสธ ตอ่ รอง และร้องขอความชว่ ยเหลือในสถานการณเ์ ส่ยี ง ๒๑. แสดงออกถึงพฤติกรรมท่ีดใี นการอยรู่ ว่ มกับผู้อนื่ ๒๒. รบั ฟงั และยอมรบั ความคดิ เห็นซึง่ กันและกัน รวมท้ังหมด ๒๒ ผลกำรเรียนรู้

127 คำอธบิ ำยรำยวชิ ำกจิ กรรมพฒั นำผู้เรียน กิจกรรมพัฒนำผ้เู รยี น ก๑๑๙๐๑ กิจกรรมแนะแนว เวลำ ๔๐ ชัว่ โมง ช้นั ประถมศึกษำปที ี่ ๑ คำอธิบำยรำยวชิ ำ รับรู้ความคิด ความรู้สึก อารมณ์ของคู่สนทนา แสดงออกถึงความม่ันใจในคุณค่าของตนเอง ด้านความสนใจ ความถนัด ความสามารถทางการเรียนและอาชีพ เช่ือม่ันในคุณค่าของผู้อื่นด้านความสนใจ ความถนัด ความสามารถ ทางการเรียนและอาชีพ แสดงออกถึงความม่ันใจในบุคลิกภาพด้านดีของตนเอง รวมทั้งเชื่อม่ันในคุณค่าของผู้อื่น ดา้ นบคุ ลกิ ภาพ มีข้อมูลโลกกว้างทางด้านการศึกษา มีแนวทางในการเลือกศึกษาต่อ พิจารณาความเหมาะสมของตน กับอาชีพที่สนใจ ระบุอาชีพท่ีตนเองสนใจ วิเคราะห์ผลการเรียนของตนแต่ละรายวิชา โดยเฉพาะวิชาที่ต้องใช้ ประเมินระดับชาติ และการเรียนต่อระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น และเรียนรเู้ พ่มิ เติมเพ่ือความพร้อมในการเข้าเรียนต่อ ปฏิบัติตามกฎ กติกา และระเบียบของสังคม ปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว โรงเรียน และ ประเทศชาติ มีวิธีสร้างความมั่นคงในอารมณ์ของตนเองได้อย่างเหมาะสม มีคุณธรรมท่ีเหมาะสมกับวัย เช่น ซื่อสัตย์ กตัญญูกตเวที เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีน้าใจ มีจิตสานึกเพื่อส่วนรวม สามัคคี ฯลฯ มีจิตอาสา และทากิจกรรมท่ีเป็นประโยชน์ ต่อสว่ นรวม รู้จักวิธีการตัดสินใจและแก้ปัญหาท่ีถูกต้อง ปฏิบัติกิจกรรมที่ทาแล้วมีความสุข ผู้อื่นไม่เดือดร้อน ตลอดถึง ใหค้ วามร่วมมอื และทางานร่วมกบั ผอู้ ื่นไดอ้ ย่างสร้างสรรค์ ผลกำรเรยี นรู้ ๑. รบั รู้ความคิด ความรสู้ กึ อารมณข์ องคสู่ นทนา ๒. แสดงออกถึงความมั่นใจในคุณค่าของตนเอง ด้านความสนใจ ความถนัด ความสามารถทางการ เรียนและอาชพี ๓. เชือ่ ม่ันในคณุ คา่ ของผูอ้ ืน่ ด้านความสนใจ ความถนดั ความสามารถทางการเรียนและอาชีพ ๔. แสดงออกถึงความมั่นใจในบุคลกิ ภาพด้านดีของตนเอง ๕. เชอื่ มั่นในคุณคา่ ของผอู้ ่ืนดา้ นบคุ ลิกภาพ ๖. มีข้อมลู โลกกว้างทางด้านการศกึ ษา ๗. มีแนวทางในการเลอื กศกึ ษาต่อ ๘. พิจารณาความเหมาะสมของตนกบั อาชีพที่สนใจ ๙. ระบอุ าชพี ทตี่ นเองสนใจ ๑๐. วเิ คราะห์ผลการเรยี นของตนแต่ละรายวชิ า โดยเฉพาะวชิ าท่ีต้องใช้ประเมินระดบั ชาติ และการเรยี น ตอ่ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ ๑๑. เรยี นรเู้ พม่ิ เตมิ เพ่ือความพร้อมในการเขา้ เรียนต่อ ๑๒. ปฏบิ ัตติ ามกฎ กติกา และระเบียบของสังคม ๑๓. ปฏิบตั ติ นเป็นสมาชิกที่ดขี องครอบครวั โรงเรยี น และประเทศชาติ ๑๔. มวี ธิ ีสรา้ งความมน่ั คงในอารมณข์ องตนเองได้อย่างเหมาะสม ๑๕. มีคุณธรรมท่ีเหมาะสมกับวัย เช่น ซื่อสัตย์ กตัญญูกตเวที เอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่ มีน้าใจ มีจิตสานึกเพื่อ สว่ นรวม สามัคคี ฯลฯ ๑๖. มีจติ อาสา และทากจิ กรรมทีเ่ ป็นประโยชน์ต่อสว่ นรวม

128 ๑๗. ร้จู ักวธิ ีการตดั สินใจและแกป้ ญั หาที่ถกู ต้อง ๑๘. ปฏิบัติกจิ กรรมที่ทาแลว้ มีความสขุ ผอู้ ืน่ ไมเ่ ดอื ดร้อน ๑๙. ให้ความรว่ มมือและทางานร่วมกับผ้อู นื่ ได้อยา่ งสรา้ งสรรค์ รวมท้ังหมด ๑๙ ผลกำรเรียนรู้

129 คำอธบิ ำยรำยวิชำกิจกรรมพัฒนำผู้เรยี น กิจกรรมนักเรยี น ก๑๑๙๐๒ เตรยี มลูกเสือสำรองและลกู เสอื สำรอง (ดำวดวงท่ี ๑) เวลำ ๔๐ ช่วั โมง ชัน้ ประถมศกึ ษำปีท่ี ๑ คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ เปิดประชุมกอง ดาเนินการตามกระบวนการของลูกเสือ และจัดกิจกรรมโดยให้ศึกษา วิเคราะห์ วางแผน ปฏิบตั ิกิจกรรมตามฐานการเรียนรู้ โดยเน้นระบบหมู่ และปฏบิ ัตกิ ิจกรรมตามคาปฏิญาณและกฎของลูกเสือสารอง เรียนรู้จากการคิดและปฏบิ ัติจริง ใช้สัญลักษณ์สมาชิกลกู เสอื สารองที่มคี วามเป็นเอกลักษณร์ ว่ มกนั ศึกษาธรรมชาติ ในชุมชนดว้ ยความสนใจ ใฝร่ ู้ ตามวิถีเศรษฐกิจพอเพยี ง สรุปผลการปฏบิ ัติกจิ กรรม ปิดประชุมกอง ในเรื่องต่อไปน้ี ๑. เตรียมลูกเสือสารอง นิยายเมาคลี ประวัติการเริ่มกิจการลูกเสือ การทาความเคารพหมู่ (แกรนด์ฮาวล์) การทาความเคารพเป็นรายบุคคล การจบั มอื ซ้าย ระเบยี บแถวเบื้องต้น คาปฏญิ าณ กฎและคติพจน์ของลกู เสือสารอง ๒. ลูกเสือสารองดาวดวงท่ี ๑ อนามัย ความสามารถเชิงทักษะ การสารวจ การค้นหาธรรมชาติ ความปลอดภัย บริการ ธงและประเทศต่าง ๆ การฝีมือ กิจกรรมกลางแจง้ การบันเทิง การผูกเง่ือน คาปฏิญาณและกฎของลูกเสือ สารอง เพื่อใหม้ ีความรู้ ความเข้าใจในกิจกรรมลูกเสือสารองดาวดวงท่ี ๑ สามารถปฏิบัติตามคาปฏิญาณ กฎ และ คติพจน์ของลูกเสือสารอง มีนิสัยในการสังเกต จดจา เชื่อฟัง และพ่ึงตนเอง มีความซ่ือสัตย์สุจริต มีระเบียบวินัย และ เห็นอกเห็นใจผู้อ่ืน รู้จักบาเพ็ญตนเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ รจู้ ักทาการฝีมือและฝกึ ฝนทากิจกรรมตา่ ง ๆ ตาม ความเหมาะสม รักษาและส่งเสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรม และความม่ันคงของชาติ และสามารถประยุกต์ใช้ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผลกำรเรียนรู้ ๑. มีนิสัยในการสังเกต จดจา เช่ือฟังและพ่ึงพาตนเองได้ ๒. มคี วามซื่อสตั ย์ สุจริต มรี ะเบยี บวินัยและเหน็ อกเหน็ ใจผู้อืน่ ๓. บาเพญ็ ตนเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ๔. ทาการฝีมอื และฝึกฝนการทากิจกรรมตา่ ง ๆ ตามความเหมาะสม ๕. รกั ษาและสง่ เสริมจารตี ประเพณี วฒั นธรรม ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น และความม่ันคงของชาติ ๖. อนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม ลดภาวะโลกรอ้ น และสามารถประยุกต์ใชป้ รชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งได้ รวมท้ังหมด ๖ ผลกำรเรียนรู้

130 คำอธิบำยรำยวิชำกิจกรรมพัฒนำผ้เู รยี น กิจกรรมนักเรยี น ก๑๒๙๐๒ เตรยี มลูกเสอื สำรองและลกู เสือสำรอง (ดำวดวงท่ี ๒) เวลำ ๔๐ ช่วั โมง ชั้นประถมศกึ ษำปที ่ี ๒ คำอธิบำยรำยวชิ ำ เปิดประชุมกอง ดาเนินการตามกระบวนการของลูกเสือ และจัดกิจกรรมให้ศึกษา วิเคราะห์ วางแผน ปฏิบัติกิจกรรมตามฐานการเรียนรู้ โดยเน้นระบบหมู่ และปฏิบัติตามคาปฏิญาณ คติพจน์ และกฎของลูกเสอื สารอง เรยี นรูจ้ ากการคดิ และปฏิบัตจิ ริง ใช้สญั ลักษณส์ มาชิกลกู เสอื สารองที่มคี วามเป็นเอกลักษณ์ร่วมกัน ศกึ ษาธรรมชาติ ในชมุ ชนด้วยความสนใจ ใฝร่ ู้ ตามวถิ ีเศรษฐกจิ พอเพียง สรปุ ผลและปฏิบัตกิ จิ กรรม ปดิ ประชุมกอง ในเรอ่ื งตอ่ ไปน้ี ลูกเสือสารองดาวดวงท่ี ๒ นิยายเมาคลี ประวัติการเร่ิมกิจการลูกเสือ การทาความเคารพหมู่ (แกรนฮาวล์) การทา ความเคารพเป็นรายบุคคล การจับมือซ้าย ระเบียบแถว คาปฏิญาณ กฎ และคติพจน์ของลูกเสือสารอง อนามัย ความสามารถเชิงทักษะ การสารวจ การค้นหาธรรมชาติ การอนุรักษ์ทรัพยากรในชุมชนท้องถิ่น ความปลอดภัย บริการ การผูกเงอื่ น ธงและประเทศต่าง ๆ การฝีมือท่ีใช้วัสดุเหลือใช้ในท้องถ่ิน กิจกรรมกลางแจ้ง การบันเทิงท่ีส่งเสริมสุขภาพ กาย สขุ ภาพจิต และอนุรักษภ์ มู ปิ ัญญาทอ้ งถิ่น อนรุ กั ษท์ รัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ลดภาวะโลกรอ้ น เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในกิจกรรมลูกเสือสารองดาวดวงที่ ๒ สามารถปฏิบัติตามคาปฏิญาณ กฎและ คติพจน์ของลูกเสือสารอง มีนิสัยในการสังเกต จดจา เช่ือฟัง และพึ่งตนเอง มีความซ่ือสัตย์สุจริต มีระเบียบวินัย และเห็นอกเห็นใจ รู้จักบาเพ็ญตนเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รู้จักทาการฝีมือและฝึกฝนทากิจกรรมต่าง ๆ ตามความเหมาะสม รักษาและส่งเสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สง่ิ แวดล้อม ความม่นั คงของชาติ และสามารถประยุกตใ์ ชป้ รชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ผลกำรเรียนรู้ ๑. มีนสิ ัยในการสงั เกต จดจา เช่ือฟังและพึ่งพาตนเองได้ ๒. มีความซื่อสตั ย์ สุจริต มรี ะเบยี บวนิ ัยและเหน็ อกเห็นใจผู้อ่ืน ๓. บาเพญ็ ตนเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ ๔. ทาการฝมี อื และฝึกฝนการทากิจกรรมตา่ ง ๆ ตามความเหมาะสม ๕. รักษาและสง่ เสรมิ จารตี ประเพณี วัฒนธรรม ภมู ปิ ัญญาท้องถ่ิน และความมน่ั คงของชาติ ๖. อนรุ กั ษท์ รัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม ลดภาวะโลกร้อน และสามารถประยกุ ต์ใช้ปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งได้ รวมท้ังหมด ๖ ผลกำรเรยี นรู้

131 คำอธบิ ำยรำยวิชำกิจกรรมพัฒนำผเู้ รียน กิจกรรมนักเรยี น ก๑๓๙๐๒ เตรยี มลูกเสอื สำรองและลกู เสือสำรอง (ดำวดวงท่ี ๓) เวลำ ๔๐ ช่วั โมง ชั้นประถมศกึ ษำปที ่ี ๓ คำอธิบำยรำยวชิ ำ เปิดประชุมกอง ดาเนินการตามกระบวนการของลูกเสือ และจัดกิจกรรมให้ศึกษา วิเคราะห์ วางแผน ปฏิบัติกิจกรรมตามฐานการเรียนรู้ โดยเน้นระบบหมู่ และปฏิบัติตามคาปฏิญาณ คติพจน์ และกฎของลูกเสอื สารอง เรยี นรูจ้ ากการคดิ และปฏิบัติจริง ใชส้ ัญลักษณส์ มาชิกลกู เสอื สารองท่มี คี วามเป็นเอกลักษณ์ร่วมกัน ศกึ ษาธรรมชาติ ในชมุ ชนด้วยความสนใจ ใฝร่ ู้ ตามวถิ ีเศรษฐกจิ พอเพียง สรุปผลและปฏิบัตกิ ิจกรรม ปดิ ประชุมกอง ในเรอ่ื งตอ่ ไปน้ี ลูกเสือสารองดาวดวงท่ี ๓ นิยายเมาคลี ประวัติการเร่ิมกิจการลูกเสือ การทาความเคารพหมู่ (แกรนฮาวล์) การทา ความเคารพเป็นรายบุคคล การจับมือซ้าย ระเบียบแถว คาปฏิญาณ กฎ และคติพจน์ของลูกเสือสารอง อนามัย ความสามารถเชิงทักษะ การสารวจ การค้นหาธรรมชาติ การอนุรักษ์ทรัพยากรในชุมชนท้องถิ่น ความปลอดภัย บริการ การผูกเงอื่ น ธงและประเทศต่าง ๆ การฝีมือท่ีใช้วสั ดุเหลือใช้ในท้องถ่ิน กิจกรรมกลางแจ้ง การบันเทิงท่ีส่งเสริมสุขภาพ กาย สขุ ภาพจิต และอนุรักษ์ภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่น อนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สง่ิ แวดล้อม ลดภาวะโลกรอ้ น เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในกิจกรรมลูกเสือสารองดาวดวงท่ี ๓ สามารถปฏิบัติตามคาปฏิญาณ กฎและ คติพจน์ของลูกเสือสารอง มีนิสัยในการสังเกต จดจา เช่ือฟัง และพึ่งตนเอง มีความซ่ือสัตย์สุจริต มีระเบียบวินัย และเห็นอกเห็นใจ รู้จักบาเพ็ญตนเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ รู้จักทาการฝีมือและฝึกฝนทากิจกรรมต่าง ๆ ตามความเหมาะสม รักษาและส่งเสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สง่ิ แวดล้อม ความม่นั คงของชาติ และสามารถประยกุ ตใ์ ชป้ รชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ผลกำรเรียนรู้ ๑. มีนสิ ัยในการสังเกต จดจา เชอื่ ฟงั และพึ่งพาตนเองได้ ๒. มีความซื่อสตั ย์ สจุ ริต มรี ะเบยี บวนิ ัยและเหน็ อกเห็นใจผู้อน่ื ๓. บาเพญ็ ตนเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ ๔. ทาการฝมี อื และฝึกฝนการทากิจกรรมตา่ ง ๆ ตามความเหมาะสม ๕. รักษาและสง่ เสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรม ภมู ปิ ัญญาท้องถิ่น และความมน่ั คงของชาติ ๖. อนรุ กั ษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม ลดภาวะโลกรอ้ น และสามารถประยกุ ต์ใช้ปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งได้ รวมท้ังหมด ๖ ผลกำรเรยี นรู้

132 คำอธิบำยรำยวชิ ำกิจกรรมพัฒนำผเู้ รยี น กิจกรรมนกั เรียน ก๑๔๙๐๒ ลกู เสือสำมัญ (ลกู เสือตร)ี เวลำ ๔๐ ช่วั โมง ช้นั ประถมศกึ ษำปที ี่ ๔ คำอธิบำยรำยวิชำ เปิดประชุมกอง ดาเนินการตามกระบวนการของลูกเสือ และจัดกิจกรรมโดยให้ศึกษา วิเคราะห์ วางแผน ปฏิบตั ิกิจกรรมตามฐานการเรียนรู้ โดยเน้นระบบหมู่ และปฏิบัติกิจกรรมตามคาปฏิญาณ คติพจน์ และกฎของลูกเสือสามัญ เรยี นรจู้ ากการคิดและปฏิบัตจิ ริง ใช้สญั ลักษณ์สมาชิกลกู เสอื สามัญท่ีมคี วามเป็นเอกลกั ษณร์ ว่ มกนั ศกึ ษาธรรมชาติ ในชมุ ชนดว้ ยความสนใจ ใฝ่รู้ ตามวิถเี ศรษฐกจิ พอเพยี ง สรุปผลและปฏบิ ัติกจิ กรรม ปดิ ประชมุ กอง ในเร่อื งตอ่ ไปน้ี ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการลูกเสือ ประวัติของลอร์ด เบเดน โพเอลล์ (Load Baden Powell ; B.P.) พระราช ประวตั สิ ังเขปของพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอย่หู วั วิวัฒนาการของกระบวนการลูกเสือไทยและลูกเสือโลก การทาความเคารพ การแสดงรหัส การจับมอื ซ้าย กจิ กรรมกลางแจ้ง ระเบียบแถว ทา่ มอื เปลา่ ทา่ ถอื ไม้พลอง การ ใช้สัญญาณมือและนกหวีด การต้ังแถวและการเรียกแถว การใช้ทักษะในทางวิชาลูกเสือ การรู้จักดูแลตนเอง การ ชว่ ยเหลือผ้อู ่ืน การเดนิ ทางไปยงั สถานทตี่ ่าง ๆ การทางานอดเิ รกและเร่ืองที่สนใจ เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในกิจกรรมลูกเสือสามัญ สามารถปฏิบัติตามคาปฏิญาณ กฎ และคติพจน์ของ ลูกเสือสามัญ มีนิสัยในการสังเกต จดจา เชื่อฟังและพ่ึงตนเอง มคี วามซ่ือสัตย์สุจรติ มีระเบียบวินัย และเห็นอกเห็นใจ ผ้อู ่นื บาเพ็ญตนเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ ทาการฝีมือและฝึกฝนการทากจิ กรรมต่าง ๆ ตามความเหมาะสม ความถนัด และความสนใจ รักษาและส่งเสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรมและความมั่นคงของชาติ และสามารถ ประยุกต์ใชป้ รัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผลกำรเรียนรู้ ๑. มนี สิ ยั ในการสงั เกต จดจา เชอื่ ฟงั และพึ่งพาตนเองได้ ๒. มีความซื่อสัตย์ สุจริต มรี ะเบียบวินยั และเห็นอกเหน็ ใจผู้อ่ืน ๓. บาเพญ็ ตนเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ ๔. ทาการฝมี อื และฝกึ ฝนการทากจิ กรรมต่าง ๆ ตามความเหมาะสม ๕. รักษาและส่งเสริมจารีตประเพณี วฒั นธรรม ภูมิปญั ญาท้องถ่ิน และความม่นั คงของชาติ ๖. อนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม ลดภาวะโลกร้อน และสามารถประยุกต์ใช้ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งได้ รวมทั้งหมด ๖ ผลกำรเรยี นรู้

133 คำอธบิ ำยรำยวชิ ำกิจกรรมพัฒนำผูเ้ รยี น กิจกรรมนักเรียน ก๑๕๙๐๒ ลูกเสือสำมญั (ลกู เสือโท) เวลำ ๔๐ ชวั่ โมง ชัน้ ประถมศกึ ษำปที ่ี ๕ คำอธิบำยรำยวิชำ เปิดประชุมกอง ดาเนินการตามกระบวนการของลูกเสือ และจัดกิจกรรมโดยให้ศึกษา วิเคราะห์ วางแผน ปฏิบัติกิจกรรมตามฐานการเรียนรู้ โดยเน้นระบบหมู่ และปฏิบัตกิ ิจกรรมตามคาปฏิญาณ คติพจน์ และกฎของลูกเสือสามัญ เรยี นรู้จากการคดิ และปฏิบัติจริง ใชส้ ญั ลักษณ์สมาชิกลูกเสอื สามญั ที่มคี วามเป็นเอกลกั ษณ์รว่ มกัน ศกึ ษาธรรมชาติ ในชมุ ชนด้วยความสนใจ ใฝร่ ู้ ตามวถิ ีเศรษฐกจิ พอเพียง สรุปผลและปฏิบัติกจิ กรรม ปดิ ประชุมกอง ในเร่ืองตอ่ ไปนี้ ความรู้เก่ียวกับกระบวนการลูกเสือ ประวัติของลอร์ด เบเดน โพเอลล์ (Load Baden Powell ; B.P.) พระราช ประวตั สิ ังเขปของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยู่หัว ววิ ัฒนาการของกระบวนการลกู เสอื ไทยและลูกเสือโลก การทาความเคารพ การแสดงรหัส การจับมือซ้าย กิจกรรมกลางแจ้ง ระเบยี บแถว ท่ามอื เปลา่ ทา่ ถือไมพ้ ลอง การ ใช้สัญญาณมือและนกหวีด การต้ังแถวและการเรียกแถว การใช้ทักษะในทางวิชาลูกเสือ การรู้จักดูแลตนเอง การ ชว่ ยเหลือผอู้ ่ืน การเดินทางไปยงั สถานที่ตา่ ง ๆ การทางานอดิเรกและเรอื่ งทส่ี นใจ เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจในกิจกรรมลูกเสือสามัญ สามารถปฏิบัติตามคาปฏิญาณ กฎ และคติพจน์ของ ลูกเสือสามัญ มีนิสัยในการสังเกต จดจา เชื่อฟงั และพึ่งตนเอง มคี วามซื่อสัตย์สุจรติ มีระเบียบวินัย และเห็นอกเห็นใจ ผ้อู ่ืน บาเพ็ญตนเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน์ ทาการฝมี ือและฝกึ ฝนการทากจิ กรรมตา่ ง ๆ ตามความเหมาะสม ความถนัด และความสนใจ รักษาและส่งเสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรมและความม่ันคงของชาติ และสามารถ ประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ผลกำรเรียนรู้ ๑. มีนสิ ยั ในการสังเกต จดจา เชือ่ ฟงั และพึ่งพาตนเองได้ ๒. มีความซ่อื สตั ย์ สุจริต มรี ะเบยี บวินัยและเห็นอกเหน็ ใจผู้อนื่ ๓. บาเพ็ญตนเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ ๔. ทาการฝมี อื และฝกึ ฝนการทากิจกรรมตา่ ง ๆ ตามความเหมาะสม ๕. รกั ษาและสง่ เสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรม ภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ และความม่นั คงของชาติ ๖. อนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม ลดภาวะโลกร้อน และสามารถประยุกต์ใช้ปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพียงได้ รวมทั้งหมด ๖ ผลกำรเรยี นรู้

134 คำอธิบำยรำยวชิ ำกจิ กรรมพฒั นำผู้เรียน กจิ กรรมนักเรยี น ก๑๖๙๐๒ ลกู เสือสำมัญ (ลูกเสอื เอก) เวลำ ๔๐ ชว่ั โมง ช้ันประถมศกึ ษำปีท่ี ๖ คำอธบิ ำยรำยวิชำ เปิดประชุมกอง ดาเนินการตามกระบวนการของลูกเสือ และจัดกิจกรรมโดยให้ศึกษา วิเคราะห์ วางแผน ปฏิบัติกิจกรรมตามฐานการเรียนรู้ โดยเน้นระบบหมู่ และปฏบิ ัตกิ ิจกรรมตามคาปฏิญาณ คติพจน์ และกฎของลูกเสือสามัญ เรยี นรจู้ ากการคดิ และปฏิบตั ิจริง ใช้สัญลักษณ์สมาชิกลูกเสือสามญั ท่ีมคี วามเป็นเอกลักษณร์ ่วมกัน ศกึ ษาธรรมชาติ ในชมุ ชนด้วยความสนใจ ใฝ่รู้ ตามวิถีเศรษฐกจิ พอเพยี ง สรุปผลและปฏิบตั ิกิจกรรม ปิดประชุมกอง ในเรอ่ื งต่อไปนี้ ความรู้เก่ียวกับกระบวนการลูกเสือ ประวัติของลอร์ด เบเดน โพเอลล์ (Load Baden Powell ; B.P.) พระราช ประวตั ิสังเขปของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจา้ อยูห่ วั วิวัฒนาการของกระบวนการลกู เสอื ไทยและลูกเสือโลก การทาความเคารพ การแสดงรหัส การจับมอื ซ้าย กิจกรรมกลางแจ้ง ระเบียบแถว ทา่ มอื เปลา่ ทา่ ถือไมพ้ ลอง การ ใช้สัญญาณมือและนกหวีด การต้ังแถวและการเรียกแถว การใช้ทักษะในทางวิชาลูกเสือ การรู้จักดูแลตนเอง การ ชว่ ยเหลือผู้อนื่ การเดนิ ทางไปยงั สถานท่ตี ่าง ๆ การทางานอดเิ รกและเร่ืองทีส่ นใจ เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจในกิจกรรมลูกเสือสามัญ สามารถปฏิบัติตามคาปฏิญาณ กฎ และคติพจน์ของ ลกู เสือสามัญ มีนิสยั ในการสังเกต จดจา เชื่อฟงั และพึ่งตนเอง มีความซื่อสัตย์สุจรติ มีระเบียบวินัย และเห็นอกเห็นใจ ผ้อู ่นื บาเพ็ญตนเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน์ ทาการฝมี ือและฝึกฝนการทากิจกรรมต่าง ๆ ตามความเหมาะสม ความถนัด และความสนใจ รักษาและส่งเสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรมและความม่ันคงของชาติ และสามารถ ประยกุ ตใ์ ชป้ รัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ผลกำรเรยี นรู้ ๑. มีนสิ ยั ในการสงั เกต จดจา เชือ่ ฟงั และพึ่งพาตนเองได้ ๒. มีความซื่อสตั ย์ สจุ รติ มีระเบยี บวินัยและเห็นอกเหน็ ใจผู้อน่ื ๓. บาเพ็ญตนเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ ๔. ทาการฝมี ือและฝกึ ฝนการทากิจกรรมต่าง ๆ ตามความเหมาะสม ๕. รกั ษาและสง่ เสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรม ภมู ิปญั ญาทอ้ งถน่ิ และความม่นั คงของชาติ ๖. อนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม ลดภาวะโลกร้อน และสามารถประยกุ ต์ใชป้ รัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงได้ รวมท้ังหมด ๖ ผลกำรเรยี นรู้

คำอธบิ ำยรำยวิชำกจิ กรรมพฒั นำผเู้ รยี น 135 กิจกรรมชุมนมุ กจิ กรรมนกั เรียน ช้ันประถมศึกษำปที ่ี ๑-๖ เวลำ ๓๐ ช่วั โมง คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ ปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ ความถนัด และความต้องการ เพ่ือพัฒนาความรู้ ความสามารถด้านการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ ให้เกิดประสบการณ์ท้ังด้านวิชาการและพ้ืนฐานอาชีพ ทักษะชีวิต และสังคม ตามศักยภาพ อย่างรอบด้าน เพ่ือความเป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ มีความสามารถในการส่ือสาร มีทักษะการคิด แก้ปัญหา ความสามารถ ในการใช้เทคโนโลยี พัฒนาทักษะในการทางานและการอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข รักในสถาบัน ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ มีความซ่ือสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน ดารงชีวิตอย่างพอเพียง มีความมุ่งมั่น ในการทางาน รกั ความเป็นไทย และมจี ิตสาธารณะ เพื่อให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ ความถนัด และความต้องการของตน ได้พัฒนาความรู้ ความสามารถด้านการคิดวเิ คราะห์ สังเคราะห์ ให้เกิดประสบการณ์ ท้ังทกั ษะทางวชิ าการ ทกั ษะอาชพี ทักษะชีวิต และสังคมตามศักยภาพ ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและส่วนรวม คิดเป็น ทาได้ ทางานร่วมกับผู้อ่ืนได้ ตามวถิ ีประชาธิปไตย และประยุกตห์ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างเหมาะสม โรงเรียนบ้านซับจาปา ได้กาหนดกิจกรรมชุมนุมท่ีเหมาะสมกับบริบทของโรงเรียนและสอดคล้องตาม จุดเน้นของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา เพ่ือให้นักเรียนเลือกเข้าตามความถนัดและความสนใจ โดยให้มีผลการ เรยี นร้ตู ามทีช่ มุ นมุ นนั้ ๆ กาหนด

136 กจิ กรรมเพื่อสังคม และสำธำรณประโยชน์

137 คำอธิบำยรำยวิชำกจิ กรรมพฒั นำผู้เรยี น กิจกรรมเพ่อื สงั คมและสำธำรณประโยชน์ กจิ กรรมพฒั นำผู้เรียน ชัน้ ประถมศึกษำปีที่ ๑-๖ เวลำ ๑๐ ชว่ั โมง คำอธิบำยรำยวิชำ ฝึกปฏิบัติกิจกรรมด้วยความสมัครใจผ่านกิจกรรมที่หลากหลาย ฝึกการทางานท่ีสอดคล้องกับชีวิตจริง ตลอดจนสะท้อนความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ สารวจและใช้ข้อมูลประกอบการวางแผนอย่างเป็นระบบ เน้นทักษะการคิดวิเคราะห์ และใช้ความคิดสร้างสรรค์ การบริการด้านต่าง ๆ ท่ีเป็นประโยชน์ต่อตนเองและส่วนรวม เสริมสร้างความมีน้าใจ เอื้ออาทร ความเป็นพลเมืองดีและความรับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว และสังคม คิดออกแบบกิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ในลักษณะอาสาสมัคร จิตอาสา เพื่อแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม ตามแนวทางวถิ ีชวี ิตเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้ผู้เรียนบาเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อครอบครัว โรงเรียน ชุมชน สังคม และประเทศชาติ สามารถออกแบบการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์อย่างสรา้ งสรรค์ ตามความถนดั และความสนใจ ในลกั ษณะอาสาสมัคร พัฒนาศกั ยภาพตนเองในการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ เพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ จนเกิดคุณธรรม จริยธรรม ตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีจิตสาธารณะ และใชเ้ วลาวา่ งให้เกดิ ประโยชน์ และสามารถประยุกตใ์ ชห้ ลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงได้ ผลกำรเรยี นรู้ ๑. บาเพญ็ ตนใหเ้ ปน็ ประโยชนต์ อ่ ครอบครวั โรงเรยี น ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ๒. ออกแบบการจัดกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์อย่างสร้างสรรค์ ตามความถนัดและความ สนใจ ในลกั ษณะอาสาสมัคร ๓. สามารถพฒั นาศกั ยภาพในการจดั กิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชนไ์ ด้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ ๔. ปฏิบัติกิจการเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์จนเกิดคุณธรรม จริยธรรม ตามคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ๕. สามารถประยุกต์ใช้หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งได้ รวมทั้งหมด ๕ ผลกำรเรยี นรู้

138 เกณฑ์การจบการศกึ ษา หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านซับจาปา พุทธศักราช ๒๕๖๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศักราช๒๕๖๐) กาหนดเกณฑส์ าหรบั การจบการศกึ ษา ไวด้ งั น้ี เกณฑก์ ารจบระดบั ประถมศกึ ษา ๑. ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติมตามที่กาหนด และมีผลการประเมินรายวิชา พืน้ ฐานผา่ นทกุ รายวิชา ๒. ผเู้ รียนตอ้ งมผี ลการประเมนิ การอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขยี น ระดบั “ผ่าน” ขน้ึ ไป ๓. ผเู้ รียนมผี ลการประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ระดบั “ผา่ น” ข้นึ ไป ๔. ผู้เรียนต้องเข้าร่วมกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี นและได้รบั การตัดสนิ ผลการเรียน “ผ่าน” ทุกกิจกรรม การจัดการเรยี นรู้ การจัดการเรียนรู้เป็นกระบวนการสาคัญในการนาหลักสูตรสู่การปฏิบัติ หลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน เป็นหลักสูตรที่มีมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน เปน็ เป้าหมายสาหรบั พัฒนาเด็กและเยาวชน ในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณสมบัติตามเป้าหมายหลักสูตร ผู้สอนพยายามคัดสรรกระบวนการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้โดยช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ผ่านสาระท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตร ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ รวมทั้งปลูกฝัง เสรมิ สร้างคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ พฒั นาทักษะตา่ ง ๆ อันเป็นสมรรถนะสาคัญให้ผเู้ รยี นบรรลุตามเปา้ หมาย ๑. หลกั การจดั การเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู้สมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยยึดหลักว่า ผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด เชื่อว่าทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ยึดประโยชน์ท่ีเกิดกับผู้เรียน กระบวนการจัดการเรียนรู้ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียน สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ คานึงถึง ความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคลและพัฒนาการทางสมอง เนน้ ให้ความสาคญั ทั้งความรู้ และคุณธรรม ๒. กระบวนการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ผู้เรียนจะต้องอาศัยกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย เป็นเครื่องมือท่ีจะนาพาตนเองไปสู่เป้าหมายของหลักสูตร โดยกระบวนการเรียนรู้ท่ีจาเป็นสาหรับผู้เรียน อาทิ กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการทางสงั คม กระบวนการ เผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง กระบวนการปฏิบัติ ลงมือทาจริง กระบวนการจัดการ กระบวนการวิจัย กระบวนการเรยี นรกู้ ารเรยี นรู้ของตนเอง กระบวนการพัฒนาลักษณะนสิ ัย กระบวนการเหล่านี้ จัดเป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนควรได้รับการฝึกฝนและพัฒนา เพราะจะสามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี บรรลุเป้าหมายของหลักสูตร ดังน้ัน ผู้สอนจึงจาเป็นต้องศึกษา ทาความเขา้ ใจในกระบวนการเรียนรูต้ า่ ง ๆ เพ่ือให้สามารถเลือกใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธภิ าพ

139 ๓. การออกแบบการจดั การเรยี นรู้ ผู้สอนต้องศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาให้เข้าใจถึงมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สมรรถนะสาคัญ ของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสาระการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน แล้วจึงจะพิจารณาออกแบบ การจัดการเรียนรู้โดยเลือกใช้วิธีสอนและเทคนิคการสอน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เพื่อให้ผู้เรียน ไดพ้ ฒั นาเตม็ ตามศักยภาพ และบรรลุตามเป้าหมายทก่ี าหนด ๔. บทบาทของผู้สอนและผ้เู รยี น การจัดการเรียนรู้เพ่ือให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามเป้าหมายของหลักสูตร ท้งั ผู้สอนและผู้เรียนควรมีบทบาท ดังน้ี ๔.๑ บทบาทของผสู้ อน ๑) ศึกษาวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล แล้วนาข้อมูลมาใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ ท่ที ้าทายความสามารถของผู้เรียน ๒) กาหนดเป้าหมายที่ต้องการให้เกิดขึน้ กบั ผ้เู รียน ด้านความรู้และทักษะกระบวนการ ในท่ีเป็น ความคิดรวบยอด หลักการ และความสมั พนั ธ์ รวมทงั้ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ๓) ออกแบบการเรียนรู้และจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการ ทางสมอง เพื่อนาผู้เรยี นไปส่เู ปา้ หมาย ๔) จัดบรรยากาศท่ีเออ้ื ตอ่ การเรียนรู้ และดแู ลช่วยเหลอื ผเู้ รยี นให้เกิดการเรียนรู้ ๕) จัดเตรียมและเลือกใช้ส่ือให้เหมาะสมกบั กิจกรรม นาภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน เทคโนโลยที ี่เหมาะสม มาประยกุ ต์ใช้ในการจดั การเรียนการสอน ๖) ประเมินความก้าวหน้าของผู้เรียนด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย เหมาะสมกับธรรมชาติของวิชา และระดบั พฒั นาการของผเู้ รยี น ๗) วิเคราะห์ผลการประเมินเพื่อนามาใช้ในการซ่อมเสริมและพัฒนาผู้เรียน รวมทั้งปรับปรุง การจัดการเรยี นการสอนของตนเอง ๔.๒ บทบาทของผู้เรยี น ๑) กาหนดเป้าหมาย วางแผน และรับผิดชอบการเรียนรขู้ องตนเอง ๒) เสาะแสวงหาความรู้ เข้าถึงแหล่งการเรียนรู้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ข้อความรู้ ตั้งคาถาม คิดหาคาตอบหรอื หาแนวทางแกป้ ัญหาด้วยวธิ กี ารต่าง ๆ ๓) ลงมือปฏิบัติจริง สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยตนเอง และนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ ตา่ ง ๆ ๔) มีปฏสิ มั พนั ธ์ ทางาน ทากิจกรรมรว่ มกับกล่มุ และครู ๕) ประเมนิ และพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของตนเองอย่างตอ่ เนื่อง

140 ส่ือการเรยี นรู้ สื่อการเรียนรู้เป็นเครื่องมือส่งเสริมสนับสนุนการจัดการกระบวนการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนเข้าถึงความรู้ ทกั ษะกระบวนการ และคุณลักษณะตามมาตรฐานของหลักสตู รได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ ส่ือการเรยี นรู้มหี ลากหลาย ประเภท ทั้งสื่อธรรมชาติ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยี และเครือข่ายการเรียนรู้ต่าง ๆ ท่ีมีในท้องถิ่น การเลือกใช้ส่ือ ควรเลอื กใหม้ ีความเหมาะสมกบั ระดับพฒั นาการ และลลี าการเรียนรู้ทห่ี ลากหลายของผเู้ รียน การจัดหาส่ือการเรียนรู้ ผู้เรียนและผู้สอนสามารถจัดทาและพัฒนาข้ึนเอง หรือปรับปรุงเลือกใช้อย่างมี คุณภาพจากสื่อต่าง ๆ ท่ีมีอยู่รอบตัว เพ่ือนามาใช้ประกอบในการจัดการเรียนรู้ที่สามารถส่งเสริมและสื่อสารให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยสถานศึกษาควรจัดให้มีอย่างพอเพียง เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง สถานศึกษา เขตพืน้ ที่การศกึ ษา หน่วยงานท่ีเกีย่ วข้อง และผู้มีหน้าทจ่ี ัดการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานควรดาเนินการ ดงั นี้ ๑. จัดให้มีแหล่งการเรียนรู้ ศูนย์สื่อการเรียนรู้ ระบบสารสนเทศการเรียนรู้ และเครือข่ายการเรียนรู้ที่มี ประสิทธิภาพ ทั้งในสถานศึกษาและในชุมชน เพื่อการศึกษาค้นคว้าและการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนรู้ ระหว่างสถานศึกษา ทอ้ งถน่ิ ชมุ ชน สงั คมโลก ๒. จัดทาและจดั หาสอื่ การเรยี นรู้สาหรับการศกึ ษาคน้ คว้าของผ้เู รียน เสรมิ ความรู้ให้ผสู้ อน รวมทงั้ จัดหา สง่ิ ทม่ี อี ยใู่ นท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้เป็นส่อื การเรียนรู้ ๓. เลือกและใช้ส่ือการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพ มีความเหมาะสม มีความหลากหลาย สอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้ ธรรมชาตขิ องสาระการเรียนรู้ และความแตกต่างระหว่างบคุ คลของผเู้ รียน ๔. ประเมนิ คณุ ภาพของสอื่ การเรยี นรู้ทเ่ี ลือกใช้อยา่ งเป็นระบบ ๕. ศกึ ษาคน้ ควา้ วจิ ัย เพื่อพฒั นาสอ่ื การเรียนรใู้ หส้ อดคล้องกบั กระบวนการเรียนร้ขู องผู้เรยี น ๖. จัดให้มีการกากับ ติดตาม ประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพเก่ียวกับสื่อ และการใช้สื่อการเรียนรู้ เป็นระยะ ๆ และสม่าเสมอ ในการจัดทา การเลือกใช้ และการประเมินคุณภาพส่ือการเรียนรู้ที่ใช้ในสถานศึกษา ควรคานึงถึงหลักการสาคัญของ ส่ือการเรียนรู้ เช่น ความสอดคล้องกับหลักสูตร วัตถุประสงค์การเรียนรู้ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ การจัด ประสบการณ์ให้ผู้เรียน เน้ือหามคี วามถกู ต้องและทันสมัย ไมก่ ระทบความมน่ั คงของชาติ ไมข่ ัดตอ่ ศลี ธรรมมีการใช้ ภาษาท่ถี ูกตอ้ ง รปู แบบการนาเสนอที่เขา้ ใจงา่ ยและนา่ สนใจ การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ของผู้เรียน ต้องอยู่บนหลักการพ้ืนฐานสองประการคือ การประเมินเพื่อ พัฒนาผู้เรียน และเพื่อตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนให้ประสบผลสาเร็จนั้น ผู้เรียน จะต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัด เพื่อให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ซึ่งเป็นเป้าหมายหลักในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในทุกระดับ ไม่ว่าจะเป็นระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับชาติ การวัดและประเมินผล การเรียนรู้ เป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โดยใช้ผลการประเมินเป็นข้อมูลและสารสนเทศที่แสดงพัฒนาการ ความก้าวหน้า และความสาเร็จทางการเรียนของผู้เรียน ตลอดจนข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์ต่อการส่งเสริมให้ผู้เรียน เกดิ การพฒั นา และเรยี นรอู้ ยา่ งเต็มตามศกั ยภาพ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ แบ่งออกเปน็ ๔ ระดบั ประกอบดว้ ย ระดับชน้ั เรยี น ระดบั สถานศึกษา ระดับเขตพน้ื ที่การศกึ ษา และระดับชาติ โดยมีรายละเอยี ดดังนี้ ๑. การประเมินระดับชั้นเรียน เป็นการวัดและประเมินผลท่ีอยู่ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ ครูผู้สอน ดาเนินการเป็นปกติและสม่าเสมอ ในการจัดการเรียนการสอน ใช้เทคนิคการประเมินอย่างหลากหลาย เช่น การซักถาม การสังเกต การตรวจการบ้าน การประเมินโครงงาน การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน แฟ้มสะสมงาน

141 การใช้แบบทดสอบ ฯลฯ โดยผู้สอนเป็นผปู้ ระเมินเองหรือเปิดโอกาสให้ผู้เรียนประเมินตนเอง เพ่ือนประเมนิ เพ่ือน ผูป้ กครองรว่ มประเมนิ ในกรณีทไี่ ม่ผา่ นตัวช้ีวดั ใหม้ กี ารสอนซอ่ มเสรมิ การประเมินระดับชั้นเรียนเป็นการตรวจสอบว่า ผู้เรียนมีพัฒนาการความก้าวหน้าในการเรียนรู้อันเป็นผล มาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม่ และมากน้อยเพียงใด มีส่ิงที่จะต้องได้รับการพัฒนาปรับปรุงและ ส่งเสริมในด้านใด นอกจากน้ียงั เป็นข้อมูลให้ผู้สอนใช้ปรับปรงุ การเรียนการสอนของตนด้วย ท้ังน้ีโดยสอดคล้องกับ มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวชว้ี ดั ๒. การประเมินระดับสถานศึกษา เป็นการประเมินที่สถานศึกษาดาเนินการเพื่อตัดสินผลการเรียน ของผู้เรียนเป็นรายปี/รายภาค ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน นอกจากนี้เพ่ือให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ว่าส่งผลต่อการเรียนรู้ ของผู้เรียนตามเป้าหมายหรือไม่ ผู้เรียนมีจุดพัฒนาในด้านใด รวมท้ังสามารถนาผลการเรียนของผู้เรียนในสถานศึกษา เปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติ ผลการประเมินระดับสถานศึกษาจะเป็นข้อมูลและสารสนเทศเพื่อการปรับปรุง นโยบาย หลกั สตู ร โครงการ หรอื วิธกี ารจดั การเรียนการสอน ตลอดจนเพอ่ื การจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ของสถานศึกษาตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษา และการรายงานผลการจัดการศึกษาต่อคณะกรรมการ สถานศึกษา สานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ผู้ปกครองและชมุ ชน ๓. การประเมินระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน เพ่ือใช้เป็นข้อมูลพ้ืนฐานในการพัฒนา คุณภาพการศึกษาของเขตพื้นท่ีการศึกษา ตามภาระความรับผิดชอบ สามารถดาเนินการโดยประเมินคุณภาพ ผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียนด้วยข้อสอบมาตรฐานที่จัดทา และดาเนินการโดยเขตพ้ืนที่การศึกษา หรือด้วยความร่วมมือ กบั หน่วยงานต้นสังกัดในการดาเนินการจัดสอบ นอกจากนี้ยังได้จากการตรวจสอบทบทวนข้อมลู จากการประเมิน ระดับสถานศึกษาในเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษา ๔. การประเมินระดับชาติ เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรียนทุกคนที่เรียนในช้ันประถมศึกษาปีที่ ๓ ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๖ เข้ารับการประเมิน ผลจากการประเมินใช้เป็นข้อมูลในการเทียบเคียงคุณภาพการศึกษา ในระดับต่าง ๆ เพื่อนาไปใช้ในการวางแผนยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ตลอดจนเป็นข้อมูลสนับสนุน การตัดสนิ ใจในระดับนโยบายของประเทศ ข้อมูลการประเมนิ ในระดับต่าง ๆ ขา้ งต้น เป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษาในการตรวจสอบ ทบทวนพัฒนา คุณภาพผู้เรียน ถือเป็นภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาท่ีจะต้องจัดระบบดูแลช่วยเหลือ ปรับปรุงแก้ไข ส่งเสริมสนับสนุน เพ่ือให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพบนพื้นฐานความแตกต่างระหว่างบุคคล ท่ีจาแนกตาม สภาพปัญหาและความต้องการ ได้แก่ กลุ่มผู้เรียนทั่วไป กลุ่มผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษ กลุ่มผู้เรียนท่ีมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนตา่ กลุ่มผู้เรียนที่มีปัญหาด้านวินยั และพฤติกรรม กลุ่มผเู้ รียนที่ปฏิเสธโรงเรียน กลุ่มผู้เรียนท่ีมีปัญหา ทางเศรษฐกิจและสังคม กลุ่มพิการทางร่างกายและสติปัญญา เป็นต้น ข้อมูลจากการประเมินจึงเป็นหัวใจของ สถานศึกษา ในการดาเนินการช่วยเหลือผู้เรียนได้ทันท่วงที เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาและ ประสบความสาเรจ็ ในการเรียน สถานศึกษาในฐานะผู้รับผิดชอบจัดการศึกษา จะต้องจัดทาระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการ เรียนของสถานศึกษา ให้สอดคล้องและเป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติ ท่ีเป็นข้อกาหนดของหลักสูตร แกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน เพอื่ ให้บคุ ลากรทีเ่ กย่ี วขอ้ งทกุ ฝา่ ยถือปฏบิ ัตริ ่วมกัน

142 เกณฑ์การวดั และประเมนิ ผลการเรยี น ๑. การตดั สนิ การใหร้ ะดับ และการรายงานผลการเรยี น ๑.๑ การตัดสนิ ผลการเรยี น ในการตัดสินผลการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ และกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี นนัน้ ผู้สอนต้องคานึงถึงการพฒั นาผเู้ รียนแต่ละคนเป็นหลัก และต้องเก็บ ข้อมูลของผู้เรียนทุกด้านอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่องในแต่ละภาคเรียน รวมทั้งสอนซ่อมเสริมผู้เรียนให้พัฒนา จนเต็มตามศักยภาพ ระดับประถมศึกษา (๑) ผเู้ รยี นตอ้ งมเี วลาเรียนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นท้ังหมด (๒) ผู้เรียนตอ้ งได้รับการประเมนิ ทกุ ตวั ชว้ี ดั และผา่ นตามเกณฑท์ สี่ ถานศึกษากาหนด (๓) ผู้เรยี นต้องได้รับการตดั สินผลการเรยี นทุกรายวิชา (๔) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมิน และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด ในการอ่าน คดิ วิเคราะห์และเขียน คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น การพิจารณาเลื่อนช้ัน ถ้าผู้เรียนมีข้อบกพร่องเพียงเล็กน้อย และสถานศึกษาพิจารณาเห็นว่า สามารถพัฒนาและสอนซ่อมเสริมได้ ให้อยู่ในดุลพินิจของสถานศึกษาท่ีจะผ่อนผันให้เลื่อนชั้นได้ แต่หากผู้เรียน ไม่ผ่านรายวิชาจานวนมาก และมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรียนในระดับช้ันท่ีสูงข้ึน สถานศึกษาอาจตั้ง คณะกรรมการพิจารณาใหเ้ รียนซา้ ชัน้ ได้ ทั้งนใี้ หค้ านึงถึงวฒุ ภิ าวะและความร้คู วามสามารถของผู้เรียนเป็นสาคัญ ๑.๒ การให้ระดับผลการเรยี น ระดับประถมศึกษา ในการตดั สินเพอ่ื ใหร้ ะดบั ผลการเรยี นรายวิชา การตดั สินผลการเรยี นรายวชิ า ของกล่มุ สาระการเรยี นรู้ ใหใ้ ชร้ ะฉฉตัวเลข แสดงระดัฉการเรยี นในแต่ละกลมุ่ สาระ ดงั น้ี ระดบั ผลกำรเรียน ควำมหมำย ชว่ งคะแนนร้อยละ ๔ ผลกำรเรยี นดีเย่ยี ม 80-100 ๓.๕ ผลกำรเรยี นดีมำก 75-79 ๓ ผลกำรเรียนดี 70-75 ๒.๕ ผลกำรเรียนคอ่ นขำ้ งดี 65-69 ๒ ผลกำรเรียนนำ่ พอใจ 60-64 ๑.๕ ผลกำรเรยี นพอใช้ 55-59 ๑ ผลกำรเรยี นผ่ำนเกณฑข์ น้ั ต่ำ 50-55 ๐ ผลกำรเรียนต่ำกว่ำเกณฑ์ 0-49 กำรประเมินกำรอ่ำน คดิ วเิ ครำะห์ และเขยี น เป็นแฉฉผ่านและไม่ผา่ น ถ้ากรณีท่ผี ่าน กาหนด เกณฑ์การตัดสินเป็นดีเยย่ี ม ดี และผา่ น ดเี ย่ยี ม หมายถึง มีผลงานทแี่ สดงถึงความสามารถในการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียนทีม่ ีคุณภาพ ดเี ลศิ อยู่เสมอ ดี หมายถึง มผี ลงานท่ีแสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี นที่มีคณุ ภาพเป็นท่ี ยอมรฉั

143 ผา่ น หมายถงึ มผี ลงานท่ีแสดงถึงความสามารถในการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขยี น ทมี่ คี ุณภาพ เปน็ ทีย่ อมรัฉ แต่ยงั มขี ้อฉกพร่องฉางประการ ไม่ผา่ น หมายถงึ ไมม่ ผี ลงานท่ีแสดงถงึ ความสามารถในการอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขียน หรือถา้ มผี ลงาน ผลงานน้นั ยงั มีขอ้ ฉกพร่องท่ีต้องไดร้ ัฉการปรัฉปรุงแกไ้ ขหลายประการ กำรประเมนิ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ รวมทุกคณุ ลกั ษณะเพ่อื การเลอ่ื นช้นั และจฉการศกึ ษาเป็น แฉฉผา่ นและไมผ่ า่ น ถ้ากรณีทผี่ ่าน กาหนดเกณฑ์การตดั สินเป็นดีเยี่ยม ดี และผา่ น มีความหมายของแต่ละ ระดัฉ ดงั น้ี ดเี ยีย่ ม หมายถงึ ผู้เรยี นปฏฉิ ัติตนตามคุณลกั ษณะจนเปน็ นิสัย และนาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวันเพ่ือ ประโยชนส์ ุขของตนเองและสังคม โดยพิจารณาจากผลการประเมินระดฉั ดีเยย่ี ม จานวน ๕-๘ คุณลักษณะ และ ไม่มีคณุ ลกั ษณะใดไดผ้ ลการประเมนิ ตา่ กว่าระดฉั ดี ดี หมายถงึ ผเู้ รยี นมคี ณุ ลักษณะในการปฏฉิ ัติตามกฎเกณฑ์ เพื่อให้เป็นการยอมรฉั ของสงั คม โดยพจิ ารณาจาก ๑(ไดผ้ ลการประเมนิ ระดบั ดเี ยี่ยมจานวน 1- ๔ คุณลกั ษณะ และไมม่ ีคณุ ลักษณะใดได้ผลการ ประเมนิ ตา่ กวา่ ระดับดี หรือ 2) ได้ผลการประเมนิ ระดบั ดี เย่ียมจานวน ๔ คุณลักษณะ และไมม่ ีคุณลกั ษณะใดไดผ้ ลการ ประเมินต่ากวา่ ระดับผา่ นหรือ 3) ได้ผลการประเมนิ ระดบั ดี จานวน 5-8 คณุ ลักษณะ และไมม่ คี ุณลกั ษณะใดได้ผลการ ประเมินต่ากว่าระดับผ่าน ผา่ น หมายถึง ผ้เู รียนรัฉรูแ้ ละปฏฉิ ตั ิตามกฎเกณฑ์และเงื่อนไขทีส่ ถานศึกษากาหนด โดยพจิ ารณา จาก ๑( ได้ผลการประเมินระดฉั ผ่าน จานวน ๕-๘ คุณลักษณะ และไม่มีคุณลกั ษณะใดได้ผลการ ประเมนิ ต่ากวา่ ระดฉั ผ่าน หรือ ๒( ได้ผลการประเมินระดัฉดี จานวน ๔ คุณลกั ษณะ และไมม่ ีคุณลักษณะใดไดผ้ ลการประเมนิ ต่ากว่าระดัฉผ่าน ไม่ผา่ น หมายถึง ผูเ้ รียนรฉั รแู้ ละปฏฉิ ตั ไิ ด้ไม่ครฉตามกฎเกณฑ์และเงื่อนไขทีส่ ถานศกึ ษากาหนด โดยพิจารณาจากผลการประเมินระดัฉไม่ผ่านตั้งแต่ ๑ คุณลักษณะ กำรประเมนิ กิจกรรมพัฒนำผู้เรยี น จะตอ้ งพิจารณาทัง้ เวลาการเข้ารว่ มกจิ กรรมการปฏฉิ ัติ กิจกรรมและผลงานของผ้เู รยี นตามเกณฑ์ทีโ่ รงเรยี นกาหนดและให้ผลการประเมนิ เป็นผ่าน และไมผ่ า่ นให้ใช้ ตวั อักษรแสดงผลการประเมนิ ดังนี้ “ผ” หมายถงึ ผู้เรยี นมีเวลาเข้ารว่ มกจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียน ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ ๘๐ ปฏฉิ ัติ กิจกรรมและมีผลงานเปน็ ทีป่ ระจักษ์ “มผ” หมายถงึ ผู้เรียนมเี วลาเข้าร่วมกจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียน ปฏิฉัตกิ จิ กรรมและมีผลงาน ไมเ่ ปน็ ไปตามเกณฑท์ ่ีสถานศึกษากาหนด ในกรณที ีผ่ ู้เรียนได้ ครผู ดู้ ูแลกจิ กรรมต้องจดั ซ่อมเสริมใหผ้ ู้เรียนทากจิ กรรมในส่วนทผ่ี เู้ รียน ”มผ“ ไม่ได้เขา้ ร่วมหรือไม่ได้ทาจนครฉถ้วน แลว้ จึงเปลี่ยนผลการเรยี นจาก“มผ” เปน็ “ผ” ได้ ทั้งนี้ ตอ้ งดาเนินการ

144 ให้เสรจ็ ส้นิ ภายในปีการศึกษานนั้ ยกเวน้ มเี หตสุ ุดวสิ ัยหอ้ ยู่ในดลุ ยพนิ จิ ของผฉู้ รหิ ารสถานศกึ ษาหรือผทู้ ี่ไดร้ ฉั มอฉหมาย ๑.๓ การรายงานผลการเรียน การรายงานผลการเรียน เป็นการสื่อสารให้ผู้ปกครองและผู้เรียนทราบความก้าวหน้าในการเรียนรู้ ของผู้เรียน ซ่ึงสถานศึกษาต้องสรุปผลการประเมินและจัดทาเอกสารรายงานให้ผู้ปกครองทราบเป็นระยะ ๆ หรือ อยา่ งนอ้ ยภาคเรยี นละ ๑ ครง้ั การรายงานผลการเรียน สามารถรายงานเป็นระดับคุณภาพการปฏิบัติของผู้เรียนที่สะท้อน มาตรฐานการเรยี นรู้กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ๒.กำรเลอื่ นชน้ั เม่อื ส้ินปีการศกึ ษา ผู้เรียนจะไดร้ ฉั การเล่ือนช้ัน เม่อื มีคณุ สมฉัตติ ามเกณฑ์ดังตอ่ ไปน้ี (๑) ผู้เรียนต้องมเี วลาเรียนไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทงั้ หมด (๒( ผู้เรยี นต้องได้รัฉการประเมนิ ทุกตวั ช้ีวดั และผ่านเกณฑ์ไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ ๘๐ ของจานวน ตวั ชว้ี ดั (๓( ผู้เรียนต้องได้รฉั การตัดสินผลการเรยี นทุกรายวชิ า ไมน่ ้อยกว่าระดฉั “ ๑ ” จงึ จะถือวา่ ผา่ น เกณฑ์ตามทส่ี ถานศึกษากาหนด (๔( นกั เรียนต้องไดร้ ัฉการประเมนิ และมีผลการประเมนิ การอา่ น คิดวิเคราะหแ์ ละเขียน ใน ระดัฉ “ ผา่ น ” ขึ้นไป มีผลการประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ในระดัฉ“ ผา่ น ” ขึ้นไป และมีผลการ ประเมินกิจกรรมพัฒนานกั เรียน ในระดฉั “ ผ่าน ” ทงั้ นี้ ถา้ ผ้เู รยี นมขี ้อฉกพรอ่ งเพียงเลก็ น้อย และพิจารณาเหน็ ว่าสามารถพัฒนาและสอน ซอ่ มเสรมิ ได้ให้อยูใ่ นดุลยพินิจของสถานศกึ ษาที่จะผอ่ นผันให้เลอ่ื นชนั้ ได้ อนึ่ง ในกรณีท่ีผู้เรียนมีหลักฐานการเรียนรู้ท่ีแสดงว่ามีความสามารถดีเลิศ สถานศึกษาอาจให้โอกาส ผ้เู รียนเล่ือนช้ันกลางปีการศึกษา โดยสถานศึกษาแตง่ ต้ังคณะกรรมการประกอฉด้วยฝา่ ยวิชาการของสถานศึกษา และผู้แทนของเขตพื้นท่ีการศึกษาหรือต้นสังกัดประเมินผู้เรียนและตรวจสอฉคุณสมฉัติให้ครฉถ้วนตามเงื่อนไขท้ัง ๓ ประการต่อไปนี้ ๑. มีผลการเรียนในปีการศึกษาท่ีผ่านมาและมีผลการเรียนระหว่างปีท่ีกาลังศึกษาอยู่ในเกณฑ์ดี เยี่ยม ๒. มีวุฒภิ าวะเหมาะสมทีจ่ ะเรยี นในชนั้ ทส่ี ูงขน้ึ ๓. ผ่านการประเมินผลความรู้ความสามารถทุกรายวิชาของช้ันปีท่ีเรียนปัจจุฉัน และความรู้ ความสามารถทกุ รายวิชาในภาคเรยี นแรกของชั้นปที ี่จะเลื่อนข้ึน การอนุมัติใหเ้ ลื่อนชนั้ กลางปกี ารศึกษาไปเรียนช้ันสงู ขึ้นได้ ๑ ระดัฉชั้นน้ี ต้องได้รัฉการยินยอม จากผู้เรียนและผู้ปกครองและต้องดาเนินการให้เสร็จส้ินก่อนเปิดภาคเรียนท่ี ๒ ของปีการศึกษาน้ัน สาหรัฉใน กรณีท่ีพฉว่ามีผู้เรียนกลุ่มพิเศษประเภทต่าง ๆ มีปัญหาในการเรียนรู้ให้สถานศึกษาดาเนินงานร่วมกัฉสานักงาน

145 เขตพ้ืนท่กี ารศึกษาเบพาะความพิการหาแนวทางการแกไ้ ขและพฒั นา ๓. เกณฑก์ ารจบการศกึ ษา เกณฑ์การจบการศึกษาเป็นไปตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กาหนดเกณฑ์สาหรัฉการจฉการศกึ ษา ดงั น้ี เกณฑก์ ำรจบระดับประถมศึกษำ (๑( ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐาน จานวน ๕,๐๔๐ ช่ัวโมงและรายวิชาเพ่ิมเติม/กิจกรรมเพิ่มเติม จานวน ๔๘๐ ช่วั โมง (๒( ผเู้ รยี นต้องมีผลการประเมนิ รายวิชาพน้ื ฐานระดัฉ ๑ ข้ึนไปทกุ รายวชิ า (๓( ผเู้ รียนมผี ลการประเมนิ การอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียนผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ในระดัฉ “ผ่าน” ขึ้นไป (๔( ผเู้ รียนมผี ลการประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ในระดฉั ผา่ นเกณฑ์การประเมินในระดัฉ “ผา่ น” ขึน้ ไป (๕( ผเู้ รียนเขา้ รว่ มกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี นและมผี ลการประเมนิ “ผา่ น” ทกุ กิจกรรม ๔.กำรเรยี นซ้ำชัน้ ผู้เรียนท่ีไม่ผ่านรายวิชาจานวนมากและมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรียนในระดัฉชั้นที่สูงขึ้น สถานศึกษา ต้องตั้งคณะกรรมการพิจารณาให้เรียนซ้าช้ันได้ ทั้งนี้ให้คานึงถึงวุฒิภาวะและความรู้ความสามารถ ของผ้เู รียนเปน็ สาคญั ผู้เรียนที่ไม่มีคุณสมฉัติตามเกณฑ์การเลื่อนชั้น สถานศึกษาควรให้เรียนซ้าชั้น ทั้งนี้ สถานศึกษา อาจใชด้ ุลยพนิ ิจใหเ้ ล่อื นชนั้ ได้ หากพจิ ารณาวา่ ผเู้ รยี นมคี ุณสมฉัติข้อใดขอ้ หน่งึ ดังต่อไปน้ี ๑.มีเวลาเรียนไม่ถึงร้อยละ ๘๐ อันเนื่องจากสาเหตุจาเป็นหรือเหตุสุดวิสัย แต่มีคุณสมฉัติตาม เกณฑ์การเล่อื นชน้ั ในข้ออน่ื ๆ ครฉถว้ น ๒.ผู้เรียนมผี ลการประเมินผ่านมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดไม่ถึงเกณฑ์ตามที่สถานศึกษากาหนด ในแต่ละรายวิชา แต่เห็นวา่ สามารถสอนซ่อมเสริมได้ในปีการศึกษาน้ัน และมีคณุ สมฉัตติ ามเกณฑ์การเล่ือนชั้นใน ขอ้ อืน่ ๆ ครฉถ้วน ๓.ผู้เรียนมีผลการประเมินรายวิชาในกลุ่มสาระภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรมอย่ใู นระดัฉผ่าน ก่อนท่ีจะให้ผู้เรียนเรียนซ้าชั้น สถานศึกษาต้องแจ้งให้ผู้ปกครองและผู้เรียนทราฉเหตุผลของการ เรียนซ้าชน้ั

146 เอกสารหลกั ฐานการศึกษา เอกสารหลักฐานการศึกษา เป็นเอกสารสาคัญที่บันทึกผลการเรียน ข้อมูล และสารสนเทศท่ีเกี่ยวข้อง กับพฒั นาการของผูเ้ รยี นในด้านตา่ ง ๆ แบ่งออกเปน็ ๒ ประเภท ดงั นี้ ๑. เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษาที่กระทรวงศึกษาธกิ ารกาหนด ๑.๑ ระเบียนแสดงผลการเรียน เป็นเอกสารแสดงผลการเรยี นและรับรองผลการเรียนของผู้เรยี น ตามรายวิชา ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา และผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน สถานศึกษาจะต้องบันทึกข้อมูลและออกเอกสารน้ีให้ผู้เรียนเป็นรายบุคคล เมอ่ื ผเู้ รยี นจบการศกึ ษาระดับประถมศึกษา (ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๖) ๑.๒ แบบรายงานผู้สาเร็จการศึกษา เป็นเอกสารอนุมัติการจบหลักสูตร โดยบันทึกรายชื่อและ ขอ้ มลู ของผูจ้ บการศึกษาระดบั ประถมศึกษา (ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๖) ๒. เอกสารหลักฐานการศกึ ษาทส่ี ถานศึกษากาหนด เอกสารท่ีสถานศึกษาจัดทาข้ึนเพื่อบันทึกพัฒนาการ ผลการเรียนรู้ และข้อมูลสาคัญเก่ียวกับผู้เรียน เช่น แบบรายงานประจาตัวนักเรียน แบบบันทึกผลการเรียนประจารายวิชา ระเบียนสะสม ใบรับรองผลการเรยี น และ เอกสารอน่ื ๆ ตามวตั ถปุ ระสงค์ของการนาเอกสารไปใช้ การเทียบโอนผลการเรียน สถานศึกษาสามารถเทียบโอนผลการเรียนของผู้เรียนในกรณีต่าง ๆ ได้แก่ การย้ายสถานศึกษา การเปลี่ยน รูปแบบการศึกษา การย้ายหลักสูตร การออกกลางคันและขอกลับเข้ารับการศึกษาต่อ การศึกษาจากต่างประเทศ และขอเข้าศึกษาต่อในประเทศ นอกจากนี้ ยังสามารถเทียบโอนความรู้ ทักษะ ประสบการณ์จากแหล่งการเรียนรู้ อ่ืน ๆ เชน่ สถานประกอบการ สถาบนั ศาสนา สถาบนั การฝึกอบรมอาชีพ การจดั การศกึ ษาโดยครอบครวั การเทียบโอนผลการเรียน ควรดาเนนิ การในชว่ งก่อนเปดิ ภาคเรียนแรก หรือต้นภาคเรียนแรกที่สถานศึกษา รับผู้ขอเทียบโอนเป็นผู้เรียน ท้ังน้ี ผู้เรียนท่ีได้รับการเทียบโอนผลการเรียนต้องศึกษาต่อเนื่องในสถานศึกษาที่รับ เทียบโอนอยา่ งนอ้ ย ๑ ภาคเรยี น โดยสถานศึกษาท่ีรับผเู้ รียนจากการเทยี บโอนควรกาหนดรายวิชา/จานวนหน่วยกิต ทจ่ี ะรับเทยี บโอนตามความเหมาะสม การพิจารณาการเทยี บโอน สามารถดาเนนิ การได้ดงั นี้ ๑. พจิ ารณาจากหลกั ฐานการศึกษา และเอกสารอืน่ ๆ ท่ใี ห้ข้อมลู แสดงความรู้ ความสามารถของผ้เู รยี น ๒. พิจารณาจากความรู้ ความสามารถของผู้เรียน โดยการทดสอบด้วยวิธีการต่าง ๆ ทั้งภาคความรู้และ ภาคปฏบิ ตั ิ ๓. พจิ ารณาจากความสามารถและการปฏิบตั ิในสภาพจรงิ การเทยี บโอนผลการเรยี นให้เปน็ ไปตามประกาศ หรือแนวปฏบิ ตั ขิ องกระทรวงศึกษาธิการ การบริหารจดั การหลักสูตร ในระบบการศึกษาท่มี ีการกระจายอานาจให้ท้องถ่ิน และสถานศึกษามีบทบาทในการพัฒนาหลักสูตรนั้น หน่วยงานต่าง ๆ ท่ีเกยี่ วขอ้ งในแต่ละระดับ ตั้งแตร่ ะดับชาติ ระดับท้องถิ่น จนถึงระดับสถานศึกษา มบี ทบาทหนา้ ท่ี และความรับผิดชอบในการพัฒนา สนับสนุน ส่งเสริมการใช้ และพัฒนาหลักสูตรให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ือให้การดาเนินการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา และการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษามีประสิทธิภาพ สูงสุด อันจะสง่ ผลใหก้ ารพฒั นาคุณภาพผู้เรียน บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรทู้ ี่กาหนดไว้ในระดับชาติ ระดับท้องถิ่น ได้แก่ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา หน่วยงานต้นสังกัดอ่ืน ๆ เป็นหน่วยงานที่มีบทบาท ในการขับเคล่ือนคุณภาพการจัดการศึกษา เป็นตัวกลางที่จะเช่ือมโยงหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานที่กาหนด

147 ในระดับชาติ ให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น เพื่อนาไปสู่การจัดทาหลักสูตรของสถานศึกษา ส่งเสริมการใช้และพัฒนาหลักสูตรในระดับสถานศึกษา ให้ประสบความสาเร็จ โดยมีภารกิจสาคัญคือ กาหนดเป้าหมาย และจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในระดับท้องถิ่น โดยพิจารณาให้สอดคล้องกับสิ่งท่ีเป็นความต้องการในระดับชาติ พัฒนาสาระการเรียนรู้ท้องถ่ิน ประเมินคุณภาพการศึกษาในระดับท้องถ่ิน รวมท้ังเพ่ิมพูนคุณภาพการใช้หลักสูตร ด้วยการวจิ ัยและการพัฒนาบุคลากร สนับสนุน ส่งเสริม ติดตามผล ประเมินผล วิเคราะห์ และรายงานผลคุณภาพ ของผู้เรียน สถานศึกษามีหน้าท่ีสาคัญในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การวางแผนและดาเนินการใช้หลักสูตร การเพิม่ พนู คณุ ภาพการใชห้ ลกั สูตรดว้ ยการวิจยั และพฒั นาการปรับปรงุ และพฒั นาหลักสตู ร จัดทาระเบียบการวัด และประเมินผล ในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ต้องพิจารณาให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพ้นื ฐาน และรายละเอียดท่ีเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา หรอื หน่วยงานสังกัดอ่ืน ๆ ในระดับท้องถน่ิ ได้จดั ทาเพิ่มเตมิ รวมทั้ง สถานศึกษาสามารถเพิ่มเตมิ ในสว่ นทีเ่ กี่ยวกับสภาพปญั หาในชุมชนและสังคม ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิ่น และความต้องการ ของผู้เรยี น โดยทกุ ภาคสว่ นเขา้ มามสี ่วนรว่ มในการพัฒนาหลักสตู รสถานศกึ ษา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook